ประเทศไทยได้รับเกียรติอีกแล้ว
#1
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:20
ได้รับการเลื่อนอันดับสูงขึ้นกว่าเดิมในฐานะ ประเทศที่ติดอันดับค่าครองชีพแพงที่สุดในโลกน่ะครับ น่าภูมิใจมากๆ
- -3-, Bookmarks, Strangerman and 4 others like this
ช่วงนี้ คนเป่านกหวีดเสียงดังกันเยอะ ปีนี้เลยกลายเป็น " ปี แสบ หู "
#2
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:27
- -3-, พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน, voodoo and 3 others like this
เขียนเรื่องการเมือง : ดราม่า ,เขียนเรื่องสังคม : ดราม่า เขียนเรื่องบันเทิง : ดราม่า
แต่พอโพสเรื่องหื่น : มีความเห็นเป็นไปทางเดียวกันเสมอ >3<
#3
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:32
Edited by ขุนพลชิน, 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:33.
#4
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:40
เงินเดือน ป. ตรี 30000 บาท ด้วยนะครับ
เอามั๊บคร๊าบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ
เชื่อมั๊ยคร๊าบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ
#6
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 13:01
http://www.numbeo.co..._by_country.jsp
ดูเปรียบเทียบระหว่าง ไตรมาสที่ 1 ของปี 2554 และ 2555 ของประเทศไทยนะครับ มีข้อมูลที่เปรียบเทียบกันคือ
Consumer product price index 2554 41.79% (คิดเทียบว่า New York City คือ 100%) /2555 50.16%
Groceries index 2554 46.22% /2555 65.47% (พระเจ้า นี่เรากำลังซื้ออาหาร แพงติดอันดับโลกแล้ว)
Local Purchasing Power index 2554 23.54% /2555 32.03%
ขอให้พวกเรา ชาวหลากสี และพันธมิตร จงมีชีวิตรอด จากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ฝีมือปูนา ไปตลอดรอดฝั่งด้วยครับ
PEMDAS ย่อมาจาก ลำดับการคำนวณ Parentheses , Exponentials , Multiply , Divide , Add , Subtract
FWGHSO ย่อมาจาก ลำดับการประเมินผลของ query FROM, WHERE, GROUP BY, HAVING, SELECT, ORDER BY
#7
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 13:02
- Bookmarks, V.Junior for Vendetta and dec9h like this
The most valuable things in life are not measured in monetary terms.
The really important things are not houses and lands, stocks and bonds, automobiles and real estate,
but friendships, trust, confidence, empathy, mercy, love and faith.
#9
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:26
ต้องแก้รัฐธรรมนูญนี่เอง
โห คิดดู
อันดับคอรัปชั่นพุ่งสูง
อันดับค่าครองชีพพุ่งสูง
แต่อันดับประเทศน่าลงทุนต่ำลง
และอันดับความสามารถในการแข่งขันต่ำลง
แล้วเราจะอยู่กันยังไงเนี้ย
แก้รัฐธรรมนูญ แล้วเอาทักษิณกลับมาสิครับ ทุกอย่างจะดีขึ้นเอง
ช่วงนี้ คนเป่านกหวีดเสียงดังกันเยอะ ปีนี้เลยกลายเป็น " ปี แสบ หู "
#10
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:36
" ประกาศบอยคอต ช่อง 3 ไม่ว่าจะข่าว ละคร หรือการ์ตูนลูก กรูไม่ดู !!! "
#11
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:45
อย่างแรก ถามว่า เอาข้อมูลมาจากไหน... เนื่องจากไม่ได้บอกผมก็ลองมาดู ข้อมูลของ คุณ ทรงธรรมประเทศไทยได้รับเกียรติระดับโลกอีกแล้ว ได้เลื่อนอันดับสูงขึ้นกว่าเดิมจากอันดับเก่าถึงเจ็ดอันดับ
มาคุยกันเราจะได้ สนทนาได้ ดีกว่า อวยมาก ด่าปู ด่าแดง แก้ รธน...
ปี อันดับ/จำนวนประเทศ CPI RI CPP GI RPI LPPI
2012 76/90 Thailand 50.16 17.59 38.44 65.47 27.35 32.03
2011 78/83 Thailand 41.79 21.72 34.58 46.22 24.84 23.54
2010 59/62 Thailand 36.56 21.56 29.86 51.31 28.24 30.76
2009 44/36 Thailand 39.85 24.49 33.76 53.30 25.32 33.42
จาก ปีที่แล้ว ขึ้น มา 2 อันดับ... ถ้าดูแค่อันดับแสดงว่าเราแย่ลง ...
ถ้าคิดได้เท่านี้ก็ผิดแล้ว.... หาเจอไหมครับว่าผิดเพราะอะไร...
ใบ้ให้ ดู ปี 2009....
งั้นไม่ดู อันดับ... หวังว่าคงทราบแล้วนะครับว่าใช้ไม่ได้เพราะอะไร...
มาดู ตัวเลขดีกว่า...
CPI 4 ปี แนวโน้มเพิ่มขึ้น... แต่ เรายังน้อย กว่า Iran Argentinaม Montenegro Malaysia Indonesia Serbia... คิดง่ายๆว่า ในปี 2012 เราอยู่ที่ 76 จาก 90... มีกี่ประเทศที่ CPI มากกว่าเรา... คิดเป็นกี่%
สำหรับ ท่าน ทรงธรรม... ผมว่า ไม่ว่า มันจะ กี่% ของ New York ... เราก็ยังอยู่ในประเทศ พวก CPI ต่ำอยู่ดี....
RI 4 ปี แนวโน้ม ลดลง...
ตัวเลขอื่น ก็ เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย... ไม่มีแนวโน้มอะไร...
มันก็เป็นแบบนี้ละครับ...
ถ้าท่าน จขกท ไปเอาข้อมูลมาจากที่ไหน ช่วย reference ด้วย เพราะไม่งั้นก็ ไม่มีน้ำหนัก...
ถ้าจริงผมจะได้คล้อยตามท่าน....
Edited by hentai, 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:46.
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
#12
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:46
#13
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 14:53
อยากได้ข้อมูล คงต้องไปดูรายการทีวีย้อนหลัง ช่องสาม ช่วงเศรษฐกิจโลก เวลาประมาณเที่ยงวันนี้ล่ะครับของคุณ ท่าน ทรงธรรม สำหรับข้อมูลดิบนะครับ... หลังๆเนี่ย คนแถวนี้เค้าไม่กล้าเอามาให้ผมดูแล้วครับ... เพราะอะไรจะได้ทราบต่อไป...
อย่างแรก ถามว่า เอาข้อมูลมาจากไหน... เนื่องจากไม่ได้บอกผมก็ลองมาดู ข้อมูลของ คุณ ทรงธรรมประเทศไทยได้รับเกียรติระดับโลกอีกแล้ว ได้เลื่อนอันดับสูงขึ้นกว่าเดิมจากอันดับเก่าถึงเจ็ดอันดับ
มาคุยกันเราจะได้ สนทนาได้ ดีกว่า อวยมาก ด่าปู ด่าแดง แก้ รธน...
ปี อันดับ/จำนวนประเทศ CPI RI CPP GI RPI LPPI
2012 76/90 Thailand 50.16 17.59 38.44 65.47 27.35 32.03
2011 78/83 Thailand 41.79 21.72 34.58 46.22 24.84 23.54
2010 59/62 Thailand 36.56 21.56 29.86 51.31 28.24 30.76
2009 44/36 Thailand 39.85 24.49 33.76 53.30 25.32 33.42
จาก ปีที่แล้ว ขึ้น มา 2 อันดับ... ถ้าดูแค่อันดับแสดงว่าเราแย่ลง ...
ถ้าคิดได้เท่านี้ก็ผิดแล้ว.... หาเจอไหมครับว่าผิดเพราะอะไร...
ใบ้ให้ ดู ปี 2009....
งั้นไม่ดู อันดับ... หวังว่าคงทราบแล้วนะครับว่าใช้ไม่ได้เพราะอะไร...
มาดู ตัวเลขดีกว่า...
CPI 4 ปี แนวโน้มเพิ่มขึ้น... แต่ เรายังน้อย กว่า Iran Argentinaม Montenegro Malaysia Indonesia Serbia... คิดง่ายๆว่า ในปี 2012 เราอยู่ที่ 76 จาก 90... มีกี่ประเทศที่ CPI มากกว่าเรา... คิดเป็นกี่%
สำหรับ ท่าน ทรงธรรม... ผมว่า ไม่ว่า มันจะ กี่% ของ New York ... เราก็ยังอยู่ในประเทศ พวก CPI ต่ำอยู่ดี....
RI 4 ปี แนวโน้ม ลดลง...
ตัวเลขอื่น ก็ เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย... ไม่มีแนวโน้มอะไร...
มันก็เป็นแบบนี้ละครับ...
ถ้าท่าน จขกท ไปเอาข้อมูลมาจากที่ไหน ช่วย reference ด้วย เพราะไม่งั้นก็ ไม่มีน้ำหนัก...
ถ้าจริงผมจะได้คล้อยตามท่าน....
ช่วงนี้ คนเป่านกหวีดเสียงดังกันเยอะ ปีนี้เลยกลายเป็น " ปี แสบ หู "
#14
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 15:01
อยากได้ข้อมูล คงต้องไปดูรายการทีวีย้อนหลัง ช่องสาม ช่วงเศรษฐกิจโลก เวลาประมาณเที่ยงวันนี้ล่ะครับ
ของคุณ ท่าน ทรงธรรม สำหรับข้อมูลดิบนะครับ... หลังๆเนี่ย คนแถวนี้เค้าไม่กล้าเอามาให้ผมดูแล้วครับ... เพราะอะไรจะได้ทราบต่อไป...อย่างแรก ถามว่า เอาข้อมูลมาจากไหน... เนื่องจากไม่ได้บอกผมก็ลองมาดู ข้อมูลของ คุณ ทรงธรรมประเทศไทยได้รับเกียรติระดับโลกอีกแล้ว ได้เลื่อนอันดับสูงขึ้นกว่าเดิมจากอันดับเก่าถึงเจ็ดอันดับ
มาคุยกันเราจะได้ สนทนาได้ ดีกว่า อวยมาก ด่าปู ด่าแดง แก้ รธน...
ปี อันดับ/จำนวนประเทศ CPI RI CPP GI RPI LPPI
2012 76/90 Thailand 50.16 17.59 38.44 65.47 27.35 32.03
2011 78/83 Thailand 41.79 21.72 34.58 46.22 24.84 23.54
2010 59/62 Thailand 36.56 21.56 29.86 51.31 28.24 30.76
2009 44/36 Thailand 39.85 24.49 33.76 53.30 25.32 33.42
จาก ปีที่แล้ว ขึ้น มา 2 อันดับ... ถ้าดูแค่อันดับแสดงว่าเราแย่ลง ...
ถ้าคิดได้เท่านี้ก็ผิดแล้ว.... หาเจอไหมครับว่าผิดเพราะอะไร...
ใบ้ให้ ดู ปี 2009....
งั้นไม่ดู อันดับ... หวังว่าคงทราบแล้วนะครับว่าใช้ไม่ได้เพราะอะไร...
มาดู ตัวเลขดีกว่า...
CPI 4 ปี แนวโน้มเพิ่มขึ้น... แต่ เรายังน้อย กว่า Iran Argentinaม Montenegro Malaysia Indonesia Serbia... คิดง่ายๆว่า ในปี 2012 เราอยู่ที่ 76 จาก 90... มีกี่ประเทศที่ CPI มากกว่าเรา... คิดเป็นกี่%
สำหรับ ท่าน ทรงธรรม... ผมว่า ไม่ว่า มันจะ กี่% ของ New York ... เราก็ยังอยู่ในประเทศ พวก CPI ต่ำอยู่ดี....
RI 4 ปี แนวโน้ม ลดลง...
ตัวเลขอื่น ก็ เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย... ไม่มีแนวโน้มอะไร...
มันก็เป็นแบบนี้ละครับ...
ถ้าท่าน จขกท ไปเอาข้อมูลมาจากที่ไหน ช่วย reference ด้วย เพราะไม่งั้นก็ ไม่มีน้ำหนัก...
ถ้าจริงผมจะได้คล้อยตามท่าน....
ข่าวทางทีวี... ที่มาที่ไปหายาก...
งั้นไม่เป็นไร ไม่ว่ากันครับ...
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
#15
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 15:11
ขอไว้อาลัยให้ พวกที่ โดดงับ อย่างหนุกหนานไม่ลืมหูลืมตา...
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
#16
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 15:32
http://www.mercer.co...r#City_rankingsAsia Pacific
This year, Tokyo (1) emerged as the most expensive city for expatriates both in Asia and globally. Climbing three places since 2011, Osaka (3) is the next Asian city on the list, followed by Singapore (6) and Hong Kong (9). Nagoya, Japan (10), is up one place, and Shanghai (16) and Beijing (17) climbed five and three places respectively, overtaking Seoul (22, down three places). Two more Chinese cities follow: Shenzhen (30) and Guangzhou (31), up 13 and seven places respectively since 2011. “The combination of increased prices on goods and a strengthening of the Chinese yuan has pushed Chinese cities up the ranking. Continued high demand for accommodation has also led to moderate increases in rental costs,” said Ms Constantin-Métral.
In India, New Delhi (113) and Mumbai (114) have dropped considerably – by 28 and 19 places respectively. Elsewhere in Asia, Jakarta (61) is up eight places, Bangkok (81) is up seven and Kuala Lumpur (102) is up two places. Hanoi’s position remained unchanged at 136, and Karachi (214) remains the region’s least expensive city for expatriates.
Australian cities continue to rank high on the list in the Asia Pacific region and, following the strengthening of the Australian dollar, have all experienced further jumps up the global list since last year. Sydney (11) and Melbourne (15) experienced relatively moderate jumps, up three and six places respectively, whereas Perth (19) and Canberra (23) both jumped 11 places. Brisbane (24) rose by seven places, and Adelaide (27) shot up 19 places. Australia now has three surveyed cities in the top 20 and all six surveyed cities in the top 30. In New Zealand, both Auckland (56) and Wellington (74) both jumped a very significant 62 places.
“The leap up the list by cities in New Zealand follows large increases in both accommodation cost and demand, coupled with a stronger New Zealand dollar,” explained Ms Constantin-Métral. “Demand for rental properties has also increased significantly in all the Australian cities we rank. Coupled with very limited availability, the result has been very tight markets and increased prices.”
Mercer produces individual cost of living and rental accommodation cost reports for each city surveyed. For details, or to purchase copies of the individual city reports, visit www.mercer.com/costofliving or call Client Services, Warsaw on +48 22 434 5383.
- ศรอรชุน and อาวุโสโอเค like this
#17
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 15:39
ขอบคุณครับที่เอาเรื่องอ้างอิงมาให้ เพราะผมดูจากทีวีช่องสามเขารายงานข่าวน่ะครับเป็นผลสำรวจของ Mercer group ในหัวข้อ Worldwide Cost of Living Survey 2012
http://www.mercer.co...r#City_rankings
Asia Pacific
This year, Tokyo (1) emerged as the most expensive city for expatriates both in Asia and globally. Climbing three places since 2011, Osaka (3) is the next Asian city on the list, followed by Singapore (6) and Hong Kong (9). Nagoya, Japan (10), is up one place, and Shanghai (16) and Beijing (17) climbed five and three places respectively, overtaking Seoul (22, down three places). Two more Chinese cities follow: Shenzhen (30) and Guangzhou (31), up 13 and seven places respectively since 2011. “The combination of increased prices on goods and a strengthening of the Chinese yuan has pushed Chinese cities up the ranking. Continued high demand for accommodation has also led to moderate increases in rental costs,” said Ms Constantin-Métral.
In India, New Delhi (113) and Mumbai (114) have dropped considerably – by 28 and 19 places respectively. Elsewhere in Asia, Jakarta (61) is up eight places, Bangkok (81) is up seven and Kuala Lumpur (102) is up two places. Hanoi’s position remained unchanged at 136, and Karachi (214) remains the region’s least expensive city for expatriates.
Australian cities continue to rank high on the list in the Asia Pacific region and, following the strengthening of the Australian dollar, have all experienced further jumps up the global list since last year. Sydney (11) and Melbourne (15) experienced relatively moderate jumps, up three and six places respectively, whereas Perth (19) and Canberra (23) both jumped 11 places. Brisbane (24) rose by seven places, and Adelaide (27) shot up 19 places. Australia now has three surveyed cities in the top 20 and all six surveyed cities in the top 30. In New Zealand, both Auckland (56) and Wellington (74) both jumped a very significant 62 places.
“The leap up the list by cities in New Zealand follows large increases in both accommodation cost and demand, coupled with a stronger New Zealand dollar,” explained Ms Constantin-Métral. “Demand for rental properties has also increased significantly in all the Australian cities we rank. Coupled with very limited availability, the result has been very tight markets and increased prices.”
Mercer produces individual cost of living and rental accommodation cost reports for each city surveyed. For details, or to purchase copies of the individual city reports, visit www.mercer.com/costofliving or call Client Services, Warsaw on +48 22 434 5383.
ช่วงนี้ คนเป่านกหวีดเสียงดังกันเยอะ ปีนี้เลยกลายเป็น " ปี แสบ หู "
#18
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 15:41
ผมลองดูข้อมูล ของ food price index จาก
http://www.fao.org/w...pricesindex/en/
ผมลองประเมินดูจากความรู้สึกผมเองนะครับ ว่าราคาอาหารจากช่วงปี 2554 เทียบกับ 2555 แล้ว มีแนวโน้มลดลง แต่อย่างที่ผมได้แสดงความสนใจตัวเลข Groceries index ว่าสูงขึ้นจากปี 2554 มาที่ปี 2555 อย่างมาก
อยากให้ช่วยลอง วิเคราะห์กันหน่อยครับ ว่าเป็นเพราะอะไร แต่โดยส่วนตัวผมคิดเอาว่าน่าจะมีผลมาจาก นโยบายค่าแรง 300 บาทครับ
ขอให้พวกเรา ชาวหลากสี และพันธมิตร จงมีชีวิตรอด จากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ฝีมือปูนา ไปตลอดรอดฝั่งด้วยครับ
PEMDAS ย่อมาจาก ลำดับการคำนวณ Parentheses , Exponentials , Multiply , Divide , Add , Subtract
FWGHSO ย่อมาจาก ลำดับการประเมินผลของ query FROM, WHERE, GROUP BY, HAVING, SELECT, ORDER BY
#19
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 15:46
ขอบคุณครับที่เอาเรื่องอ้างอิงมาให้ เพราะผมดูจากทีวีช่องสามเขารายงานข่าวน่ะครับ
เป็นผลสำรวจของ Mercer group ในหัวข้อ Worldwide Cost of Living Survey 2012http://www.mercer.co...r#City_rankings
Asia Pacific
This year, Tokyo (1) emerged as the most expensive city for expatriates both in Asia and globally. Climbing three places since 2011, Osaka (3) is the next Asian city on the list, followed by Singapore (6) and Hong Kong (9). Nagoya, Japan (10), is up one place, and Shanghai (16) and Beijing (17) climbed five and three places respectively, overtaking Seoul (22, down three places). Two more Chinese cities follow: Shenzhen (30) and Guangzhou (31), up 13 and seven places respectively since 2011. “The combination of increased prices on goods and a strengthening of the Chinese yuan has pushed Chinese cities up the ranking. Continued high demand for accommodation has also led to moderate increases in rental costs,” said Ms Constantin-Métral.
In India, New Delhi (113) and Mumbai (114) have dropped considerably – by 28 and 19 places respectively. Elsewhere in Asia, Jakarta (61) is up eight places, Bangkok (81) is up seven and Kuala Lumpur (102) is up two places. Hanoi’s position remained unchanged at 136, and Karachi (214) remains the region’s least expensive city for expatriates.
Australian cities continue to rank high on the list in the Asia Pacific region and, following the strengthening of the Australian dollar, have all experienced further jumps up the global list since last year. Sydney (11) and Melbourne (15) experienced relatively moderate jumps, up three and six places respectively, whereas Perth (19) and Canberra (23) both jumped 11 places. Brisbane (24) rose by seven places, and Adelaide (27) shot up 19 places. Australia now has three surveyed cities in the top 20 and all six surveyed cities in the top 30. In New Zealand, both Auckland (56) and Wellington (74) both jumped a very significant 62 places.
“The leap up the list by cities in New Zealand follows large increases in both accommodation cost and demand, coupled with a stronger New Zealand dollar,” explained Ms Constantin-Métral. “Demand for rental properties has also increased significantly in all the Australian cities we rank. Coupled with very limited availability, the result has been very tight markets and increased prices.”
Mercer produces individual cost of living and rental accommodation cost reports for each city surveyed. For details, or to purchase copies of the individual city reports, visit www.mercer.com/costofliving or call Client Services, Warsaw on +48 22 434 5383.
เฮนไตก็ต้องไว้อาลัยให้ตัวเองแทนน่ะสิ
#20
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 15:55
ขอบคุณครับที่เอาเรื่องอ้างอิงมาให้ เพราะผมดูจากทีวีช่องสามเขารายงานข่าวน่ะครับ
เป็นผลสำรวจของ Mercer group ในหัวข้อ Worldwide Cost of Living Survey 2012http://www.mercer.co...r#City_rankings
Asia Pacific
This year, Tokyo (1) emerged as the most expensive city for expatriates both in Asia and globally. Climbing three places since 2011, Osaka (3) is the next Asian city on the list, followed by Singapore (6) and Hong Kong (9). Nagoya, Japan (10), is up one place, and Shanghai (16) and Beijing (17) climbed five and three places respectively, overtaking Seoul (22, down three places). Two more Chinese cities follow: Shenzhen (30) and Guangzhou (31), up 13 and seven places respectively since 2011. “The combination of increased prices on goods and a strengthening of the Chinese yuan has pushed Chinese cities up the ranking. Continued high demand for accommodation has also led to moderate increases in rental costs,” said Ms Constantin-Métral.
In India, New Delhi (113) and Mumbai (114) have dropped considerably – by 28 and 19 places respectively. Elsewhere in Asia, Jakarta (61) is up eight places, Bangkok (81) is up seven and Kuala Lumpur (102) is up two places. Hanoi’s position remained unchanged at 136, and Karachi (214) remains the region’s least expensive city for expatriates.
Australian cities continue to rank high on the list in the Asia Pacific region and, following the strengthening of the Australian dollar, have all experienced further jumps up the global list since last year. Sydney (11) and Melbourne (15) experienced relatively moderate jumps, up three and six places respectively, whereas Perth (19) and Canberra (23) both jumped 11 places. Brisbane (24) rose by seven places, and Adelaide (27) shot up 19 places. Australia now has three surveyed cities in the top 20 and all six surveyed cities in the top 30. In New Zealand, both Auckland (56) and Wellington (74) both jumped a very significant 62 places.
“The leap up the list by cities in New Zealand follows large increases in both accommodation cost and demand, coupled with a stronger New Zealand dollar,” explained Ms Constantin-Métral. “Demand for rental properties has also increased significantly in all the Australian cities we rank. Coupled with very limited availability, the result has been very tight markets and increased prices.”
Mercer produces individual cost of living and rental accommodation cost reports for each city surveyed. For details, or to purchase copies of the individual city reports, visit www.mercer.com/costofliving or call Client Services, Warsaw on +48 22 434 5383.
เฮนไตก็ต้องไว้อาลัยให้ตัวเองแทนน่ะสิ
ก็แค่ข้อมูลคนละชุดอะครับ.... ผมถึงถามหาข้อมูลไงครับ
ท่าน จขกท บอกว่า มาจาก ทีวี ก็ไม่ว่ากัน ผมเข้าใจง่าย.... ไม่เป็นพวก pushy....
เมื่อ มีข้อมูลงันผมขอถอนคำพูดที่ว่า ...
ขอไว้อาลัยให้ พวกที่ โดดงับ อย่างหนุกหนานไม่ลืมหูลืมตา...
ไว้ผมย่อยข้อมูลของท่านก่อน แล้ว ค่อยว่ากันใหม่...
Edited by hentai, 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 15:56.
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
#22
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 16:03
ขอบคุณครับที่เอาเรื่องอ้างอิงมาให้ เพราะผมดูจากทีวีช่องสามเขารายงานข่าวน่ะครับ
เป็นผลสำรวจของ Mercer group ในหัวข้อ Worldwide Cost of Living Survey 2012http://www.mercer.co...r#City_rankings
Asia Pacific
This year, Tokyo (1) emerged as the most expensive city for expatriates both in Asia and globally. Climbing three places since 2011, Osaka (3) is the next Asian city on the list, followed by Singapore (6) and Hong Kong (9). Nagoya, Japan (10), is up one place, and Shanghai (16) and Beijing (17) climbed five and three places respectively, overtaking Seoul (22, down three places). Two more Chinese cities follow: Shenzhen (30) and Guangzhou (31), up 13 and seven places respectively since 2011. “The combination of increased prices on goods and a strengthening of the Chinese yuan has pushed Chinese cities up the ranking. Continued high demand for accommodation has also led to moderate increases in rental costs,” said Ms Constantin-Métral.
In India, New Delhi (113) and Mumbai (114) have dropped considerably – by 28 and 19 places respectively. Elsewhere in Asia, Jakarta (61) is up eight places, Bangkok (81) is up seven and Kuala Lumpur (102) is up two places. Hanoi’s position remained unchanged at 136, and Karachi (214) remains the region’s least expensive city for expatriates.
Australian cities continue to rank high on the list in the Asia Pacific region and, following the strengthening of the Australian dollar, have all experienced further jumps up the global list since last year. Sydney (11) and Melbourne (15) experienced relatively moderate jumps, up three and six places respectively, whereas Perth (19) and Canberra (23) both jumped 11 places. Brisbane (24) rose by seven places, and Adelaide (27) shot up 19 places. Australia now has three surveyed cities in the top 20 and all six surveyed cities in the top 30. In New Zealand, both Auckland (56) and Wellington (74) both jumped a very significant 62 places.
“The leap up the list by cities in New Zealand follows large increases in both accommodation cost and demand, coupled with a stronger New Zealand dollar,” explained Ms Constantin-Métral. “Demand for rental properties has also increased significantly in all the Australian cities we rank. Coupled with very limited availability, the result has been very tight markets and increased prices.”
Mercer produces individual cost of living and rental accommodation cost reports for each city surveyed. For details, or to purchase copies of the individual city reports, visit www.mercer.com/costofliving or call Client Services, Warsaw on +48 22 434 5383.
เฮนไตก็ต้องไว้อาลัยให้ตัวเองแทนน่ะสิ
ก็แค่ข้อมูลคนละชุดอะครับ.... ผมถึงถามหาข้อมูลไงครับ
ท่าน จขกท บอกว่า มาจาก ทีวี ก็ไม่ว่ากัน ผมเข้าใจง่าย.... ไม่เป็นพวก pushy....
เมื่อ มีข้อมูลงันผมขอถอนคำพูดที่ว่า ...
ขอไว้อาลัยให้ พวกที่ โดดงับ อย่างหนุกหนานไม่ลืมหูลืมตา...
ไว้ผมย่อยข้อมูลของท่านก่อน แล้ว ค่อยว่ากันใหม่...
....... อย่า ย่อย นาน ล่ะ เดี๊ยวจะ ลืม ๆ กันหมด ....
#23
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 16:12
ฺถ้า ซิดนีย์ ไม่ใช่ประเทศแล้ว.... ผมว่า Bangkok ก็ไม่ใช่ประเทศไทยด้วย.... ไม่ว่ากันนะครับ...
In India, New Delhi (113) and Mumbai (114) have dropped considerably – by 28 and 19 places respectively. Elsewhere in Asia, Jakarta (61) is up eight places, Bangkok (81) is up seven and Kuala Lumpur (102) is up two places. Hanoi’s position remained unchanged at 136, and Karachi (214) remains the region’s least expensive city for expatriates.
ประเทศไทยได้รับเกียรติระดับโลกอีกแล้ว ได้เลื่อนอันดับสูงขึ้นกว่าเดิมจากอันดับเก่าถึงเจ็ดอันดับ
ข้อมูลคนละสำนัก... ของคุณ ทรงธรรม ประเทศ
ของ จขกท เมือง.... ลำดับที่ได้ เป็น ลำดับเมืองนะครับ... ไม่ใช่ประเทศ... ประเทศหนึ่งอาจติดหลายเมือง....
และ เนื่อง จาก เค้า ขาย ข้อมูลดังนั้น ไม่สามารถดูได้ว่า ที่ว่า ขยับมา 7 ที่ มาจาก ปีไหน raw data เป็นอย่างไร... มีประเทศที่นับเท่ากันหรือไ่ม่...
อย่างไรก็ ก็เลือก ตีความกันตามชอบนะครับ..
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
#24
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 16:13
วันนี้หมดเวลาพรุ่งนี้เจอกัน....
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
#25
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 16:26
มีหลักฐานที่ศาลรับรองรึยัง
ประชาธิปไตยก็เหมือนส้วมสาธารณะแบบนั่งเต็มตูด ควายนับถือศาสนาชินวัตรใช้แล้วสกปรกชิบเป๋ง
#26
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 16:34
สืบเนื่องจากที่ผมได้ไปดูข้อมูล food price index (อ้างอิงอีกที)
http://www.fao.org/w...pricesindex/en/
ว่าราคาอาหารมีแนวโน้ม สูงขึ้นนับจากปี 2009-2011 และเริ่มลดลงในปี 2012
มาดู Consumer price index ของกระทรวงพาณิชย์นะครับ จะเห็นว่า ราคาอาหารสูงขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2010 และ 2011 ตามนี้ ซึ่งเป็นไปตามราคาอาหารโลก
http://www.indexpr.m..._region=country
ขณะที่ จะเห็นว่า ราคาอาหารสูงขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2011 และ 2012 ซึ่งสวนทางกับราคาอาหารโลก ตามนี้
http://www.indexpr.m..._region=country
จะเห็นได้ว่า ถ้าเทียบกันปีต่อปี ในไทยเองแล้วอาจเห็นว่าเป็นเรื่องปกติ เพราะราคาอาหารขึ้นทุกปี แต่เมื่อมาดูราคาอาหารโลกแล้ว ก็ให้คิดครับว่าแทนที่ราคาอาหารจะลดลง หรืออย่างน้อยควรเท่าเดิม เป็นเพราะผลงานของรัฐบาลหรือเปล่า
ขอให้พวกเรา ชาวหลากสี และพันธมิตร จงมีชีวิตรอด จากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ฝีมือปูนา ไปตลอดรอดฝั่งด้วยครับ
PEMDAS ย่อมาจาก ลำดับการคำนวณ Parentheses , Exponentials , Multiply , Divide , Add , Subtract
FWGHSO ย่อมาจาก ลำดับการประเมินผลของ query FROM, WHERE, GROUP BY, HAVING, SELECT, ORDER BY
#27
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 16:38
ช่วงนี้ คนเป่านกหวีดเสียงดังกันเยอะ ปีนี้เลยกลายเป็น " ปี แสบ หู "
#28
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 16:43
หลังจาก ย่อยอย่างไวแล้ว...
ฺถ้า ซิดนีย์ ไม่ใช่ประเทศแล้ว.... ผมว่า Bangkok ก็ไม่ใช่ประเทศไทยด้วย.... ไม่ว่ากันนะครับ...
เฮนไต รู้สึกจะเจ็บแทน แม่(ปู) มากนะครับ
อะไรที่ควรจะยอมรับ ก็ทำใจยอมรับ มันเถอะครับ
อย่าไปคิดเล็กคิดน้อยเลย แดกดันอยู่เลย มันจะประสาทแด.... ก เอา
- เพื่อนร่วมชาติ and ฉันรักเมืองไทย like this
#29
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 16:49
แต่ก่อนจะมีเงินแบบคนรวย ต้องซื้อของราคาคนรวยก่อนนะค้าาาา
ใครทนไม่ได้ก็ตายไปก่อนได้ค้าาา คนจนจะได้หมดประเทศ
ประชาธิปไตยก็เหมือนส้วมสาธารณะแบบนั่งเต็มตูด ควายนับถือศาสนาชินวัตรใช้แล้วสกปรกชิบเป๋ง
#30
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 17:13
ของคุณ ท่าน ทรงธรรม สำหรับข้อมูลดิบนะครับ... หลังๆเนี่ย คนแถวนี้เค้าไม่กล้าเอามาให้ผมดูแล้วครับ... เพราะอะไรจะได้ทราบต่อไป...
อย่างแรก ถามว่า เอาข้อมูลมาจากไหน... เนื่องจากไม่ได้บอกผมก็ลองมาดู ข้อมูลของ คุณ ทรงธรรมประเทศไทยได้รับเกียรติระดับโลกอีกแล้ว ได้เลื่อนอันดับสูงขึ้นกว่าเดิมจากอันดับเก่าถึงเจ็ดอันดับ
มาคุยกันเราจะได้ สนทนาได้ ดีกว่า อวยมาก ด่าปู ด่าแดง แก้ รธน...
ปี อันดับ/จำนวนประเทศ CPI RI CPP GI RPI LPPI
2012 76/90 Thailand 50.16 17.59 38.44 65.47 27.35 32.03
2011 78/83 Thailand 41.79 21.72 34.58 46.22 24.84 23.54
2010 59/62 Thailand 36.56 21.56 29.86 51.31 28.24 30.76
2009 44/36 Thailand 39.85 24.49 33.76 53.30 25.32 33.42
จาก ปีที่แล้ว ขึ้น มา 2 อันดับ... ถ้าดูแค่อันดับแสดงว่าเราแย่ลง ...
ถ้าคิดได้เท่านี้ก็ผิดแล้ว.... หาเจอไหมครับว่าผิดเพราะอะไร...
ใบ้ให้ ดู ปี 2009....
งั้นไม่ดู อันดับ... หวังว่าคงทราบแล้วนะครับว่าใช้ไม่ได้เพราะอะไร...
มาดู ตัวเลขดีกว่า...
CPI 4 ปี แนวโน้มเพิ่มขึ้น... แต่ เรายังน้อย กว่า Iran Argentinaม Montenegro Malaysia Indonesia Serbia... คิดง่ายๆว่า ในปี 2012 เราอยู่ที่ 76 จาก 90... มีกี่ประเทศที่ CPI มากกว่าเรา... คิดเป็นกี่%
สำหรับ ท่าน ทรงธรรม... ผมว่า ไม่ว่า มันจะ กี่% ของ New York ... เราก็ยังอยู่ในประเทศ พวก CPI ต่ำอยู่ดี....
RI 4 ปี แนวโน้ม ลดลง...
ตัวเลขอื่น ก็ เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย... ไม่มีแนวโน้มอะไร...
มันก็เป็นแบบนี้ละครับ...
ถ้าท่าน จขกท ไปเอาข้อมูลมาจากที่ไหน ช่วย reference ด้วย เพราะไม่งั้นก็ ไม่มีน้ำหนัก...
ถ้าจริงผมจะได้คล้อยตามท่าน....
สำรวจจาก 214 ประเทศ เมือง Bangkok ของประเทศ Thailand อยู่ที่ 81 จากปีก่อนที่ 88 แพงกว่า เมืองอย่าง Frankfurt Luxemberg Barcelona และ Munich อย่างน่าประหลาดใจ
http://www.romandie....20620120906.pdf
#31
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 18:14
ก่อน กระทู้จะตกไปเพราะ ไม่มีใครกล้า เล่น อีกแล้วตามเคย...
ขอไว้อาลัยให้ พวกที่ โดดงับ อย่างหนุกหนานไม่ลืมหูลืมตา...
ของคุณ ท่าน ทรงธรรม สำหรับข้อมูลดิบนะครับ... หลังๆเนี่ย คนแถวนี้เค้าไม่กล้าเอามาให้ผมดูแล้วครับ... เพราะอะไรจะได้ทราบต่อไป...
อย่างแรก ถามว่า เอาข้อมูลมาจากไหน... เนื่องจากไม่ได้บอกผมก็ลองมาดู ข้อมูลของ คุณ ทรงธรรมประเทศไทยได้รับเกียรติระดับโลกอีกแล้ว ได้เลื่อนอันดับสูงขึ้นกว่าเดิมจากอันดับเก่าถึงเจ็ดอันดับ
มาคุยกันเราจะได้ สนทนาได้ ดีกว่า อวยมาก ด่าปู ด่าแดง แก้ รธน...
ปี อันดับ/จำนวนประเทศ CPI RI CPP GI RPI LPPI
2012 76/90 Thailand 50.16 17.59 38.44 65.47 27.35 32.03
2011 78/83 Thailand 41.79 21.72 34.58 46.22 24.84 23.54
2010 59/62 Thailand 36.56 21.56 29.86 51.31 28.24 30.76
2009 44/36 Thailand 39.85 24.49 33.76 53.30 25.32 33.42
จาก ปีที่แล้ว ขึ้น มา 2 อันดับ... ถ้าดูแค่อันดับแสดงว่าเราแย่ลง ...
ถ้าคิดได้เท่านี้ก็ผิดแล้ว.... หาเจอไหมครับว่าผิดเพราะอะไร...
ใบ้ให้ ดู ปี 2009....
งั้นไม่ดู อันดับ... หวังว่าคงทราบแล้วนะครับว่าใช้ไม่ได้เพราะอะไร...
มาดู ตัวเลขดีกว่า...
CPI 4 ปี แนวโน้มเพิ่มขึ้น... แต่ เรายังน้อย กว่า Iran Argentinaม Montenegro Malaysia Indonesia Serbia... คิดง่ายๆว่า ในปี 2012 เราอยู่ที่ 76 จาก 90... มีกี่ประเทศที่ CPI มากกว่าเรา... คิดเป็นกี่%
สำหรับ ท่าน ทรงธรรม... ผมว่า ไม่ว่า มันจะ กี่% ของ New York ... เราก็ยังอยู่ในประเทศ พวก CPI ต่ำอยู่ดี....
RI 4 ปี แนวโน้ม ลดลง...
ตัวเลขอื่น ก็ เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย... ไม่มีแนวโน้มอะไร...
มันก็เป็นแบบนี้ละครับ...
ถ้าท่าน จขกท ไปเอาข้อมูลมาจากที่ไหน ช่วย reference ด้วย เพราะไม่งั้นก็ ไม่มีน้ำหนัก...
ถ้าจริงผมจะได้คล้อยตามท่าน....
คุณ hentai ช่วยอธิบายเรื่อง Cost of Living Index for Country หน่อยนะครับ ว่าเข้าใจอย่างไร
พรุ่งนี้ผมจะมาอ่าน ที่คุณ hentai อธิบายว่าเป็นอย่างไรครับ
Edited by Rodgers16, 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 18:18.
If you try hard enough, you can be whatever you want to be.
#32
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 18:18
สาวกแมงสาป สงสัยอยู่แต่ในรู
#34
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 18:24
ประเทศลาว-เขมร ของแพงกว่าประเทศไทยอีก รวมไปถึงน้ำมัน แก้สหุงต้ม
สาวกแมงสาป สงสัยอยู่แต่ในรู
หูยยยย ของบ้านเราถูกกว่า ลาว ถูกกว่า เขมร
โคดภูมิใจเลยว่ะครับ
#35
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 18:26
ประเทศลาว-เขมร ของแพงกว่าประเทศไทยอีก รวมไปถึงน้ำมัน แก้สหุงต้ม
สาวกแมงสาป สงสัยอยู่แต่ในรู
นี่ก็ตรรกะวิบัติแบบ Argumentum ad Hominem Tu Quoque ได้อีก
คือถ้าประเทศเราค่าครองชีพแพง ต้องไปอ้างประเทศเจริญน้อยกว่าแต่ค่าครองชีพแพงกว่า เพื่อมาหาความชอบธรรมให้ตัวเอง
บ้าป่าววะ??!!! หอยนี่
- เบื่อดราม่าอันหาสาระมิได้ likes this
#36
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 18:46
งงครับ
เฮนไตเป็นใคร สำคัญอย่างไร
ถึงมาสั่งปิดกระทู้
มันชักจะมากไปแล้วนะ
#37
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:10
ก่อน กระทู้จะตกไปเพราะ ไม่มีใครกล้า เล่น อีกแล้วตามเคย...
ขอไว้อาลัยให้ พวกที่ โดดงับ อย่างหนุกหนานไม่ลืมหูลืมตา...ของคุณ ท่าน ทรงธรรม สำหรับข้อมูลดิบนะครับ... หลังๆเนี่ย คนแถวนี้เค้าไม่กล้าเอามาให้ผมดูแล้วครับ... เพราะอะไรจะได้ทราบต่อไป...
อย่างแรก ถามว่า เอาข้อมูลมาจากไหน... เนื่องจากไม่ได้บอกผมก็ลองมาดู ข้อมูลของ คุณ ทรงธรรมประเทศไทยได้รับเกียรติระดับโลกอีกแล้ว ได้เลื่อนอันดับสูงขึ้นกว่าเดิมจากอันดับเก่าถึงเจ็ดอันดับ
มาคุยกันเราจะได้ สนทนาได้ ดีกว่า อวยมาก ด่าปู ด่าแดง แก้ รธน...
ปี อันดับ/จำนวนประเทศ CPI RI CPP GI RPI LPPI
2012 76/90 Thailand 50.16 17.59 38.44 65.47 27.35 32.03
2011 78/83 Thailand 41.79 21.72 34.58 46.22 24.84 23.54
2010 59/62 Thailand 36.56 21.56 29.86 51.31 28.24 30.76
2009 44/36 Thailand 39.85 24.49 33.76 53.30 25.32 33.42
จาก ปีที่แล้ว ขึ้น มา 2 อันดับ... ถ้าดูแค่อันดับแสดงว่าเราแย่ลง ...
ถ้าคิดได้เท่านี้ก็ผิดแล้ว.... หาเจอไหมครับว่าผิดเพราะอะไร...
ใบ้ให้ ดู ปี 2009....
งั้นไม่ดู อันดับ... หวังว่าคงทราบแล้วนะครับว่าใช้ไม่ได้เพราะอะไร...
มาดู ตัวเลขดีกว่า...
CPI 4 ปี แนวโน้มเพิ่มขึ้น... แต่ เรายังน้อย กว่า Iran Argentinaม Montenegro Malaysia Indonesia Serbia... คิดง่ายๆว่า ในปี 2012 เราอยู่ที่ 76 จาก 90... มีกี่ประเทศที่ CPI มากกว่าเรา... คิดเป็นกี่%
สำหรับ ท่าน ทรงธรรม... ผมว่า ไม่ว่า มันจะ กี่% ของ New York ... เราก็ยังอยู่ในประเทศ พวก CPI ต่ำอยู่ดี....
RI 4 ปี แนวโน้ม ลดลง...
ตัวเลขอื่น ก็ เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย... ไม่มีแนวโน้มอะไร...
มันก็เป็นแบบนี้ละครับ...
ถ้าท่าน จขกท ไปเอาข้อมูลมาจากที่ไหน ช่วย reference ด้วย เพราะไม่งั้นก็ ไม่มีน้ำหนัก...
ถ้าจริงผมจะได้คล้อยตามท่าน....
คุณ hentai ช่วยอธิบายเรื่อง Cost of Living Index for Country หน่อยนะครับ ว่าเข้าใจอย่างไร
พรุ่งนี้ผมจะมาอ่าน ที่คุณ hentai อธิบายว่าเป็นอย่างไรครับ
อยากรู้ว่าข้อมูลพวกนี้ถูกวิเคราะห์ออกมาอย่างถูกต้องหรือไม่ ต้องให้คนรู้จริงมาคอนเฟิร์ม
#38
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:18
ปิดกระทู้ได้ยัง....
วันนี้หมดเวลาพรุ่งนี้เจอกัน....
เลิกงาน 4 โมงเย็นเหมือนในเอกสารที่ได้เลยแฮะ
---------------------------------------
#39
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:18
ตกลงเฮนไต มาแล้ว ไปแล้ว หมดเวลาเล่นแล้ว
งงครับ
เฮนไตเป็นใคร สำคัญอย่างไร
ถึงมาสั่งปิดกระทู้
มันชักจะมากไปแล้วนะ
ปล่อยไปเถอะ....เค้าหมดเวลางานแล้วน่ะครับ
Edited by god_of_rah, 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:19.
---------------------------------------
#40
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:20
หลังจาก ย่อยอย่างไวแล้ว...
ฺถ้า ซิดนีย์ ไม่ใช่ประเทศแล้ว.... ผมว่า Bangkok ก็ไม่ใช่ประเทศไทยด้วย.... ไม่ว่ากันนะครับ...
ผมว่า กทม ก็เป็นส่วนหนึ่งของประเทศนะครับ แต่ ที่แน่ ๆ ซิดนี่ย์นี่ไม่ใช่ชื่อประเทศแน่ ๆ ครับ
อีกอย่าง มันไม่มีใครพูดผิดว่า กทม เป็น ประเทศ กทม นะครับ ไม่เหมือน ซิดนี่ย์แถมคนพูดนี่เป็นถึงนายก เชียวนะ ไม่อายบ้างหรอ ผิดซ้ำผิดซาก
---------------------------------------
#41
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:30
เอาจากประสบการณ์จริงตอนนี้ เท่าที่ทราบราคาอาหารบางอย่างในประเทศเพื่อนบ้านที่รวยกว่าเรา ผลิตอาหารเองไม่พอต้องนำเข้า ดันถูกกว่าเรา
เช่น
ที่บรูไน ข้าวที่ชื่อว่า นาซีกาโต๊ะ ราคาถูกมาก เพียง 1 ริงกิตบรูไน หรือราวๆ 25 บาทไทย
ซึ่งผมค่อนข้างแปลกใจ ปัจจุบันข้าวในมาเลย์ ราวๆ 4 - 5 ริงกิตมาเลย์ หรือ 40-50 บาท ซึ่งหากคิดเทียบค่าแรงถูกมาก
เรากำลังเผชิญราคาสินค้าที่แพงเป็นประวัติการณ์
#42
ตอบ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:42
ว่าเรื่องอาหารนิด
เอาจากประสบการณ์จริงตอนนี้ เท่าที่ทราบราคาอาหารบางอย่างในประเทศเพื่อนบ้านที่รวยกว่าเรา ผลิตอาหารเองไม่พอต้องนำเข้า ดันถูกกว่าเรา
เช่น
ที่บรูไน ข้าวที่ชื่อว่า นาซีกาโต๊ะ ราคาถูกมาก เพียง 1 ริงกิตบรูไน หรือราวๆ 25 บาทไทย
ซึ่งผมค่อนข้างแปลกใจ ปัจจุบันข้าวในมาเลย์ ราวๆ 4 - 5 ริงกิตมาเลย์ หรือ 40-50 บาท ซึ่งหากคิดเทียบค่าแรงถูกมาก
เรากำลังเผชิญราคาสินค้าที่แพงเป็นประวัติการณ์
ผมกำลังสงสัยตัวเลขเหมือนกันว่าทำไม Jakarta (61) กับ Bangkok (81) ถึงสูงกว่า Kuala Lumpur (102) ที่มีรายได้มากกว่าเราเกือบสองเท่า
#43
ตอบ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 01:03
ประเทศลาว-เขมร ของแพงกว่าประเทศไทยอีก รวมไปถึงน้ำมัน แก้สหุงต้ม
สาวกแมงสาป สงสัยอยู่แต่ในรู
_______
ไม่ได้ดิ. ท่านนายกบอกว่าเราต้องเทียบชั้นเขมร ลาวให้ได้ในปีสองปีนี้
#44
ตอบ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 05:35
If you try hard enough, you can be whatever you want to be.
#45
ตอบ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 05:55
จริงๆแล้วผมว่า คุณ จุด แกรู้แต่รู้ไม่หมด
ประเทศลาว-เขมร ของแพงกว่าประเทศไทยอีก รวมไปถึงน้ำมัน แก้สหุงต้ม
สาวกแมงสาป สงสัยอยู่แต่ในรู
_______
ไม่ได้ดิ. ท่านนายกบอกว่าเราต้องเทียบชั้นเขมร ลาวให้ได้ในปีสองปีนี้
ผมสั่งไม้จากลาวบ่อย บอกได้ไม้เขาถูกกว่าเรามาก แต่ก็เป็นความจริงอีกนั้นแหละที่อาหารเขาแพงกว่าเรา
ผมว่าหลายท่านติดจาน True และคงเคยชมรายการอาหารจากทางญี่ปุ่น สังเกตราคานะครับ หลายอย่างราคาเท่าบ้านเราทั้งๆที่ค่าแรงเขาสูงกว่าเรามาก
ตอนอยู่ดูไบ ราคาอาหารต่อมื้อผมราวๆ 8-10 ดีแฮม หรือราวๆ 70 - 90 บาท(อย่าถามมื้อพิเศษ อันนั้นแพง) ค่าแรงคนงานไ่รวมโอทีคนละ 80-90 หรือราวๆ 720 - 810 บาท
ค่าแรงคนงานผม ซื้ออาหารได้ราวๆ 10 มื้อต่อวัน
ในขณะที่ค่าแรงคนงานไทยปัจจุบัน 300 บาท แต่ราคาอาหารต่อมื้อ 50-60 บาท เท่ากับว่าค่าแรง 1 วัน ซื้ออาหารได้ราวๆ 5-6 มื้อต่อวัน
ค่าอาหารใครแพงกว่า?
Edited by sigree, 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 06:37.
- Ricebeanoil likes this
#46
ตอบ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 06:03
ราคาหญ้าถูกจะตาย
#47
ตอบ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 06:13
พาณิชย์ ออกประกาศราคาแนะนำอาหาร 7 เมนูยอดฮิต ให้ขายได้ 20-30 บาท เน้นคุมตามอาคารสำนักงาน ศูนย์การค้า มีผลบังคับใช้ภายในเดือนมิถุนายนนี้
วานนี้ (10 มิถุนายน) นางวัชรี วิมุกตายน อธิบดีกรมการค้าภายใน กล่าวถึงความคืบหน้าในการพิจารณากำหนดราคาจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ ว่า ขณะนี้ทางกรมการค้าภายในได้ออกประกาศราคาแนะนำอาหารปรุงสำเร็จที่ผู้บริโภคนิยม เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายในราคาที่กำหนดแล้ว โดยมีทั้งหมด 7 รายการที่ห้ามขายเกิน 20-30 บาท เช่น ข้าวไข่เจียว ข้าวกะเพราหมู ข้าวกะเพราไก่ ข้าวราดแกง 1 อย่าง 25 บาท ข้าวราดแกง 2 อย่าง 30 บาท ไม่รวมอาหารทะเลและเนื้อ ส่วนไข่ดาวให้ขายฟองละ 5 บาท
สำหรับตัวเลขราคาดังกล่าวนั้น นางวัชรี ระบุว่า กรมการค้าภายในพิจารณาเพื่อให้สอดคล้องกับต้นทุนผู้ประกอบการ ผู้บริโภคระดับกลางและระดับล่าง เพื่อเป็นการดูแลภาระค่าครองชีพของประชาชน โดยกรมการค้าภายในจะเน้นเข้าไปดูแลในพื้นที่ที่ประชาชนมีทางเลือกในการบริโภคน้อย เช่น อาคารสำนักงาน ศูนย์การค้า เพื่อไม่ให้บวกกำไรมากเกินไป เนื่องจากมีรายได้หลักจากการขายสินค้าอยู่แล้ว
ด้านนายบุญทรง เตยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กล่าวว่า ได้สั่งให้คณะกรรมการกำกับดูแลอาหารปรุงสำเร็จเร่งจัดทำรายละเอียดเรื่องดังกล่าวแล้ว เพื่อให้มีผลบังคับใช้ได้ทันเดือนมิถุนายนนี้
#48
ตอบ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 06:17
ประเทศลาว-เขมร ของแพงกว่าประเทศไทยอีก รวมไปถึงน้ำมัน แก้สหุงต้ม
สาวกแมงสาป สงสัยอยู่แต่ในรู
เหนื่อยใจกับน้องใหม่ โชว์ NGO บ่อยๆ ระวังโดนตบเกรียนนะครับ
ถ้ากลับประเทศเหล่านั้นมีประเทศไหนมีโรงกลั่นน้ำมันบ้าง นำเข้าน้ำมันจากประเทศไทยทั้งนั้น
ถ้าไม่อุดหนุนราคาน้ำมันและแก๊สหุงต้ม รับรองไม่มีทางถูกกว่าประเทศไทยแน่
#49
ตอบ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 08:08
อ๋อ! ไปแล้วเหรอ ที่ทำให้แพงก็คือค่าตั๋วเครื่องบิน ค่ารถทัวร์ ค่านำ้มันไปเชียงใหม่ ค่าเวลาเดินทาง (เดินทางวันหนึ่งค่าแรงก็ไม่ได้ค่าแรง 300 บาทแล้ว)
เข้าใจแล้ว ไอ้โอ๊คคิดอะไรเกิน 3 บันทัดไม่ได้
#50
ตอบ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 08:24
อย่าทำให้บรรพบุรุษเราร้องไห้นะ อุตส่าห์สู้ศึกสร้างบ้านสร้างเมืองให้ประเทศไทย (สยาม อโยธยา อณาจักรสุโขทัย) เป็นหนึ่งในแหลมทอง ในตะวันออกเฉียงใต้ ในเอเชีย ใน 10 ประเทศที่มีคนครึ่งโลก (ของนายกคนสาวที่ชาวเสื้อแดงภูมิใจนะ) มันได้ดีกว่าลาว-เขมรเท่านั้นนะ เพราะมีคน here ทำร้ายทำลายประเทศ ขายชาติเลย
ตื่นกันได้แล้วครับผม
Edited by sudthorn, 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 08:26.
ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน