พรุ่งนี้ เตรียมโอเลี้ยง-ข้าวผัด ไปรอรับ อภิสิทธิ์-สุเทพ กันหรือยัง
#1
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:23
จับตา 17กันยาฯ ศาลนัดพิพากษาาคดี"พัน คำกอง"แท็กซี่เสื้อแดง เสียชีวิตวันกระชับพื้นที่ พฤษภาฯ53
วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 เวลา 14:29:58 น.
วันที่ 17 กันยายน เวลา 09.00น. ศาลอาญาจะนัดฟังคำสั่งคดีนายพัน คำกอง คนขับแท็กซี่ชาวยโสธร
คดีนี้จะเป็นคดีแรกจาก 19สำนวนคดีคนเสื้อแดงที่พนักงานอัยการยื่นร้องต่อศาล
นายพัน คำกอง อายุ 43 ปี เสียชีวิต เมื่อวันที่ 15พฤษภาคม 2553 ช่วงเวลา 00.05-01.00 น. บริเวณหน้าคอนโดมิเนียม ′ไอดีโอ′ ใกล้แอร์พอร์ตลิงก์ พื้นที่ สน.พญาไท เป็นจุดประจำการของทหารที่ได้รับคำสั่งจากศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)
ในขณะนั้นมีเหตุยิงสกัดรถตู้ที่เข้ามาในพื้นที่
จากสำนวนการสอบสวนพบว่า วันที่ 14 พฤษภาคม ก่อนเกิดเหตุ นายพันไปอู่แท็กซี่ย่านวัดสระเกศ เพื่อขับแท็กซี่ประกอบอาชีพ ช่วงนั้นรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และมีคำสั่งขอคืนพื้นที่แถบราชปรารภ
เวลา 20.00 น.วันที่ 15พฤษภาคม นายพันโทรศัพท์แจ้งบุตรสาวว่าเดินทางกลับไม่ได้ มาหลบภัยบริเวณงานก่อสร้างคอนโดฯแห่งหนึ่งย่านราชปรารภ เป็นการติดต่อครั้งสุดท้าย จากนั้นเที่ยงคืน เจ้าหน้าที่รปภ.คอนโดฯ โทรศัพท์แจ้งนางหนูชิต คำกอง ภรรยาของนายพันว่านายพันถูกทหารยิงเสียชีวิต
ต่อมาศพถูกนำไปชันสูตรที่ โรงพยาบาลรามาธิบดี สังเกตเห็นรอยกระสุนใต้ราวนมซ้ายทะลุออกซี่โครง และรอยกระสุนที่แขนด้านขวา
ในเช้าวันที่ 17กันยายน ศาลจะอ่านรายละเอียดของคดีว่าผู้ตายเป็นใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณ์ที่ตายเป็นอย่างไร
ถ้ามีคนทำร้ายให้ตาย ศาลจะสั่งว่าเป็นใครใช่ฝีมือของเจ้าหน้าที่รัฐจริงหรือไม่
หากศาลเห็นพ้องตามที่อัยการเสนอและมีคำสั่งออกมาจะส่งสำนวนการไต่สวนดังกล่าวกลับมาให้พนักงานอัยการ เพื่อส่งต่อไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ในฐานะผู้รับผิดชอบคดี 98 ศพ พิจารณาเป็นสำนวนคดีฆาตกรรม
ถ้าสาเหตุการเสียชีวิตของนายพันตายชี้ชัดเกิดจากเหตุการณ์ความไม่สงบ และเกิดจากกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ จะทำให้พลทหารที่ประจำการบริเวณจุดเกิดเหตุนายพันเสียชีวิต มีความผิดมาตรา 288 ฐานฆ่าคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย
หากพิสูจน์พบว่าพลทหารปฎิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงาน แม้เป็นคำสั่งไม่ชอบ แต่เมื่อปฎิบัติหน้าที่โดยสุจริต ไม่ต้องรับโทษ
สำหรับเจ้าพนักงานผู้เกี่ยวข้องกับคำสั่งการระดับสูงสุด ในครั้งนี้คือ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกฯ และ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกฯ ในฐานะอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ผอ.ศอฉ.)
(ข้อมูล: หนังสือพิมพ์ข่าวสด)
#2
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:28
ไม่ได้ตามข่าว....เค้าใช้กฏหมายวิ อาญา จากรัฐธรรมนูญฉบับดาวอังคาร กันตั้งแต่เมื่อไหร่เนี่ย
#3
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:31
กฎหมายมันก็แค่สิงที่สร้างมาอย่างมีเป้าหมาย แต่หาก เอาแต่บอกว่ากฎหมายเป็นแบบนี้ แบบนั้น โดยไม่สนใจว่าเป้าหมายจริงๆ นันคืออะไร ก็คงไม่ใช่
#4
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:31
เอาให้หนักไปเลยยยย รอตามข่าวอยู่
#5
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:33
#6
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:35
ยังไง มาร์ค ก้อรอด
พอมาร์ครอด แดงก้อแถ ต่อไปว่า ศาลอำมาตย์ อ่ะ อุ้มมาร์ดให้รอด
ไม่เชื่อเคยดู !!!
ฟันธง
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
#7
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:36
สาธุขอให้ไปคุกที่หลักสี่ จะได้จัดหนักทุกคืน
จัดหนักนี่อะไรหรือครับ
กฎหมายมันก็แค่สิงที่สร้างมาอย่างมีเป้าหมาย แต่หาก เอาแต่บอกว่ากฎหมายเป็นแบบนี้ แบบนั้น โดยไม่สนใจว่าเป้าหมายจริงๆ นันคืออะไร ก็คงไม่ใช่
#8
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:40
- พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน and superduke like this
#9
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:40
ส่วนคนที่กระทำผิดกฏหมายคือผู้ฝ่าฝืนพรบ หมูก็โง่เชื่อแกนนำง่ายเหนาะ หลอกง่ายๆ โง่กว่าควายอีก!!!!
เอ็งขอเป็น"ขี้ข้าโจร" ข้าเลือกเป็น"ข้าธุลีพระบาท" เอ็งขอเป็น"ไพร่" ข้าเลือกเป็น"พสกนิกร"
#10
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:41
#11
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:42
#12
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:42
สาธุขอให้ไปคุกที่หลักสี่ จะได้จัดหนักทุกคืน
จัดหนักนี่อะไรหรือครับ
ดูจากการวางก้ามแล้ว หมูอวกากคงจะมีบุพพการีติดคุกหัวโตอยู่ในนั้นนะครับ ท่าทางจะขาใหญ่....
#13
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:42
#14
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:46
ระวังโดนแขวนคอละกันนะแม้ว ให้พวกลูกน้องทำอาหารดีๆ ไว้เซ่นไหว้ซะ
#15
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:51
สาธุขอให้ไปคุกที่หลักสี่ จะได้จัดหนักทุกคืน
โธ่ไอ้หมู.....อ่านที่กุเน้นนิดนึง....ยังไม่ได้ติดคุกนะเว้ย...ยังอีกยาวววววว
จับตา 17กันยาฯ ศาลนัดพิพากษาาคดี"พัน คำกอง"แท็กซี่เสื้อแดง เสียชีวิตวันกระชับพื้นที่ พฤษภาฯ53
วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 เวลา 14:29:58 น.
วันที่ 17 กันยายน เวลา 09.00น. ศาลอาญาจะนัดฟังคำสั่งคดีนายพัน คำกอง คนขับแท็กซี่ชาวยโสธร
คดีนี้จะเป็นคดีแรกจาก 19สำนวนคดีคนเสื้อแดงที่พนักงานอัยการยื่นร้องต่อศาล
นายพัน คำกอง อายุ 43 ปี เสียชีวิต เมื่อวันที่ 15พฤษภาคม 2553 ช่วงเวลา 00.05-01.00 น. บริเวณหน้าคอนโดมิเนียม ′ไอดีโอ′ ใกล้แอร์พอร์ตลิงก์ พื้นที่ สน.พญาไท เป็นจุดประจำการของทหารที่ได้รับคำสั่งจากศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)
ในขณะนั้นมีเหตุยิงสกัดรถตู้ที่เข้ามาในพื้นที่
จากสำนวนการสอบสวนพบว่า วันที่ 14 พฤษภาคม ก่อนเกิดเหตุ นายพันไปอู่แท็กซี่ย่านวัดสระเกศ เพื่อขับแท็กซี่ประกอบอาชีพ ช่วงนั้นรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และมีคำสั่งขอคืนพื้นที่แถบราชปรารภ
เวลา 20.00 น.วันที่ 15พฤษภาคม นายพันโทรศัพท์แจ้งบุตรสาวว่าเดินทางกลับไม่ได้ มาหลบภัยบริเวณงานก่อสร้างคอนโดฯแห่งหนึ่งย่านราชปรารภ เป็นการติดต่อครั้งสุดท้าย จากนั้นเที่ยงคืน เจ้าหน้าที่รปภ.คอนโดฯ โทรศัพท์แจ้งนางหนูชิต คำกอง ภรรยาของนายพันว่านายพันถูกทหารยิงเสียชีวิต
ต่อมาศพถูกนำไปชันสูตรที่ โรงพยาบาลรามาธิบดี สังเกตเห็นรอยกระสุนใต้ราวนมซ้ายทะลุออกซี่โครง และรอยกระสุนที่แขนด้านขวา
ในเช้าวันที่ 17กันยายน ศาลจะอ่านรายละเอียดของคดีว่าผู้ตายเป็นใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณ์ที่ตายเป็นอย่างไร
ถ้ามีคนทำร้ายให้ตาย ศาลจะสั่งว่าเป็นใครใช่ฝีมือของเจ้าหน้าที่รัฐจริงหรือไม่
หากศาลเห็นพ้องตามที่อัยการเสนอและมีคำสั่งออกมาจะส่งสำนวนการไต่สวนดังกล่าวกลับมาให้พนักงานอัยการ เพื่อส่งต่อไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ในฐานะผู้รับผิดชอบคดี 98 ศพ พิจารณาเป็นสำนวนคดีฆาตกรรม
ถ้าสาเหตุการเสียชีวิตของนายพันตายชี้ชัดเกิดจากเหตุการณ์ความไม่สงบ และเกิดจากกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ จะทำให้พลทหารที่ประจำการบริเวณจุดเกิดเหตุนายพันเสียชีวิต มีความผิดมาตรา 288 ฐานฆ่าคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย
หากพิสูจน์พบว่าพลทหารปฎิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงาน แม้เป็นคำสั่งไม่ชอบ แต่เมื่อปฎิบัติหน้าที่โดยสุจริต ไม่ต้องรับโทษ
สำหรับเจ้าพนักงานผู้เกี่ยวข้องกับคำสั่งการระดับสูงสุด ในครั้งนี้คือ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกฯ และ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกฯ ในฐานะอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ผอ.ศอฉ.)
(ข้อมูล: หนังสือพิมพ์ข่าวสด)
กุว่าเอาไอ้โอเลี้ยงกับข้าวผัดอะไรของเอ็งน่ะ...ไปเยี่ยมไอ้เจ๋งพลางๆก่อนละกัน...จะได้ไม่เสียของ
ส่วนเรื่องจัดหนัก...ถามไอ้เจ๋งเอาละกันว่าโดนมั่งป่าว
Edited by สุกี้น้อย, 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:52.
#16
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:53
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
#17
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:56
ในรูปคดีนั้นต้องดูว่าพนักงานเจ้าหน้าที่กระทำการโดยมีกฎหมายรองรับหรือไม่
ตำรวจฆ่าโจร ก็ต้องทำสำนวนคดีส่งศาล
ไม่มีอะไรในกอไผ่...หากคิดว่าเป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่ก็ไม่มีความผิด
แต่ถ้าเป็นพวกเดียวกันเองยิง...งานนี้ "ตายฟรี"
Edited by Can Thai, 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:57.
#18
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:58
ถ้าคนมีวิชั่น เขาจะมองเห็นอนาคต
สาธุขอให้ไปคุกที่หลักสี่ จะได้จัดหนักทุกคืนโธ่ไอ้หมู.....อ่านที่กุเน้นนิดนึง....ยังไม่ได้ติดคุกนะเว้ย...ยังอีกยาวววววว
จับตา 17กันยาฯ ศาลนัดพิพากษาาคดี"พัน คำกอง"แท็กซี่เสื้อแดง เสียชีวิตวันกระชับพื้นที่ พฤษภาฯ53
วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 เวลา 14:29:58 น.
วันที่ 17 กันยายน เวลา 09.00น. ศาลอาญาจะนัดฟังคำสั่งคดีนายพัน คำกอง คนขับแท็กซี่ชาวยโสธร
คดีนี้จะเป็นคดีแรกจาก 19สำนวนคดีคนเสื้อแดงที่พนักงานอัยการยื่นร้องต่อศาล
นายพัน คำกอง อายุ 43 ปี เสียชีวิต เมื่อวันที่ 15พฤษภาคม 2553 ช่วงเวลา 00.05-01.00 น. บริเวณหน้าคอนโดมิเนียม ′ไอดีโอ′ ใกล้แอร์พอร์ตลิงก์ พื้นที่ สน.พญาไท เป็นจุดประจำการของทหารที่ได้รับคำสั่งจากศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)
ในขณะนั้นมีเหตุยิงสกัดรถตู้ที่เข้ามาในพื้นที่
จากสำนวนการสอบสวนพบว่า วันที่ 14 พฤษภาคม ก่อนเกิดเหตุ นายพันไปอู่แท็กซี่ย่านวัดสระเกศ เพื่อขับแท็กซี่ประกอบอาชีพ ช่วงนั้นรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และมีคำสั่งขอคืนพื้นที่แถบราชปรารภ
เวลา 20.00 น.วันที่ 15พฤษภาคม นายพันโทรศัพท์แจ้งบุตรสาวว่าเดินทางกลับไม่ได้ มาหลบภัยบริเวณงานก่อสร้างคอนโดฯแห่งหนึ่งย่านราชปรารภ เป็นการติดต่อครั้งสุดท้าย จากนั้นเที่ยงคืน เจ้าหน้าที่รปภ.คอนโดฯ โทรศัพท์แจ้งนางหนูชิต คำกอง ภรรยาของนายพันว่านายพันถูกทหารยิงเสียชีวิต
ต่อมาศพถูกนำไปชันสูตรที่ โรงพยาบาลรามาธิบดี สังเกตเห็นรอยกระสุนใต้ราวนมซ้ายทะลุออกซี่โครง และรอยกระสุนที่แขนด้านขวา
ในเช้าวันที่ 17กันยายน ศาลจะอ่านรายละเอียดของคดีว่าผู้ตายเป็นใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณ์ที่ตายเป็นอย่างไร
ถ้ามีคนทำร้ายให้ตาย ศาลจะสั่งว่าเป็นใครใช่ฝีมือของเจ้าหน้าที่รัฐจริงหรือไม่
หากศาลเห็นพ้องตามที่อัยการเสนอและมีคำสั่งออกมาจะส่งสำนวนการไต่สวนดังกล่าวกลับมาให้พนักงานอัยการ เพื่อส่งต่อไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ในฐานะผู้รับผิดชอบคดี 98 ศพ พิจารณาเป็นสำนวนคดีฆาตกรรม
ถ้าสาเหตุการเสียชีวิตของนายพันตายชี้ชัดเกิดจากเหตุการณ์ความไม่สงบ และเกิดจากกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ จะทำให้พลทหารที่ประจำการบริเวณจุดเกิดเหตุนายพันเสียชีวิต มีความผิดมาตรา 288 ฐานฆ่าคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย
หากพิสูจน์พบว่าพลทหารปฎิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงาน แม้เป็นคำสั่งไม่ชอบ แต่เมื่อปฎิบัติหน้าที่โดยสุจริต ไม่ต้องรับโทษ
สำหรับเจ้าพนักงานผู้เกี่ยวข้องกับคำสั่งการระดับสูงสุด ในครั้งนี้คือ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกฯ และ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกฯ ในฐานะอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ผอ.ศอฉ.)
(ข้อมูล: หนังสือพิมพ์ข่าวสด)
กุว่าเอาไอ้โอเลี้ยงกับข้าวผัดอะไรของเอ็งน่ะ...ไปเยี่ยมไอ้เจ๋งพลางๆก่อนละกัน...จะได้ไม่เสียของ
ส่วนเรื่องจัดหนัก...ถามไอ้เจ๋งเอาละกันว่าโดนมั่งป่าว
คดีนี้ ถ้าทหารผิด ก็เหมือนเป็นการเริ่มเปิดแผล ของผู้สั่งการ
- ฟังทั้งสองฝ่าย likes this
#19
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 19:59
ถ้าคนมีวิชั่น เขาจะมองเห็นอนาคต
สาธุขอให้ไปคุกที่หลักสี่ จะได้จัดหนักทุกคืนโธ่ไอ้หมู.....อ่านที่กุเน้นนิดนึง....ยังไม่ได้ติดคุกนะเว้ย...ยังอีกยาวววววว
จับตา 17กันยาฯ ศาลนัดพิพากษาาคดี"พัน คำกอง"แท็กซี่เสื้อแดง เสียชีวิตวันกระชับพื้นที่ พฤษภาฯ53
วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 เวลา 14:29:58 น.
วันที่ 17 กันยายน เวลา 09.00น. ศาลอาญาจะนัดฟังคำสั่งคดีนายพัน คำกอง คนขับแท็กซี่ชาวยโสธร
คดีนี้จะเป็นคดีแรกจาก 19สำนวนคดีคนเสื้อแดงที่พนักงานอัยการยื่นร้องต่อศาล
นายพัน คำกอง อายุ 43 ปี เสียชีวิต เมื่อวันที่ 15พฤษภาคม 2553 ช่วงเวลา 00.05-01.00 น. บริเวณหน้าคอนโดมิเนียม ′ไอดีโอ′ ใกล้แอร์พอร์ตลิงก์ พื้นที่ สน.พญาไท เป็นจุดประจำการของทหารที่ได้รับคำสั่งจากศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)
ในขณะนั้นมีเหตุยิงสกัดรถตู้ที่เข้ามาในพื้นที่
จากสำนวนการสอบสวนพบว่า วันที่ 14 พฤษภาคม ก่อนเกิดเหตุ นายพันไปอู่แท็กซี่ย่านวัดสระเกศ เพื่อขับแท็กซี่ประกอบอาชีพ ช่วงนั้นรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และมีคำสั่งขอคืนพื้นที่แถบราชปรารภ
เวลา 20.00 น.วันที่ 15พฤษภาคม นายพันโทรศัพท์แจ้งบุตรสาวว่าเดินทางกลับไม่ได้ มาหลบภัยบริเวณงานก่อสร้างคอนโดฯแห่งหนึ่งย่านราชปรารภ เป็นการติดต่อครั้งสุดท้าย จากนั้นเที่ยงคืน เจ้าหน้าที่รปภ.คอนโดฯ โทรศัพท์แจ้งนางหนูชิต คำกอง ภรรยาของนายพันว่านายพันถูกทหารยิงเสียชีวิต
ต่อมาศพถูกนำไปชันสูตรที่ โรงพยาบาลรามาธิบดี สังเกตเห็นรอยกระสุนใต้ราวนมซ้ายทะลุออกซี่โครง และรอยกระสุนที่แขนด้านขวา
ในเช้าวันที่ 17กันยายน ศาลจะอ่านรายละเอียดของคดีว่าผู้ตายเป็นใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณ์ที่ตายเป็นอย่างไร
ถ้ามีคนทำร้ายให้ตาย ศาลจะสั่งว่าเป็นใครใช่ฝีมือของเจ้าหน้าที่รัฐจริงหรือไม่
หากศาลเห็นพ้องตามที่อัยการเสนอและมีคำสั่งออกมาจะส่งสำนวนการไต่สวนดังกล่าวกลับมาให้พนักงานอัยการ เพื่อส่งต่อไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ในฐานะผู้รับผิดชอบคดี 98 ศพ พิจารณาเป็นสำนวนคดีฆาตกรรม
ถ้าสาเหตุการเสียชีวิตของนายพันตายชี้ชัดเกิดจากเหตุการณ์ความไม่สงบ และเกิดจากกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ จะทำให้พลทหารที่ประจำการบริเวณจุดเกิดเหตุนายพันเสียชีวิต มีความผิดมาตรา 288 ฐานฆ่าคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย
หากพิสูจน์พบว่าพลทหารปฎิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงาน แม้เป็นคำสั่งไม่ชอบ แต่เมื่อปฎิบัติหน้าที่โดยสุจริต ไม่ต้องรับโทษ
สำหรับเจ้าพนักงานผู้เกี่ยวข้องกับคำสั่งการระดับสูงสุด ในครั้งนี้คือ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกฯ และ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกฯ ในฐานะอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ผอ.ศอฉ.)
(ข้อมูล: หนังสือพิมพ์ข่าวสด)
กุว่าเอาไอ้โอเลี้ยงกับข้าวผัดอะไรของเอ็งน่ะ...ไปเยี่ยมไอ้เจ๋งพลางๆก่อนละกัน...จะได้ไม่เสียของ
ส่วนเรื่องจัดหนัก...ถามไอ้เจ๋งเอาละกันว่าโดนมั่งป่าว
คดีนี้ ถ้าทหารผิด ก็เหมือนเป็นการเริ่มเปิดแผล ของผู้สั่งการ
วิชั่น หรือ ฝันเปียก วะหมูอวกาก
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
#20
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:00
กฎหมายนั้น เขาให้ยิงโจรครับลุง ไม่ได้มีไว้ให้ยิงคนบริสุทธิ์ เล่นๆได้คดีแบบนี้ก็เหมือนการทำคดีวิสามัญฆาตกรรม ธรรมดา ๆ
ในรูปคดีนั้นต้องดูว่าพนักงานเจ้าหน้าที่กระทำการโดยมีกฎหมายรองรับหรือไม่
ตำรวจฆ่าโจร ก็ต้องทำสำนวนคดีส่งศาล
ไม่มีอะไรในกอไผ่...หากคิดว่าเป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่ก็ไม่มีความผิด
แต่ถ้าเป็นพวกเดียวกันเองยิง...งานนี้ "ตายฟรี"
แล้วมันจะได้รับการคุ้มครองได้ยังไง เลอะเทอะ
มันก็เหมือน ม.309 นั่นแหละ ว่าทำอะไรก็ไม่ผิด มันต้องดูเจตนาด้วย ไม่ใช่มีกฎหมายรองรับแล้ว จะทำอะไรก็่ได้
#21
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:02
กฎหมายนั้น เขาให้ยิงโจรครับลุง ไม่ได้มีไว้ให้ยิงคนบริสุทธิ์ เล่นๆได้
คดีแบบนี้ก็เหมือนการทำคดีวิสามัญฆาตกรรม ธรรมดา ๆ
ในรูปคดีนั้นต้องดูว่าพนักงานเจ้าหน้าที่กระทำการโดยมีกฎหมายรองรับหรือไม่
ตำรวจฆ่าโจร ก็ต้องทำสำนวนคดีส่งศาล
ไม่มีอะไรในกอไผ่...หากคิดว่าเป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่ก็ไม่มีความผิด
แต่ถ้าเป็นพวกเดียวกันเองยิง...งานนี้ "ตายฟรี"
แล้วมันจะได้รับการคุ้มครองได้ยังไง เลอะเทอะ
มันก็เหมือน ม.309 นั่นแหละ ว่าทำอะไรก็ไม่ผิด มันต้องดูเจตนาด้วย ไม่ใช่มีกฎหมายรองรับแล้ว จะทำอะไรก็่ได้
เพราะโดนโจรยิง เขาก็ยิงต้องโจร ก็ถูกแล้วนิ่
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
#22
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:02
POPULAR
ขอสองห่อนะหมู
- แสนยานุภาพ, David_GinoLa, juemmy and 10 others like this
"When injustice becomes law, resistance becomes duty." - Thomas Jefferson
"เมื่อผู้รักษากฎหมายอยู่ฝ่ายเดียวกับโจร การประจานจึงกลายเป็นภารกิจ" - Me.
#23
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:02
2 ศาลส่งคืนอัยการ อัยการส่งคืนให้ตำรวจรวบรวมหลักฐานเพื่อส่งฟ้อง
3 ตำรวจรวบรวมหลักฐาน ถามว่า ทหาiคนไหน ชื่ออะไร เป็นคนยิง ยิงจากปืน กระบอกไหน
แรงจูงใจเป็นอย่างไร เจ้าหน้าที่มีเจตนาฆ่าหรือไม่ เจ้าหน้าที่กระทำโดยประมาท หรือไม่ ทำเกินอำนาจหน้าที่หรือไม่ หรืออยู่ในกรอบกฎหมาย
เอาแค่นี้ก่อน ก่อนที่จะไปเอาผิดมาร์ก สุเทพ ตามที่เป็ดเหลิม และข่าวสัด หลอกให้ไพร่แดงโง่ๆ เชื่อเหมือนคราวขึ้นศาลโลก...555++
- จอมโจรคิด, juneka, V.Junior for Vendetta and 5 others like this
"ควาย" ในความหมายของผม คือ คนที่มีความคิด เล่นเน็ตเป็น แต่แยกแยะ ดี ชั่ว ถูก ผิด ไม่ได้
มิได้หมายถึง ชาวรากหญ้า ที่เป็นเหยื่อในสงครามทางความคิดครั้งนี้
"คนชั่ว" จะถูกปราบราบคาบสิ้น แผ่นดินเดือดสูญหายไร้ปัญหา... อยากให้ถึงวรรคท้ายของคำทำนาย ไวๆ ว่ะ...
#24
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:02
แล้วติดคุกพรุ่งนี้รึเปล่า.......ถ้าคนมีวิชั่น เขาจะมองเห็นอนาคต
สาธุขอให้ไปคุกที่หลักสี่ จะได้จัดหนักทุกคืนโธ่ไอ้หมู.....อ่านที่กุเน้นนิดนึง....ยังไม่ได้ติดคุกนะเว้ย...ยังอีกยาวววววว
จับตา 17กันยาฯ ศาลนัดพิพากษาาคดี"พัน คำกอง"แท็กซี่เสื้อแดง เสียชีวิตวันกระชับพื้นที่ พฤษภาฯ53
วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 เวลา 14:29:58 น.
วันที่ 17 กันยายน เวลา 09.00น. ศาลอาญาจะนัดฟังคำสั่งคดีนายพัน คำกอง คนขับแท็กซี่ชาวยโสธร
คดีนี้จะเป็นคดีแรกจาก 19สำนวนคดีคนเสื้อแดงที่พนักงานอัยการยื่นร้องต่อศาล
นายพัน คำกอง อายุ 43 ปี เสียชีวิต เมื่อวันที่ 15พฤษภาคม 2553 ช่วงเวลา 00.05-01.00 น. บริเวณหน้าคอนโดมิเนียม ′ไอดีโอ′ ใกล้แอร์พอร์ตลิงก์ พื้นที่ สน.พญาไท เป็นจุดประจำการของทหารที่ได้รับคำสั่งจากศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)
ในขณะนั้นมีเหตุยิงสกัดรถตู้ที่เข้ามาในพื้นที่
จากสำนวนการสอบสวนพบว่า วันที่ 14 พฤษภาคม ก่อนเกิดเหตุ นายพันไปอู่แท็กซี่ย่านวัดสระเกศ เพื่อขับแท็กซี่ประกอบอาชีพ ช่วงนั้นรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และมีคำสั่งขอคืนพื้นที่แถบราชปรารภ
เวลา 20.00 น.วันที่ 15พฤษภาคม นายพันโทรศัพท์แจ้งบุตรสาวว่าเดินทางกลับไม่ได้ มาหลบภัยบริเวณงานก่อสร้างคอนโดฯแห่งหนึ่งย่านราชปรารภ เป็นการติดต่อครั้งสุดท้าย จากนั้นเที่ยงคืน เจ้าหน้าที่รปภ.คอนโดฯ โทรศัพท์แจ้งนางหนูชิต คำกอง ภรรยาของนายพันว่านายพันถูกทหารยิงเสียชีวิต
ต่อมาศพถูกนำไปชันสูตรที่ โรงพยาบาลรามาธิบดี สังเกตเห็นรอยกระสุนใต้ราวนมซ้ายทะลุออกซี่โครง และรอยกระสุนที่แขนด้านขวา
ในเช้าวันที่ 17กันยายน ศาลจะอ่านรายละเอียดของคดีว่าผู้ตายเป็นใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณ์ที่ตายเป็นอย่างไร
ถ้ามีคนทำร้ายให้ตาย ศาลจะสั่งว่าเป็นใครใช่ฝีมือของเจ้าหน้าที่รัฐจริงหรือไม่
หากศาลเห็นพ้องตามที่อัยการเสนอและมีคำสั่งออกมาจะส่งสำนวนการไต่สวนดังกล่าวกลับมาให้พนักงานอัยการ เพื่อส่งต่อไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ในฐานะผู้รับผิดชอบคดี 98 ศพ พิจารณาเป็นสำนวนคดีฆาตกรรม
ถ้าสาเหตุการเสียชีวิตของนายพันตายชี้ชัดเกิดจากเหตุการณ์ความไม่สงบ และเกิดจากกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ จะทำให้พลทหารที่ประจำการบริเวณจุดเกิดเหตุนายพันเสียชีวิต มีความผิดมาตรา 288 ฐานฆ่าคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย
หากพิสูจน์พบว่าพลทหารปฎิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงาน แม้เป็นคำสั่งไม่ชอบ แต่เมื่อปฎิบัติหน้าที่โดยสุจริต ไม่ต้องรับโทษ
สำหรับเจ้าพนักงานผู้เกี่ยวข้องกับคำสั่งการระดับสูงสุด ในครั้งนี้คือ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกฯ และ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกฯ ในฐานะอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ผอ.ศอฉ.)
(ข้อมูล: หนังสือพิมพ์ข่าวสด)
กุว่าเอาไอ้โอเลี้ยงกับข้าวผัดอะไรของเอ็งน่ะ...ไปเยี่ยมไอ้เจ๋งพลางๆก่อนละกัน...จะได้ไม่เสียของ
ส่วนเรื่องจัดหนัก...ถามไอ้เจ๋งเอาละกันว่าโดนมั่งป่าว
คดีนี้ ถ้าทหารผิด ก็เหมือนเป็นการเริ่มเปิดแผล ของผู้สั่งการ
#26
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:04
เอาไปสองล้านไลค์
ขอสองห่อนะหมู
#27
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:04
คดีแบบนี้ก็เหมือนการทำคดีวิสามัญฆาตกรรม ธรรมดา ๆ
ในรูปคดีนั้นต้องดูว่าพนักงานเจ้าหน้าที่กระทำการโดยมีกฎหมายรองรับหรือไม่
ตำรวจฆ่าโจร ก็ต้องทำสำนวนคดีส่งศาล
ไม่มีอะไรในกอไผ่...หากคิดว่าเป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่ก็ไม่มีความผิด
แต่ถ้าเป็นพวกเดียวกันเองยิง...งานนี้ "ตายฟรี"
ฟรีที่ไหนฮะ 7 ล้านกว่า ภาษีคนไทย
- stt99 likes this
"When injustice becomes law, resistance becomes duty." - Thomas Jefferson
"เมื่อผู้รักษากฎหมายอยู่ฝ่ายเดียวกับโจร การประจานจึงกลายเป็นภารกิจ" - Me.
#28
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:04
กฎหมายนั้น เขาให้ยิงโจรครับลุง ไม่ได้มีไว้ให้ยิงคนบริสุทธิ์ เล่นๆได้
คดีแบบนี้ก็เหมือนการทำคดีวิสามัญฆาตกรรม ธรรมดา ๆ
ในรูปคดีนั้นต้องดูว่าพนักงานเจ้าหน้าที่กระทำการโดยมีกฎหมายรองรับหรือไม่
ตำรวจฆ่าโจร ก็ต้องทำสำนวนคดีส่งศาล
ไม่มีอะไรในกอไผ่...หากคิดว่าเป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่ก็ไม่มีความผิด
แต่ถ้าเป็นพวกเดียวกันเองยิง...งานนี้ "ตายฟรี"
แล้วมันจะได้รับการคุ้มครองได้ยังไง เลอะเทอะ
มันก็เหมือน ม.309 นั่นแหละ ว่าทำอะไรก็ไม่ผิด มันต้องดูเจตนาด้วย ไม่ใช่มีกฎหมายรองรับแล้ว จะทำอะไรก็่ได้
คุณมรึง ถือ AK-47 M-16 M-79 สังหารปชช. เผาอาคาร และสถานที่ราชการ นี่มันบริสุทธุ์ยังไงวะ
#29
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:04
ถ้าคนมีวิชั่น เขาจะมองเห็นอนาคต
สาธุขอให้ไปคุกที่หลักสี่ จะได้จัดหนักทุกคืนโธ่ไอ้หมู.....อ่านที่กุเน้นนิดนึง....ยังไม่ได้ติดคุกนะเว้ย...ยังอีกยาวววววว
จับตา 17กันยาฯ ศาลนัดพิพากษาาคดี"พัน คำกอง"แท็กซี่เสื้อแดง เสียชีวิตวันกระชับพื้นที่ พฤษภาฯ53
วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 เวลา 14:29:58 น.
วันที่ 17 กันยายน เวลา 09.00น. ศาลอาญาจะนัดฟังคำสั่งคดีนายพัน คำกอง คนขับแท็กซี่ชาวยโสธร
คดีนี้จะเป็นคดีแรกจาก 19สำนวนคดีคนเสื้อแดงที่พนักงานอัยการยื่นร้องต่อศาล
นายพัน คำกอง อายุ 43 ปี เสียชีวิต เมื่อวันที่ 15พฤษภาคม 2553 ช่วงเวลา 00.05-01.00 น. บริเวณหน้าคอนโดมิเนียม ′ไอดีโอ′ ใกล้แอร์พอร์ตลิงก์ พื้นที่ สน.พญาไท เป็นจุดประจำการของทหารที่ได้รับคำสั่งจากศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)
ในขณะนั้นมีเหตุยิงสกัดรถตู้ที่เข้ามาในพื้นที่
จากสำนวนการสอบสวนพบว่า วันที่ 14 พฤษภาคม ก่อนเกิดเหตุ นายพันไปอู่แท็กซี่ย่านวัดสระเกศ เพื่อขับแท็กซี่ประกอบอาชีพ ช่วงนั้นรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และมีคำสั่งขอคืนพื้นที่แถบราชปรารภ
เวลา 20.00 น.วันที่ 15พฤษภาคม นายพันโทรศัพท์แจ้งบุตรสาวว่าเดินทางกลับไม่ได้ มาหลบภัยบริเวณงานก่อสร้างคอนโดฯแห่งหนึ่งย่านราชปรารภ เป็นการติดต่อครั้งสุดท้าย จากนั้นเที่ยงคืน เจ้าหน้าที่รปภ.คอนโดฯ โทรศัพท์แจ้งนางหนูชิต คำกอง ภรรยาของนายพันว่านายพันถูกทหารยิงเสียชีวิต
ต่อมาศพถูกนำไปชันสูตรที่ โรงพยาบาลรามาธิบดี สังเกตเห็นรอยกระสุนใต้ราวนมซ้ายทะลุออกซี่โครง และรอยกระสุนที่แขนด้านขวา
ในเช้าวันที่ 17กันยายน ศาลจะอ่านรายละเอียดของคดีว่าผู้ตายเป็นใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณ์ที่ตายเป็นอย่างไร
ถ้ามีคนทำร้ายให้ตาย ศาลจะสั่งว่าเป็นใครใช่ฝีมือของเจ้าหน้าที่รัฐจริงหรือไม่
หากศาลเห็นพ้องตามที่อัยการเสนอและมีคำสั่งออกมาจะส่งสำนวนการไต่สวนดังกล่าวกลับมาให้พนักงานอัยการ เพื่อส่งต่อไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ในฐานะผู้รับผิดชอบคดี 98 ศพ พิจารณาเป็นสำนวนคดีฆาตกรรม
ถ้าสาเหตุการเสียชีวิตของนายพันตายชี้ชัดเกิดจากเหตุการณ์ความไม่สงบ และเกิดจากกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ จะทำให้พลทหารที่ประจำการบริเวณจุดเกิดเหตุนายพันเสียชีวิต มีความผิดมาตรา 288 ฐานฆ่าคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย
หากพิสูจน์พบว่าพลทหารปฎิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงาน แม้เป็นคำสั่งไม่ชอบ แต่เมื่อปฎิบัติหน้าที่โดยสุจริต ไม่ต้องรับโทษ
สำหรับเจ้าพนักงานผู้เกี่ยวข้องกับคำสั่งการระดับสูงสุด ในครั้งนี้คือ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกฯ และ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกฯ ในฐานะอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ผอ.ศอฉ.)
(ข้อมูล: หนังสือพิมพ์ข่าวสด)
กุว่าเอาไอ้โอเลี้ยงกับข้าวผัดอะไรของเอ็งน่ะ...ไปเยี่ยมไอ้เจ๋งพลางๆก่อนละกัน...จะได้ไม่เสียของ
ส่วนเรื่องจัดหนัก...ถามไอ้เจ๋งเอาละกันว่าโดนมั่งป่าว
คดีนี้ ถ้าทหารผิด ก็เหมือนเป็นการเริ่มเปิดแผล ของผู้สั่งการ
วิชั่น หรือ ฝันเปียก วะหมูอวกาก
กลับกันครับ
ถ้าทหารไม่ผิดละ.......
คิดบ้างไหมครับว่ายังไงต่อดีละ
ศาลเอียง....
มาร์คสั่ง....
เชื่อได้มาอีกเพียบที่หัวหน้าคอกจะสรรหามาหลอกกันอีก
#30
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:05
"ถ้าสาเหตุการเสียชีวิตของนายพันตายชี้ชัดเกิดจากเหตุการณ์ความไม่สงบ และเกิดจากกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ จะทำให้พลทหารที่ประจำการบริเวณจุดเกิดเหตุนายพันเสียชีวิต มีความผิดมาตรา 288 ฐานฆ่าคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย
หากพิสูจน์พบว่าพลทหารปฎิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงาน แม้เป็นคำสั่งไม่ชอบ แต่เมื่อปฎิบัติหน้าที่โดยสุจริต ไม่ต้องรับโทษ"
- จอมโจรคิด, P2iUSz, Lucas Leiva Benitez Rodger and 2 others like this
#31
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:08
- แสนยานุภาพ, พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน, Bookmarks and 3 others like this
#32
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:10
ผมว่า คนไร้ราคาแบบคุณ ไม่กล้าไป ถ้าไป เอาภาพมายืนยันได้ว่าคุณไป โดยการเขียน ว่า หมูอวกาศ ผมจะลงกระทู้ขอโทษคุณ ที่หาว่าไร้ราคา หนึ่ง อาทิตย์
จับตา 17กันยาฯ ศาลนัดพิพากษาาคดี"พัน คำกอง"แท็กซี่เสื้อแดง เสียชีวิตวันกระชับพื้นที่ พฤษภาฯ53
วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 เวลา 14:29:58 น.
วันที่ 17 กันยายน เวลา 09.00น. ศาลอาญาจะนัดฟังคำสั่งคดีนายพัน คำกอง คนขับแท็กซี่ชาวยโสธร
คดีนี้จะเป็นคดีแรกจาก 19สำนวนคดีคนเสื้อแดงที่พนักงานอัยการยื่นร้องต่อศาล
นายพัน คำกอง อายุ 43 ปี เสียชีวิต เมื่อวันที่ 15พฤษภาคม 2553 ช่วงเวลา 00.05-01.00 น. บริเวณหน้าคอนโดมิเนียม ′ไอดีโอ′ ใกล้แอร์พอร์ตลิงก์ พื้นที่ สน.พญาไท เป็นจุดประจำการของทหารที่ได้รับคำสั่งจากศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)
ในขณะนั้นมีเหตุยิงสกัดรถตู้ที่เข้ามาในพื้นที่
จากสำนวนการสอบสวนพบว่า วันที่ 14 พฤษภาคม ก่อนเกิดเหตุ นายพันไปอู่แท็กซี่ย่านวัดสระเกศ เพื่อขับแท็กซี่ประกอบอาชีพ ช่วงนั้นรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และมีคำสั่งขอคืนพื้นที่แถบราชปรารภ
เวลา 20.00 น.วันที่ 15พฤษภาคม นายพันโทรศัพท์แจ้งบุตรสาวว่าเดินทางกลับไม่ได้ มาหลบภัยบริเวณงานก่อสร้างคอนโดฯแห่งหนึ่งย่านราชปรารภ เป็นการติดต่อครั้งสุดท้าย จากนั้นเที่ยงคืน เจ้าหน้าที่รปภ.คอนโดฯ โทรศัพท์แจ้งนางหนูชิต คำกอง ภรรยาของนายพันว่านายพันถูกทหารยิงเสียชีวิต
ต่อมาศพถูกนำไปชันสูตรที่ โรงพยาบาลรามาธิบดี สังเกตเห็นรอยกระสุนใต้ราวนมซ้ายทะลุออกซี่โครง และรอยกระสุนที่แขนด้านขวา
ในเช้าวันที่ 17กันยายน ศาลจะอ่านรายละเอียดของคดีว่าผู้ตายเป็นใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณ์ที่ตายเป็นอย่างไร
ถ้ามีคนทำร้ายให้ตาย ศาลจะสั่งว่าเป็นใครใช่ฝีมือของเจ้าหน้าที่รัฐจริงหรือไม่
หากศาลเห็นพ้องตามที่อัยการเสนอและมีคำสั่งออกมาจะส่งสำนวนการไต่สวนดังกล่าวกลับมาให้พนักงานอัยการ เพื่อส่งต่อไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ในฐานะผู้รับผิดชอบคดี 98 ศพ พิจารณาเป็นสำนวนคดีฆาตกรรม
ถ้าสาเหตุการเสียชีวิตของนายพันตายชี้ชัดเกิดจากเหตุการณ์ความไม่สงบ และเกิดจากกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ จะทำให้พลทหารที่ประจำการบริเวณจุดเกิดเหตุนายพันเสียชีวิต มีความผิดมาตรา 288 ฐานฆ่าคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย
หากพิสูจน์พบว่าพลทหารปฎิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงาน แม้เป็นคำสั่งไม่ชอบ แต่เมื่อปฎิบัติหน้าที่โดยสุจริต ไม่ต้องรับโทษ
สำหรับเจ้าพนักงานผู้เกี่ยวข้องกับคำสั่งการระดับสูงสุด ในครั้งนี้คือ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกฯ และ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกฯ ในฐานะอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ผอ.ศอฉ.)
(ข้อมูล: หนังสือพิมพ์ข่าวสด)
กล้ามะ
#33
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:11
#34
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:13
คำสั่งไม่ชอบ ถ้าตัดสินอย่างนี้ มาร์ค-เทพ มีสิทธิ์ซวย เพราะเขาจะไล่คำสั่ง ไปเป็นทอดๆ มันก็จบที่ คนสั่งหัวสุด
ก็ขอถามกลับละครับ
ว่าถ้าศาลออกมาว่าทหารไม่ผิด
จะเอาไงต่อไปครับ
#35
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:14
คำสั่งไม่ชอบ ถ้าตัดสินอย่างนี้ มาร์ค-เทพ มีสิทธิ์ซวย เพราะเขาจะไล่คำสั่ง ไปเป็นทอดๆ มันก็จบที่ คนสั่งหัวสุด
ระวังคนสั่ง เป็นคนคุ้นเคย ของเสื้อแดงแล้วกัน
เห็นรีบ ปรองดอง เหลือเกิน กลัวอะไรกัน
- union18j likes this
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
#37
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:21
เห็นงานไหนงานนั้น ไม่เคยบกพร่อง เสนอหน้ากันเต็มศาล งานนี้ขาดได้ไง
หรือว่า "เงินไม่มา ขาเป็นง่อย" วะครับ
#38
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:22
- แสนยานุภาพ and David_GinoLa like this
~ ทักษิณตาย เสรีไทยไชโย ~
#39
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:24
่มันมีปัญญาตอบหรือครับ ทำตามใบสั่งอย่างเดียว คนแก่ก็งี้ล่ะ
คำสั่งไม่ชอบ ถ้าตัดสินอย่างนี้ มาร์ค-เทพ มีสิทธิ์ซวย เพราะเขาจะไล่คำสั่ง ไปเป็นทอดๆ มันก็จบที่ คนสั่งหัวสุด
ก็ขอถามกลับละครับ
ว่าถ้าศาลออกมาว่าทหารไม่ผิด
จะเอาไงต่อไปครับ
เราตระกูลชินจัง ขอยก ฐานะ เสื้อแดง จาก ไพร่ เป็น ควายแดง ณ.บัดนี้
ถึงแม้ พ่อแม่ เองจะให้ฐานะความเป็น คน มาแต่กำเนิดก็ตาม
#41
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:35
เอ็งตกคำว่า แม้ ไปว่ะ คำนี้สำคัญนะ.......อ่านดูดีๆ..... อันนี้เฉพาะตัวบุคคลรึเปล่าหนู...เอ้ย..หมูคำสั่งไม่ชอบ ถ้าตัดสินอย่างนี้ มาร์ค-เทพ มีสิทธิ์ซวย เพราะเขาจะไล่คำสั่ง ไปเป็นทอดๆ มันก็จบที่ คนสั่งหัวสุด
Edited by สุกี้น้อย, 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:36.
#42
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:44
#43
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:45
#45
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:47
http://www.manager.c...D=9550000106855
“มาร์ค - เทพเทือก” เบิกความคดีนายพัน คำกอง เเท็กซี่แดงถูกยิงเสียชีวิตที่หน้าคอนโดมิเนียม ใกล้สถานนีรถไฟแอร์พอร์ลิงก์สถานีราชปรารภ เมื่อวันที่ 15 พ.ค. 53 ระหว่างเหตุการณ์ทหารกระชับพื้นที่ราชประสงค์ ปัดระหว่างเกิดเหตุชายชุดดำกำลังปะทะกับเจ้าหน้าที่ตอนตี 1 จนพบนอนเป็นศพอยู่ใกล้บังเกอร์ด้วยคมกระสุนปริศนา "มาร์ค"ไม่หวั่นตกเป็นจำเลยสังคมชี้มาเบิกความในฐานะพยาน
ที่ห้องพิจารณา 909 ศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก เมื่อเวลา 09.30 น. ศาลนัดไต่สวนคดีที่พนักงานอัยการฝ่ายคดีอาญายื่นคำร้องขอให้ศาลชันสูตร สาเหตุการเสียชีวิตของนายพัน คำกอง ชาวจังหวัดยโสธร อาชีพขับรถแท็กซี่ กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ที่เสียชีวิตหน้าคอนโดมิเนียม ใกล้สถานีรถไฟแอร์พอร์ตลิงก์สถานีราชปรารภ เมื่อวันที่ 15 พ.ค. 53 ระหว่างเหตุการณ์ทหารกระชับพื้นที่ราชประสงค์
โดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ และ พล.ต.อ.ปทีป ตันประเสริฐ อดีตรักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เดินทางมาศาลตามหมายเรียกในฐานะพยาน
ก่อนการเบิกความ นายโชคชัย อ่างแก้ว ทนายความผู้รับมอบอำนาจจากภรรยาของนายพัน เปิดเผว่า ประเด็นคำถามในการไต่สวนพยานจะเน้นเรื่องการออกคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติ หน้าที่ในช่วงเหตุความรุนแรงทางการเมืองเมื่อปี 2553 ว่าเป็นไปตามหลักสากลหรือไม่
เมื่อถึงเวลานัด นายอภิสิทธิ์แถลงต่อศาลว่า ขอเบิกความในช่วงบ่าย เนื่องจากในช่วงเช้าติดภารกิจ ศาลพิจารณาแล้วอนุญาต หลังจากนั้นนายอภิสิทธิ์ได้เดินทางกลับทันทีโดยไม่ให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชน
ต่อมา พล.ต.อ.ปทีปได้ขึ้นเบิกความเป็นปากแรกสรุปว่า ช่วงเกิดเหตุพยานมีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแก้ไข สถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ ศอฉ. ซึ่งมีนายสุเทพเป็นผู้อำนวยการ มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย ควบคุมสถานการณ์และแก้ไขสถานการณ์ให้กลับสู่สภาวะปกติ และรักษาความสงบเรียบร้อย โดยหลักการปฏิบัติต่อผู้ชุมนุมของ ศอฉ. คือ 1. ไม่ใช้ความรุนแรง 2. ใช้การเจรจาเป็นหลัก 3. หากจำเป็นต้องใช้กำลังให้พิจารณาจากเบาไปหาหนักตามหลักสากล โดยจะเตือนให้ทราบก่อนทุกขั้นตอน ซึ่งการใช้กำลังที่หนักที่สุดคือการใช้กระสุนยางที่ยิงด้วยปืนลูกซอง เพื่อป้องกันตัว
ทั้งนี้ ในการสลายการชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดงที่แยกคอกวัว และราชประสงค์ ตามยุทธศาสตร์ได้วางกำลังปิดล้อมไว้ 3 ชั้น มีเจ้าหน้าที่ตำรวจเฉพาะชั้นที่ 2 และ 3 โดยมีเพียงโล่และกระบองเป็นอาวุธ ซึ่งการสลายการชุมนุมในวันที่ 11 เม.ย. 53 ที่แยกผ่านฟ้าเป็นการดำเนินการของฝ่ายทหาร แต่ตนจำไม่ได้ว่าใครเป็นหัวหน้าที่ควบคุมดูแลสั่งการ ซึ่งไม่สามารถขอคืนพื้นที่ในส่วนสะพานผ่านฟ้าฯ ได้ โดยในรายละเอียดการปฏิบัตตนไม่ทราบ เพราะพยานมีหน้าที่ดูแลด้านนโยบาย และเป็นเพียงเจ้าหน้าที่ตำรวจที่มาทำงานร่วมกับ ศอฉ.เท่านั้น
นอกจากนี้ ในการควบคุมดูแลการชุมนุมในพื้นที่ราชประสงค์นั้น ตนทราบว่าวันที่ 14 พ.ค.มีคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ตำรวจพกอาวุธปืนพกได้ เนื่องจากช่วงนั้นมีเจ้าหน้าที่ตำรวจถูกยิงเสียชีวิตบริเวณถนนสีลม 2 นาย และก่อนหน้านี้ก็ได้มีเหตุการณ์รุนแรง โดยมีการลอบวางระเบิดรอบๆ กรุงเทพฯ และยิงอาวุธปืนเอ็ม 79 ที่แยกศาลาแดง
สำหรับการสลายการชุมนุมที่ถนนราชปรารภ บริเวณที่นายพัน คำกอง ถูกยิงเสียชีวิต ตนไม่เคยเห็นรายงานสรุปเหตุการณ์จากเจ้าหน้าที่ตำรวจเนื่องจากในรายงานดัง กล่าวได้จัดทำหลังจากที่ตนได้เกษียณอายุไปแล้ว และแม้ว่าตามหลักการแล้วหากมีผู้เสียชีวิตเจ้าหน้าที่ตำรวจจะต้องเข้าไปตรวจ สอบพื้นที่โดยเร็ว แต่กรณีดังกล่าวเจ้าหน้าที่ไม่สามารถเข้าไปยังที่เกิดเหตุได้ เนื่องจากมีการปะทะกันอยู่ตลอดเวลา
อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ตนยังปฏิบัติหน้าที่ใน ศอฉ. ในส่วนของตำรวจไม่พบว่าเจ้าหน้าที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งในเรื่องของการใช้ อาวุธปืน ถ้าตำรวจทำอะไรเกี่ยวกับการสลายการชุมนุมตนในฐานะรักษาการ ผบ.ตร. และผู้ช่วย ศอฉ.จะต้องทราบดังกล่าว
ต่อมา นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีต ผอ.ศอฉ.กล่าวว่า เมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2553 ศอฉ.ได้มีคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ขอคืนพื้นที่ของกลุ่มผู้ชุมนุม นปช.บริเวณแยกผ่านฟ้า และถนนราชดำเนินนอก เนื่องจากรัฐบาลต้องการเปิดเส้นทางการจราจรให้กับประชาชนที่ใช้เส้นทางมาจาก สะพานพระปิ่นเกล้า และสะพานพระราม 8 โดยวิธีปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักสากลอย่างเคร่งครัด ใช้มาตรการจากเบาไปหาหนักตามลำดับ คือ ใช้ โล่ และกระบอง รถฉีดน้ำ น้ำแก๊สน้ำตา และปืนลูกซองกระสุนยาง ซึ่งเริ่มปฏิบัติการตั้งแต่เวลา 13.00 น.จนถึงเวลา 16.15 น.จึงสั่งให้ยุติการปฏิบัติหน้าที่และกลับที่ตั้ง แต่ปรากฏว่าเมื่อเวลา 1 ทุ่ม มีกลุ่มชายชุดดำซึ่งปะปนอยู่กับกลุ่มผู้ชุมนุม นปช.ใช้อาวุธสงคราม ทั้งปืนเอ็ม 16 ระเบิดเอ็ม 79 และระเบิดขว้างเข้าใส่เจ้าหน้าที่ทหารที่บริเวณแยกคอกวัว และถนนดินสอ ซึ่งผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต มีทั้งผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ทหาร จากเหตุการณ์ดังกล่าวกรมสอบสวนคดีพิเศษรับผิดชอบสำนวนการสอบสวน กระทั่งได้จับกุมและดำเนินคดีกับผู้ต้องหาคดีก่อการร้ายรวม 26 คน
นายสุเทพกล่าวว่า หลังเกิดเหตุการณ์ชายชุดดำใช้อาวุธสงครามยิงใส่เจ้าหน้าที่ ทาง ศอฉ.จึงต้องมีมาตรการต่างๆ ให้รัดกุมยิ่งขึ้น เพื่อปกป้องชีวิตของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและประชาชนทั่วไป คือ มีคำสั่งอนุญาตให้เจ้าหน้าที่สามารถมีอาวุธปืนประจำได้ ให้มีสิ่งกั้นขวางระหว่างผู้ชุมนุมกับเจ้าหน้าที่ และให้รักษาระยะห่างระหว่างเจ้าหน้าที่กับผู้ชุมนุม ประมาณ 150 เมตร ต่อมาเมื่อผู้ชุมนุม นปช.ได้ย้ายไปชุมนุมที่แยกราชประสงค์ ศอฉ.ได้มีคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ตั้งด่านสกัดตามจุดต่างๆ เช่นถนนราชปรารภ ถนนเพลินจิต เพื่อไม่ให้ประชาชนเข้าไปชุมนุมเพิ่มเติมที่บริเวณแยกราชประสงค์ ส่วนกรณีที่นายพัน คำกอง ถูกยิงเสียชีวิตที่บริเวณราชปรารภนั้น ได้รับรายงานในภายหลัง จากเจ้าหน้าที่ว่าเมื่อคืนวันที่ 15 พ.ค.เวลา 01.00 น.มีรถตู้วิ่งผ่านเข้ามาขณะที่เจ้าหน้าที่ถูกคนร้ายเข้าโจมตีด้วยอาวุธ สงคราม ซึ่งเป็นการยิงตอบโต้กันระหว่างเจ้าหน้าที่และคนร้าย หลังจากนั้นจึงพบนายพัน คำกอง เสียชีวิตอยู่ใกล้บังเกอร์หรือที่กำบัง ซึ่งหลังเกิดเหตุกรมสอบสวนคดีพิเศษได้ทำสำนวนของผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ดัง กล่าวทั้งหมด และแม้จะส่งสำนวนกลับไปให้กองบัญชาการตำรวจนครบาลตรวจพิสูจน์สาเหตุตายอีก ครั้ง โดยให้ผู้เชี่ยวชาญทำการพิสูจน์บาดแผลและตรวจสอบกระสุนปืน ก็ไม่ได้ข้อสรุปแน่ชัดว่านายพัน คำกองและผู้เสียชีวิตรายอื่นๆ เสียชีวิตจากการกระทำของฝ่ายใด
ต่อมาเวลาประมาณ 14.00 น. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ขึ้นเบิกความ ว่า การเสียชีวิตจากการชุมนุมของกลุ่มนปช. เมื่อปี2553 นั้นสาเหตุเกิดจากในกลุ่มผู้เข้าร่วมชุมนุมมีการใช้อาวุธปืนและวัตถุระเบิด ในการก่อเหตุขึ้นมา
แต่ทางรัฐบาลไม่มีนโยบายใดๆที่จะใช้กำลังเจ้าหน้าที่สลายการชุมนุม ของกลุ่มนปช. แต่ใช้วิธีการที่ได้รับการยอมรับจากสหประชาชาติ จะสังเกตได้ว่าในช่วง 2-3 ปี หลังนี้ทางสหประชาชาติให้ความสนใจในเหตุการณ์ความรุนแรงหลายประเทศ แต่เหตุการณ์ในประเทศไทยทางสหประชาชาติก็ไม่ได้กล่าวหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในปี 2553 ว่ามีการละเมิดสิทธิและใช้ความรุนแรง
เหตุการณ์ในการชุมนุมปี255 3นั้นตนได้แต่งตั้ง นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบสถานการณ์ และผอ. ศอฉ.ก่อนจะเปลี่ยนเป็นพล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผบ.ทบ.ในช่วงหลังแต่ระหว่างที่มีการตั้ง ศอฉ. ตนมีอำนาจในการกำกับดูแลบริหารราชการแผ่นดิน รวมถึงการสั่งการ ศอฉ.ด้วย ในฐานะนายกรัฐมนตรี
ส่วนสาเหตุที่ต้องรัฐบาลขอพื้นที่คืนจากกลุ่มผู้ชุมนุมนั้น เพราะว่ากลุ่มนปช.มีการแบ่งการชุมนุมออกเป็น 2 พื้นที่ คือที่สะพานผ่านฟ้าและแยกราชประสงค์ ซึ่งไม่มีความจำเป็น ทางรัฐบาลต้องการให้ประชาชนและคนทั่วไปทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร สามารถสัญจรผ่านสะพานพระราม 8 และสะพานพระปิ่นเกล้าฯ ได้ จึงต้องมีการขอคืนพื้นที่บริเวณถนนราชดำเนินนอก ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ผู้ชุมนุมปิดถนนอยู่ ส่วนมาตรการและวีธิปฏิบัตินั้น เป็นหน้าที่ของ ศอฉ. และต้องเป็นไปตามหลักสากลและย้ำว่าการปฏิบัติไม่ได้มีเจตนาที่จะให้มีการ สลายการชุมนุม
และพยายามที่จะไม่ก่อให้เกิดความรุนแรง เช่น กำชับให้หยุดปฏิบัติการขอคืนพื้นที่ชุมนุมในช่วงเวลากลางคืน
ซึ่งก่อนช่วงเวลานั้นไม่มีการรายงานว่ามีผู้เสียชีวิต จนกระทั่งต่อมาได้รับรายงานว่าเจ้าหน้าที่ชุดที่ขอคืนพื้นที่บริเวณแยกคอก วัวโดนกองกำลังชุดดำปิดล้อมและยิงใส่ด้วยอาวุธสงครามจนได้รับรายงานการเสีย ชีวิต
สำหรับการขอคืนพื้นที่ในเหตุการณ์ครั้งนั้น ทางรัฐบาลได้ยื่นขอให้ศาลแพ่งมีคำวินิจฉัยกรณีการขอคืนพื้นที่การชุมนุมจากก ลุ่มนปช. ซึ่งศาลแพ่งได้มีคำสั่งอนุญาตให้มีการขอคืนพื้นที่ได้เพราะผู้ชุมนุมชุมนุม โดยวิธีไม่ชอบด้วยกฎหมาย แต่ศาลกำชับให้ดำเนินการไปตามความเหมาะสมและตามหลักสากล ซึ่งการขอคืนพื้นที่ที่สะพานผ่านฟ้านั้นใช้เวลาประมาณ 3-4วันก่อนที่ผู้ร่วมชุมนุมจะย้ายไปรวมที่ราชประสงค์
ซึ่งในการชุมนุมของกลุ่มนปช.ที่ราชประสงค์นั้น ตนได้รับรายงานว่าในกลุ่มผู้ร่วมชุมนุมมีผู้ติดอาวุธแฝงตัวอยู่ นอกจากนี้แล้วการสื่อสารของรัฐบาลกับผู้ร่วมชุมนุมเป็นไปด้วยความยากลำบาก เพราะผู้ชุมนุมรับข่าวสารด้านเดียวจากแกนนำนปช.
นายอภิสิทธิ์ กล่าวต่อว่า รัฐบาลมีนโยบายที่จะเจรจา โดยได้ส่งบุคคลไปเจรจากับแกนนำนปช.อย่างต่อเนื่องหลายครั้ง ซึ่งข้อแม้ในการเจรจาได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตลอด แต่ก็มีความการเจรจากันในหลายรูปแบบ ทั้งเรื่องการขอพื้นที่คืนที่หน้าลานพระบรมรูปรัชกาลที่ 6 ซึ่งตกลงกันและแกนนำนปช.รับปากแล้ว แต่สุดท้ายก็ไม่ได้มีการปฏิบัติตามที่ตกลงกัน รวมถึงเรื่องการยุบสภาตามข้อเรียกร้องของแกนนำนปช. ซึ่งตนได้เจรจาและประกาศว่าถ้านปช.ยกเลิกการชุมนุมจริง ตนจะยุบสภาในวันที่ 14 พ.ย.2553 ซึ่งมีการรับปากตกลงกันได้แล้ว แต่ภายหลังทางแกนนำนปช.ก็ไม่ได้ปฏิบัติตามที่ตกลงกันไว้ ต่อมาจึงได้ประกาศว่าจะไม่มีการเจรจาเกิดขึ้นอีก
ส่วนคำว่ากระชับพื้นที่นั้นไม่ใช่การใช้การกำลังเข้าสลายการชุมนุม แต่เป็นการกำหนดให้มีการกระชับวงล้อมเพื่อให้หยุดการชุมนุมโดยใช้วิธีกดดัน ซึ่งระหว่างนั้นแกนนำนปช.ก็พยายามเจรจาขอให้ยกเลิกการปิดล้อมและให้ชุมนุม โดยอิสระ ซึ่งรัฐบาลไม่รับข้อเสนอ เพราะไม่มีประโยชน์และจะทำให้การชุมนุมยืดเยื้อออกไปอีก
ซึ่งถ้ารัฐบาลใช้กำลังหรือมีคำสั่งสลายการชุมนุมจริงการชุมนุมต้อง สลายไปทั้งหมดแต่ในความจริงแล้วขณะนั้นหลายพื้นที่ก็ยังมีการชุมนุมอยู่
อดีตนายกรัฐมนตรีกล่าวยืนยันว่า ผู้เสียชีวิตที่เกิดจากระเบิดเอ็ม 79 ทั้งหมดไม่ได้เกิดจากฝีมือเจ้าหน้าที่รัฐ เพราะไม่ได้มีการใช้ระเบิดชนิดนี้ ส่วนการเสียชีวิตโดยกระสุนปืนนั้น ต้องสอบสวนให้ได้ข้อเท็จจริงเพราะระหว่างการชุมนุมมีรายงานว่ามีอาวุธของ เจ้าหน้าที่ถูกปล้นไปและมีการแต่งกายเลียนแบบทหาร ซึ่งในเรื่องนี้มีการส่งสำนวนคดีให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) และตั้งคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อความปรองดองแห่งชาติ (คอป.) รับผิดชอบ แต่ก็ยังไม่ได้ข้อยุติ อย่างไรก็ตามสำนวนการสอบสวนของดีเอสไอนั้นมีข้อสรุปแล้วว่า มีผู้เสียชีวิตจากฝีมือของกลุ่มผู้ชุมนุม จำนวน 12 ศพ
ส่วนเรื่องผู้เสียชีวิต 6 ศพวัดปทุมนั้น ตนได้ทราบจากสื่อมวลชนและรายงานทางด้านการข่าว ทราบว่าในช่วงเกิดเหตุมีการต่อสู้กันของกองกำลังและเจ้าหน้าที่ สืบเนื่องมาจากการเผาห้างเซ็นทรัลเวิลด์และศูนย์การค้าสยามสแควร์ ซึ่งระหว่างเกิดเหตุเพลิงไหม้จะมีเจ้าหน้าที่ดับเพลิง และพยาบาลซึ่งผู้ก่อการจะใช้โอกาสนี้ ก่อเหตุกับบุคคลเหล่านี้ อีกทั้งตนได้รับรายงานว่า มีชายชุดดำอยู่ที่วัดปทุมวนารามอีกด้วย
หลังจากไต่สวนพยานทั้ง3ปากเสร็จสิ้น ทนายความของญาติผู้ตายแถลงหมดพยาน ศาลจึงนัดฟังคำสั่งวันที่ 17 มิ.ย.นี้เวลา 09.00 น.
ภายหลัง นายอภิสิทธิ์ ให้สัมภาษณ์สั้นๆ ว่า ตนมาเบิกความในฐานะพยาน และไม่ห่วงว่าจะถูกมองเป็นจำเลยของสังคม ซึ่งตนได้เบิกความข้อเท็จจริงไปในชั้นศาลแล้ว
- คนหน้าใหม่ likes this
"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"
#46
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:56
กฎหมายนั้น เขาให้ยิงโจรครับลุง ไม่ได้มีไว้ให้ยิงคนบริสุทธิ์ เล่นๆได้
คดีแบบนี้ก็เหมือนการทำคดีวิสามัญฆาตกรรม ธรรมดา ๆ
ในรูปคดีนั้นต้องดูว่าพนักงานเจ้าหน้าที่กระทำการโดยมีกฎหมายรองรับหรือไม่
ตำรวจฆ่าโจร ก็ต้องทำสำนวนคดีส่งศาล
ไม่มีอะไรในกอไผ่...หากคิดว่าเป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่ก็ไม่มีความผิด
แต่ถ้าเป็นพวกเดียวกันเองยิง...งานนี้ "ตายฟรี"
แล้วมันจะได้รับการคุ้มครองได้ยังไง เลอะเทอะ
มันก็เหมือน ม.309 นั่นแหละ ว่าทำอะไรก็ไม่ผิด มันต้องดูเจตนาด้วย ไม่ใช่มีกฎหมายรองรับแล้ว จะทำอะไรก็่ได้
ปืนเขาเขายิงคนชั่วๆเลวๆอย่างพวกเสื้อแดง
ตายแค่ 50 ศพ มันยังน้อย
ถ้าเป็นแบบ พค 35 คิดว่าไม่ต่ำกว่าแสน
ดีไม่ดีพวกควายเสื้อแดงทั้งหลายอาจจะสูญพันธ์ไปแล้ว
#47
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:57
#48
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 21:02
อยากรู้เหมือนกันว่าเขาจะจำคุกที่ไหน ที่เดียวกับเจ๋งหรือเรือนจำจริงๆ
#49
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 21:04
ตอบ-หมูสกปรก เตรียมโอเลี้ยง-ข้าวผัด ไปรอรับ ยัยสมองกลวงแต่เนิ่นๆ ล่ะ
#50
ตอบ 16 กันยายน พ.ศ. 2555 - 21:12
ดูท่าจะเข้าใจอะไรผิดไปเยอะน่ะค่ะ...
และถ้าจำไม่ผิด...ช่วงนั้นมี พรก ฉุกเฉิน ด้วย
และ..ถ้ามีคำสั่งรับคำฟ้อง...แล้วต้องสืบพยานต่อ
แน่นอนที่สุด คือ ต้องสืบวัตถุพยานและวิถีกระสุน
หัวกระสุน และปืนที่ใช้..
คงเห็น สส สีแดงหลายท่าน และคนเร่ร่อน
ขยับตัวเร่ง พรบ ปรองดองกันหนักยิ่งขึ้น
ออกตัวแรงแบบนี้...ถามเจ้าของพรรคหรือยัง
ดูท่า...เกมส์จะพลิกน่ะค่ะ...ท่าน จขกท
ผู้ใช้ 2 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 2 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน