Jump to content


Photo
- - - - -

ชาวนาเสียภาษีบ้างหรือไม่


  • Please log in to reply
54 ความเห็นในกระทู้นี้

#1 แมว มหาภัย

แมว มหาภัย

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 827 posts

ตอบ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 07:25

สุพรรณบ้านผม ชาวนาขี่เบ็นซ์มีเมียน้อย มีรถเกี่ยวปล่อยเงินกู้ เดือนๆมีรายได้มากกว่าอธิบดีฃะอีก




พวกนี้แหละที่กว้านฃื้อใบประทวนและได้ประโยชน์จากโครงการจำนำ ชาวนาตัวจริงเช่าที่เค้าทำนาไม่ได้อะไร
แข็ง เยียบเย็น และสงบนิ่ง เหมือนนิวเคลียร์ลูกหนึ่งอำมาตย์เอกเจ้าพระยาวิฬาร์มหาภัยบดินทร์

#2 esamso

esamso

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 413 posts

ตอบ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 07:36

มีไม่ถึง 1 % หรอกพวกนี้ อีก 99% จน ทั้งกู้ซื้อปุ๋ย ซื้อยา ซื้อข้าวปลูก ค่ารถเกี่ยวก็ติดไว้ก่อน ขายข้าวแล้วค่อยจ่ายเสียดอกเบี้ย ยิ่งจ่ายช้า ยิ่งเสียเยอะ

ผมลูกชาวนา แต่ห้ามคนที่บ้านทำนา ให้เค้าเช่าไป คนที่หากินกับชาวนาอยู่รอบตัว ไม่เว้นแม้ ธกส สหกรณ์การเกษตร

#3 ริวมะคุง

ริวมะคุง

    ห้ามให้อาหารสัตว์

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,577 posts

ตอบ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 07:54

เอาความสบายมายัดเยียดให้ชาวนา นั่นแหละคือหายนะที่มาจากนายทุน
Posted Image

#4 หนูอ้อย

หนูอ้อย

    นักเขียนหน่อมแน้ม

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,215 posts

ตอบ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 09:13

*
POPULAR

ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650

 AMAZING  coup d'etat  , THAILAND ONLY ..  :ph34r:  


#5 คนชายแดน

คนชายแดน

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 198 posts

ตอบ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 09:42

http://www.rd.go.th/...7.0.html#mata42

มาตรา 42 เงินได้พึงประเมินประเภทต่อไปนี้ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้
....
....

(15) เงินได้ของชาวนาที่ได้จากการขายข้าว อันเกิดจากกสิกรรมที่ตนและหรือครอบครัวได้ทำเอง

คนที่มีรายได้จากให้เช่าที่นา รถเกี่ยว ดอกเบี้ย ต้องเสียภาษี แต่ว่า.....สรรพากรมีปัญญาตามเก็บหรือไม่
หรือได้แต่นอนหลับไม่รู้ นอนคู้ไม่เห็น

#6 baboon

baboon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,801 posts

ตอบ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 09:46

no taxation without representation :blink:

#7 promotion

promotion

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,761 posts

ตอบ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:49

ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650


หดหู่ครับ หดหู่มากขึ้นเมื่อรู้ว่าตัวเองก็หนึ่งในนั้น

#8 คุณนายนอกบ้าน

คุณนายนอกบ้าน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,281 posts

ตอบ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:38

ปีนี้ประกาศไปแล้วจะไม่เสียภาษี
ทำประกันเพิ่มให้ชนเพดาน
ซื้อ LTF. RTF. เต็มเพดานเหมือนกัน

#9 cassava

cassava

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

ตอบ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 23:16

ตอบได้เลยว่าน้อยมากๆ แต่ประชากรกลุ่มนี้มีมาก ซึ่ง พท ได้ล้างสมองชนกลุ่มนี้ไปแล้ว และได้สร้างเส้นแบ่งไพร่-อำมาตย์ไว้แล้ว เป็นเส้นแบ่งที่เกิดเป็นรอยร้าวที่อันตราย ยากมากที่ทำให้พวกเขาเลิกเชื่อในสิ่งที่ถูกปลูกฝัง หากไปแบ่งแยกด้วยเรื่องการเสียภาษีก็จะเป็นการตอกย้ำเส้นแบ่งที่ พท ขีดเอาไว้ เหมือนกับกันคนหมู่มากออกไป
รอให้หนี้ท่วมประเทศสักรอบดูไหม ปล่อยแมงเม่าให้ระเริงไฟ ให้สัจธรรมสอนพวกเขาเอง

#10 ทัชชี่

ทัชชี่

    ดีใจจัง ค้นแล้วเจอเลย

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,784 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 00:18

ชาวนาเสียภาษีนะครับ... ภาษีโรงเรือนและที่ดินครับ น้อยมาก
ส่วนอื่นๆ ไม่ได้เสียครับ

ประชาธิปไตยแบบแดง: 1. ไม่ใช่แดง เป็นประชาธิปไตยไม่ได้ 2. เสียงส่วนใหญ่ คือเสียงถูกต้อง 3. กฎพวกพ้องต้องเหนือกฎหมาย 4. เบื้องสูงมีไว้เหยียบย่ำ 5. ใครทำก็ผิด แต่แดงต้องไม่ผิด 6. คิดร้ายต่อทักษิณย่อมชั่ว 7. มั่วบิดเบือนหลอกพวกเดียวกัน 8. ปั้นน้ำเป็นตัวแล้วแถ


#11 คลำปม

คลำปม

    สลิ่มเต็มขั้นจ้า

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,657 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 00:31

ถ้าจะมองเฉพาะภาษีเงินได้

ผมว่าไม่ใช่เฉพาะชาวนาหรอกครับที่ไม่เสียภาษี

ต้องถือว่าเกษตรกรทั้งหมดไม่เสียภาษีเลยจะดีกว่า ไม่ว่าจะทำสวนปลูกผักหรืออะไร

ซึ่งขนาดภาครัฐส่งเสริมการเกษตรขนาดนี้

แต่ผลผลิตทางการเกษตรทั้งหมดมีสัดส่วนใน GDP ยังไม่ถึง 10% ด้วยซ้ำ

มันเป็นปัญหาใหญ่ของไทยครับ คือเราใช้งบประมาณไม่มีประสิทธิภาพ
(ใช้งบเยอะผมไม่ว่าเลย ถ้าใช้แล้วจุดอ่อนจะค่อยๆพัฒนากลายเป็นจุดแข็ง
แต่นี่ยิ่งใช้ ยิ่งต้องใช้หนักขึ้น ภาคเกษตรยิ่งอ่อนแอ ผมว่ารัฐบาลนี้ใช้งบประมาณได้โง่มาก)

เรื่องภาษีนี่ผมไม่เรียกร้องให้ชาวนาเสียเลยนะครับ

แค่ให้ใช้เงินภาษีที่อุดหนุนไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ไม่เลอะเทอะรั่วไหลอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบันผมก็ขอบคุณมากแล้ว

วิธีการยุติระบอบทักษิณ

ก็แค่เพียงทำให้คนไทยส่วนใหญ่ "ฉลาด"


#12 RaRa

RaRa

    Seien Sie loyal zu Majesty

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,976 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 02:16

ชาวนาเสียภาษีนะครับ... ภาษีโรงเรือนและที่ดินครับ น้อยมาก
ส่วนอื่นๆ ไม่ได้เสียครับ


ชิส์....ความคิดอำมาตย์จริงๆ

"พวกเราชาวนา" เข้าไปซื้อของที่ 7-11

ก็ต้องเสีย VAT ทุกครั้งนะคร้าบบบบบ

หยุมหยิมแบบนี้ เป็นเสียงส่วนน้อยต่อไปเหอะ....เชอะ <_< <_<

ขอเทิดทูนศักดิ์ศรียิ่งสิ่งใด

...แม้แต่ลมหายใจก็ยอมพลี

โลกยังไม่สิ้นหวัง ถ้ายังมั่นในความดี

...ศรัทธาไม่เคยหน่ายหนี คนดีไม่มีวันตาย


#13 RaRa

RaRa

    Seien Sie loyal zu Majesty

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,976 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 02:19

เอาความสบายมายัดเยียดให้ชาวนา นั่นแหละคือหายนะที่มาจากนายทุน


ไม่ต่างกับ "กองทุนหมู่บ้านละล้าน" สมัย นช.ทักษิณ นักหรอกครับ

แต่ละคนที่ไปกู้ไปยืมมา ได้ใช้ทำอะไรที่เกี่ยวกับอาชีพมั่ง

ไม่ซื้อ มอเตอร์ไซด์ ก็ โทรศัพท์มือถือ พอถึงเวลาก็ไปเข้าโครงการ

"พักหนี้เกษตรกร" ต่ออีกทอดนึง................."ประชานิยมล้วนๆ"

บอกได้คำเดียวครับถ้ายังเป็นแบบนี้ต่อไป ประเทศชาติ "เจ๊ง" แน่นอน -_- -_-

ขอเทิดทูนศักดิ์ศรียิ่งสิ่งใด

...แม้แต่ลมหายใจก็ยอมพลี

โลกยังไม่สิ้นหวัง ถ้ายังมั่นในความดี

...ศรัทธาไม่เคยหน่ายหนี คนดีไม่มีวันตาย


#14 swtp99

swtp99

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 607 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 08:53

ชาวนาและคนไทยทุกคนเสียภาษีนะคะ..ทุกครั้งที่ซื้อสินค้าอุปโภค บริโภค จ่ายค่าน้ำค่ไฟ หรือค่าบริการต่างๆ ก็ ต้องจ่ายในส่วนของภาษีมูลค่าเพิ่ม

ถ้า จขกท. หมายถึง แค่กรณี ภาษีเงินได้...คงต้องเปลี่ยน หัวข้อกระทู้ใหม่

#15 หนูอ้อย

หนูอ้อย

    นักเขียนหน่อมแน้ม

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,215 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:35

คนที่ต้องเสียภาษีเค้าก็เต็มใจเสียอยู่แล้วล่ะ ไม่ว่าไพร่-อำหมาด
ไม่ว่ารูปแบบภาษีเงินได้ ภาษีที่ดินโรงเรือน หรือแวต

แต่การนำภาษีไปใช้นี่สิ ที่คนเค้ากังขากัน

คนส่วนน้อยที่จ่ายภาษีอุ้มคนทั้งประเทศ
ไม่มีใครอยากให้มีการคอรัปชั่น
หรือนำภาษีนั้นไปละเลงประชานิยมเพื่อให้ได้เสียงเลือกตั้งกลับคืน
มันแอบแฝงแบบเห็นแก่ตัวอย่างน่าสะอิดสะเอียน ใช่หรือไม่ ?

 AMAZING  coup d'etat  , THAILAND ONLY ..  :ph34r:  


#16 พระฤๅษี

พระฤๅษี

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,127 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:41

86Ic,; คุณแมวเหมียว คุณต้องไปถาม คนสุพรรณฯ

ที่ ตัวเตี้ย ๆ ...แลบลิ้น ..แผล็บ ๆ . นั่นแหละ เขารู้ดี.

#17 เพื่อนร่วมชาติ

เพื่อนร่วมชาติ

    พรานล่าปูไปรยา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,788 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:03

ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650


ข้อความนี้ไม่ตรงกับความจริงครับ เพราะพูดถึงแค่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเท่ากับแค่ 20% ของรายได้กรมสรรพากร น้อยกว่าภาษีเงินได้นิติบุคคล (30%) จากบริษัทห้างร้านต่าง ๆ

ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งมาจากคนเกือบทั้งประเทศ (รวมทั้งคนต่างชาติและนักท่องเที่ยว) คิดเป็น 43% สูงกว่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากว่าเท่าตัว

นี่ยังไม่พูดถึงภาษีสรรพสามิต (จากผู้ใช้น้ำมัน ผู้ดื่มสุรา ฯลฯ) ที่ตกอยู่ประมาณ 20 กว่าเปอร์เซนต์ของรายได้รัฐบาล

จะพูดได้ยังไงครับว่า 2.3 ล้านคนที่ยื่นแบบและจ่ายภาษีเงินได้จริง เป็นผู้จ่ายภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

Posted Image

ประชาธิปไตยก็เหมือนส้วมสาธารณะแบบนั่งเต็มตูด ควายนับถือศาสนาชินวัตรใช้แล้วสกปรกชิบเป๋ง


#18 My Will

My Will

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 229 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:16

ทุกวันนี้เสียภาษีด้วยนํ้าตาและความเสียดาย........หาเงินมาด้วยความยากเย็น

กลับโดนเอาไปปู้ยี่ปู้ยำ

#19 Ballbk

Ballbk

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,783 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:20

ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650

อ้าว ประเทศไทย ไม่ได้มีแค่ 15 ล้าน.... เหรอเนี่ย
เพิ่งรู้ เห็นพูดอยู่นั่นแหละ เสียงส่วนใหญ่

"ความดี กับ ความเลว

ความจริง กับ คำโกหก

ความถูกต้อง กับ การทำผิดกฎหมาย"

ถ้าเกิดเป็น คน ไม่ได้เกิดเป็น ควาย มันไม่ต้องให้ทายหรอก ว่าจะเลือกอย่างไหน

 


#20 หนูอ้อย

หนูอ้อย

    นักเขียนหน่อมแน้ม

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,215 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:21


ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650


ข้อความนี้ไม่ตรงกับความจริงครับ เพราะพูดถึงแค่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเท่ากับแค่ 20% ของรายได้กรมสรรพากร น้อยกว่าภาษีเงินได้นิติบุคคล (30%) จากบริษัทห้างร้านต่าง ๆ

ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งมาจากคนเกือบทั้งประเทศ (รวมทั้งคนต่างชาติและนักท่องเที่ยว) คิดเป็น 43% สูงกว่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากว่าเท่าตัว

นี่ยังไม่พูดถึงภาษีสรรพสามิต (จากผู้ใช้น้ำมัน ผู้ดื่มสุรา ฯลฯ) ที่ตกอยู่ประมาณ 20 กว่าเปอร์เซนต์ของรายได้รัฐบาล

จะพูดได้ยังไงครับว่า 2.3 ล้านคนที่ยื่นแบบและจ่ายภาษีเงินได้จริง เป็นผู้จ่ายภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

Posted Image


ขอบคุณค่ะที่ช่วยวิเคราะห์
ส่วนข้อมูลเอามาจาก voice TV http://archive.voice...h/content/21650
ใครจะเสียมากน้อยยังไงก็ตาม แต่นักการเมืองไม่ควรฉวยประโยชน์

 AMAZING  coup d'etat  , THAILAND ONLY ..  :ph34r:  


#21 พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน

พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,450 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:47


ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650

อ้าว ประเทศไทย ไม่ได้มีแค่ 15 ล้าน.... เหรอเนี่ย
เพิ่งรู้ เห็นพูดอยู่นั่นแหละ เสียงส่วนใหญ่


เป็นเสียงส่วนใหญ่นี่ดีจัง ภาษีก็ไม่ต้องเสีย แถมยังได้เงินดูแลจากคนเสียภาษีอีก :lol: ... มีที่ดินอยู่ผืน หาญาติๆมาสวมชื่อเป็นเกษตรกรบ้างดีฝ่า เอาเงินเดือนไปแบ่งลงทุนทำไร่ลดหย่อนภาษี แล้วก็แจ้งทำไร่ทำสวนขาดทุน ... สงสัยต้องศึกษาหาช่องทาง เผื่อมีวิธีการให้เงินทองไม่รั่วไหล ภาษีที่จ่ายไปจากกระเป๋าซ้ายย้อนเข้ากลับกระเป๋าขวา ... เสีงส่วนใหญ่คงไม่ว่าอะไร เพราะท่านแม้วทำประมาณนี้เสียงส่วนใหญ่ก็ยังชาบู :wub:
อยากรู้ว่าประชาธิปไตยไทยเป็นแบบไหน ให้ดูการใช้รถใช้ถนนรู้จักกันแต่สิทธิ แต่ไม่เคยรู้จักหน้าที่ ในการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่วางไว้

#22 ม่านน้ำ

ม่านน้ำ

    ผมเพิ่งมาครับ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,373 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:54

สรุปง่ายๆ ว่า
ไอ้พวกมนุษย์เงินเดือนที่มิอาจหลีกเลี่ยงการจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้
อย่ามาบอกว่าตัวเองเป็นคนเลี้ยงคนทั้งประเทศอย่างนั้นใช่ไหม?

โอเค ถ้างั้นถ้ามนุษย์เงินเดือนเหล่านี้จะงดการจ่ายภาษีเสียบ้าง
ประเทศไทยก็คงไม่กระไรนักหนานักหรอก ใช่ไหม?

Posted Image


#23 best

best

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 741 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:59

สรุปง่ายๆ ว่า
ไอ้พวกมนุษย์เงินเดือนที่มิอาจหลีกเลี่ยงการจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้
อย่ามาบอกว่าตัวเองเป็นคนเลี้ยงคนทั้งประเทศอย่างนั้นใช่ไหม?

โอเค ถ้างั้นถ้ามนุษย์เงินเดือนเหล่านี้จะงดการจ่ายภาษีเสียบ้าง
ประเทศไทยก็คงไม่กระไรนักหนานักหรอก ใช่ไหม?

ก็คงงั้น คุณไม่อยากเสียก็ไม่ต้องเสีย เวลาโดนย้อนหลังก็อย่ามาโอดโอยก็แล้วกัน

Edited by best, 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:59.


#24 ม่านน้ำ

ม่านน้ำ

    ผมเพิ่งมาครับ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,373 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:00


สรุปง่ายๆ ว่า
ไอ้พวกมนุษย์เงินเดือนที่มิอาจหลีกเลี่ยงการจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้
อย่ามาบอกว่าตัวเองเป็นคนเลี้ยงคนทั้งประเทศอย่างนั้นใช่ไหม?

โอเค ถ้างั้นถ้ามนุษย์เงินเดือนเหล่านี้จะงดการจ่ายภาษีเสียบ้าง
ประเทศไทยก็คงไม่กระไรนักหนานักหรอก ใช่ไหม?

ก็คงงั้น คุณไม่อยากเสียก็ไม่ต้องเสีย เวลาโดนย้อนหลังก็อย่ามาโอดโอยก็แล้วกัน

ครับ รับทราบตามนั้น แต่ผมคงไม่โอดโอยอะไรครับ ทำอะไรก็ต้องรับผิดชอบครับ

Posted Image


#25 DETECT2

DETECT2

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 291 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:09

86Ic,; คุณแมวเหมียว คุณต้องไปถาม คนสุพรรณฯ

ที่ ตัวเตี้ย ๆ ...แลบลิ้น ..แผล็บ ๆ . นั่นแหละ เขารู้ดี.


นี่ถ้าไม่บอกก่อนว่าเป็นคน แต่บอกแค่ว่าชอบแลบลิ้นแผล็บๆ ผมคงจะหมายถึง...
คนเสื้อแดงตอนนี้ไม่ได้มีจำนวนเพิ่มขึ้น แต่คนเกลียดพวกเสื้อแดงเริ่มจะมีมากขึ้น

#26 union18j

union18j

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 347 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 18:49


ชาวนาเสียภาษีนะครับ... ภาษีโรงเรือนและที่ดินครับ น้อยมาก
ส่วนอื่นๆ ไม่ได้เสียครับ


ชิส์....ความคิดอำมาตย์จริงๆ

"พวกเราชาวนา" เข้าไปซื้อของที่ 7-11

ก็ต้องเสีย VAT ทุกครั้งนะคร้าบบบบบ

หยุมหยิมแบบนี้ เป็นเสียงส่วนน้อยต่อไปเหอะ....เชอะ <_< <_<


อันนี้จิ๊บ ๆ ชาวนาเสียภาษีเยอะเหมือนกัน เวลาซื้อรถกระบะ มอไซค์ และมือถือใหม่

#27 คนกินข้าว

คนกินข้าว

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,422 posts

ตอบ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 21:12

เสียภาษีบำรุงท้องที่ครับ
"การเมือง เป็นเรื่องผลประโยชน์ส่วนตน ผลประโยชน์ประชาชน เป็นข้ออ้าง"

#28 isa

isa

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 447 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:12


ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650


ข้อความนี้ไม่ตรงกับความจริงครับ เพราะพูดถึงแค่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเท่ากับแค่ 20% ของรายได้กรมสรรพากร น้อยกว่าภาษีเงินได้นิติบุคคล (30%) จากบริษัทห้างร้านต่าง ๆ

ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งมาจากคนเกือบทั้งประเทศ (รวมทั้งคนต่างชาติและนักท่องเที่ยว) คิดเป็น 43% สูงกว่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากว่าเท่าตัว

นี่ยังไม่พูดถึงภาษีสรรพสามิต (จากผู้ใช้น้ำมัน ผู้ดื่มสุรา ฯลฯ) ที่ตกอยู่ประมาณ 20 กว่าเปอร์เซนต์ของรายได้รัฐบาล

จะพูดได้ยังไงครับว่า 2.3 ล้านคนที่ยื่นแบบและจ่ายภาษีเงินได้จริง เป็นผู้จ่ายภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

Posted Image


ถึงภาษีมูลค่าเพิ่มจะสูงกว่าภาษีเงินได้ แต่ไม่ได้หมายความว่าคนชนบทจะจ่ายภาษีมากกว่าคนเมืองนะครับ

ภาษีมูลค่าเพิ่มจะเกิดขึ้นเมื่อมีการจับจ่ายซื้อของ ยิ่งมีความถี่ในการซื้อขายเท่าไหร่ ก็ยิ่งต้องจ่ายภาษีมากเท่านั้น
และส่วนใหญ่หมายถึงการซื้อของที่อยู่ในระบบ เช่นสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์ หรือการซื้อผ่านร้านสะดวกซื้อ

แต่หากเป็นการซื้อผ่านตลาดสด หรือรถสองแถวขายสินค้า สินค้ารถเข็น ของพวกนี้ก็ไม่ได้ผูกพันกับการจ่ายภาษี่มูลกค่าเพิ่ม

ดังนั้นด้วยวิถีชีวิตคนเมืองที่ตอนเช้าที่หลายๆคนพึ่งซาละเปากับนมเซเว่นใต้ตึกบริษัท ตอนบ่ายลงไปซื้อชาโออิชิมากิน
ตอนค่ำแวะซื้ออาหารสำเร็จรูปเซเว่นไปกิน ซ์้อของสดบรรจุแพ็คในร้านซูเปอร์มาร์เก็ตอย่างโลตัส หรือร้านท็อป นั่นก็คือแต่ละวันโดนภาษีมูลค่าเพิ่มเต็มๆ
ตอนเย็นหรือเสาร์อาทิตย์ไปเดินห้าง ทุกครั้งที่ควักเงินจ่ายไม่ว่าจะกิน ดื่ม หรือช็อปปิ้ง นั่นก็ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ขณะที่คนชนบทแม้แต่คนที่อยู่ในตัวอำเภอนอกๆ เข้าเซเว่นก็แค่อาทิตย์ละครั้งสองครั้ง ถ้าเป็นสินค้าที่ไม่ใช่ของสำเร็จรูปอย่างน้ำปลา
สบู่ ก็จะไปซื้อกันที่ตลาดสด ความถี่ที่จับจ่ายใช้สอยผ่านระบบมันต่างกันเยอะ

ดังนั้นจะเอาภาษีมูลค่าเพิ่มมาอ้างว่าคนบ้านนอกก็จ่ายภาษีเหมือนๆกับคนเมืองนั้นไร้สาระ
คนบ้านนอกจ่ายก็จริง แต่ลองเอาเปอร์เซ็นต์มาเทียบดู ผมว่าภาษีมูลค่าเพิ่มส่วนใหญ่ก็ออกจากกรุงเทพฯ หรือหัวเมืองใหญ่ๆอยูู่ดีนั่นแหละ -_-

Edited by isa, 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:16.


#29 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:28


ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650


ข้อความนี้ไม่ตรงกับความจริงครับ เพราะพูดถึงแค่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเท่ากับแค่ 20% ของรายได้กรมสรรพากร น้อยกว่าภาษีเงินได้นิติบุคคล (30%) จากบริษัทห้างร้านต่าง ๆ

ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งมาจากคนเกือบทั้งประเทศ (รวมทั้งคนต่างชาติและนักท่องเที่ยว) คิดเป็น 43% สูงกว่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากว่าเท่าตัว

นี่ยังไม่พูดถึงภาษีสรรพสามิต (จากผู้ใช้น้ำมัน ผู้ดื่มสุรา ฯลฯ) ที่ตกอยู่ประมาณ 20 กว่าเปอร์เซนต์ของรายได้รัฐบาล

จะพูดได้ยังไงครับว่า 2.3 ล้านคนที่ยื่นแบบและจ่ายภาษีเงินได้จริง เป็นผู้จ่ายภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

Posted Image


ท่านขอรับ...เห็นกราฟแล้วยิ่งซาหลด...

ผมเป็นผู้เสียภาษีเงินได้ 2.3 ล้านคน
แถมมีบริษัทของตัวเอง เสียภาษีนิติบุคคล
แถมกินเหล้าอีก เสียภาษีสรรพสามิตด้วย
ซื้อของก็ไม่เคยซื้อตลาดสด ซื้อห้างตลอด นี่ก็เสียแวทอีก
ประกันไม่ซื้อ เพราะมีเงินออมเพื่อสุขภาพแล้ว หมดสิทธิ์ลดหย่อนอีก
บ้านก็่ผ่อนหมดแล้วอีก...หมดสิทธิ์ลดหย่อน!!

เหลือแค่ลดหย่อนในฐานะลูกกตัญญูกับ LTF RMF เท่านั้น


ผมจะขอยื้มบ่้าใครซบร้องไห้เสียดายเิงินดีครับท่านครับ???
ฮือ!โฮ ผิดไปแล้วววว.gif
gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#30 กีรเต้

กีรเต้

    เราเป็นอย่างไร เรารู้ตัวเอง

  • Validating
  • PipPipPipPipPip
  • 6,208 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:37



ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650


ข้อความนี้ไม่ตรงกับความจริงครับ เพราะพูดถึงแค่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเท่ากับแค่ 20% ของรายได้กรมสรรพากร น้อยกว่าภาษีเงินได้นิติบุคคล (30%) จากบริษัทห้างร้านต่าง ๆ

ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งมาจากคนเกือบทั้งประเทศ (รวมทั้งคนต่างชาติและนักท่องเที่ยว) คิดเป็น 43% สูงกว่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากว่าเท่าตัว

นี่ยังไม่พูดถึงภาษีสรรพสามิต (จากผู้ใช้น้ำมัน ผู้ดื่มสุรา ฯลฯ) ที่ตกอยู่ประมาณ 20 กว่าเปอร์เซนต์ของรายได้รัฐบาล

จะพูดได้ยังไงครับว่า 2.3 ล้านคนที่ยื่นแบบและจ่ายภาษีเงินได้จริง เป็นผู้จ่ายภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

Posted Image


ท่านขอรับ...เห็นกราฟแล้วยิ่งซาหลด...

ผมเป็นผู้เสียภาษีเงินได้ 2.3 ล้านคน
แถมมีบริษัทของตัวเอง เสียภาษีนิติบุคคล
แถมกินเหล้าอีก เสียภาษีสรรพสามิตด้วย
ซื้อของก็ไม่เคยซื้อตลาดสด ซื้อห้างตลอด นี่ก็เสียแวทอีก
ประกันไม่ซื้อ เพราะมีเงินออมเพื่อสุขภาพแล้ว หมดสิทธิ์ลดหย่อนอีก
บ้านก็่ผ่อนหมดแล้วอีก...หมดสิทธิ์ลดหย่อน!!

เหลือแค่ลดหย่อนในฐานะลูกกตัญญูกับ LTF RMF เท่านั้น


ผมจะขอยื้มบ่้าใครซบร้องไห้เสียดายเิงินดีครับท่านครับ???
ฮือ!โฮ ผิดไปแล้วววว.gif


อ้ะ ช่วย


ถึงสูงศักดิ์อัครฐานสักปานไหน.ถึงวิไลเลิศฟ้าสง่าศรี..ถึงเก่งกาจฉลาดกล้าปัญญาดี..ถ้าไม่มี "คุณธรรม" ก็ต่ำคน.... พระราชนิพนธ์ในล้นเกล้า รัชกาลที่ ๕ "   https://www.facebook...akwarakfromyala   https://www.facebook.com/NARAPEACE

 

 


#31 pooyong

pooyong

    สมาชิกขั้นไม่สูง แต่สูงอายุ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,292 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:57

555000013398801.JPEG
ไททานิค ของฝรั่ง จบแบบเศร้า แต่ประทับใจ

ไทยทานิค
เวอร์ชั่นไทยแลนด์แดนสยาม
จะจบแบบไหนน้อ
การรับใช้แผ่นดิน คือความเบิกบาน

#32 ม่านน้ำ

ม่านน้ำ

    ผมเพิ่งมาครับ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,373 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:04



ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650


ข้อความนี้ไม่ตรงกับความจริงครับ เพราะพูดถึงแค่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเท่ากับแค่ 20% ของรายได้กรมสรรพากร น้อยกว่าภาษีเงินได้นิติบุคคล (30%) จากบริษัทห้างร้านต่าง ๆ

ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งมาจากคนเกือบทั้งประเทศ (รวมทั้งคนต่างชาติและนักท่องเที่ยว) คิดเป็น 43% สูงกว่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากว่าเท่าตัว

นี่ยังไม่พูดถึงภาษีสรรพสามิต (จากผู้ใช้น้ำมัน ผู้ดื่มสุรา ฯลฯ) ที่ตกอยู่ประมาณ 20 กว่าเปอร์เซนต์ของรายได้รัฐบาล

จะพูดได้ยังไงครับว่า 2.3 ล้านคนที่ยื่นแบบและจ่ายภาษีเงินได้จริง เป็นผู้จ่ายภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

Posted Image


ถึงภาษีมูลค่าเพิ่มจะสูงกว่าภาษีเงินได้ แต่ไม่ได้หมายความว่าคนชนบทจะจ่ายภาษีมากกว่าคนเมืองนะครับ

ภาษีมูลค่าเพิ่มจะเกิดขึ้นเมื่อมีการจับจ่ายซื้อของ ยิ่งมีความถี่ในการซื้อขายเท่าไหร่ ก็ยิ่งต้องจ่ายภาษีมากเท่านั้น
และส่วนใหญ่หมายถึงการซื้อของที่อยู่ในระบบ เช่นสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์ หรือการซื้อผ่านร้านสะดวกซื้อ

แต่หากเป็นการซื้อผ่านตลาดสด หรือรถสองแถวขายสินค้า สินค้ารถเข็น ของพวกนี้ก็ไม่ได้ผูกพันกับการจ่ายภาษี่มูลกค่าเพิ่ม

ดังนั้นด้วยวิถีชีวิตคนเมืองที่ตอนเช้าที่หลายๆคนพึ่งซาละเปากับนมเซเว่นใต้ตึกบริษัท ตอนบ่ายลงไปซื้อชาโออิชิมากิน
ตอนค่ำแวะซื้ออาหารสำเร็จรูปเซเว่นไปกิน ซ์้อของสดบรรจุแพ็คในร้านซูเปอร์มาร์เก็ตอย่างโลตัส หรือร้านท็อป นั่นก็คือแต่ละวันโดนภาษีมูลค่าเพิ่มเต็มๆ
ตอนเย็นหรือเสาร์อาทิตย์ไปเดินห้าง ทุกครั้งที่ควักเงินจ่ายไม่ว่าจะกิน ดื่ม หรือช็อปปิ้ง นั่นก็ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ขณะที่คนชนบทแม้แต่คนที่อยู่ในตัวอำเภอนอกๆ เข้าเซเว่นก็แค่อาทิตย์ละครั้งสองครั้ง ถ้าเป็นสินค้าที่ไม่ใช่ของสำเร็จรูปอย่างน้ำปลา
สบู่ ก็จะไปซื้อกันที่ตลาดสด ความถี่ที่จับจ่ายใช้สอยผ่านระบบมันต่างกันเยอะ

ดังนั้นจะเอาภาษีมูลค่าเพิ่มมาอ้างว่าคนบ้านนอกก็จ่ายภาษีเหมือนๆกับคนเมืองนั้นไร้สาระ
คนบ้านนอกจ่ายก็จริง แต่ลองเอาเปอร์เซ็นต์มาเทียบดู ผมว่าภาษีมูลค่าเพิ่มส่วนใหญ่ก็ออกจากกรุงเทพฯ หรือหัวเมืองใหญ่ๆอยูู่ดีนั่นแหละ -_-


ตรรกเรื่องซื้อของเสียภาษีมูลค่าเพิ่มถือว่าเสียภาษีเหมือนคนอื่นแล้วเนี่ยะ
ได้ผลอย่างมากเลยนะครับ

Posted Image


#33 เพื่อนร่วมชาติ

เพื่อนร่วมชาติ

    พรานล่าปูไปรยา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,788 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:35




ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650


ข้อความนี้ไม่ตรงกับความจริงครับ เพราะพูดถึงแค่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเท่ากับแค่ 20% ของรายได้กรมสรรพากร น้อยกว่าภาษีเงินได้นิติบุคคล (30%) จากบริษัทห้างร้านต่าง ๆ

ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งมาจากคนเกือบทั้งประเทศ (รวมทั้งคนต่างชาติและนักท่องเที่ยว) คิดเป็น 43% สูงกว่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากว่าเท่าตัว

นี่ยังไม่พูดถึงภาษีสรรพสามิต (จากผู้ใช้น้ำมัน ผู้ดื่มสุรา ฯลฯ) ที่ตกอยู่ประมาณ 20 กว่าเปอร์เซนต์ของรายได้รัฐบาล

จะพูดได้ยังไงครับว่า 2.3 ล้านคนที่ยื่นแบบและจ่ายภาษีเงินได้จริง เป็นผู้จ่ายภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

Posted Image


ถึงภาษีมูลค่าเพิ่มจะสูงกว่าภาษีเงินได้ แต่ไม่ได้หมายความว่าคนชนบทจะจ่ายภาษีมากกว่าคนเมืองนะครับ

ภาษีมูลค่าเพิ่มจะเกิดขึ้นเมื่อมีการจับจ่ายซื้อของ ยิ่งมีความถี่ในการซื้อขายเท่าไหร่ ก็ยิ่งต้องจ่ายภาษีมากเท่านั้น
และส่วนใหญ่หมายถึงการซื้อของที่อยู่ในระบบ เช่นสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์ หรือการซื้อผ่านร้านสะดวกซื้อ

แต่หากเป็นการซื้อผ่านตลาดสด หรือรถสองแถวขายสินค้า สินค้ารถเข็น ของพวกนี้ก็ไม่ได้ผูกพันกับการจ่ายภาษี่มูลกค่าเพิ่ม

ดังนั้นด้วยวิถีชีวิตคนเมืองที่ตอนเช้าที่หลายๆคนพึ่งซาละเปากับนมเซเว่นใต้ตึกบริษัท ตอนบ่ายลงไปซื้อชาโออิชิมากิน
ตอนค่ำแวะซื้ออาหารสำเร็จรูปเซเว่นไปกิน ซ์้อของสดบรรจุแพ็คในร้านซูเปอร์มาร์เก็ตอย่างโลตัส หรือร้านท็อป นั่นก็คือแต่ละวันโดนภาษีมูลค่าเพิ่มเต็มๆ
ตอนเย็นหรือเสาร์อาทิตย์ไปเดินห้าง ทุกครั้งที่ควักเงินจ่ายไม่ว่าจะกิน ดื่ม หรือช็อปปิ้ง นั่นก็ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ขณะที่คนชนบทแม้แต่คนที่อยู่ในตัวอำเภอนอกๆ เข้าเซเว่นก็แค่อาทิตย์ละครั้งสองครั้ง ถ้าเป็นสินค้าที่ไม่ใช่ของสำเร็จรูปอย่างน้ำปลา
สบู่ ก็จะไปซื้อกันที่ตลาดสด ความถี่ที่จับจ่ายใช้สอยผ่านระบบมันต่างกันเยอะ

ดังนั้นจะเอาภาษีมูลค่าเพิ่มมาอ้างว่าคนบ้านนอกก็จ่ายภาษีเหมือนๆกับคนเมืองนั้นไร้สาระ
คนบ้านนอกจ่ายก็จริง แต่ลองเอาเปอร์เซ็นต์มาเทียบดู ผมว่าภาษีมูลค่าเพิ่มส่วนใหญ่ก็ออกจากกรุงเทพฯ หรือหัวเมืองใหญ่ๆอยูู่ดีนั่นแหละ -_-


ตรรกเรื่องซื้อของเสียภาษีมูลค่าเพิ่มถือว่าเสียภาษีเหมือนคนอื่นแล้วเนี่ยะ
ได้ผลอย่างมากเลยนะครับ


ผมก็ไม่ได้พูดว่าคนชนบทเสียเท่าคนในเมือง หรืออะไรต่าง ๆ นานาที่คุณ isa ยกมานี่ (ความจริงยอดเก็บภาษีรายจังหวัดก็เคยมีคนเขียนจำแนกให้ดูไปแล้ว แต่มันคนละประเด็น)

ผมพูดถึงประเด็นเดียวที่ข้อความซึ่งคุณหนูอ้อยยกมาไม่เป็นความจริง คือ 2.3 ล้านคนเลี้ยงคนทั้งประเทศ

เพราะตัวเลขมันก็บอกอยู่แล้วว่า เงินที่เลี้ยงประเทศมันไม่ได้มาจากภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของ 2.3 ล้านคนอย่างเดียว มันมาจากภาษีอย่างอื่นเยอะกว่าอีก

คุณ ๆ จะหาตัวเลขมาจาระไนว่าคนที่ไหนเสียมากน้อย หรือภาษีประเภทไหนสูงศักดิ์ต่ำศักดิ์กว่ากัน ก็เชิญแตกประเด็นไปตามสบาย (ขอให้อยู่บนข้อเท็จจริงที่มีข้อมูลสนับสนุนก็แล้วกัน)

แต่อยู่ ๆ คุณ isa มาพูดคนละประเด็น แล้วมาพูดทำนองว่าเรปของผมมีคำพูดไร้สาระนี่ผมงง

งงว่าระหว่างคนที่เอาตัวเลขมาชี้ให้เห็นข้อเท็จจริง กับคนที่พูดคนละประเด็นแล้วมาโพล่งว่าไร้สาระนี่ ใครไร้สาระกว่ากัน

ประชาธิปไตยก็เหมือนส้วมสาธารณะแบบนั่งเต็มตูด ควายนับถือศาสนาชินวัตรใช้แล้วสกปรกชิบเป๋ง


#34 isa

isa

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 447 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:13

งั้นผมขอโทษในเรื่องที่บอกว่าไร้สาระก็แล้วกัน

- แต่ผมมองว่าประเด็นสำคัญมันอยู่ที่แผนผังมันจะถูกนำมาอ้างอิงเพื่อลดความเชื่อถือที่ว่าจริงๆแล้วคนที่รับผิดชอบประเทศนั้นคือคนชั้นกลาง ไม่ใช่คนชั้นสูงหรือคนชั้นรากหญ้า
ซึ่งจริงๆแล้วมันไม่ใช่

เพราะดูจากโครงสร้างภาษีที่ยกมา โอเคว่าภาษีเงินได้นั้นคนชั้นกลางจ่ายสูงสุด

แต่ส่วนของภาษีมูลค่าเพิ่ม 45 เปอร์เซ็นต์ ที่ดูเหมือนว่าคนทั้งประเทศร่วมกันแชร์นั้น จริงๆแล้วมันไม่ใช่
เพราะภาษีมูลค่าเพิ่มมันผูกพันอยู่กับการจับจ่ายใช้สอย ยิ่งความถี่ในการใช้เงินในระบบมากแค่ไหน ภาษีมูลค่าเพิ่มก็จะเพิ่มเท่านั้น

เอาง่ายๆว่าถ้าเทียบกันระหว่างคนที่อยู่ในภาคชนบทกับคนที่อยู๋ในภาคเมือง อันดับแรก ภาษีเงินได้ต่างกัน เพราะฐานรายได้ไม่เท่ากัน
อย่างแรกเพราะชั่วโมงทำงานต่างกันเยอะ อาชีพชาวนาที่โอดครวญกันเหลือเกินว่างานหนัก แต่ถ้าเทียบชั่วโมงทำงานกันจริงๆแล้ว
คนเมืองที่ชั่วโมงทำงานเฉลี่ยวันละ 8 ชั่วโมงขึ้นไป มีเวลาทำงานมากกว่าเยอะ

อย่างที่สอง ความรู้ความสามารถไม่เท่ากัน ข้อนี้ขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทาน ต่อให้เป็นคนเมืองเหมือนกัน แต่ถ้ามีความรู้ที่เป็นที่ต้องการของตลาด หรือยู่ในระดับผู้บริหาร
เงินได้ก็ไม่เท่ากัน

อย่างที่ 3 การเสียภาษีแบบอัตราก้าวหน้า ยิ่งรายได้สูงเท่าไหร่ ก็ยิ่งต้องจ่ายเป็นเปอร์เซ็นต์สูง โดยรัฐไม่คำนึงหรอกว่าสิ่งที่ได้มาต้องมีต้นทุนใดบ้าง อย่างกรณีของผมเอง
หักภาษีเดือนละ เกือบ 5000 บาท แต่ถ้าเดือนไหนที่มีโบนัส หรือทำจ๊อบมีรายได้เป็นเท่าหนึ่งของเงินเดือน ภาษีจะพุ่งไปอยู่ที่หมื่นห้าถึงหมื่นหกทันที

ดังนั้นหากเที่ยบด้วยเงินหลัก 100 บาท ก่อนที่เงิน 100 บาทจะถึงมือคุณ หากคุณอยู่ในภาคเมือง เงินส่วนนี้ก็จะหายไปแล้วราว 10-25 บาท เมื่อเทียบกับคนที่ฐานรายได้ต่ำกว่าภาษีที่ไม่ต้องหักภาษี ได้ 100 บาทเต็มๆ

- และในส่วนที่เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มเพียวๆ คนที่อยู่ในภาคเมืองก็ต้องจ่ายเงินอยู่ในระบบ ไม่มีทางที่จะหลบเลี่ยงไปที่อื่น เพราะมันเป็นไปตามวิถีชีวิต ดังนั้นเงินที่เหลือจาก 100 บาท เมื่่อมีการจับจ่ายใช้สอยต่อ
ก็จะถูกหักภาษีหายไปอีก 7 บาท
ขณะที่คนที่อยู่ในชนบท ส่วนใหญ่จะเป็นการใช้จ่ายนอกระบบ ดังนั้นภาษีในส่วนนี้ก็แทบจะไม่ต้องเสีย นอกจากนี้ ยังไม่มีการคำนวณต้นทุนดั้งเดิมของเกษตรกร อย่างเช่น ที่ไม่ต้องเช่า ข้าวไม่ต้องซื้อ ซึ่งรายจ่ายในส่วนนี้
จริงๆแล้วเป็นต้นทุนที่กินรายได้ถึงกว่า 1 ใน 3 ของคนที่อยู่ภาคเมือง แถมในการชำระเงินค่าเช่า ค่าผ่อนบ้าน หรือค่าใช้จ่ายอื่นๆในเมือง บ่อยครั้งก็จะโดนบวกค่าธรรมเนียมเข้าไปด้วย ดังนั้นจุดนี้ก็เป็นอีกจุดที่รัฐรีดภาษีได้อย่างเป็นล่ำเป็นสัน

ส่วนที่คุณอ้างว่าภาษีส่วนหนึ่งมาจากการท่องเที่ยว แล้วคุณคิดว่านักท่องเที่ยวภายในประเทศเป็นใครล่ะครับ เพื่อนๆที่ผมรู้จักที่มีรถ จะหายออกจากกรุงเทพฯ ทุกๆสินอาทิตย์ คนชนบทเที่ยวอย่างมากก็แค่ในจังหวัดตัวเอง
ยากจะเที่ยวไกลกว่านั้นครับ นักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพในการใช้จ่ายก็ไปจากเมืองอีกน่ะแหละ

สำหรับภาษีสรรพสามิตนั้น ผมคิดว่ามันไม่ได้รวมแค่ภาษีเหล้าบุหรี่อย่างเดียวหรอก มันมีอย่างอื่นรวมด้วย แต่ถ้าพูดกันจริงๆ คนชนบทอาจจะหนักบริโภคเหล้าขาว ทำให้ดูปริมาณมาก (แน่ใจนะว่าไม่มีเหล้าเถื่อนร่วมด้วย) แต่คนเมืองมักจะบริโภคเหล้าเบียร์
ที่ราคาสูง เมื่อเที่ยบเปอร์เซ็นต์กัน ผมว่าเผลอๆเมืองจะชนะเอานะ เพราะลองไปดูแถวที่เที่ยวกลางคืน แน่นครึ่ด โดยเฉพาะวันศุกร์

...ถ้าตัวฐานภาษีมันมาจากเงิน ลองดูก็แล้วกันครับว่าตัวที่เป็นเงินจริงๆนั้นมันหมุนเวียนอยู่ในภาคไหน ไม่งั้นกราฟนี่ก็จะเป็นแค่ตัวหลอกให้หลงทิศเท่านั้นแหละ

อีกนิด ภาษีนิติบุคคล ส่วนใหญ่มาจากบริษัท แล้วคุณคิดว่าใครที่เป็นคนทำงานหัวเป็นเกลียวตัวเป็นน็ออยู่ในบริษัท หาเงินให้บริษัทเป็นคนจ่ายภาษีล่ะครับ ...เสี่ยเจ้าของบริษัทงั้นเหรอ?

Edited by isa, 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:15.


#35 หนูอ้อย

หนูอ้อย

    นักเขียนหน่อมแน้ม

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,215 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:30

ถกกันแล้ว ก็รอบด้านสร้างสรรค์ดี
คนอ่านได้ประโยชน์
ภาษีเงินได้ และภาษีมูลค่าเพิ่มมีที่มาจากคนละกลุ่ม
และบางกลุ่มต้องจ่ายทั้งสองตัว

คนที่จ่ายไม่ว่าชนชั้นไหน ย่อมอยากให้รัฐบาลนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

 AMAZING  coup d'etat  , THAILAND ONLY ..  :ph34r:  


#36 isa

isa

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 447 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:34

...ข้างบนอาจจะยาวไปนิด แต่ผมจะขอสรุปประเด็นแบบนี้แล้วกันครับ

...กราฟที่ยกมาข้างบน อาจจะทำให้เกิดการสรุปเอาดื้อๆว่า สิ่่งที่เกี่ยวข้องกับพวกคุณมีแค่เรื่องภาษีเงินได้ อย่างอื่นคุณไม่เกี่ยว และในเมื่อภาษีเงินได้ที่คุณจ่ายไม่ใช่ภาษีส่วนใหญ่ของประเทศดังนั้น อย่าโวยวาย!

แต่จริงๆแล้วมันเป็นการเบี่ยงประเด็น เพราะปัญหาที่เราถกกันอยู่ตอนนี้ก็คือ ภาคธุรกิจ & อุตสาหกรรม และภาคเกษตร ซึ่งจะไปสู่คำถามที่ว่า จริงๆแล้วเรายังเป็นประเทศเกษตรกรรมอยู่อีกหรือ หรือควรจะยอมรับตัวเองได้แล้วว่าเราเป็นประเทศอุตสาหกรรม

ดังนั้นถ้าจะให้กราฟข้างบนสะท้อนภาพจริงๆ ก็ควรจะแบ่งสีไปเลยว่าแต่ละส่วนของชนิดรายได้ ภาคเกษตรและภาคธุรกิจ มีส่วนกันแค่ไหน
เช่น ภาษีเงินได้ ภาคธุรกิจ เกือบ 100% ภาคเกษตรแทบจะเป็น 0
- ภาคท่องเที่ยว ภาคธุรกิจกินขาดเช่นเคย ภาคเกษตรมีเฉพาะโฮมสเตย์
- นิติบุคคล ก็ภาคธุรกิจเป็นส่วนใหญ่อีกนั่นแหละ

ถ้าเรายอมรับอย่างหลัง ก็ต้องพิจารณาด้วยว่าในทุกภาษีที่ออกมานั้น ส่วนใหญ่ผูกพันอยู่กับภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีนิติบุคคล ค่าธรรมเนียม ตลอดจนค่าอื่นๆที่เป็นรายได้หลักของภาครัฐ
ดังนั้น การจัดการกับนโยบายด้านการเงินของรัฐปัจจุบันที่เอาภาคเกษตรมาเป็นข้ออ้าง ผลาญเงินรายได้ของทั้งประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้น สมควรหรือไม่ และควรจะมีขีดจำกัดแค่ไหน

...ความตระหนักในบทบาททั้งทางตรงและทางอ้อมของตัวเองต่อรายได้และหนี้สินของประเทศ จะทำให้คนร่วมมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น หวงแหนรายได้ส่วนที่เป็นของตัวเอง และปรารถนาจะเห็นมันถูกเอาไปใช้ประโยชน์ในทางที่ถูกมากขึ้น
ไม่ใช่แค่คิดว่า เออ ไม่ใช่ตังค์ของตู ธุระไม่ใช่ ยังไงล่ะครับ

ขอบคุณ

#37 chaidan

chaidan

    กา... กา... กา...

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,999 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:34

อย่าลืมว่ารัฐบาลนี้ ลดภาษี นิติบุคคล... ด้วยนะครับ...
ลดไปตั้ง 10 % แนะ....(ก็ไม่ต้องแปลกใจที่ไอ้โพลอะไรนั้น จะว่าไทยน่ากอบโกย... :mellow: )
รายได้ของประเทศ...
หายจาก นโยบายประชานิยม(ที่ไปไม่ถึงประชาชน) + ลดภาษีนิติบุคคล...
ก็ต้องมารีดเอากับ บุคคลธรรมด้าดา.... นะซิครับ...
:lol:

ครม.ลดภาษีนิติบุคคล ปี′55 เหลือ 23% ปี′56 เหลือ 20% เงินบริจาคน้ำท่วมหักค่าใช้จ่าย 1.5 เท่าไปลดภาษี

http://www.matichon....atid=&subcatid=
นาย บุญทรง เตริยาพิรมย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังแถลงภายหลังการประชุม ครม. ว่าที่ประชุม ครม.เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม มีมติเห็นชอบปรับลดอัตราการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลจาก 30% เหลือ 23% ภายในปี 2555 และลดเหลือ 20% ในปี 2556 ตามข้อเสนอของกระทรวงการคลัง โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 เป็นต้นไป


นายบุญทรงกล่าวว่า นอกจากนี้ยังเห็นชอบให้ปรับลดภาษีเงินได้นิติบุุคล สำหรับบริษัท หรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคล ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เอสเอ็มอี) ที่มีทุนชำระแล้วไม่เกิน 5 ล้านบาท แต่ต้องมีรายได้ประกอบกิจการขายสินค้าและให้บริการไม่เกิน 30 ล้านบาทต่อรอบบัญชี โดยให้ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับกำไรสุทธิเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 1.5 แสนบาท ส่วนที่เกินจากนั้นแต่ไม่ถึง 1 ล้านบาท ให้เสียภาษีในอัตรา 15% ส่วนที่เกิน 1 ล้านบาท ให้เสียภาษีในอัตรา 23% สำหรับรอบบัญชีปี 2555 หรือสิ้นสุดหลังธันวาคม 2555 แต่สำหรับรอบบัญชีที่เริ่มหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ให้เสียภาษีในอัตรา 20% หากเอสเอ็มอีมีทุนชำระแล้วและรายได้เกินกว่าที่กำหนด จะไม่ได้รับสิทธิภาษีดังกล่าว แต่ได้รับสิทธิประโยชน์ภาษีนิติบุคคลเหมือนบริษัททั่วไป


นายบุญทรงกล่าวว่า ที่ประชุม ครม.ยังได้รับข้อเสนอของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เคยนำหลักทรัพย์มาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ที่ขอรับสิทธิการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล เช่นเดียวกับบริษัททั่วไปด้วย


นายบุญทรงกล่าวว่า สำหรับการปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคลในครั้งนี้จะส่งผลให้การจัดเก็บรายได้ ของรัฐบาลลดลงรวมประมาณ 1.5 แสนล้านบาท แต่ในปี 2555 มีผลเพียงแค่ 5.25 หมื่นล้านบาท เนื่องจากบริษัทเอกชนได้เสียภาษีไปแล้วครึ่งหนึ่งในช่วงเดือนสิงหาคมที่่ ผ่านมา แต่มาตรการข้างต้นจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมการลงทุนในประเทศไทย โดยนักลงทุนต่างชาติจะเข้ามาลงทุนมากขึ้น เพราะฐานภาษีของไทยได้ปรับลดลงมาเทียบเท่าประเทศอื่นในภูมิภาค ส่งผลให้รัฐบาลสามารถจัดเก็บภาษีได้เพิ่มขึ้นในระยะยาว ชดเชยรายได้ที่สูญเสียไปในระยะยาว


นายบุญทรงกล่าวว่า อย่างไรก็ตาม ที่ประชุม ครม.ได้มอบหมายให้กระทรวงการคลัง และกระทรวงอุตสาหกรรม หารือร่วมกันในการทบทวนให้สิทธิประโยชน์ในการส่งเสริมการลงทุน หรือปรับปรุงให้สอดคล้องกับการปรับลดภาษีนิติบุคคลในครั้งนี้ ว่าส่วนใดควรมีการปรับปรุง หรือยกเลิกไป


นายบุญทรงกล่าวว่า ที่ประชุม ครม.ยังมีมติเห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม โดยเปิดโอกาสให้บุคคลธรรมดา บริษัท ห้างหุ้นส่วน นิติบุุคคลที่ร่วมกันบริจาคเงิน หรือทรัพย์สินช่วยเหลือผู้ประสบภัย สามารถนำส่วนที่บริจาคในระหว่างวันที่ 1 กันยายน-31 ธันวาคม 2554 มาหักเป็นค่าใช้จ่ายคำนวณภาษีเงินได้เป็นจำนวน 1.5 เท่า จากปกติ 1 เท่า นอกจากนี้ในสัปดาห์หน้า กระทรวงการคลังจะพยายามนำเสนอโครงการพักชำระหนี้เกษตรกร 3 ปี เข้าสู่ที่ประชุม ครม.

Edited by chaidan, 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:36.

ใครที่บอกว่า "กาขาว" เป็นฝรั่ง....ผมว่าไม่ใช่......

#38 RaRa

RaRa

    Seien Sie loyal zu Majesty

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,976 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 17:04

555000013398801.JPEG
ไททานิค ของฝรั่ง จบแบบเศร้า แต่ประทับใจ

ไทยทานิค
เวอร์ชั่นไทยแลนด์แดนสยาม
จะจบแบบไหนน้อ


จบแบบ "บรรลัย" ครับปู่ -_-
บิลเกต3.jpeg

ขอเทิดทูนศักดิ์ศรียิ่งสิ่งใด

...แม้แต่ลมหายใจก็ยอมพลี

โลกยังไม่สิ้นหวัง ถ้ายังมั่นในความดี

...ศรัทธาไม่เคยหน่ายหนี คนดีไม่มีวันตาย


#39 เพื่อนร่วมชาติ

เพื่อนร่วมชาติ

    พรานล่าปูไปรยา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,788 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 21:02

...ข้างบนอาจจะยาวไปนิด แต่ผมจะขอสรุปประเด็นแบบนี้แล้วกันครับ

...กราฟที่ยกมาข้างบน อาจจะทำให้เกิดการสรุปเอาดื้อๆว่า สิ่่งที่เกี่ยวข้องกับพวกคุณมีแค่เรื่องภาษีเงินได้ อย่างอื่นคุณไม่เกี่ยว และในเมื่อภาษีเงินได้ที่คุณจ่ายไม่ใช่ภาษีส่วนใหญ่ของประเทศดังนั้น อย่าโวยวาย นี่เป็นการคาดคะเนของคุณเอง ไม่เกี่ยวกับสิ่งที่ผมพูดหรือยกมา ผมพูดถึงข้อเท็จจริง ใครจะไปตีความผิด ๆ ยังไงก็เป็นอีกประเด็น แต่ผมไม่ได้พูดอะไรแบบนั้น

แต่จริงๆแล้วมันเป็นการเบี่ยงประเด็น เพราะปัญหาที่เราถกกันอยู่ตอนนี้ก็คือ ภาคธุรกิจ & อุตสาหกรรม และภาคเกษตร ซึ่งจะไปสู่คำถามที่ว่า จริงๆแล้วเรายังเป็นประเทศเกษตรกรรมอยู่อีกหรือ หรือควรจะยอมรับตัวเองได้แล้วว่าเราเป็นประเทศอุตสาห ผมพึ่งเห็นคำว่าอุตสาหกรรมครั้งแรกในกระทู้นี้ก็ในเรปของคุณนี่แหละ ประเด็นก่อนเรปแรกของผมเป็นแบบนั้นจริง ๆ เหรอ เราคุยกันเรื่องชาวนา ซึ่งไม่ได้หมายถึงภาคเกษตรทั้งหมด เพราะนั่นรวมถึงเจ้าของสวนยาง เจ้าของฟาร์มไก่ ฯลฯ คุณอยากจะคุยประเด็นอะไรก็เป็นสิทธิของคุณ แต่อย่ามายัดเยียดข้อหาเบี่ยงประเด็นให้คนอื่น ถ้าคุณว่าผมเบี่ยง แล้วคุณหนูอ้อยที่ยกข้อความเรื่องภาษีมาก่อนล่ะ

ดังนั้นถ้าจะให้กราฟข้างบนสะท้อนภาพจริงๆ ก็ควรจะแบ่งสีไปเลยว่าแต่ละส่วนของชนิดรายได้ ภาคเกษตรและภาคธุรกิจ มีส่วนกันแค่ไหน
เช่น ภาษีเงินได้ ภาคธุรกิจ เกือบ 100% ภาคเกษตรแทบจะเป็น 0
- ภาคท่องเที่ยว ภาคธุรกิจกินขาดเช่นเคย ภาคเกษตรมีเฉพาะโฮมสเตย์
- นิติบุคคล ก็ภาคธุรกิจเป็นส่วนใหญ่อีกนั่นแหละ
นั่นเป็นประเด็นที่คุณต้องการพูด ดังนั้นคุณอยากเห็นกราฟแบบนั้น คุณก็ต้องไปหามาเอง ประเด็นของผมมีแค่ ผมค้านคำพูดที่ว่า 2.3 ล้านคนเสียภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

ถ้าเรายอมรับอย่างหลัง ก็ต้องพิจารณาด้วยว่าในทุกภาษีที่ออกมานั้น ส่วนใหญ่ผูกพันอยู่กับภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีนิติบุคคล ค่าธรรมเนียม ตลอดจนค่าอื่นๆที่เป็นรายได้หลักของภาครัฐ
ดังนั้น การจัดการกับนโยบายด้านการเงินของรัฐปัจจุบันที่เอาภาคเกษตรมาเป็นข้ออ้าง ผลาญเงินรายได้ของทั้งประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้น สมควรหรือไม่ และควรจะมีขีดจำกัดแค่ไหน

...ความตระหนักในบทบาททั้งทางตรงและทางอ้อมของตัวเองต่อรายได้และหนี้สินของประเทศ จะทำให้คนร่วมมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น หวงแหนรายได้ส่วนที่เป็นของตัวเอง และปรารถนาจะเห็นมันถูกเอาไปใช้ประโยชน์ในทางที่ถูกมากขึ้น
ไม่ใช่แค่คิดว่า เออ ไม่ใช่ตังค์ของตู ธุระไม่ใช่ ยังไงล่ะครับ
ก็ไม่รู้ว่าใครคิดแบบนั้นเหมือนกัน ในกระทู้นี้มีใครคิดแบบนั้น คุณก็ไปเถียงกับเขาละกัน

ขอบคุณ



ส่วนเรปก่อนหน้าที่คุณเขียนยาว ๆ นั่น ผมถามคุณสั้น ๆ ละกัน

คนชั้นกลางมีแค่ 2.3 ล้านคนเหรอ

คุณอยากจะยืนยันว่าผู้เลี้ยงประเทศนี้คือคนชั้นกลาง คุณก็ควรไปหาตัวเลขอื่นมา เพื่อสนับสนุนให้คำกล่าวอ้างของคุณน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น แต่ไม่ใช่แค่ตัวเลขจำนวนผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

อ้อ แล้วเรื่องนักท่องเที่ยวนั่นน่ะ ผมแค่อธิบายว่าภาษีที่รัฐบาลนำมาใช้จ่ายน่ะ บางส่วนก็มาจากคนต่างชาติที่มาใช้ชีวิตในเมืองไทย บางส่วนก็มาจากนักท่องเที่ยวที่มาใช้จ่าย ก็แค่นั้น ให้เห็นว่ารายได้ของรัฐบาลไม่ได้มาจากแค่ 2.3 ล้านคนที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ส่วนคุณจะอยากบอกว่าคนชั้นกลางเสียมากแค่ไหน มันก็เรื่องของคุณที่จะหาตัวเลขมาแสดง

Edited by เพื่อนร่วมชาติ, 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 21:03.

ประชาธิปไตยก็เหมือนส้วมสาธารณะแบบนั่งเต็มตูด ควายนับถือศาสนาชินวัตรใช้แล้วสกปรกชิบเป๋ง


#40 ม่านน้ำ

ม่านน้ำ

    ผมเพิ่งมาครับ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,373 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 21:23

มิน่า มันถึงเอาเงินของประเทศไปปู้ยี่ปู้ยำได้ง่ายๆ

Posted Image


#41 isa

isa

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 447 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 21:27

เรื่องคนชั้นกลางนั้น มันอยู่ที่ว่าคุณจะเอาอะไรมาวัดครับ แล้วแต่มาตรฐานของคุณ



...ข้างบนอาจจะยาวไปนิด แต่ผมจะขอสรุปประเด็นแบบนี้แล้วกันครับ

...กราฟที่ยกมาข้างบน อาจจะทำให้เกิดการสรุปเอาดื้อๆว่า สิ่่งที่เกี่ยวข้องกับพวกคุณมีแค่เรื่องภาษีเงินได้ อย่างอื่นคุณไม่เกี่ยว และในเมื่อภาษีเงินได้ที่คุณจ่ายไม่ใช่ภาษีส่วนใหญ่ของประเทศดังนั้น อย่าโวยวาย นี่เป็นการคาดคะเนของคุณเอง ไม่เกี่ยวกับสิ่งที่ผมพูดหรือยกมา ผมพูดถึงข้อเท็จจริง ใครจะไปตีความผิด ๆ ยังไงก็เป็นอีกประเด็น แต่ผมไม่ได้พูดอะไรแบบนั้น -
อันนั้นก็แล้วแต่คุณครับ เพราะที่ผมพูด ผมก็ไม่ได้พูดเจาะจงถึงคุณ ผมหมายถึงคนอ่านทั่วๆไป เพราะผมอ่าน Rep ข้างบนผมก็เห็นแล้วว่า มีบางคนทิ้งประเด็นเรื่องความรับผิดชอบหลักๆของประเทศนั้นตกอยู่กับคนชั้นกลาง ซึ่งผมยืนทฤษฎีนี้ ดังนั้นผมก็ต้องนำเสนอให้เพื่อนๆเห็นว่าประเด็นที่ว่าชนชั้นกลางเป็นชนช้นที่แบกสังคมหนักที่สุดนั้นมันใช่ แล้วผมไม่ต้องการให้ใครเอาความดีความชอบไปโยนให้กับกรรมกรหรือชาวนา แต่ป้ายขี้ให้กับคนชั้นกลางว่าเป็นภาระสังคม ตามวิถีคิดของพวกซ้ายนิยม ซึ่งผมค้านหัวชนฝา

แต่จริงๆแล้วมันเป็นการเบี่ยงประเด็น เพราะปัญหาที่เราถกกันอยู่ตอนนี้ก็คือ ภาคธุรกิจ & อุตสาหกรรม และภาคเกษตร ซึ่งจะไปสู่คำถามที่ว่า จริงๆแล้วเรายังเป็นประเทศเกษตรกรรมอยู่อีกหรือ หรือควรจะยอมรับตัวเองได้แล้วว่าเราเป็นประเทศอุตสาห ผมพึ่งเห็นคำว่าอุตสาหกรรมครั้งแรกในกระทู้นี้ก็ในเรปของคุณนี่แหละ ประเด็นก่อนเรปแรกของผมเป็นแบบนั้นจริง ๆ เหรอ เราคุยกันเรื่องชาวนา ซึ่งไม่ได้หมายถึงภาคเกษตรทั้งหมด เพราะนั่นรวมถึงเจ้าของสวนยาง เจ้าของฟาร์มไก่ ฯลฯ คุณอยากจะคุยประเด็นอะไรก็เป็นสิทธิของคุณ แต่อย่ามายัดเยียดข้อหาเบี่ยงประเด็นให้คนอื่น ถ้าคุณว่าผมเบี่ยง แล้วคุณหนูอ้อยที่ยกข้อความเรื่องภาษีมาก่อนล-
- ข้อนี้ก็เหมือนกัน ผมไม่ได้เจาะจงที่คุณ ผมเจาะจงที่กราฟว่า กราฟนี้รายละเอียดมันไม่ใช่ เพราะมันบอกแค่ว่ารายได้มาจากภาษีชนิดไหน แต่ไม่ได้บอกว่าใครฝ่ายไหนเป็นผู้จ่ายภาษีชนิดนั้น ซึ่งผมก็โยงให้เห็นแล้วว่าแค่คิดโดยปกติทั่วไปก็น่าจะเห็นแล้วว่าใครบ้างเกี่ยวกับภาษีลักษณะไหน ซึ่งในเว็บบอร์ดเสรีไทก็มีข้อมูลเก่าอยู่แล้วว่าภาษีที่ออกมาจากภาคเกษตรนั้นมันแค่ 8% แต่ออกมาจากภาคอุตสาหกรรมประกอบรถยนตร์เสียร่วม 30 กว่า% การที่ผมสรุปให้เป็นเรื่องภาคธุรกิจ& อุตสาหกรรม กับภาคเกษตรนั้น มันน่าจะสะท้อนให้เห็นภาพของคนที่สังกัดอยู่ในภาคนั้นชัดกว่าการพูดว่า ชาวนา กับชาวเมืองเฉยๆ เดี๋ยวก็ต้องมานั่งตีความกันอีกว่าแค่ไหนเป็นเมือง แค่ไหนเป็นชาวนา

ดังนั้นถ้าจะให้กราฟข้างบนสะท้อนภาพจริงๆ ก็ควรจะแบ่งสีไปเลยว่าแต่ละส่วนของชนิดรายได้ ภาคเกษตรและภาคธุรกิจ มีส่วนกันแค่ไหน
เช่น ภาษีเงินได้ ภาคธุรกิจ เกือบ 100% ภาคเกษตรแทบจะเป็น 0
- ภาคท่องเที่ยว ภาคธุรกิจกินขาดเช่นเคย ภาคเกษตรมีเฉพาะโฮมสเตย์
- นิติบุคคล ก็ภาคธุรกิจเป็นส่วนใหญ่อีกนั่นแหละ
นั่นเป็นประเด็นที่คุณต้องการพูด ดังนั้นคุณอยากเห็นกราฟแบบนั้น คุณก็ต้องไปหามาเอง ประเด็นของผมมีแค่ ผมค้านคำพูดที่ว่า 2.3 ล้านคนเสียภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ
- ประเด็นของผมไม่ได้บอกแค่ว่า 2.3 ล้านคนเสียภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ แต่ถ้าทุกคนมีส่วนในการเสียภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ ผมมองว่า 2.3 ล้านคนนี่แหละ รับบทหนักที่สุด
เพราะเสียภาษีมันแทบทุกประเทศ ไม่ว่าโดยทางตรง หรือทางอ้อม ดังนั้นการเสียภาษีตรงนี้มันเป็น Intersection ขณะที่คนในภาคเกษตรเกี่ยวข้องน้อยที่สุด ไม่ว่าจะเป็นภาษี
เงินได้โดยตรง หรือภาษีมูลค่าเพิ่มจากการบริโภค และถ้าไม่มีการขายแรงงาน ก็ไม่มีส่วนในเรื่องภาษีนิติบุคคล - ดังนั้นแค่กราฟของภาษีเงินได้อย่างเดียวแล้วมาลดภาพหน้าที่แท้
จริง
ที่คนเมืองทำอยู่ ผมว่าไม่ใช่ และมันยิ่งสะท้อนภาพความบิดเบี้ยวของสังคมที่ว่า ไม่มีปัญญาดึงคนขี้เกียจมาทำหน้าที่ ดีแต่เพิ่มภาระให้กับคนที่รับภาระหนักอยู่แล้ว ซึ่งลักษณะลงโทษคนขยัน
ให้รางวัลคนขี้เกียจแบบนี้มันกระจายไปทั่วสังคมเมืองไทย




ถ้าเรายอมรับอย่างหลัง ก็ต้องพิจารณาด้วยว่าในทุกภาษีที่ออกมานั้น ส่วนใหญ่ผูกพันอยู่กับภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีนิติบุคคล ค่าธรรมเนียม ตลอดจนค่าอื่นๆที่เป็นรายได้หลักของภาครัฐ
ดังนั้น การจัดการกับนโยบายด้านการเงินของรัฐปัจจุบันที่เอาภาคเกษตรมาเป็นข้ออ้าง ผลาญเงินรายได้ของทั้งประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้น สมควรหรือไม่ และควรจะมีขีดจำกัดแค่ไหน

...ความตระหนักในบทบาททั้งทางตรงและทางอ้อมของตัวเองต่อรายได้และหนี้สินของประเทศ จะทำให้คนร่วมมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น หวงแหนรายได้ส่วนที่เป็นของตัวเอง และปรารถนาจะเห็นมันถูกเอาไปใช้ประโยชน์ในทางที่ถูกมากขึ้น
ไม่ใช่แค่คิดว่า เออ ไม่ใช่ตังค์ของตู ธุระไม่ใช่ ยังไงล่ะครับ
ก็ไม่รู้ว่าใครคิดแบบนั้นเหมือนกัน ในกระทู้นี้มีใครคิดแบบนั้น คุณก็ไปเถียงกับเขาละกั
- ก็คงมีในแค่กระทู้นี้มั้ง ที่ผมเถียงคุณโดยตรง กระทู้อื่นๆผมแค่เถียงกับกราฟ ไม่ได้เถียงกับคุณสักหน่อย

ขอบคุณ



ส่วนเรปก่อนหน้าที่คุณเขียนยาว ๆ นั่น ผมถามคุณสั้น ๆ ละกัน

คนชั้นกลางมีแค่ 2.3 ล้านคนเหรอ


คุณอยากจะยืนยันว่าผู้เลี้ยงประเทศนี้คือคนชั้นกลาง คุณก็ควรไปหาตัวเลขอื่นมา เพื่อสนับสนุนให้คำกล่าวอ้างของคุณน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น แต่ไม่ใช่แค่ตัวเลขจำนวนผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

อ้อ แล้วเรื่องนักท่องเที่ยวนั่นน่ะ ผมแค่อธิบายว่าภาษีที่รัฐบาลนำมาใช้จ่ายน่ะ บางส่วนก็มาจากคนต่างชาติที่มาใช้ชีวิตในเมืองไทย บางส่วนก็มาจากนักท่องเที่ยวที่มาใช้จ่าย ก็แค่นั้น ให้เห็นว่ารายได้ของรัฐบาลไม่ได้มาจากแค่ 2.3 ล้านคนที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ส่วนคุณจะอยากบอกว่าคนชั้นกลางเสียมากแค่ไหน มันก็เรื่องของคุณที่จะหาตัวเลขมาแสดง
x]"

ปล. ถ้าคุณเคยอ่านความคิดผมในเว็บบอร์ดนี้ก็น่าจะรู้ว่าผมโจมตีความคิดคน แต่ผมไม่โจมตีหรือทะเลาะกับใครเป็นการส่วนตัว

Edited by isa, 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 21:34.


#42 ant

ant

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,081 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 21:44

เสียมาตลอดครับ ปีละหลายหมื่น แต่ปีหน้าจะไม่เสีย

มีวิธีแล้ว ......ที่หัก ณ ที่จ่ายไว้รายเดือนละสามพัน จะเอาคืนให้หมด

ไม่ได้โกง... แต่ไม่จ่าย
ตราบที่สูอยู่-กิน..แผ่นดินไทย ตราบโคตรเหง้าสูใช้แผ่นดินนี้ตราบศพสูฝังใต้..ไทยปฐพี สูไม่มีสิทธิ์ยํ่ายี.." พระเจ้าแผ่นดิน "

#43 เพื่อนร่วมชาติ

เพื่อนร่วมชาติ

    พรานล่าปูไปรยา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,788 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 21:49

เรื่องคนชั้นกลางนั้น มันอยู่ที่ว่าคุณจะเอาอะไรมาวัดครับ แล้วแต่มาตรฐานของคุณ




...ข้างบนอาจจะยาวไปนิด แต่ผมจะขอสรุปประเด็นแบบนี้แล้วกันครับ

...กราฟที่ยกมาข้างบน อาจจะทำให้เกิดการสรุปเอาดื้อๆว่า สิ่่งที่เกี่ยวข้องกับพวกคุณมีแค่เรื่องภาษีเงินได้ อย่างอื่นคุณไม่เกี่ยว และในเมื่อภาษีเงินได้ที่คุณจ่ายไม่ใช่ภาษีส่วนใหญ่ของประเทศดังนั้น อย่าโวยวาย นี่เป็นการคาดคะเนของคุณเอง ไม่เกี่ยวกับสิ่งที่ผมพูดหรือยกมา ผมพูดถึงข้อเท็จจริง ใครจะไปตีความผิด ๆ ยังไงก็เป็นอีกประเด็น แต่ผมไม่ได้พูดอะไรแบบนั้น -
อันนั้นก็แล้วแต่คุณครับ เพราะที่ผมพูด ผมก็ไม่ได้พูดเจาะจงถึงคุณ ผมหมายถึงคนอ่านทั่วๆไป เพราะผมอ่าน Rep ข้างบนผมก็เห็นแล้วว่า มีบางคนทิ้งประเด็นเรื่องความรับผิดชอบหลักๆของประเทศนั้นตกอยู่กับคนชั้นกลาง ซึ่งผมยืนทฤษฎีนี้ ดังนั้นผมก็ต้องนำเสนอให้เพื่อนๆเห็นว่าประเด็นที่ว่าชนชั้นกลางเป็นชนช้นที่แบกสังคมหนักที่สุดนั้นมันใช่ แล้วผมไม่ต้องการให้ใครเอาความดีความชอบไปโยนให้กับกรรมกรหรือชาวนา แต่ป้ายขี้ให้กับคนชั้นกลางว่าเป็นภาระสังคม ตามวิถีคิดของพวกซ้ายนิยม ซึ่งผมค้านหัวชนฝา

แต่จริงๆแล้วมันเป็นการเบี่ยงประเด็น เพราะปัญหาที่เราถกกันอยู่ตอนนี้ก็คือ ภาคธุรกิจ & อุตสาหกรรม และภาคเกษตร ซึ่งจะไปสู่คำถามที่ว่า จริงๆแล้วเรายังเป็นประเทศเกษตรกรรมอยู่อีกหรือ หรือควรจะยอมรับตัวเองได้แล้วว่าเราเป็นประเทศอุตสาห ผมพึ่งเห็นคำว่าอุตสาหกรรมครั้งแรกในกระทู้นี้ก็ในเรปของคุณนี่แหละ ประเด็นก่อนเรปแรกของผมเป็นแบบนั้นจริง ๆ เหรอ เราคุยกันเรื่องชาวนา ซึ่งไม่ได้หมายถึงภาคเกษตรทั้งหมด เพราะนั่นรวมถึงเจ้าของสวนยาง เจ้าของฟาร์มไก่ ฯลฯ คุณอยากจะคุยประเด็นอะไรก็เป็นสิทธิของคุณ แต่อย่ามายัดเยียดข้อหาเบี่ยงประเด็นให้คนอื่น ถ้าคุณว่าผมเบี่ยง แล้วคุณหนูอ้อยที่ยกข้อความเรื่องภาษีมาก่อนล-
- ข้อนี้ก็เหมือนกัน ผมไม่ได้เจาะจงที่คุณ ผมเจาะจงที่กราฟว่า กราฟนี้รายละเอียดมันไม่ใช่ เพราะมันบอกแค่ว่ารายได้มาจากภาษีชนิดไหน แต่ไม่ได้บอกว่าใครฝ่ายไหนเป็นผู้จ่ายภาษีชนิดนั้น ซึ่งผมก็โยงให้เห็นแล้วว่าแค่คิดโดยปกติทั่วไปก็น่าจะเห็นแล้วว่าใครบ้างเกี่ยวกับภาษีลักษณะไหน ซึ่งในเว็บบอร์ดเสรีไทก็มีข้อมูลเก่าอยู่แล้วว่าภาษีที่ออกมาจากภาคเกษตรนั้นมันแค่ 8% แต่ออกมาจากภาคอุตสาหกรรมประกอบรถยนตร์เสียร่วม 30 กว่า% การที่ผมสรุปให้เป็นเรื่องภาคธุรกิจ& อุตสาหกรรม กับภาคเกษตรนั้น มันน่าจะสะท้อนให้เห็นภาพของคนที่สังกัดอยู่ในภาคนั้นชัดกว่าการพูดว่า ชาวนา กับชาวเมืองเฉยๆ เดี๋ยวก็ต้องมานั่งตีความกันอีกว่าแค่ไหนเป็นเมือง แค่ไหนเป็นชาวนา

ดังนั้นถ้าจะให้กราฟข้างบนสะท้อนภาพจริงๆ ก็ควรจะแบ่งสีไปเลยว่าแต่ละส่วนของชนิดรายได้ ภาคเกษตรและภาคธุรกิจ มีส่วนกันแค่ไหน
เช่น ภาษีเงินได้ ภาคธุรกิจ เกือบ 100% ภาคเกษตรแทบจะเป็น 0
- ภาคท่องเที่ยว ภาคธุรกิจกินขาดเช่นเคย ภาคเกษตรมีเฉพาะโฮมสเตย์
- นิติบุคคล ก็ภาคธุรกิจเป็นส่วนใหญ่อีกนั่นแหละ
นั่นเป็นประเด็นที่คุณต้องการพูด ดังนั้นคุณอยากเห็นกราฟแบบนั้น คุณก็ต้องไปหามาเอง ประเด็นของผมมีแค่ ผมค้านคำพูดที่ว่า 2.3 ล้านคนเสียภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ
- ประเด็นของผมไม่ได้บอกแค่ว่า 2.3 ล้านคนเสียภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ แต่ถ้าทุกคนมีส่วนในการเสียภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ ผมมองว่า 2.3 ล้านคนนี่แหละ รับบทหนักที่สุด
เพราะเสียภาษีมันแทบทุกประเทศ ไม่ว่าโดยทางตรง หรือทางอ้อม ดังนั้นการเสียภาษีตรงนี้มันเป็น Intersection ขณะที่คนในภาคเกษตรเกี่ยวข้องน้อยที่สุด ไม่ว่าจะเป็นภาษี
เงินได้โดยตรง หรือภาษีมูลค่าเพิ่มจากการบริโภค และถ้าไม่มีการขายแรงงาน ก็ไม่มีส่วนในเรื่องภาษีนิติบุคคล - ดังนั้นแค่กราฟของภาษีเงินได้อย่างเดียวแล้วมาลดภาพหน้าที่แท้
จริง
ที่คนเมืองทำอยู่ ผมว่าไม่ใช่ และมันยิ่งสะท้อนภาพความบิดเบี้ยวของสังคมที่ว่า ไม่มีปัญญาดึงคนขี้เกียจมาทำหน้าที่ ดีแต่เพิ่มภาระให้กับคนที่รับภาระหนักอยู่แล้ว ซึ่งลักษณะลงโทษคนขยัน
ให้รางวัลคนขี้เกียจแบบนี้มันกระจายไปทั่วสังคมเมืองไทย




ถ้าเรายอมรับอย่างหลัง ก็ต้องพิจารณาด้วยว่าในทุกภาษีที่ออกมานั้น ส่วนใหญ่ผูกพันอยู่กับภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีนิติบุคคล ค่าธรรมเนียม ตลอดจนค่าอื่นๆที่เป็นรายได้หลักของภาครัฐ
ดังนั้น การจัดการกับนโยบายด้านการเงินของรัฐปัจจุบันที่เอาภาคเกษตรมาเป็นข้ออ้าง ผลาญเงินรายได้ของทั้งประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้น สมควรหรือไม่ และควรจะมีขีดจำกัดแค่ไหน

...ความตระหนักในบทบาททั้งทางตรงและทางอ้อมของตัวเองต่อรายได้และหนี้สินของประเทศ จะทำให้คนร่วมมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น หวงแหนรายได้ส่วนที่เป็นของตัวเอง และปรารถนาจะเห็นมันถูกเอาไปใช้ประโยชน์ในทางที่ถูกมากขึ้น
ไม่ใช่แค่คิดว่า เออ ไม่ใช่ตังค์ของตู ธุระไม่ใช่ ยังไงล่ะครับ
ก็ไม่รู้ว่าใครคิดแบบนั้นเหมือนกัน ในกระทู้นี้มีใครคิดแบบนั้น คุณก็ไปเถียงกับเขาละกั
- ก็คงมีในแค่กระทู้นี้มั้ง ที่ผมเถียงคุณโดยตรง กระทู้อื่นๆผมแค่เถียงกับกราฟ ไม่ได้เถียงกับคุณสักหน่อย

ขอบคุณ



ส่วนเรปก่อนหน้าที่คุณเขียนยาว ๆ นั่น ผมถามคุณสั้น ๆ ละกัน

คนชั้นกลางมีแค่ 2.3 ล้านคนเหรอ


คุณอยากจะยืนยันว่าผู้เลี้ยงประเทศนี้คือคนชั้นกลาง คุณก็ควรไปหาตัวเลขอื่นมา เพื่อสนับสนุนให้คำกล่าวอ้างของคุณน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น แต่ไม่ใช่แค่ตัวเลขจำนวนผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

อ้อ แล้วเรื่องนักท่องเที่ยวนั่นน่ะ ผมแค่อธิบายว่าภาษีที่รัฐบาลนำมาใช้จ่ายน่ะ บางส่วนก็มาจากคนต่างชาติที่มาใช้ชีวิตในเมืองไทย บางส่วนก็มาจากนักท่องเที่ยวที่มาใช้จ่าย ก็แค่นั้น ให้เห็นว่ารายได้ของรัฐบาลไม่ได้มาจากแค่ 2.3 ล้านคนที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ส่วนคุณจะอยากบอกว่าคนชั้นกลางเสียมากแค่ไหน มันก็เรื่องของคุณที่จะหาตัวเลขมาแสดง
x]"

ปล. ถ้าคุณเคยอ่านความคิดผมในเว็บบอร์ดนี้ก็น่าจะรู้ว่าผมโจมตีความคิดคน แต่ผมไม่โจมตีหรือทะเลาะกับใครเป็นการส่วนตัว


ที่ขีดเส้นใต้ข้างล่างนี่ก็เถียงกับกราฟเหรอ

งั้นผมขอโทษในเรื่องที่บอกว่าไร้สาระก็แล้วกัน

- แต่ผมมองว่าประเด็นสำคัญมันอยู่ที่แผนผังมันจะถูกนำมาอ้างอิงเพื่อลดความเชื่อถือที่ว่าจริงๆแล้วคนที่รับผิดชอบประเทศนั้นคือคนชั้นกลาง ไม่ใช่คนชั้นสูงหรือคนชั้นรากหญ้า
ซึ่งจริงๆแล้วมันไม่ใช่

เพราะดูจากโครงสร้างภาษีที่ยกมา โอเคว่าภาษีเงินได้นั้นคนชั้นกลางจ่ายสูงสุด

แต่ส่วนของภาษีมูลค่าเพิ่ม 45 เปอร์เซ็นต์ ที่ดูเหมือนว่าคนทั้งประเทศร่วมกันแชร์นั้น จริงๆแล้วมันไม่ใช่
เพราะภาษีมูลค่าเพิ่มมันผูกพันอยู่กับการจับจ่ายใช้สอย ยิ่งความถี่ในการใช้เงินในระบบมากแค่ไหน ภาษีมูลค่าเพิ่มก็จะเพิ่มเท่านั้น

เอาง่ายๆว่าถ้าเทียบกันระหว่างคนที่อยู่ในภาคชนบทกับคนที่อยู๋ในภาคเมือง อันดับแรก ภาษีเงินได้ต่างกัน เพราะฐานรายได้ไม่เท่ากัน
อย่างแรกเพราะชั่วโมงทำงานต่างกันเยอะ อาชีพชาวนาที่โอดครวญกันเหลือเกินว่างานหนัก แต่ถ้าเทียบชั่วโมงทำงานกันจริงๆแล้ว
คนเมืองที่ชั่วโมงทำงานเฉลี่ยวันละ 8 ชั่วโมงขึ้นไป มีเวลาทำงานมากกว่าเยอะ

อย่างที่สอง ความรู้ความสามารถไม่เท่ากัน ข้อนี้ขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทาน ต่อให้เป็นคนเมืองเหมือนกัน แต่ถ้ามีความรู้ที่เป็นที่ต้องการของตลาด หรือยู่ในระดับผู้บริหาร
เงินได้ก็ไม่เท่ากัน

อย่างที่ 3 การเสียภาษีแบบอัตราก้าวหน้า ยิ่งรายได้สูงเท่าไหร่ ก็ยิ่งต้องจ่ายเป็นเปอร์เซ็นต์สูง โดยรัฐไม่คำนึงหรอกว่าสิ่งที่ได้มาต้องมีต้นทุนใดบ้าง อย่างกรณีของผมเอง
หักภาษีเดือนละ เกือบ 5000 บาท แต่ถ้าเดือนไหนที่มีโบนัส หรือทำจ๊อบมีรายได้เป็นเท่าหนึ่งของเงินเดือน ภาษีจะพุ่งไปอยู่ที่หมื่นห้าถึงหมื่นหกทันที

ดังนั้นหากเที่ยบด้วยเงินหลัก 100 บาท ก่อนที่เงิน 100 บาทจะถึงมือคุณ หากคุณอยู่ในภาคเมือง เงินส่วนนี้ก็จะหายไปแล้วราว 10-25 บาท เมื่อเทียบกับคนที่ฐานรายได้ต่ำกว่าภาษีที่ไม่ต้องหักภาษี ได้ 100 บาทเต็มๆ

- และในส่วนที่เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มเพียวๆ คนที่อยู่ในภาคเมืองก็ต้องจ่ายเงินอยู่ในระบบ ไม่มีทางที่จะหลบเลี่ยงไปที่อื่น เพราะมันเป็นไปตามวิถีชีวิต ดังนั้นเงินที่เหลือจาก 100 บาท เมื่่อมีการจับจ่ายใช้สอยต่อ
ก็จะถูกหักภาษีหายไปอีก 7 บาท
ขณะที่คนที่อยู่ในชนบท ส่วนใหญ่จะเป็นการใช้จ่ายนอกระบบ ดังนั้นภาษีในส่วนนี้ก็แทบจะไม่ต้องเสีย นอกจากนี้ ยังไม่มีการคำนวณต้นทุนดั้งเดิมของเกษตรกร อย่างเช่น ที่ไม่ต้องเช่า ข้าวไม่ต้องซื้อ ซึ่งรายจ่ายในส่วนนี้
จริงๆแล้วเป็นต้นทุนที่กินรายได้ถึงกว่า 1 ใน 3 ของคนที่อยู่ภาคเมือง แถมในการชำระเงินค่าเช่า ค่าผ่อนบ้าน หรือค่าใช้จ่ายอื่นๆในเมือง บ่อยครั้งก็จะโดนบวกค่าธรรมเนียมเข้าไปด้วย ดังนั้นจุดนี้ก็เป็นอีกจุดที่รัฐรีดภาษีได้อย่างเป็นล่ำเป็นสัน

ส่วนที่คุณอ้างว่าภาษีส่วนหนึ่งมาจากการท่องเที่ยว แล้วคุณคิดว่านักท่องเที่ยวภายในประเทศเป็นใครล่ะครับ เพื่อนๆที่ผมรู้จักที่มีรถ จะหายออกจากกรุงเทพฯ ทุกๆสินอาทิตย์ คนชนบทเที่ยวอย่างมากก็แค่ในจังหวัดตัวเอง
ยากจะเที่ยวไกลกว่านั้นครับ นักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพในการใช้จ่ายก็ไปจากเมืองอีกน่ะแหละ


สำหรับภาษีสรรพสามิตนั้น ผมคิดว่ามันไม่ได้รวมแค่ภาษีเหล้าบุหรี่อย่างเดียวหรอก มันมีอย่างอื่นรวมด้วย แต่ถ้าพูดกันจริงๆ คนชนบทอาจจะหนักบริโภคเหล้าขาว ทำให้ดูปริมาณมาก (แน่ใจนะว่าไม่มีเหล้าเถื่อนร่วมด้วย) แต่คนเมืองมักจะบริโภคเหล้าเบียร์
ที่ราคาสูง เมื่อเที่ยบเปอร์เซ็นต์กัน ผมว่าเผลอๆเมืองจะชนะเอานะ เพราะลองไปดูแถวที่เที่ยวกลางคืน แน่นครึ่ด โดยเฉพาะวันศุกร์

...ถ้าตัวฐานภาษีมันมาจากเงิน ลองดูก็แล้วกันครับว่าตัวที่เป็นเงินจริงๆนั้นมันหมุนเวียนอยู่ในภาคไหน ไม่งั้นกราฟนี่ก็จะเป็นแค่ตัวหลอกให้หลงทิศเท่านั้นแหละ

อีกนิด ภาษีนิติบุคคล ส่วนใหญ่มาจากบริษัท แล้วคุณคิดว่าใครที่เป็นคนทำงานหัวเป็นเกลียวตัวเป็นน็ออยู่ในบริษัท หาเงินให้บริษัทเป็นคนจ่ายภาษีล่ะครับ ...เสี่ยเจ้าของบริษัทงั้นเหรอ?


เรปแรกก็ "ไร้สาระ" เรปที่สามก็ "เบี่ยงประเด็น"

คุณตอบผมด้วยคำแบบนี้เองนะ

ประชาธิปไตยก็เหมือนส้วมสาธารณะแบบนั่งเต็มตูด ควายนับถือศาสนาชินวัตรใช้แล้วสกปรกชิบเป๋ง


#44 isa

isa

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 447 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 22:15

เอิ่ม...ตกลงเราจะเถียงกันเรื่องความคิด หรือประเด็นจะเอาเรื่องว่า "ผมเถียงคุณ" กันแน่ครับ :lol:

ใน Rep แรกผมพิมพ์สดลงไปในช่องเลย ไม่ได้เรียบเรียงความคิดนัก คุณก็็คงจะเห็นว่าประโยคมันไม่ได้สละสลวยเหมือน Rep 2
การเรียบเรียงถ้อยคำให้เป็นบุคคลที่สามไปทั้งหมดเลยอาจจะไม่เป็นแนวทางเดียวกันทั้ง Rep และที่ผมใช้คำว่าไร้สาระ ผมก็ขอโทษไปใน Rep โน้นแล้วนะ

...แต่ถ้านี่เป็นประเด็นที่เราจะเถียงกันตรงนี้ ผมว่ามันเริ่มไร้สาระแล้วออกทะเลจริงๆแล้วล่ะ และมันรกบอร์ดเปล่าๆ

ย้ำความคิดเห็นของผมอีกครั้งก็คือ

1. มีภาษีหลายประเภท และทุกคนเสียภาษีไม่เท่ากัน หลายๆคนต้องเสียภาษีซ้ำซ้อนหลายประเภท ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม
2. คนที่อยู่ในภาคเมือง หรือภาคธุรกิจ แล้วแต่จะเรียก มีบทบาทเสียภาษีมากกว่าทั้งในแง่ปริมาณและในแง่ประเภทมากกว่าคนที่เป็นชาวนา หรืออยู่ในภาคเกษตร หรือในภาคชนบท แล้วแต่จะเรียก
3. ดังนั้น คนที่อยู่ในภาคเมือง หรือจะเรียกว่าคนชั้นกลาง หรือคนในภาคธุรกิจก็แล้วแต่ มีบทบาทในการรับภาระของประเทศมากกว่า โดยการเอาแค่อัตราส่วนภาษีเงินได้มาเทียบอย่างเดียว ยังแคบเกินไป ไม่ใช่เหตุผลพอที่จะล้มล้างแนวคิดข้างต้น
4. แนวคิดของผมก็เพื่อหักล้างภาพลวงตาที่พยายามจะสร้างๆกันว่า ทุกคนรับผิดชอบประเทศเท่าๆกัน ซึ่งจริงๆแล้วไม่ใช่ เพราะมีคนอีกมากมายที่ทำหน้าที่น้อยกว่า หรือบางคนไม่ทำหน้าที่ แถมยังเป็นภาระสังคมอีกต่างหาก
5. เสริม : คนต่างประเทศไม่ใช่ปัจจัยที่เข้ามาเกี่ยว คุณสามารถจะหักสัดส่วนของภาษีของคนต่างประเทศออกไปได้เลยโดยที่สัดส่วนต่างระหว่างคนภาคเมืองกับภาคชนบทก็ยังเหมือนเดิมน่ะแหละ

...ถ้าจะเถียงหรือทะเลาะกัน ขอให้อยู่ในประเด็นนี้ด้วย ...

#45 เพื่อนร่วมชาติ

เพื่อนร่วมชาติ

    พรานล่าปูไปรยา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,788 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 22:18

เอิ่ม...ตกลงเราจะเถียงกันเรื่องความคิด หรือประเด็นจะเอาเรื่องว่า "ผมเถียงคุณ" กันแน่ครับ :lol:

ใน Rep แรกผมพิมพ์สดลงไปในช่องเลย ไม่ได้เรียบเรียงความคิดนัก คุณก็็คงจะเห็นว่าประโยคมันไม่ได้สละสลวยเหมือน Rep 2
การเรียบเรียงถ้อยคำให้เป็นบุคคลที่สามไปทั้งหมดเลยอาจจะไม่เป็นแนวทางเดียวกันทั้ง Rep และที่ผมใช้คำว่าไร้สาระ ผมก็ขอโทษไปใน Rep โน้นแล้วนะ

...แต่ถ้านี่เป็นประเด็นที่เราจะเถียงกันตรงนี้ ผมว่ามันเริ่มไร้สาระแล้วออกทะเลจริงๆแล้วล่ะ และมันรกบอร์ดเปล่าๆ

ย้ำความคิดเห็นของผมอีกครั้งก็คือ

1. มีภาษีหลายประเภท และทุกคนเสียภาษีไม่เท่ากัน หลายๆคนต้องเสียภาษีซ้ำซ้อนหลายประเภท ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม
2. คนที่อยู่ในภาคเมือง หรือภาคธุรกิจ แล้วแต่จะเรียก มีบทบาทเสียภาษีมากกว่าทั้งในแง่ปริมาณและในแง่ประเภทมากกว่าคนที่เป็นชาวนา หรืออยู่ในภาคเกษตร หรือในภาคชนบท แล้วแต่จะเรียก
3. ดังนั้น คนที่อยู่ในภาคเมือง หรือจะเรียกว่าคนชั้นกลาง หรือคนในภาคธุรกิจก็แล้วแต่ มีบทบาทในการรับภาระของประเทศมากกว่า โดยการเอาแค่อัตราส่วนภาษีเงินได้มาเทียบอย่างเดียว ยังแคบเกินไป ไม่ใช่เหตุผลพอที่จะล้มล้างแนวคิดข้างต้น
4. แนวคิดของผมก็เพื่อหักล้างภาพลวงตาที่พยายามจะสร้างๆกันว่า ทุกคนรับผิดชอบประเทศเท่าๆกัน ซึ่งจริงๆแล้วไม่ใช่ เพราะมีคนอีกมากมายที่ทำหน้าที่น้อยกว่า หรือบางคนไม่ทำหน้าที่ แถมยังเป็นภาระสังคมอีกต่างหาก
5. เสริม : คนต่างประเทศไม่ใช่ปัจจัยที่เข้ามาเกี่ยว คุณสามารถจะหักสัดส่วนของภาษีของคนต่างประเทศออกไปได้เลยโดยที่สัดส่วนต่างระหว่างคนภาคเมืองกับภาคชนบทก็ยังเหมือนเดิมน่ะแหละ

...ถ้าจะเถียงหรือทะเลาะกัน ขอให้อยู่ในประเด็นนี้ด้วย ...


คุณต้องหัดรับผิดชอบคำพูดของคุณเองครับ

ไม่ใช่พูดไปแล้ว พอคนอื่นย้อนคำพูดของคุณได้ คุณก็บอกว่าเขาออกนอกประเด็น

ทั้ง ๆ ที่คุณเองคือคนที่เปิดประเด็นนั้นเอง

ประชาธิปไตยก็เหมือนส้วมสาธารณะแบบนั่งเต็มตูด ควายนับถือศาสนาชินวัตรใช้แล้วสกปรกชิบเป๋ง


#46 isa

isa

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 447 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 22:22

...ผมขี้เกียจเถียงกับคุณละ ดูมันจะออกแนวลิเกๆ ดราม่าๆ คุ้นๆยังไงก็ม่ายรุ

เอาเป็นว่าให้เพื่อนร่วมบอร์ดตัดสินก็แล้วกัน ว่าใครอยู่ในประเด็น หรือไม่อยู่ในประเด็น
ความสนใจของผมไม่ได้อยู่ที่ว่าเถียงกับใคร ผมสนใจอยู่ที่การแย้งกับความคิดที่ผมไม่เห็นด้วย

ถ้าเพื่อนร่วมบอร์ดคิดว่ากราฟที่คุณยกมา เหตุผลที่คุณให้มามันถูกต้อง สมควรแล้วก็โอเค
แต่ถ้าคิดว่าที่ผมเสนอความคิดว่ากราฟนั้นมันไม่ใช่ และเหตุผลเรื่องภาษีที่ผมให้ไปถูกต้อง
เครดิตก็เป็นของผม

แต่เรื่องชวนทะเลาะดิสเครดิตตัวบุคคลนี่ผมไม่เล่นเกมนี้กับคุณนะฮะ ผมขอตัว :lol:

#47 Cemeterys

Cemeterys

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 796 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 22:42

อยากให้ดูภาษีที่ อบต.เก็บได้เป็นหลักครับ จะบอกได้เลยว่าใครเลี้ยงใคร ที่เค้ากระจายอำนาจลงไปพวก อบต.มันเลือกเอาที่อำนาจตำแหน่งเป็นหลัก มันไม่ได้ใช้อำนาจในการลี้ยงตัวเอง
เก็บได้น้อยมาก แต่ขยันเรียกร้องจะเอานั่นเอานี่

#48 เพื่อนร่วมชาติ

เพื่อนร่วมชาติ

    พรานล่าปูไปรยา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,788 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 22:46

...ผมขี้เกียจเถียงกับคุณละ ดูมันจะออกแนวลิเกๆ ดราม่าๆ คุ้นๆยังไงก็ม่ายรุ

เอาเป็นว่าให้เพื่อนร่วมบอร์ดตัดสินก็แล้วกัน ว่าใครอยู่ในประเด็น หรือไม่อยู่ในประเด็น
ความสนใจของผมไม่ได้อยู่ที่ว่าเถียงกับใคร ผมสนใจอยู่ที่การแย้งกับความคิดที่ผมไม่เห็นด้วย

ถ้าเพื่อนร่วมบอร์ดคิดว่ากราฟที่คุณยกมา เหตุผลที่คุณให้มามันถูกต้อง สมควรแล้วก็โอเค
แต่ถ้าคิดว่าที่ผมเสนอความคิดว่ากราฟนั้นมันไม่ใช่ และเหตุผลเรื่องภาษีที่ผมให้ไปถูกต้อง
เครดิตก็เป็นของผม

แต่เรื่องชวนทะเลาะดิสเครดิตตัวบุคคลนี่ผมไม่เล่นเกมนี้กับคุณนะฮะ ผมขอตัว :lol:



มีประเด็นเล่นเกมดิสเครดิตโผล่มาด้วยแฮะ

ใครไม่ขำก็ตามใจ แต่ผมขำมากกับจินตนาการของคุณ

ผมพยายามดิสเครดิตคุณ หรือคุณพยายามดิสเครดิตผมครับ :D :D :D

ประชาธิปไตยก็เหมือนส้วมสาธารณะแบบนั่งเต็มตูด ควายนับถือศาสนาชินวัตรใช้แล้วสกปรกชิบเป๋ง


#49 H-edge

H-edge

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 451 posts

ตอบ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 23:38

ประเทศไทยมีประชากร 64 ล้านคน แต่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเพียง 9-10 ล้านคน และในจำนวนนี้มีผู้ที่ต้องจ่ายเงินภาษีจริงเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้น เพราะเมื่อหักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว ทำให้คนส่วนหนึ่งมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี จึงไม่ต้องมีภาระเสียภาษี ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีคนเพียง 2.3 ล้านคนเท่านั้นที่จ่ายเงินภาษีเลี้ยงคนทั้งประเทศ

http://archive.voice...h/content/21650


ไม่น่าแปลกใจ ... ที่เป็นข้อมูลจาก ว้อยซ์ทีวี สื่อแดง
งานถนัดคือนำเสนอความจริงครึ่งเดียว
ส่วนอีกครึ่ง ก็สร้างวาทะกรรมประโยคเด็ด ให้คนอ่านเข้าใจผิด ติดปากติดหู
นี่ละนะ ยุคการตลาดข้อมูลข่าวสาร ที่คนรับสารต้องคิดเอง
:lol:


แต่ชาวนาคนนี้ เสียภาษีแน่ๆ


ลูกชาวนาที่ตั้งบริษัททำนา อยากให้คนทำนา โดยไม่ใช้สารเคมีและยาฆ่าแมลง เขาใช้เงินหลายสิบล้านโฆษณาทางทีวี เพื่อจะบอกว่า ดินดีคือปุ๋ยที่ดี
ผู้ชายคนนี้บอกใครๆ ว่า เป็นชาวนา เขาตั้งบริษัททอช คนทำนา จำกัด เป็นประธานกรรมการ ปัจจุบันมีที่ดินกว่า 3,000 ไร่ ที่ดินขนาดนี้น่าจะอยู่ในข่ายนายทุน แต่ด้วยวิธีคิดและวิธีทำ มีหลายอย่างที่ต่างจากนายทุนและนักธุรกิจประเทศนี้
ประเสริฐ อัครศิริกาญจนะ คือเจ้าของบริษัทดังกล่าว เขาขายข้าวให้โรงสี ขายดินให้เกษตรกร และทำนาจนซื้อที่ดินเป็นพันๆ ไร่ รวมถึงแบ่งที่นาให้เกษตรกรเช่าครอบครัวละ 30 ไร่ โดยไม่คิดเงิน และมีเงื่อนไขว่า ต้องทำนาโดยไม่ใช้สารเคมี เมื่อผลผลิตออกมาแบ่งคนละครึ่ง และตอนนี้มีบางครอบครัวปลดหนี้ได้


http://www.bangkokbi...-ไม่จนหรอก.html


ว่าแต่คู่ข้างบนจะตัดสินว่าใครอยู่ในประเด็น หรือนอกประเด็น ด้วยอะไร
วานบอกนิด จะได้ช่วยตัดสินถูก
:lol: :lol: :lol:
  • isa likes this
"=== โกหก คนได้ทั่วโลก แต่ โกหกตัวเอง ไม่ได้ ==="

#50 isa

isa

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 447 posts

ตอบ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:49

อยากแนะนำให้ลองอ่านหนังสือ "ฉันจะเป็นชาวนา" ของอุ้ม สิริยากร ดู มีอะไรน่าสนใจเยอะครับ ทำให้รู้ว่าชาวนาที่ทำนาเป็นอาชีพ จริงๆแล้วก็ทำอะไรหลายๆอย่างตามๆกัน ไม่ได้รู้ลึกรู้จริง แต่พอเอาระบบความคิดแบบคนเมืองเข้าไปจับ ก็พบช่องโหว่ที่ก่อให้เกิดความสูญเปล่าแบบไม่น่าเชื่อ อย่างเช่น การหว่านข้าวให้ติดๆกันเป็นพืดอย่างที่ทำกันในปัจจุบัน ทำให้แปลงข้าวเขียว ดูดีก็จริง แต่ดูแลรักษายาก เพราะศัตรูพืชส่วนใหญ่จะเป็นแมลงคลาน หรือสัตว์จำพวกคลาน อย่างปูดำ หรือหอยเชอรี่ พอพ่นยาลงไปก็ไปติดใบข้าวหมด ไม่ถึงตัวสัตว์ ต้องฉีดซ้ำๆเสียเงินเพิ่ม ซ้ำร้าย ตัวห้ำตัวเบียนของสัตว์พวกนี้เป็นแมลงบิน การฉีดยากลายเป็นการฆ่าแมลงบินที่จะช่วยควบคุมศัตรูพืชซะนี่

มาเข้าประเด็นกระทู้นี้อีกที หัวข้อกระทู้ของคุณแมว มหาภัย ง่ายๆว่า "ชาวนาเสียภาษีหรือไม่" แต่ผมมองว่ากระทู้นี้มันมีประเด็นแฝงลึกกว่านั้น คนที่เข้ามาแจมกระทู้เองก็คงแฝงความไม่พอใจที่งบประมาณจำนวนมากถูกทุ่มไปให้กับการจำนำข้าวจนจะสร้างหายนะประเทศรอบสอง และมีความรู้สึกข้องใจร่วมกันว่า จริงๆแล้วชุดความคิดและวาทะที่อ้างกันมาตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากฝ่ายซ้ายหรือฝ่ายแดงว่า "ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ" "ชาวนายากลำบากเพราะถูกกดขี่โดยคนเมือง" นั้น มันมีความเป็นจริงแค่ไหน พูดง่ายๆก็คือ ที่คุณอ้างว่าคุณแบกรับประเทศน่ะ จริงๆแล้วคุณแบกรับแค่ไหน และจริงๆแล้วใครแบกรับภาระประเทศกันแน่

ผมมองว่าชุดความคิดและข้อมูลในเสรีไท เป็นแหล่งข้อมูลที่มีค่าในการต่อกรกับเหล่าความคิดแดงๆที่แพร่กระจายไปทั่วระหัวระแหง ทั้งโลกออนไลน์ และชีวิตจริง ดังนั้นในประเด็นนี้การจะให้จบแค่ว่า "ชาวนาก็เสียภาษีโรงเรือนนะโว้ย" หรือ "ชาวนาก็เสียภาษีมูลค่าเพิ่มนะเฟ้ย (แต่แค่ค่าน้ำปลาให้เมีย กับค่าสบู่นะ) ปิดประเด็น "จบ!" มันง่ายเกินไป และทำให้เราเสียอาวุธชิ้นหนึ่งที่จะไปต่อกรกับอีกฝ่าย กลายเป็นว่าอีกฝ่ายแค่ยกประเด็นว่า พวกกรูก็เสียภาษี เราก็เถียงไม่ออก

เปรียบเทียบง่ายๆให้เห็นภาพก็เหมือนกับเรามีเพื่อนร่วมวงกินเหล้ากันอยู่ 10 คน มีเรากับเพื่อนซี้ 2 คนควักตังค์ซื้อทุกอย่าง ทั้งเหล้า กับแกล้ม น้ำแข็ง โซดา แต่อีกแปดคนควักเงินแชร์แค่ค่าน้ำแข็งเปล่า แต่บอกว่า กรูก็จ่ายเหมือนกัน กรูก็มีสิทธิกินเหมือนกัน แถมไม่ได้แค่กินเยอะอย่างเดียว ยังสั่งเหล้า กับแกล้มเพิ่มอีกต่างหาก ...นั่นก็คือภาพของการแบกรับภาระประเทศในตอนนี้

มาถึงกราฟเจ้าปัญหากัน – ผมมองว่ากราฟนี้แสดงความจริงแค่ด้านเดียวก็คือ ประเทศมีรายได้จากอะไรบ้างเท่านั้น แต่ไม่ได้แสดงประเด็นที่หลายๆคนข้องใจกันก็คือ "จริงๆแล้วใครแบกรับภาระประเทศกันแน่" และ "ตัวเลข 2. 3 ล้านคนนั้น มีความจริงแค่ไหน"

สำหรับตัวเลข 2.3 ล้านคนนั้น ผมไม่คิดว่ามันจะแม่นยำถูกต้อง แต่ก็เป็นตัวเลขที่น่าสนใจที่สะท้อนให้เห็นว่า คนที่รับภาระประเทศนั้น มีแค่กลุ่มเดียว ถ้าพูดถึงรับภาระ ก็ต้องแยกแยะประเด็นว่า ภาระมี 2 อย่าง คือภาระหน้าตักของตัวเอง หรือหนี้สินส่วนบุคคล กับภาระที่เป็นหนี้สินสาธารณะของประเทศ ซึ่งแน่นอนว่าเป็นภาระโดยตรงของผู้เสียภาษี ซึ่งมันจะมาลงประเด็นตรงตัวเลขที่เราข้องใจกันอยู่นี่แหละ

ออกตัวก่อนว่าผมเป็นเด็กสายศิลป์ จะไม่แม่นในเรื่องตัวเลข แต่ลองมาดูชุดตัวเลขพวกนี้กัน

ประชากรวัยเด็ก (ต่ำกว่า 15 ปี) 12,892,000
ประชากรวัยแรงงาน (15 - 59 ปี) 43,410,000
ประชากรสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 8,111,000
ประชากรสูงอายุ (65 ปีขึ้นไป) 5,398,000
ประชากรวัยเรียน (6 - 21 ปี) 15,092,000
สตรีวัยเจริญพันธุ์ (15 - 49 ปี) 17,712,000

จากตัวเลขนี้เราจะเห็นว่าประชากรวัยแรงงานมีถึง 43 กว่าล้านคน แต่จริงๆแล้วตัวเลขนี้คลาดเคลื่อน เพราะในที่นี้เรามุ่งเน้นไปที่ประชากรที่เสียภาษี นั่นก็คือประชากรที่ 1. ทำงานอยู่ในระบบจ้างงานที่มีการหักภาษีได้ 2. รายได้อยู่ในเกณฑ์เสียภาษี

ดังนั้นประชากรวัยแรงงานที่อายุ 15-20 ปีซึ่งต่ำกว่าระดับปวส. ซึ่งส่วนใหญ่จะยังเรียนหนังสือ หรือทำงานนอกระบบ หรือรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ก็จะถูกหักออกไป
และสำหรับประชากรสูงอายุ ที่เริ่มนับตั้งแต่อายุ 60 ปี แต่จริงๆแล้วการนำระบบเออร์ลี่รีไทร์มาใช้ จะทำให้ประชากรในวัยทำงานหายไปตั้งแต่อายุ 55 ปี นอกจากนี้ ยังมีธรรเนียมปฏิบัติของหลายๆครอบครัวที่จะมีลูกเร็ว และพอส่งลูกเรียนจบ พ่อแม่ก็จะเกษียณตัวเองออกมาอยู่บ้าน รับเงินเบี้ยเลี้ยงจากลูก ซึ่งมีอยู่ไม่น้อยทีเดียว ซึ่งจะลดประชากรวัยทำงานลงไปอีกตั้งแต่อายุ 45-50 ปี
นอกจากนี้ก็ยังมีกรณีของคู่สมรสที่ฝ่ายชายทำงานคนเดียว ฝ่ายหญิงเป็นแม่บ้านอยู่บ้านเฉยๆไม่มีรายได้ ซึ่งก็ต้องหักจำนวนคนออกไปอีก
หลังจากขลิบหัวขลิบท้าย ซึ่งจะทำให้จำนวนประชากรวัยทำงานหายไปอีกเกือบ 10 ล้าน ก็ต้องมาดูว่าคนในอาชีพสายไหนที่อยู่ในเกณฑ์จะต้องเสียภาษี
อย่างสายที่จะหลุดวงโคจรออกไป ก็จะเป็นภาคเกษตร ซึ่งรายได้เฉลี่ยต่อปีไม่ถึง หรือกลุ่มที่ประกอบอาชีพที่ประเมินภาษีได้ยาก อย่างเช่นพวกพ่อค้าแม่ค้าแผงลอย พวกประมงชายฝั่ง พวกเปิดท้ายขายของหรือขายของตามหมู่บ้าน พวกพ่อค้าเร่คนกลาง พวกขับรถรับจ้าง พวกรับจ้างทั่วไป ฯลฯ ซึ่งผมว่าปริมาณท่วมท้น
ถ้าหักตัวเลขที่เหลือ เลข 2.3 ล้านอาจจะน้อยเกินไป แต่ตัวเลขบางอย่างอาจจะทับซ้อนอยู่กับภาษีนิติบุคคล ซึ่งถ้าเป็นห้างร้านประเภทกิจการครอบครัว หรือ SME มีเจ้าของคนเดียว ไม่มีการตั้งตำแหน่งในกิจการ ก็เป็นไปได้ที่ภาษีกลุ่มนี้จะหายจากกลุ่ม 2.3 ล้านไปอยู่ในกลุ่มภาษีนิติบุคคลอย่างเดียว

หรือถ้าดูจากภาคท่องเที่ยว ก็ต้องแยกแยะระหว่าง "เงินภาษี" กับ "การกระจายเม็ดเงิน" อย่างหลังนั้นเกิดขึ้นได้ทันทีที่มีการท่องเที่ยวและการจ่ายเงิน ไม่ว่าจะซื้อข้าวหลามหาบเร่กิน ท่องเที่ยวกันแบบซำเหมาก็แล้วแต่ แต่การกระจายเม็ดเงินก็เกิดขึ้นแล้ว แต่ "การได้ภาษี" จะเกิดขึ้นเมื่อมีการใช้จ่ายตามระบบ ซึ่งก็อยู่ในภาคธุรกิจ ซึ่งเจ้าของธุรกิจ ก็อยู่ในคนกลุ่มเล็กๆที่ผมกล่าวถึงข้างต้นน่ะแหละ

ซึ่งถ้าเชื่อถือทฤษฎี 80 : 20 ที่ว่าไม่ว่าอะไรก็ตาม สิ่งที่มีคุณภาพที่สุด ดีที่สุด จะอยู่ใน 20 เปอร์เซ็นต์ ที่เหลือ 80 เปอร์เซ็นต์ก็งั้นๆแหละ ผมก็เชื่อว่า ตัวเลขผู้มีส่วนร่วมในการเสียภาษีอย่างมีนัยสำคัญจริงๆ มีแค่ประมาณ 3-4 ล้านคนเท่านั้นเอง

นั่นก็คือจาก 64 ล้านคน จากตัวเลขล่าสุด เรามีคนแค่ไม่เกิน 4 ล้านที่รับผิดชอบหนี้สาธารณะของทั้งประเทศ

ขอบคุณครับ

Edited by isa, 24 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:53.





ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน