Jump to content


Photo
- - - - -

มาตรา 68 วรรคสาม ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจสั่ง "ยุบพรรคการเมือง" ได้


  • Please log in to reply
38 ความเห็นในกระทู้นี้

#1 zeed~ko

zeed~ko

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,745 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 02:11

หากองค์กรหรือพรรคการเมืองใดที่มีพฤติการณ์ส่อไปในทางล้มล้างการปกครอง
และหรือแสดงพฤติการณ์ เจตนาจงใจฝ่าฝืน..
ถึง ณ.เวลานี้บ้านเมืองไม่ได้เสียหาย
แต่ถ้าดันทุรังทำไปบ้านเมืองเสียหายหรือไม่?
อย่ามาตั้งโจทย์ว่าศาลจะไม่ให้แก้รัฐธรรมนูญ

ระหว่างนักการเมือง นักวิชาการ ที่คิดจะงัดข้อกับนักกฏหมาย
ลองดูซักตั้งซิว่า.."ใครจะแม่น..กติกามากกว่ากัน"
เพียงแต่ว่าหากตกม้าตายห่านไปเองก็อย่ามาเล่นบทดราม่า
ร้องเหมือนหมาขี้เรื้อนว่าถูกกลั่นแกล้งทางการเมืองอีกล่ะ...


Posted Image

ศาลรธน.ขู่ดึงดันถึงขั้นยุบพรรค
อาจารย์ นิติฯ มช. ชี้ชัด ศาลไม่มีอำนาจระงับ โหวต รธน.วาระ 3 เสนอ ปธ.สภา ทำหนังสือขอเหตุผล การใช้อำนาจตาม ม.68 ด้าน ศาล รธน. ขู่ ดึงดันเดินหน้า อาจถึงขั้นยุบพรรค

นายสมชาย ปรีชาศิลปกุล หัวหน้าศูนย์วิจัยและพัฒนากฎหมาย อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวถึงกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญรับวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ พร้อมสั่งระงับการพิจารณาในวาระที่ 3 ซึ่งยังคงเป็นข้อถกเถียงกันอยู่ในขณะนี้ ว่า นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ ประธานสภาผู้แทนฯ ควรทำหนังสือไปถึงศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอดูรายละเอียดเหตุผลถึงการใช้อำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ ที่อ้างการใช้อำนาจตามมาตรา68 ของรัฐธรรมนูญ ก่อนจะหาช่องทางดำเนินการต่อไป เช่นเดียวกับศาลที่ต้องชี้แจงว่า อำนาจของตนมีสิทธิในส่วนใดบ้าง
"ผมมองว่า การกระทำของศาลในกรณีนี้ ไม่มีบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ หรืออย่างมากที่สุดหากมีการอ้างตามมาตรา 68 ก็ขอให้มีการพิจารณาเลยว่า ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญขัดต่อรัฐธรรมนูญอย่างไร แต่ยืนยันว่า การรับวินิจฉัยและสั่งระงับการพิจารณาในวาระที่ 3 ซึ่งเปรียบเสมือนการสั่งคุ้มครองชั่วคราวไม่มีกฎหมายใดรองรับแน่ และไม่เป็นไปตามมาตรา 68"
นายสมชาย กล่าวว่า บทบัญญัติในมาตรา 68 เป็นไปเพื่อการพิทักษ์รัฐธรรมนูญ เพื่อป้องกันการล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งไม่น่าจะเป็นไปตามที่ศาลรัฐธรรมนูญอ้างในการพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ แต่การพิจารณาว่า กฎหมายใดขัดกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ จะอยู่ในข่ายมาตรา 154 ของรัฐธรรมนูญ ที่ระบุถึงการส่งร่างกฎหมายที่ตราขึ้นใหม่ และข้องใจถึงการขัดต่อรัฐธรรมนูญ ให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา ซึ่งกระบวนการดังกล่าวก็เกิดขึ้นตามปกติไปแล้ว
อย่างไรก็ตาม ยอมรับว่า ประเด็นดังกล่าวเป็นเรื่องใหม่ เพราะการร่างรัฐธรรมนูญเมื่อปี 40 ยังไม่มีศาลรัฐธรรมนูญ ดังนั้นการจะดำเนินการใดต้องระวัง เพราะจะเป็นการวางหลักเกณฑ์ประเทศในครั้งต่อไป

โฆษกศาลรธน. ยัน มีอำนาจทำได้

ด้านนายพิมล ธรรมพิทักษ์พงษ์ หัวหน้าคณะทีมโฆษกศาลรัฐธรรมนูญ กล่าวถึงกรณีที่นายพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ โฆษพรรคเพื่อไทย ระบุว่า การที่ศาลรัฐธรรมนูญรับพิจารณา เรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญไว้พิจารณา เป็นการขัดรัฐธรรมนูญ เพราะการรับคำร้องดังกล่าวศาลรัฐธรรมนูญจะต้องรับคำร้องจากอัยการสูงสุดเท่านั้นว่า เป็นการตีความของโฆษกพรรคเพื่อไทยเอง แต่ถ้าได้อ่านเอกสารของศาลรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 1 มิ.ย.55 จะชัดเจนว่า คณะตุลาการได้ตีความรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ไว้ว่า ประชาชนสามารถสามารถใช้สิทธิในเรื่องนี้ผ่าน 2 ช่องทาง คือผ่านทางอัยการสูงสุดและยื่นโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้
"จากคำให้สัมภาษณ์ ของประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ก็ได้บอกชัดเจนแล้วว่า คณะตุลาการฯ เห็นว่า มีอำนาจที่จะรับไว้พิจารณา"
นายพิมล กล่าวว่า เรื่องนี้ ก่อนที่คณะตุลาการจะมีหนังสือไปยังสำนักเลขาธิการสภาผู้แทนฯ ก็ได้มีการพูดคุยกันและพิจารณาแล้วว่า การชะลอการรับร่างการแก้ไขรัฐธรรมนูญไว้ก่อน ไม่ได้เกิดความเสียหาย ซึ่งส่วนตัวเองเห็นว่า หากรัฐสภาเดินหน้าประชุมต่อ ก็ต้องรับผิดชอบกับผลที่จะเกิดขึ้นอย่างที่ตุลาการได้กล่าวไว้ก่อนหน้านี้ อย่างไรก็ตาม ยังบอกไม่ได้ว่า ถ้ามีการดำเนินการอย่างนั้นจริงศาลจะมีท่าทีอย่างไร เนื่องจากเหตุการณ์ยังไม่เกิดขึ้น แต่คิดว่าตุลาการฯ คงจะต้องมีการหารือกัน
นายพิมล ยังกล่าวถึงการตั้งข้อสังเกตว่า ศาลรัฐธรรมนูญรับพิจารณาเรื่องนี้ค่อนข้างเร็วว่า ส่วนตัวมองถึงสภาพแวดล้อมทางการเมือง และสภาพปัญหาที่จะเกิดขึ้นว่า เรารอได้หรือไม่ และได้ชี้แจงไปก่อนแล้วว่า การใช้อำนาจของคณะตุลาการตามรัฐธรรมนูญมาตรา 68 เป็นการใช้อำนาจในเชิงป้องกันไม่ใช่การแก้ไข ซึ่งการรับเรื่องไว้พิจารณาหรือไม่นั้น เป็นดุลยพินิจของคณะตุลาการฯ รวมถึงต้องพิจารณาว่า เป็นไปตามข้อกำหนดวิธีพิจารณาคดีของศาลรัฐธรรมนูญ ที่มีการกำหนดว่าเรื่องประเภทใดจะต้องพิจารณาจะรับหรือไม่รับภายในระยะเวลาเท่าใดนับแต่มีการยื่นคำร้องเข้ามา
ทั้งนี้ ปกติเมื่อเรื่องเข้ามายังสำนักงานฯ แล้วก็จะมีการแต่งตั้งตุลาการฯประจำคดี ว่าควรรับหรือไม่รับไว้พิจารณาวินิจฉัย หากเห็นว่า สมควรรับ ก็ดำเนินการต่อ ถ้าเห็นว่าไม่ควรรับก็เสนอให้ที่ประชุมคณะตุลาการฯพิจารณา แต่ในกรณีคำร้องเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญนั้น นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ได้ใช้อำนาจตามข้อกำหนดวิธีพิจารณาคดีของศาลรัฐธรรมนูญ และได้ให้ตุลาการทั้งหมดเป็นตุลาการประจำคดี คือทั้งองค์คณะช่วยกันพิจารณา ว่าจะรับหรือไม่ เพราะเรื่องนี้ท่านเห็นว่า เป็นเรื่องสำคัญ
"การพิจารณาลักษณะเช่นนี้ก็เคยทำในกรณีการพิจารณา พรก. , ร่างพรบ.งบประมาณ และกรณีของขอให้ตรวจสอบความถูกต้อง ของพรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ตาม ทุกครั้งที่จะมีการประชุม คณะตุลาการฯ ก็จะมีการพูดคุยแสดงความเป็นห่วงต่อสถานการณ์บ้านเมืองทุกครั้ง"
ผู้สื่อข่าวถามว่า การรับเรื่องไว้พิจารณาของศาล ทำให้ถูกมองว่า เป็นปัจจัยหนึ่งที่อาจทำให้ทหารเข้ามาทำรัฐประหารเร็วขึ้นหรือไม่ นายพิมล กล่าวว่า คงไม่ใช่เช่นนั้น เพราะการที่เราจะดำเนินการอะไรก็ระมัดระวังอยู่แล้ว ศาลมีหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญก็ไม่อยากให้ทหารเข้ามา

ขู่ ดึงดันเดินหน้าทำให้เสียหาย อาจถึงขั้นยุบพรรค

ขณะเดียวกัน แหล่งข่าวจากศาลรัฐธรรมนูญ ระบุว่า สำหรับบทลงโทษกรณี หากประธานสภาไม่ฟังคำสั่งศาล ที่ออกคำสั่งให้ชะลอการพิจารณาการลงมติในการแก้รัฐธรรมนูญในวาระที่ 3 ไปก่อนจนกว่าศาลจะวินิจฉัยแล้วเสร็จ ถึงแม้ตามรัฐธรรมนูญไม่ได้กำหนดบทลงโทษไว้ แต่เมื่อศาลมีคำสั่งก็ต้องผูกพันองค์กร
ทั้งนี้ ตามรัฐธรรมนูญของมาตรา 68 วรรคสาม ระบุ ว่า ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้พรรคการเมืองใดเลิกกระทำการ เนื่องจากเห็นว่า เห็นมีบุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการกล่าวแล้ว ศาลรัฐธรรมนูญอาจสั่งยุบพรรคการเมือง ที่มีพฤติการณ์ส่อไปในทางล้มล้างได้
แหล่งข่าว ระบุด้วยว่า การที่เขาจะเดินหน้าต่อ บทลงโทษก็คงไม่มี แต่เมื่อแสดงพฤติการณ์ เจตนาจงใจฝ่าฝืน ศาลรัฐธรรมนูญคงไปห้ามไม่ได้ แต่อย่าลืมว่า การกระทำดังกล่าวเป็นการจงใจแสดงให้เห็นพฤติการณ์ว่า กำลังจะมีการพฤติการณ์ ส่อไปทางนั้นหรือไม่ ทั้งที่ศาลเองก็ได้พิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้วว่า การที่พ้น 15 วันไปแล้ว ไม่ลงวาระที่ 3 จะส่งผลเสียหายอะไร
"บ้านเมืองไม่ได้เสียหาย แต่ถ้าดันทุรังทำไปบ้านเมืองเสียหายหรือไม่ อย่ามาตั้งโจทย์ว่าศาลจะไม่ให้แก้รัฐธรรมนูญ" แหล่งข่าวจากศาลรัฐธรรมนูญ ระบุ


ที่มา.http://bit.ly/KwtznD

Edited by zeed~ko, 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:43.


#2 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 08:53

"นายคมสัน โพธิ์คง" อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บอกว่า
"..........ที่ศาลรัฐธรรมนูญรับวินิจฉัยว่า ตามมาตรา ๖๘ ของรัฐธรรมนูญ กระบวนการรับเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการกระทำล้มล้างรัฐธรรมนูญ ล้มล้างประชาธิปไตย ต้องยื่นให้อัยการสูงสุดเสนอเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย แต่ที่ผ่านมา ไม่เคยปรากฏว่าอัยการสูงสุดส่งเรื่องเข้ามา จึงเกิดปัญหาเรื่องการดำเนินการ และถ้าสังคมเห็นว่ามีความไม่ปกติเกิดขึ้น เสนอให้ตรวจสอบ แต่ฝ่ายการเมืองไปล็อกอัยการสูงสุด เรื่องก็จบ
ดังนั้น จึงเห็นว่าการที่ศาลรับวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งนี้ มีอำนาจที่จะสามารถดำเนินการได้ โดยใช้ มาตรา ๗ ของรัฐธรรมนูญ ที่ระบุว่า เมื่อไม่มีบทบัญญัติบังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข
การออกมาตีความของเพื่อไทยและกลุ่มนิติราษฎร์ ว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่สามารถรับวินิจฉัยเรื่องนี้ได้นั้น ไม่ได้เป็นการตีความผิด แต่ถ้าข้อเท็จจริงปรากฏว่า ยื่นไปแล้วอัยการสูงสุดไม่มีการดำเนินการอะไรออกมา และถ้าลงมติวาระ ๓ อาจเป็นการล้มล้างรัฐธรรมนูญ ศาลจึงมีอำนาจหยิบยกขึ้นมา และรับวินิจฉัยเพื่อไม่ให้มีช่องว่าง..........."

"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#3 เช never die

เช never die

    มหาอำมาตย์แดง ชั้นที่ 1.(ระดับเดียวกับท่านตู่,ท่านเต้น)

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,845 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:05

อย่าลืมนะครับ เมื่อเร็วๆนี้ตอนที่ไอ้แม้วมันมั่นใจว่าจะได้เงินคืน มันออกมาพูดว่าไม่ได้มีความขัดแย้งกับอำมาตย์(ซึ่งใครคืออำมาตย์มันก็ยังไม่ยอมพูดออกมาตรงๆซักที)

เดี๋ยวถ้าโดนยุบพรรคอีก ทีนี้มันจะอ้างอะไร มารอดูชมด้วยใจระทึกพลัน

มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล


#4 RiDKuN_user

RiDKuN_user

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,167 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:15

เป็นมาตราที่ไม่เป็นประชาธิปไตยครับ ศาลแค่ไม่กี่คนจะมายุบพรรคการเมืองของมวลมหาประชาชนได้อย่างไร
นี่แหละเป็นผลพวงอันเลวร้ายจากการรัฐประหารและรัฐธรรมนูญฉบับเผด็จการปี 50 :mellow:

Edited by RiDKuN_user, 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:16.

" ชีวิตผมไม่เคยกลัวอะไรทั้งนั้น ผมกลัวอย่างเดียว...กลัวจะถูกมองว่า 'ขายชาติ' " - The Last Tycoon

~ ทักษิณตาย เสรีไทยไชโย ~

#5 อย่าเอยนามข้า

อย่าเอยนามข้า

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 152 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:27

เป็นมาตราที่ไม่เป็นประชาธิปไตยครับ ศาลแค่ไม่กี่คนจะมายุบพรรคการเมืองของมวลมหาประชาชนได้อย่างไร
นี่แหละเป็นผลพวงอันเลวร้ายจากการรัฐประหารและรัฐธรรมนูญฉบับเผด็จการปี 50 :mellow:


พวกควายแดงก็คงจะมาแถอย่างนี้แน่เพราะมันคิดว่าพวกเราที่เหลือ จากพวกมัน15ล้านเสียง มันเป็นพวกชนกลุ่มน้อยเหอๆ ว่าแต่ควายไม่น่าจะรู้จักระบอบประชาธิปไตยนะคะ เราประเมินเค้าสูงไปหรือเปล่า^^
อย่าถามว่าทำไมจึงรักเพราะความรักมักไม่มีเหตุผล แล้วทำไมจึงภักดีนั้นเพราะความดีของผู้นั้นมากมายและแท้จริงเหนือสิ่งอื่นใดทำไมต้องหมอบกราบคลานเข่าเพราะด้วยความเคารพรักยิ่ง ทำไมจึงห่วงแหนและเทิดทูนเพราะผู้มีความดีอันยิ่งใหญ่นั้นมีรักแท้อันเต็มไปด้วยความเสียสละแม้เหน็ดเหนื่อยมากเพียงใดไม่เคยปริปากบ่น ไม่เคยเรียกร้องให้ใครมารักนี่เป็นบารมีของผู้ยิ่งใหญ่ที่เราเทิดไว้ยิ่งชีวิต

#6 ปุถุชน

ปุถุชน

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 27,531 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:43

"นายคมสัน โพธิ์คง" อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บอกว่า
"..........ที่ศาลรัฐธรรมนูญรับวินิจฉัยว่า ตามมาตรา ๖๘ ของรัฐธรรมนูญ กระบวนการรับเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการกระทำล้มล้างรัฐธรรมนูญ ล้มล้างประชาธิปไตย ต้องยื่นให้อัยการสูงสุดเสนอเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย แต่ที่ผ่านมา ไม่เคยปรากฏว่าอัยการสูงสุดส่งเรื่องเข้ามา จึงเกิดปัญหาเรื่องการดำเนินการ และถ้าสังคมเห็นว่ามีความไม่ปกติเกิดขึ้น เสนอให้ตรวจสอบ แต่ฝ่ายการเมืองไปล็อกอัยการสูงสุด เรื่องก็จบ
ดังนั้น จึงเห็นว่าการที่ศาลรับวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งนี้ มีอำนาจที่จะสามารถดำเนินการได้ โดยใช้ มาตรา ๗ ของรัฐธรรมนูญ ที่ระบุว่า เมื่อไม่มีบทบัญญัติบังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข
การออกมาตีความของเพื่อไทยและกลุ่มนิติราษฎร์ ว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่สามารถรับวินิจฉัยเรื่องนี้ได้นั้น ไม่ได้เป็นการตีความผิด แต่ถ้าข้อเท็จจริงปรากฏว่า ยื่นไปแล้วอัยการสูงสุดไม่มีการดำเนินการอะไรออกมา และถ้าลงมติวาระ ๓ อาจเป็นการล้มล้างรัฐธรรมนูญ ศาลจึงมีอำนาจหยิบยกขึ้นมา และรับวินิจฉัยเพื่อไม่ให้มีช่องว่าง..........."




ขอบคุณที่'คนกรุงธน'นำความเห็นของอาจารย์คมสัน มาให้อ่าน.....
นักวิชาการย่อมมีสองฝ่าย เห็นด้วย สนับสนุน ไม่เห็นด้วย และคัดค้าน....
บุคลากรในวงการตุลาการย่อมมีสองฝ่าย เช่น นายมานิตย์ จิตต์จันทร์กลับฝ่ายหนึ่ง ท่านอุดม เฟื่องฟุ้งฝ่ายหนึ่ง เป็นต้น...

ดังนั้นน่าจะระบุกลุ่มนักวิชาการ"นิติราษฎร์"นำโดยนายวรเจตน์ ภาคีรัตน์ ฝ่ายหนึ่ง
ชมรมนิติมธ.2501 นำโดย นายสุเทพ นิรันดร และนายสุชาติ สหัสโชติ ประธานชมรม ฝ่ายหนึ่ง

เมื่อใดได้อ่าน จะใช้สัมมาทิฐิหรือมิจมิจฉาทิฐิในการอ่าน เชื่อ ค้าน ขึ้นอยู่กับสติปัญญา วุฒิภาวะ และทัศนคติของแต่ละคน ธงคนละผืน....
"บัตรเติมเงิน" คนรักทักษิณย่อมมีความคิดเห็นต่างกับ"คนรุ้ทันทักษิณ".......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า

Edited by ปุถุชน, 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:47.

เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...


#7 ปุถุชน

ปุถุชน

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 27,531 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:46

เป็นมาตราที่ไม่เป็นประชาธิปไตยครับ ศาลแค่ไม่กี่คนจะมายุบพรรคการเมืองของมวลมหาประชาชนได้อย่างไร
นี่แหละเป็นผลพวงอันเลวร้ายจากการรัฐประหารและรัฐธรรมนูญฉบับเผด็จการปี 50 :mellow:



ดี๋ยวคนรักทักษิณ เช่น ปุ๊กลุ๊กและปลาร้าเก่าในไหใหม่ นำไปอ้างอิง...
บอกว่า"เมพ"ของเสรีไทยดอทเนทแสดงความคิดเห็นอย่างนี้.....ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า

เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...


#8 Bourne

Bourne

    สายลับ ๆ ล่อ ๆ หัดเกรียน

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,471 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:49

โดนแน่ครับ พรรคไอ่แม้ว จะตั้งมาก็พรรค สุดท้ายมันก็ต้องโดนยุบเท่านั้น
ตั้งพรรคมา ไม่ได้มีจุดประสงค์ทำห่านอะไรให้เป็นประโยชน์อันใดแก่บ้านเมืองเลย
ตั้งขึ้นมาเพื่อหาทางให้ตัวเองมีอำนาจเป็นประมุขประเทศเท่านั้น
สมควรโดนอย่างยิ่ง...
ภาระกิจหลักของผมบนบอร์ดเสรีไทย คือ ด่าควายครับ เรื่องคิดต่างผมรับได้ แต่เรื่องคิดชั่วผมรับไม่ไหวครัช

#9 idolation

idolation

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,996 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:27

"มานีอ่านหนังสือพิมพ์และกินข้าว"

แปลว่าทำอย่างไหนก่อนหรือทำพร้อมกัน

:D :D :D
รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ร่วมกันต้าน ตระกูลชินวัตร

#10 ทรงธรรม

ทรงธรรม

    ต่อให้ต้องเรียนจนแก่ ก็จะเรียนต่อไป คนเราพัฒนาได้ทุกคน

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,157 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:41

เห็นด้วยกับ อาจารย์ คมสัน โพธิ์คง อย่างมากครับ
โดยความเห็นส่วนตัว ผมว่า นิติราษฎร์ พูดถูกที่สิทธิในการยื่นเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ ในเรื่องที่อยู่ภายใต้มาตรา 68 เป็นของอัยการสูงสุด
แต่ปัญหาคือ เรื่องถูกดองอยู่ที่สำนักงานอัยการ ซึ่งคงเป็นเพราะว่า ความไม่กระตือรือร้นที่จะทำงานในหน้าที่ ของคนในสำนักงานอัยการ จะด้วยสาเหตุใดก็ตามแต่ ถ้ายังเป็นอยู่เช่นนี้ พรรคการเมืองที่ต้องการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ ตามแบบที่ตัวเองต้องการโดยที่ไม่ได้กำหนดถึงขอบเขตของการแก้ไขเนื้อหาในรัฐธรรมนูญอย่างเด่นชัด ให้เห็นว่าถ้ามีการแก้ไขไปแล้ว จะกระทบกระเทือนถึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขหรือไม่ ซึ่งเรื่องนี้จำเป็นต้องมีการชี้แจงให้แจ้งแก่ความเข้าใจกับประชาชน รวมถึงศาลรัฐธรรมนูญก่อน ในกรอบของการแก้ไข
ดังนั้น เมื่อเรื่องราวยังไม่กระจ่าง โดยหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งต้องขจัดความเห็นที่ไม่ตรงกัน และข้อสงสัยว่าจะขัดกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ จึงจำเป็นต้องรีบเข้ามาดำเนินการ เพราะกำลังจะมีการลงมติให้ผ่านวาระที่ 3 ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ซึ่งถ้ามีการตัดสินกันภายหลัง จะมีข้อขัดแย้งกันเพิ่มขึ้น เนื่องจากฝ่ายสภาจะอ้างได้ว่า เหตุใดจึงไม่มีการวินิจฉัยให้เสร็จสิ้น ก่อนกระบวนการพิจารณาในสภาจะเสร็จลง

ซึ่ง ถ้าจะโทษในกรณีนี้ จำเป็นต้องโทษ สำนักงานอัยการที่มีความล่าช้าในการตรวจสอบหาหลักฐานข้อเท็จจริง และไม่มีความมุ่งมั่นที่จำทำงานในความรับผิดชอบให้ทันต่อสถานะการณ์ และที่ต้องโทษอีกฝ่ายคือฝ่ายสภาที่เมื่อเห็นว่ามีข้อสงสัยให้วินิจฉัย แต่ยังรีบเร่งดำเนินการ โดยไม่รอผลก่อน

ดังนั้นการที่ผู้ร้อง เมื่อยื่นเรื่องต่ออัยการแล้ว ไม่แน่ใจว่าจะมีการล่าช้าจนไม่ทันการณ์หรือไม่ ก็จำเป็นต้องยื่นเรื่องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกคำรบเพื่อให้แน่ใจ ว่าเรื่องที่ต้องการให้วินิจฉัย ถึงมือผู้มีหน้าที่โดยตรง

การกระทำของศาลรัฐธรรมนูญนี้ เปรียบไป ก็เหมือนกับ ในสมัยอาณาจักรสุโขทัย ซึ่งกษัตริย์ผู้ปกครองประเทศ และมีหน้าที่ในการตัดสินความเป็นธรรมให้แก่ราษฎร ที่ต้องลงมาดำเนินการ เพื่อความเป็นธรรมกับประชาชนด้วยตัวเอง โดยมิอาจรั้งรอ ให้ประชาชนรู้สึกเสื่อมศรัทธากับกระบวนการยุติธรรม อันอาจไม่ยุติธรรมด้วยความล่าช้าและไม่ใส่ใจในการดำเนินงานของข้าราชการที่มีหน้าที่โดยตรง

ดังคำขวัญของผู้ตรวจการแผ่นดินที่ว่า "ความล่าช้าคือความไม่เป็นธรรม"

ขอให้พวกเรา ชาวหลากสี และพันธมิตร จงมีชีวิตรอด จากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ฝีมือปูนา ไปตลอดรอดฝั่งด้วยครับ

 

PEMDAS ย่อมาจาก ลำดับการคำนวณ Parentheses , Exponentials , Multiply , Divide , Add , Subtract

 

FWGHSO ย่อมาจาก ลำดับการประเมินผลของ query  FROM, WHERE, GROUP BY, HAVING, SELECT, ORDER BY


#11 สิงห์สนามซ้อม

สิงห์สนามซ้อม

    คนดีไม่กลัวการตรวจสอบ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,757 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:47

ต่อไปเพื่อทุยจะฟ้องอะไรอย่าตั้งทีมทนายนะ
เอา พร้อมซอง กับ ก่อกาก ไปว่าความให้เลย เขาแม่นกฎหมาย :lol:

" ประกาศบอยคอต ช่อง 3 ไม่ว่าจะข่าว ละคร หรือการ์ตูนลูก  กรูไม่ดู !!! "


#12 kop16

kop16

    U will never walk alone.

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,507 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:51

รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติม

ส่วนที่ ๕
การประชุมร่วมกันของรัฐสภา
มาตรา ๑๓๖ ในกรณีต่อไปนี้ ให้รัฐสภาประชุมร่วมกัน
(๑) การให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามมาตรา ๑๙
(๒) การปฏิญาณตนของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อรัฐสภาตามมาตรา ๒๑
(๓) การรับทราบการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์
พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ ตามมาตรา ๒๒
(๔) การรับทราบหรือให้ความเห็นชอบในการสืบราชสมบัติตามมาตรา ๒๓
(๕) การมีมติให้รัฐสภาพิจารณาเรื่องอื่นในสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติได้ตามมาตรา ๑๒๗
(๖) การให้ความเห็นชอบในการปิดสมัยประชุมตามมาตรา ๑๒๗
(๗) การเปิดประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๒๘
(๘) การตราข้อบังคับการประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๓๗
(๙) การให้ความเห็นชอบให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่าง
พระราชบัญญัติตามมาตรา ๑๔๕
(๑๐) การปรึกษาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างพระราชบัญญัติใหม่ตาม
มาตรา ๑๕๑
(๑๑) การให้ความเห็นชอบให้พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ร่างพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างพระราชบัญญัติต่อไปตามมาตรา ๑๕๓ วรรคสอง
(๑๒) การแถลงนโยบายตามมาตรา ๑๗๖
(๑๓) การเปิดอภิปรายทั่วไปตามมาตรา ๑๗๙
(๑๔) การให้ความเห็นชอบในการประกาศสงครามตามมาตรา ๑๘๙
(๑๕) การรับฟังคำชี้แจงและการให้ความเห็นชอบหนังสือสัญญาตามมาตรา ๑๙๐
(๑๖) การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๙๑

หมวด ๑๕
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ดังต่อไปนี้
(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอ
มิได้
(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา
เป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ
คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง
มากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว
ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม


เอามาให้อ่านกัน ก่อน ศึก จะมา :P

If you try hard enough, you can be whatever you want to be.


#13 Bourne

Bourne

    สายลับ ๆ ล่อ ๆ หัดเกรียน

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,471 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:51

มีการตีความกันว่า "เจตนารมณ์ของของ รธน มาตรา 68 นั้น ต้องการให้ผู้ร้องส่งเรื่องผ่านไปยังอัยการสูงสุด"

ผมว่า "ไม่ใช่" ผมว่า "เจตนารมณ์ของ รธน มาตรา 68 นั้น ต้องการป้องกันการกระทำล้มล้างการปกครองฯ" มากกว่า ส่วนจะให้ส่งให้ใครก่อน-ใครหลัง นั่นเป็นแค่ "ขั้นตอน" อย่างไรก็ตาม "ตามอักษร" ก็เปิดช่องให้ตีความว่า "ส่งตรง" ได้อยู่แล้ว ใครจะส่งเรื่องไปทางไหน ก่อนหรือหลัง สุดท้ายต้องทำให้เกิดการป้องกันการล้มล้างการปกครองฯ ตามเจตนารมณ์ รธน ให้ได้

ผมจึงเห็นด้วยกับ สส นิพิฎฐ์ ที่กล่าวในรายการ คมชัดลึก เมื่อคืนว่า เราต้องตีความให้กฎหมายนั้นใช้ได้ และ ในกรณีที่กำลังเป็นปัญหาอยู่นี้ ศาลท่านก็ใช้มาตราอื่นมาประกอบการพิจารณารับเรื่องเหมือนกัน
ภาระกิจหลักของผมบนบอร์ดเสรีไทย คือ ด่าควายครับ เรื่องคิดต่างผมรับได้ แต่เรื่องคิดชั่วผมรับไม่ไหวครัช

#14 hentai

hentai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,046 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:53

ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....

"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"

"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"

"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"


#15 eAT

eAT

    ผมเป็นเสื้อแดงฮับ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,589 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:56

ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....


วันๆ เอาแต่นั่งจินตนาการ
ไม่มองความจริงที่เห็นตรงหน้า
ฝันแต่เรื่องเป็นกลาง(ไข่ทักษิณ)

#16 hentai

hentai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,046 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:33


ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....


วันๆ เอาแต่นั่งจินตนาการ
ไม่มองความจริงที่เห็นตรงหน้า
ฝันแต่เรื่องเป็นกลาง(ไข่ทักษิณ)


คิดแล้วไม่ผิด พอ จี้โดนใจดำ ไปไม่เป็น... เพราะ
ในจิตใต้สำนึกคง ส่งสัญญานว่า อย่าไปเถียงกับความจริง...

ก็เลยแถ กลับมาว่า มันเป็นเรื่อง จินตนาการ....

... เอ ทำไมผมไม่แปลกใจว่า ท่าน ทำได้แค่นี้เอง..... :D

"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"

"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"

"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"


#17 zeed~ko

zeed~ko

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,745 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:35

ระหว่าง "ตีความตามรัฐธรรมนูญ" แบบตรงเป็นไม้บรรทัดทุกตัวอักษร
โดยไม่สนใจว่า "ชาติจะเสียหาย" หรือไม่อย่างไร..หากเป็นวิญญูชนย่อม

ต้องรู้จักฉลาดในการคิด คิดอย่างถูกวิธี ถูกระบบและคงผ่านการพิจารณา
ไตร่ตรองอย่างรอบคอบแล้วจากองค์คณะเพราะเรื่องนี้ท่านเหล่านั้นเห็นว่า
คงเป็นเรื่องสำคัญและอาจบานปลายถึงขั้น "ล้มล้างการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขได้" ซึ่งก็ไม่มีใครยืน
ยันได้ว่าหากยังดันทุรังทำต่อไปโดยอาศัยพวกมากลากไป ประชาชนจำนวน
เรือนหมื่นหน้าสภา ณ.เวลานั้นจะบุกเข้าไปลากคอฝ่ายรัฐบาลออกมากระทืบ
ตายห่าน "หรือไม่อย่างไร" ซึ่งก็เคยมีตัวอย่างให้เห็นเมื่อครั้งรัฐบาลที่แล้วที่มี
การทุบรถตามฆ่าผู้นำประเทศและยังบานปลายไปเผาบ้านเผาเมืองจนวุ่นวาย
ไปทั่วบ้านทั่วเมือง ซึ่งก็ไม่เห็นมีนักวิชาการเฮงซวยเหล่านี้ออกมาแสดง
วิสัยทัศน์อันสูงส่งแต่ประการใดแม้นแต่น้อย.



#18 blue

blue

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,979 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:35

การไม่เห็นด้วยกับการตีความหรือการพิจารณาของศาลนี่เป็นเรื่องปกติ แต่
ไม่เห็นด้วยแล้วยุส่งให้ต่อต้านอำนาจศาลมันเป็นเรื่องปกติหรือเปล่า

ตอน พรก กู้เงินของรัฐบาลถูกร้องศาลรัฐธรรมนูญ ไม่เห็นพวกนักวิชาการ
กลุ่มขาประจำเหล่านี้มีปฏิริยาอะไรกับศาลรัฐธรรมนูญเลย

พรรค ปชป ซึ่งเป็นผู้ร้องศาลรัฐธรรมนูญ ถ้าถามว่าพอใจคำวินิจฉัยของศาล
รัฐธรรมนูญไหม คงไม่พอใจแน่ ไม่พอใจแล้วทำแบบพรรคเพื่อไทย หรือ
นักวิชาการกลุ่มที่รับใช้พรรคเพื่อไทยไหม ก็ไม่ได้ทำ แต่สิ่งที่ ปชป ทำคือ
ยอมรับการวินัจฉัยของศาล ถึงแม้จะไม่พอใจ
ในด้านพรรคเพื่อไทย พอใจคำวินิจฉัยของศาลไหมก็ต้องบอกว่าพอใจมาก
เพราะเห็นพูดกันอยู่ว่าศาลท่านให้ความเป็นธรรม เรื่องจบไหม จบเพราะผู้ร้อง
ถึงจะไม่พอใจก็ยอมรับคำวินิจฉัยของศาล

ผมจึงสงสัยว่า คนของพรรคการเมืองนี้ นักวิชาการที่รับใช้พรรคการเมืองนี้
เลือกที่จะยอมรับการวินิจฉัยของศาล เฉพาะที่ตนเองได้ประโยชน์เท่านั้นหรือ

การออกมาแสดงความเห็นทางวิชาการเป็นเรื่องทำได้ตามปกติอยู่แล้ว ไม่ว่า
ใครจะมีแง่มุมใดทางกฎหมายมาโต้แย้ง แต่นั่นมันก็เป็นความเห็นในมุมมอง
ของแต่ละคน เพราะไม่ว่าใครจะเห็นอย่างไร มันก็ต้องไปจบอยู่ที่ดุลยพินิจของศาล
แต่ถ้ามั่นอกมั่นใจในมุมมองของตนเองมาก ก็อย่าไปทำตามคำสั่งศาลซิ ไม่เห็น
จะต้องมากล่าวหาโจมตีศาลว่าทำลายหลักนิติรัฐ หรือหลักประชาธิปไตยเลย เพราะ
ความจริงแล้วคนที่กำลังทำลายหลักนิติรัฐ หรือหลักประชาธิปไตยของประเทศน่า
จะเป็นพวกที่ไม่ยอมรับการวินิจฉัยของศาลมากกว่า

#19 notcomeng

notcomeng

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,963 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:38



ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....


วันๆ เอาแต่นั่งจินตนาการ
ไม่มองความจริงที่เห็นตรงหน้า
ฝันแต่เรื่องเป็นกลาง(ไข่ทักษิณ)


คิดแล้วไม่ผิด พอ จี้โดนใจดำ ไปไม่เป็น... เพราะ
ในจิตใต้สำนึกคง ส่งสัญญานว่า อย่าไปเถียงกับความจริง...

ก็เลยแถ กลับมาว่า มันเป็นเรื่อง จินตนาการ....

... เอ ทำไมผมไม่แปลกใจว่า ท่าน ทำได้แค่นี้เอง..... :D

สับสนในตัวเองป่าวเนี้ย :lol: :lol: :lol:

#20 RiDKuN_user

RiDKuN_user

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,167 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:54

ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....


การเมืองคือความจริงครับไม่ใช่เรื่องสมมติ
แล้วบางอย่างก็คงไม่ต้องสมมติ ในเมื่อตัวอย่างที่ผ่านมามันก็เห็นกันอยู่
" ชีวิตผมไม่เคยกลัวอะไรทั้งนั้น ผมกลัวอย่างเดียว...กลัวจะถูกมองว่า 'ขายชาติ' " - The Last Tycoon

~ ทักษิณตาย เสรีไทยไชโย ~

#21 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:08

เปิดบันทึกเจตนารมณ์ การตรา รธน มาตรา 68
http://www.matichon....atid=&subcatid=

จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#22 นิติรั่ว

นิติรั่ว

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,513 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:08

ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....

-อุดม มั่งมีดี ไม่น่าจะมีปัญหาตอนนี้ก็เป็นกรรมการ ปปท.อยู่ที่แล้วมาก็แค่เคยขึ้นเวทีเสื้อแดง
-ส่วนอีก2คนเป็นส.ส.สังกัดพรรคการเมืองเลยคงไม่ไหวมั้งครับ
ขอถามเห็นไตกลับว่า
-นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายจรัญ ภักดีธนากุล เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายจรูญ อินทจาร เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายเฉลิมพล เอกอุรุ เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายนุรักษ์ มาประณีต เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายบุญส่ง กุลบุปผา เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายสุพจน์ ไข่มุกด์ เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
ผมไม่ใช่คนเก่งกฎหมาย แค่รู้กฎหมาย แต่ไม่เคยคิดใช้ช่องว่างของกฎหมายมาทำให้กฎหมายขาดความเป็นธรรม

#23 phat21

phat21

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,969 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:15

ผมระแวงจางลงมติแล้วถ้าศาลสั่งให้รธนผิด รธนที่แก้มันจะโมฆะป่าว กลัวจริง555555
Posted Image Posted Image Posted ImagePosted Image Posted Image Posted Image Posted Imageไอ้สนธิบังเละ ไอ้ขิงเน่า+ไอ้มาร์คไอ้เทพเทือกคือตัวการให้ระบอบทักษิณยังลอยนวล

#24 Can Thai

Can Thai

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,383 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:16

อาจารย์ขี้หมา บอกว่ารัุธรรมนูญ 2540 ไม่มีศาลรัุธรรมนูญ อยากถามอาจารย์ขี้หมาว่า ศาลใดพิจารณาคดีทักษิณซุกหุ้น

#25 shinethai

shinethai

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 316 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:39


ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....

-อุดม มั่งมีดี ไม่น่าจะมีปัญหาตอนนี้ก็เป็นกรรมการ ปปท.อยู่ที่แล้วมาก็แค่เคยขึ้นเวทีเสื้อแดง
-ส่วนอีก2คนเป็นส.ส.สังกัดพรรคการเมืองเลยคงไม่ไหวมั้งครับ
ขอถามเห็นไตกลับว่า
-นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายจรัญ ภักดีธนากุล เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายจรูญ อินทจาร เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายเฉลิมพล เอกอุรุ เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายนุรักษ์ มาประณีต เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายบุญส่ง กุลบุปผา เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายสุพจน์ ไข่มุกด์ เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที


ดันขึ้นมา...รอดูคำตอบ
ผมไม่ต้อนรับพวกล้มเจ้า ไม่ต้องเสรือกเข้ามาในกระทู้ที่ผมตั้ง

#26 Charlie

Charlie

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,449 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 13:18

ประเด็นมันคงไม่ได้อยู่ที่ศาลตัดสินว่าไง แต่อยู่ที่ประชาชนของแต่ละข้างมากกว่า ใครดึงมวลชนได้มากกว่าก็ชนะครับ สงครามจะพลิกก็ตอนนี้แหละ ถ้าเราทำให้ประชาชนที่ไม่รู้ข้อมูลเข้าใจได้มากๆ หันมาเชื่อสิ่งที่ถูกต้องไม่ใช่บิดเบือน นักการเมืองเลวๆก็อยู่ไม่ได้ครับ ทุกวันนี้ก็เห็นเพื่อนๆ สรท ทำอยู่เป็นแหล่งข้อมูลที่ดีมากด้วย

Edited by Charlie, 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 13:20.

คนดีจริงไม่โกงที่วัด ไม่ยุแยงให้คนแตกแยก ไม่หลอกคนอื่นให้มารับเคราะห์ตายแทน


#27 ใจหมาอำมหิต`

ใจหมาอำมหิต`

    อำมาตย์Hard Core !!

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,449 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 13:35

ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....


3คนที่ว่ามาเป็นใครคับ ?

แล้วผู้พิพากษา 9 ท่านเป็นใคร

โง่แล้วอวดฉลาดอีกแล้วนะเฮนไต

:lol: :lol: :lol: :lol:

"ประชาชนไม่ควรกลัวรัฐบาลของตนเอง รัฐบาลต่างหากที่ควรกลัวประชาชน”

                                   "กลุ่มชาวพุทธหูรุนแรง"

 


#28 eAT

eAT

    ผมเป็นเสื้อแดงฮับ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,589 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 13:43

คิดแล้วไม่ผิด พอ จี้โดนใจดำ ไปไม่เป็น... เพราะ
ในจิตใต้สำนึกคง ส่งสัญญานว่า อย่าไปเถียงกับความจริง...

ก็เลยแถ กลับมาว่า มันเป็นเรื่อง จินตนาการ....

... เอ ทำไมผมไม่แปลกใจว่า ท่าน ทำได้แค่นี้เอง..... :D


ทำได้แค่ฝันเฟื่อง ความจริงตอบไม่ได้
ข้อกฏหมายชัดเจน ทั้งเพื่อไทยก็เคยทำมาก่อน
มันชัดเจนอยู่แล้ว

แต่อ้าย สมมุติ มันก็ชัดเจนว่า
ไม่ได้เป็นจริงอยู่ในโลกนี้ หรือในโลกหน้า
หรือกระทั่งระหว่างสองโลก
อยู่แค่ในความฝันของเห็ตไต๋เท่านั้น

ไม่มีข้อเท็จจริง ก็เอาแต่นั่งจินตนาการ
ไปตรวจสุขภาพจิตมั่งนะ เป็นพวกย้ำคิดย้ำทำหรือเปล่า

#29 COFFEE

COFFEE

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 531 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:05

ผมคิดว่านอกจากสานตะกร้าแล้วยังทำเข่งอีก เสรือกไม่เข้าเรื่อง

#30 นารีขี่หมาเน่า

นารีขี่หมาเน่า

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,072 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:13

ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....

อย่าสมมุติดิครับคนเยี่ยงนั้นไม่ควรได้รับการเสนอชื่อเข้ารับการสรรหาด้วยซ้ำ

#31 phoosana

phoosana

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,687 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:13

ผิดกระทู้ครับ :D

Edited by phoosana, 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:13.

We love fender.

#32 test

test

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 216 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:16

http://library2.parl..._ca/r061850.pdf


หน้าที่ 6-8
นายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย : ขอบคุณครับ ท่านประธานครับ ผม สุรชัย
เลี้ยงบุญเลิศชัย สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ ในฐานะผู้แปรญัตติ มาตรา ๖๗ ครับ
กราบเรียนท่านประธานสภา และท่านกรรมาธิการยกร่างอย่างนี้ครับว่า มาตรา ๖๗ นี้
อยู่ในส่วนที่ ๑๓ คือ สิทธิในการพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในหมวด ๓ ซึ่งว่าด้วย
เรื่องของสิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย บทบัญญัติในมาตรา ๖๗ นี้ ได้บัญญัติให้เป็น
สิทธิของบุคคลที่จะใช้สิทธิในการนำเรื่องเสนอต่ออัยการสูงสุด ในกรณีที่ทราบว่า มีบุคคล
หรือมีพรรคการเมืองที่จะกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อเป็นการล้มล้างการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข นอกจากนี้ในมาตรา ๖๗
ยังกำหนดผลของการกระทำว่า ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า การกระทำที่มี
ผู้ร้องเรียนนั้น เป็นการกระทำที่มีลักษณะตามที่บัญญัติไว้ในวรรคหนึ่ง และวรรคสอง
คือ มีการกระทำที่มีลักษณะเป็นการล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขนั้น จะมีผลที่ทำให้ศาลรัฐธรรมนูญสามารถมีคำสั่ง
ยุบพรรคการเมืองได้ ในกรณีที่ผู้กระทำเป็นพรรคการเมือง นอกจากนั้น ในวรรคท้ายของ
มาตรานี้ ที่ท่านกรรมาธิการยกร่างได้มีบทบัญญัติเพิ่มเติมมา มีผลให้เพิกถอนสิทธิ
เลือกตั้งของผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการบริหารของพรรคการเมืองที่ถูกยุบพรรค
ด้วย นอกจากนี้ ถ้าเราย้อนไปดูในวรรคสองของมาตรานี้ จะพูดได้เลยว่า การดำเนินการ
ของอัยการสูงสุดในกรณีที่ยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อวินิจฉัยการกระทำของบุคคล
หรือพรรคการเมืองว่า มีลักษณะของการกระทำที่เป็นการล้มล้างการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยหรือไม่นั้น ไม่ตัดสิทธิในการดำเนินคดีอาญากับผู้กระทำการดังกล่าว
ทั้งหมดที่ผมนำเรียนมานี้ จะเห็นได้ว่า บทบัญญัติของมาตรา ๖๗ นั้น มีลักษณะของการที่
จะลงโทษ ทั้งในเชิงของการเป็นโทษในทางอาญา ตามที่ปรากฏอยู่ในข้อความใน
วรรคที่ ๒ รวมถึงโทษที่ไม่มีลักษณะเป็นโทษทางอาญา แต่เป็นการลงโทษตามกฎหมาย
ว่าด้วยเรื่องของการเลือกตั้งหรือการเมือง นั่นคือ โทษของการยุบพรรค รวมถึงโทษของ
การตัดสิทธิกรรมการบริหารพรรคการเมืองที่มีการกระทำดังกล่าว เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วนี่
กระผมจึงมีความเห็นว่า สิทธิของบุคคลที่จะนำเสนอเรื่องต่ออัยการสูงสุด ในกรณีที่เขา
ทราบว่า หรือพบว่า มีการกระทำที่เข้าข่ายในลักษณะที่จะเป็นการกระทำที่เป็นการ
ล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขนั้นนี่ จึงไม่
จำเป็นว่า จะต้องเป็นผู้รู้เห็นเหตุการณ์นั้นเสียก่อน ถ้าเราใช้คำว่า ผู้รู้เห็น ดังที่บัญญัติอยู่
ในมาตรา ๖๗ วรรคแรกนะครับ ก็จะทำให้เหตุการณ์นั้นมันเกิดขึ้นเสียก่อน แล้วผู้รู้เห็น
เหตุการณ์นั้นจึงจะมีสิทธิที่จะนำเสนอเรื่องต่ออัยการสูงสุด ผมเปรียบเทียบอย่างนี้ครับ
ท่านประธานครับว่า ในทางอาญานั้นนี่ ถ้าเราทราบว่า มีการกระทำความผิดกฎหมาย
อาญาเกิดขึ้น แม้ไม่รู้ตัวว่า ผู้ใดเป็นผู้กระทำความผิด ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญาก็ยังเปิดช่องว่า สามารถไปกล่าวโทษกับเจ้าพนักงานได้ เพื่อให้เจ้าพนักงานทำการ
สอบสวนว่า มีการกระทำความผิดดังกล่าวเกิดขึ้นจริงไหม เพียงแค่ทราบเท่านั้น
ก็สามารถที่จะใช้สิทธิในการที่จะไปกล่าวโทษต่อเจ้าพนักงานของรัฐได้ เมื่อนำบทบัญญัติ
ในเรื่องของการกล่าวโทษในทางอาญามาเปรียบเทียบกับมาตรา ๖๗ เราจะเห็นว่า ระดับ
ของความผิด ความร้ายแรง และผลเสียหายสูงกว่าการกระทำความผิดในทางอาญามาก
เพราะเป็นเรื่องของการล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
เป็นประมุข แล้วเช่นนี้ ทำไมเราถึงต้องเขียนเป็นเงื่อนไขว่า ผู้ที่จะมีสิทธินำเรื่องเสนอต่อ
อัยการสูงสุดนั้น ต้องเป็นผู้ที่รู้ถึงการกระทำนั้น ยิ่งไปกว่านั้น ถ้าเราพิจารณาประกอบว่า
มาตรา ๖๗ นั้นนี่ เป็นเรื่องของสิทธิในการพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ซึ่งผมถือว่า เป็นสิทธิของ
ปวงชนชาวไทยทุกคนที่เขามีหน้าที่ ที่เขามีสิทธิในการที่จะพิทักษ์รักษารัฐธรรมนูญ พิทักษ์
รักษาการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เพราะฉะนั้น
เพียงแค่ทราบว่า มีบุคคลหรือมีพรรคการเมืองใด กำลังจะดำเนินการไปในวิถีทางเพื่อให้
ได้อำนาจรัฐมา นอกเหนือจากวิธีการที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ผู้ทราบเหตุการณ์นั้น
ควรที่จะต้องมีสิทธิที่จะมาร้องเรียนต่ออัยการสูงสุด เพื่อให้ทำการตรวจสอบได้แล้ว
แล้วขั้นตอนที่มาร้องเรียนนั้นนี่ ก็เป็นหน้าที่ของอัยการสูงสุดครับ ท่านประธานครับ
ที่จะต้องตรวจสอบเรื่องราวว่า มีมูลหรือไม่มีมูล ก่อนที่ท่านจะนำเรื่องเสนอต่อศาล
รัฐธรรมนูญให้ดำ เนินการในขั้นตอนต่อไป เพราะฉะนั้นผู้ที่จะมาช่วยกันพิทักษ์
รัฐธรรมนูญ พิทักษ์การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็น
ประมุขนั้น จึงไม่ควรที่จะกำหนดเงื่อนไขว่า ต้องเป็นผู้รู้ในเหตุการณ์ที่จะนำไปสู่การ
ล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ด้วยเหตุผลที่ได้กราบเรียนท่านประธานมา
กระผมจึงได้ใช้สิทธิขอแปรญัตติข้อความในวรรคที่ ๑ ครับ ท่านประธานครับ ว่า ในกรณีที่
บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำ ขอแก้ไขคำว่า
ผู้รู้ เป็น ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง
ได้ กราบเรียนท่านประธานครับ

หน้าที่ 14-15
นายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย : ขอบคุณครับ ท่านประธานครับ ผม สุรชัย
เลี้ยงบุญเลิศชัย ครับ สมาชิกสภาร่าง ด้วยความเคารพต่อคำชี้แจงของท่านประพันธ์
นะครับ ผมยังคงมีความเห็นต่างอยู่ อย่างนี้ครับ ท่านประธานครับ ในวรรคสองของ
มาตรา ๖๗ นะครับ ใช้ถ้อยคำอย่างนี้ท่านประธาน ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใด
กระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้รู้เห็นการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุด
ตรวจสอบข้อเท็จจริง ตรวจสอบข้อเท็จจริงนะครับ ทีนี้ผมกราบเรียนครับว่า คำว่า รู้เห็น
รู้เห็นในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานนั้นนี่ ให้ความหมายไว้ว่า รู้เห็นคือ การรู้
เหตุการณ์ ถ้าในทางกฎหมาย เปรียบไปแล้วก็คือ ต้องเป็นประจักษ์พยานเลยนะครับ ต้อง
รู้เหตุการณ์ แต่ถ้า ทราบ นี่ ไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นประจักษ์พยาน ก็สามารถที่จะมีสิทธิ
ร้องเรียนผ่านมาตรา ๖๗ วรรคสองนี้ได้ และผมกราบเรียนครับว่า การที่อัยการจะ
ดำเนินการต่อไปหรือไม่อย่างไรนั้นนี่ รัฐธรรมนูญเขียนไว้ชัดเจนครับ ท่านประธานครับ
อัยการสูงสุดเป็นผู้ตรวจสอบข้อเท็จจริง ไม่ใช่ให้ผู้นำเสนอเรื่องตาม ๖๗ วรรคสอง เป็นคน
ตรวจสอบข้อเท็จจริง รวบรวมข้อเท็จจริงไประดับหนึ่งก่อน ดังเช่นที่ท่านกรรมาธิการ
ยกร่างได้ชี้แจงนะครับ นั่นคือประเด็นที่ ๑
ประเด็นที่ ๒ ผมกราบเรียนท่านประธานครับว่า ประโยคท้ายของวรรคนี้นี่
พูดไว้ชัดเจนครับว่า กรณีที่เกิดขึ้นตามวรรคนี้นี่ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญา
ต่อผู้กระทำการดังกล่าว แล้วเมื่อสักครู่ผมก็ได้กราบเรียนเหตุผลไปแล้วว่า ในทางประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญานั้น การที่จะไปกล่าวโทษต่อเจ้าพนักงานของรัฐนั้นนี่
ไม่จำเป็นต้องเป็นประจักษ์พยาน ใครก็ได้ที่ทราบว่า มีบุคคลกระทำความผิดเกิดขึ้น โดยที่
ไม่ต้องไปรู้ตัวเลยว่า ใครเป็นผู้กระทำความผิด ก็มีสิทธิที่จะไปกล่าวโทษต่อเจ้าพนักงาน
ของรัฐ เพื่อให้ดำเนินการสอบสวนได้ ทีนี้ถ้าท่านวางความหมาย หรือนัยของมันไว้ต่างกัน
นี่ ผมกราบเรียนครับว่า ถ้าผมทราบว่า มีคนกำลังจะล้มล้างการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข แต่ผมไม่รู้เห็นในรายละเอียด ท่านบอก
ผมไปร้องเรียนต่ออัยการไม่ได้ ผมเดินไปกล่าวโทษกับพนักงานสอบสวน เพราะวรรคนี้
บอกแล้วว่า ไม่กระทบกระเทือนต่อสิทธิในการดำเนินคดีอาญานะครับ ผมใช้สิทธิ
ไปกล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน อะไรจะเกิดขึ้นครับ ท่านประธานครับ ความต่างกัน
ในระดับการดำเนินการทางกฎหมายจะเกิดขึ้นทันที ฝั่งของอัยการสูงสุดบอก ผมไม่ใช่
ผู้รู้เห็น เพราะฉะนั้นไม่รับเรื่องร้องเรียนของผม แต่พนักงานสอบสวนต้องดำเนินคดี
นะครับ ตรงนี้จะเห็นเลยครับว่า จะเกิดนัยทางกฎหมาย จะเกิดปัญหาในทางปฏิบัติทันที
พนักงานสอบสวนปฏิเสธไม่รับคำกล่าวโทษจากผมไม่ได้ ต้องดำเนินการ แล้วถ้าพนักงาน
สอบสวนดำเนินการไปแล้ว เห็นว่ามีการกระทำความผิดจริง พนักงานสอบสวนต้องสั่ง
ฟ้องผู้กระทำความผิด แล้วในซีกของอัยการสูงสุดล่ะครับ ท่านบอกท่านไม่รับเรื่องผม
ปัญหามันจะเกิดขึ้นครับ ในทางปฏิบัติครับ ท่านประธานครับ เพราะฉะนั้นด้วยเหตุผล
ที่ผมกราบเรียน ประกอบกับที่ผมได้กราบเรียนไปแล้วว่า สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ
ในส่วนที่ ๑๓ นั้น คือ ส่วนหนึ่งในหมวดที่ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ซึ่ง
มาตรา ๔ เขียนรองรับไว้แล้วครับว่า ประชาชนคนไทยทุกคนมีสิทธิ มีเสรีภาพเสมอกัน
ตามบทบัญญัติในหมวด ๓ นี้ทั้งหมดเลยนะครับ เพราะฉะนั้นไม่น่าจะมีเงื่อนไข
ในการที่ประชาชน หรือบุคคลที่เป็นชนชาวไทยจะใช้สิทธิในการที่เขาจะไปพิทักษ์
รัฐธรรมนูญ ผ่านมาตรา ๖๗ แต่ท่านเขียนอย่างนี้ ท่านกำลังไปสร้างเงื่อนไข แปลความว่า
สิทธิเสรีภาพในหมวดนี้ไม่ได้รองรับไว้เท่าเทียมกันอย่างที่เขียนไว้อยู่ในมาตรา ๔
กราบเรียนท่านประธานครับ

หน้า 30-31 เกี่ยวกับ วรรค 3
นายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย : ขอบคุณครับท่านประธานครับ ผม สุรชัย
เลี้ยงบุญเลิศชัย นิดเดียวครับ ต่อเนื่องกับคำชี้แจงของท่านประพันธ์นะครับ ขออภัย
ที่เอ่ยนาม ที่ท่านให้เหตุผลว่า วรรคสอง ของ ๒๓๑/๑ ที่ใช้ถ้อยคำ ว่า ให้ถือว่า
พรรคการเมืองนั้นกระทำความผิด นะครับ
โดยท่านให้เหตุผลอธิบายว่า เนื่องจากในมาตรา ๖๗ วรรคท้าย เขียนให้อำนาจ
ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจสั่งยุบพรรคการเมืองที่กระทำความผิดได้ ผมกราบเรียน
ท่านประธาน และท่านกรรมาธิการยกร่างอย่างนี้ครับว่า อำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ
ตามบทบัญญัติของมาตรา ๖๗ นั้น มิได้มีแต่อำนาจในการสั่งยุบพรรคการเมือง
ตามมาตรา ๖๗ วรรคท้าย เท่านั้น หากแต่ยังมีอำนาจตามมาตรา ๖๗ วรรคสาม ในการที่
จะสั่งให้บุคคลที่กระทำความผิด คือ เข้าข่ายในการที่จะกระทำการเพื่อล้มล้างการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือกระทำการ
เพื่อให้ได้อำนาจรัฐมาโดยวิธีการอื่น นอกเหนือจากวิถีทางที่ระบุไว้ในบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญ คือ ถ้าผู้กระทำการดังกล่าวนั้นเป็นบุคคลครับ ท่านประธานครับ วรรคสาม
ของมาตรา ๖๗ บอกว่า ให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจสั่งให้ยกเลิกการกระทำ หรือยุติการ
กระทำนั้นได้ เรื่องยุบพรรคการเมืองนั้น หมายถึงผู้กระทำเป็นพรรคการเมือง ทีนี้ประเด็น
ที่ผมนำเสนอ ก็คือ ใน ๒๓๑/๑ นั้น วรรคแรกพูดถึงตัวบุคคล คือ คนที่สมัครรับเลือกตั้ง
แล้วไปทุจริตการเลือกตั้ง ๒๓๑ เขียนไว้อย่างนั้นก่อนครับ แล้ววรรคสองมาเขียนผูกว่า ถ้า
การกระทำของบุคคลที่สังกัดพรรคการเมืองนั้น พรรคการเมืองรู้เห็นเป็นใจ มีเหตุ มี
หลักฐาน ควรเชื่อได้ว่า รู้เห็นเป็นใจ แล้วไม่ยับยั้งการกระทำ ก็มาผูกรวมว่า ให้ถือว่า เป็น
การกระทำที่เข้ากับมาตรา ๖๗ ซึ่งจะนำไปสู่การสั่งเสนอให้อัยการสูงสุดนำเรื่องเสนอต่อ
ศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อสั่งยุบพรรคการเมืองนั้นได้ แต่ขณะเดียวกันการที่จะเสนอเรื่อง
ให้อัยการสูงสุดเสนอต่อศาลรัฐธรรมนูญสั่งการไปยังตัวบุคคลที่ทุจริตการเลือกตั้ง เพื่อให้
ยุติ หรือยกเลิกการกระทำที่เป็นการทุจริตการเลือกตั้ง ตามที่มาตรา ๖๗ วรรคสาม
เขียนให้สิทธิไว้นั้น มันจะเกิดขึ้นไม่ได้ เพราะท่านไปเขียนผูกเฉพาะว่า ให้อนุมานเอาว่า
การกระทำของพรรคการเมืองเท่านั้น เป็นการกระทำที่ให้ได้อำนาจรัฐมาโดยวิธีการอื่น
นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญครับ

#33 นิติรั่ว

นิติรั่ว

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,513 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 17:17


ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....

-อุดม มั่งมีดี ไม่น่าจะมีปัญหาตอนนี้ก็เป็นกรรมการ ปปท.อยู่ที่แล้วมาก็แค่เคยขึ้นเวทีเสื้อแดง
-ส่วนอีก2คนเป็นส.ส.สังกัดพรรคการเมืองเลยคงไม่ไหวมั้งครับ
ขอถามเห็นไตกลับว่า
-นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายจรัญ ภักดีธนากุล เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายจรูญ อินทจาร เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายเฉลิมพล เอกอุรุ เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายนุรักษ์ มาประณีต เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายบุญส่ง กุลบุปผา เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายสุพจน์ ไข่มุกด์ เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที
-นายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี เคยสมัคร ส.ส.พรรคใดหรือมีกรณีไหนที่ว่าไม่เป็นกลางเอามาแปะให้ดูที

เห็นไตช่วยตอบผมที
ผมไม่ใช่คนเก่งกฎหมาย แค่รู้กฎหมาย แต่ไม่เคยคิดใช้ช่องว่างของกฎหมายมาทำให้กฎหมายขาดความเป็นธรรม

#34 ริวมะคุง

ริวมะคุง

    ห้ามให้อาหารสัตว์

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,577 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 17:30

วันนี้มีแต่เรื่องฮาๆควายแดงมาโชว์โง่กันเยอะแยะน่าดูเลย :lol:


ไอ้สามตัวที่เฮนไตพูดมามันมีความรู้เรื่องกฎหมายดีพอจะเป็นศาลหรือ ๕๕๕
คนจะเป็นศาลได้ต้องผ่านอะไรมาบ้างรู้กันจริงป่าวเนี่ย
Posted Image

#35 พระฤๅษี

พระฤๅษี

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,127 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 18:50

เรื่อง...ยุบพรรค..นี่แหละ ( ที่มันคุกคามศาล )

#36 G-GEAR53

G-GEAR53

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,263 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:08


ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....


3คนที่ว่ามาเป็นใครคับ ?

แล้วผู้พิพากษา 9 ท่านเป็นใคร

โง่แล้วอวดฉลาดอีกแล้วนะเฮนไต

:lol: :lol: :lol: :lol:


จะยกตัวอย่างมาทั้งที....
ไม่แยกแยะ...ชอบเสียดสี....งี้เอง...คนกลางใน 3 โลก
ที่เขาเรียกว่าโง่กว่าควาย :lol: :lol:
...ไม่มีดินผืนใดให้ไออุ่น เท่ากับดินที่คุณถือกำเนิด ...ไม่มีดินผืนใดดูมั่นคง เท่ากับดินที่ลงสำมะโนครัว ...ไม่มีดินผืนใดให้คุณเดิน เท่ากับดินที่คุณเดินตอนตั้งไข่ ...ไม่มีดินผืนใดมีความหมาย เท่ากับ"" ดินสุดท้าย ของเผ่าพันธุ์

#37 Durian

Durian

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 67 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:46

ขออนุญาตแปะครับ มีคนเข้าไปถาม อ.มีชัย ฤชุพันธุ์ และท่านก็ได้ตอบไว้ครับ อ่านดูครับ

อ้างมาจาก http://www.meechaith...com/index1.html
รัฐธรรมนูญฯ มาตรา 68

กราบเรียนอาจารย์มีชัย
ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา 68 วรรค สอง ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อ เท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดัง กล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว
ข้อความนี้อาจตีความได้ 2 นัย คือ
(1)ผู้ ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิ “เสนอเรื่อง” ให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและ “ยื่นคำร้อง” ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว หรือ
(2) ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุด “ตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้อง” ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว
มี 7 คนเห็นตาม (1) และ 1 คนเห็นตาม (2)
หากจะตีความตามหลักกฎหมายอย่างแท้จริง ควรจะตีความอย่างไรให้ถูกต้องครับ

ด้วยความเคารพอย่างสูง


นักศึกษานิติศาสตร์

Posted Image คำตอบ Posted Image
เห็น สื่อรายงานว่าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยแล้วไม่ใช่หรือ ถ้าได้มีการวินิจฉัยแล้ว ก็คงต้องไปดูรัฐธรรมนูญมาตรา ๒๑๖ วรรคห้า ที่บัญญัติว่า "คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองค์กรอื่นของรัฐ"

มีชัย ฤชุพันธุ์
3 มิถุนายน 2555

Posted Image

#38 Alone

Alone

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,726 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:13

อ่านกระทู้นี้แล้วเข้าใจขึ้นมากเลยครับ ขอบคุณทุกท่านที่แบ่งปันข้อมูล :)

แต่ผมคิดว่ามีแนวโน้มที่เผาไทยจะดันทุรังต่อโดยไม่สนยุบพรรคเพราะ
อยาก "แตกหัก" อยู่แล้ว ถ้าโดนยุบพรรคจริงอาจมีการปลุกระดมโยนความผิด
ให้ศาลและรธน. 50 เพื่อใช้กฏหมู่มาล้มศาลและฉีกรธน. 50 ทิ้งแล้วยัด
ของตัวเองเข้าไปเลยไม่ต้องเสียเวลาแก้

#39 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:19

ผมสงสัยแค่ว่า... ถ้า...สมมุติว่า

อุดม มั่งมีดี
มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
พงษ์เทพ เทพกาญจนา

เกิดเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนุญ... แล้วทำแบบเดียวกันใน รัฐบาล ม้าก ป7..
ไม่รู้ว่าจะมี นักวิชาการ นักวิชาเกิน... หนับหนุนว่า ไม่ได้ใช้อำนาจเกินกฏหมายกำหนดหรือปล่าว...

น่าคิดเนอะ....


ลองจินตนาต่ออีกนิด...มีศาลรัฐธรรมนูญคนไหนมาเล่นการเมืองมั่ง

:)




ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน