บอกตรงๆยังไม่ได้ยิน ยังไม่ทราบ ยังไม่รู้
ใครบอกได้บ้าง
Posted 15 January 2013 - 19:52
เอา อดีตโจร ต้องโทษขโมยของ(แถมยังเป็นผู้พิทักษ์สันติราชอีก) ติดแบล๊คลิส มาเป็น ผู้ว่า เจริญแน่ๆๆ
Posted 15 January 2013 - 20:21
โครงการ วิทยุเครื่องแรก ครับ
เราตระกูลชินจัง ขอยก ฐานะ เสื้อแดง จาก ไพร่ เป็น ควายแดง ณ.บัดนี้
ถึงแม้ พ่อแม่ เองจะให้ฐานะความเป็น คน มาแต่กำเนิดก็ตาม
Posted 15 January 2013 - 22:43
ทำให้เป็นรัฐตำรวจเต็มขั้น เพราะแม้แต่ตำรวจยังคุมเมืองหลวง ?
Edited by อู๋ ฮานามิ, 15 January 2013 - 22:44.
ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด
เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ
Posted 15 January 2013 - 22:49
Posted 15 January 2013 - 22:58
ใช้เสียงหล่อเรียกแม่ยก กทม.
กราบหัวใจพี่น้องที่เสียสละออกมาทวงอำนาจคืนจากระบอบทักษิณ
Posted 15 January 2013 - 23:15
เห็นเค้าเขียนอะไรแว๊บ ๆ "ไร้รอยต่อ ๆ"
ตกลงเป็นที่นอนโตโต้เหรอ ไร้รอยต่อ ทอเต็มผืน หลับเต็มตื่นที่นอนโตโต้ เหอๆ
Posted 16 January 2013 - 00:51
ยังไม่เห็นอะไรชัดเจนนะครับ แต่เท่าที่ดูจะออกไปในแนวที่ว่าทำงานกับรัฐบาลได้อย่างไม่ขัดข้อง ไร้รอยต่อ อะไรประมาณนั้น แต่ตอนนี้คงต้องแก้ตัวเรื่องคดีต่างๆในอดีตก่อน เจอขุดออกมาหลายเรื่องเลย
Posted 16 January 2013 - 01:15
นโยบายเดียวกับรัฐบาล ดูไบ
ใครๆก็รู้
Posted 16 January 2013 - 01:25
ฝากวิทยุไว้กับตำรวจครับ
ประชาธิปไตยแบบแดง: 1. ไม่ใช่แดง เป็นประชาธิปไตยไม่ได้ 2. เสียงส่วนใหญ่ คือเสียงถูกต้อง 3. กฎพวกพ้องต้องเหนือกฎหมาย 4. เบื้องสูงมีไว้เหยียบย่ำ 5. ใครทำก็ผิด แต่แดงต้องไม่ผิด 6. คิดร้ายต่อทักษิณย่อมชั่ว 7. มั่วบิดเบือนหลอกพวกเดียวกัน 8. ปั้นน้ำเป็นตัวแล้วแถ
Posted 16 January 2013 - 03:04
แค่เจอนโยบาย "ทำงานกับรัฐบาลอย่างไร้รอยต่อ" คนกทม.มีไอคิวพอประมาณก็น่าจะหนาวขี้ได้แล้วนะครับ
1. รัฐบาลที่ผลาญเงินหลวงไปกับโครงการเฮงซวยอย่างจำนำข้าวและ 300/15000
2. รัฐบาลที่ปล่อยโครงการให้คนเป็นหนี้ระยะยาวอย่างรถคันแรก
3. รัฐบาลที่ปล่อยให้น้ำท่วมวินาศสันตะโร โดยไม่แก้เจี้ยอะไรเลย นอกจากกู้ๆๆๆ
4. รัฐบาลที่ ขี้โม้ ขี้เมา ขี้เอา และขี้โกหก
5. รัฐบาลที่วันๆทำงานไม่เป็นเลย นอกจาก "ช่วยพี่กลับบ้าน" กับ "ไล่ล่าคู่แข่ง"
6. รัฐบาลที่ไอคิวรวมกันทั้งคณะยังต่ำกว่าเด็ก ป.4
7. รัฐบาลที่ขายชาติ ขายแผ่นดิน
8. รัฐบาลที่ไม่มีความรู้อะไรเลย นอกจากดิบ ถ่อย เถื่อนไปวันๆ
ใครไม่หนาว ผมหนาวครับ
Posted 16 January 2013 - 13:37
Posted 16 January 2013 - 13:42
ไม่รู้เหมือนกัน.............
รู้แต่ว่า............มันมาลงสมัครในนาม "เสาฟายฟ้า"
Posted 16 January 2013 - 13:43
เกือบ 24 ชม แล้วที่ไร้คำตอบ จากคำถามง่ายๆ
Posted 16 January 2013 - 14:49
เมื่อก่อน จะมีคดีอะไรก็ชอบเสนอหน้าออกทีวีตลอด .... ใจจริงอาจจะอยากเป็นนักแสดงก็ได้นะครับ
Posted 16 January 2013 - 15:02
สมัครก่อนนโยบายไม่ต้องมั้งฮะ
Posted 16 January 2013 - 15:12
รมว.ยุติธรรม รับ"พงศพัศ"ยังไม่ลาออกจากเลขาธิการป.ป.ส. รอกกต.ประกาศรับสมัครผู้ว่ากทม. เพื่อให้มีผลต่อการขอกลับเข้ารับราชการหลังการเลือกตั้ง
http://www.bangkokbi...เลขาป.ป.ส..html
นโยบายไม่มี หวังกลับไปเป็นตำรวจอีก............ทุ่มไม่ต้องสุดก็ได้ มีที่กลับไป..........
โห
เพื่อคนกทมสุดๆ
Posted 16 January 2013 - 15:30
ไร้รอยต่อ...ผมเห็นแต่อันนี้ครับ
Posted 16 January 2013 - 15:42
รมว.ยุติธรรม รับ"พงศพัศ"ยังไม่ลาออกจากเลขาธิการป.ป.ส. รอกกต.ประกาศรับสมัครผู้ว่ากทม. เพื่อให้มีผลต่อการขอกลับเข้ารับราชการหลังการเลือกตั้งhttp://www.bangkokbi...เลขาป.ป.ส..html
นโยบายไม่มี หวังกลับไปเป็นตำรวจอีก............ทุ่มไม่ต้องสุดก็ได้ มีที่กลับไป..........
โห
เพื่อคนกทมสุดๆ
อันนี้ชัดมากๆๆ
Posted 16 January 2013 - 15:51
Posted 16 January 2013 - 16:20
แผนยุทธศาสตร์ระยะ 5 ปี ซึ่งเน้นกระบวนการในการวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมเพื่อทราบถึงจุดเด่น จุดด้อย โอกาส และอุปสรรค เพื่อกำหนดทิศทางในการพัฒนาโดยเริ่มจากการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ในการพัฒนากรุงเทพมหานคร เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรและการบริหารจัดการของกรุงเทพมหานครเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความยืดหยุ่น สอดคล้องกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแกนความคิดหลักในการพัฒนาแบบองค์รวม และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลบ้านเมืองด้วยกระบวนการที่หลากหลายในระดับต่าง ๆ อย่างใกล้ชิด
1. หลักการและกรอบแนวทางที่ใช้ในการกำหนดแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6
1.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549)
1.2 แผนมหาดไทย ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2545 – 2549)
1.3 นโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
1.4 พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
1.5 ผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2540 – 2544)
โดยภาพรวมการพัฒนากรุงเทพมหานครในช่วง 25 ปีที่ผ่านมา กรุงเทพมหานครใช้แผนพัฒนาเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนามาแล้ว จำนวน 5 ฉบับ แต่จากการประเมินผลพบว่า การพัฒนามุ่งเน้นทางด้านกายภาพ และการบริการ โครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นการพัฒนาที่เน้นด้านวัตถุมากกว่าด้านสังคมและวัฒนธรรมจึงเป็นการพัฒนาที่ขาดความสมดุล และที่ผ่านมาไม่สามารถใช้แผนพัฒนากรุงเทพมหานครเป็นเครื่องมือในการพัฒนาไปสู่เป้าหมายที่กำหนดได้อย่างแท้จริง เพราะแผนที่ยังไม่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างสมบูรณ์ เนื่องจากไม่ประสานสอดคล้องกับงบประมาณ ประชาชนยังไม่มีส่วนร่วมในการจัดทำหรือดำเนินการตามแผน ลักษณะของแผนเป็นการรวบรวมโครงการ / กิจกรรมของหน่วยงานมาดำเนินการ โดยไม่มีการบูรณาการของแผนเพื่อให้เกิดผลการพัฒนาในภาพรวม จึงทำให้การพัฒนาโดยรวมไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน ยึดผลผลิตและการใช้ งบประมาณเป็นตัวประเมินความสำเร็จ ไม่มีระบบการติดตามประเมินผลว่าสมประโยชน์และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนหรือไม่ เพียงไร แต่อย่างไรก็ตาม ในการจัดทำแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2540 - 2544) ได้เริ่มให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และกำหนดทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานครอย่างจริงจัง
ด้วยสถานการณ์และปัจจัยสำคัญๆ ดังกล่าวมาข้างต้น ทำให้การจัดทำ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการกำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาของกรุงเทพมหานคร ในระยะ 5 ปี ที่ได้จากการระดมความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วนมาสังเคราะห์เชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงภาพรวมของการพัฒนาที่ผ่านมา สถานการณ์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก ความต้องการของประชาชน ความสอดคล้องกับกระแสการปฏิรูประบบการเมือง การปกครอง ซึ่งมุ่งเน้นการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐที่เน้นคุณภาพ ความโปร่งใส และตรวจสอบได้
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2545 – 2549) จึงได้กำหนดเป็นแผนยุทธศาสตร์ที่จะชี้นำทิศทางการพัฒนาแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนตั้งแต่เริ่มกระบวนการจัดทำแผนจนเสร็จสิ้นการดำเนินงานตามแผน ทั้งนี้โดยเน้นการเชื่อมโยงกลไกทางสังคม ระบบงบประมาณ และองค์ความรู้ เพื่อให้ทุกฝ่ายมั่นใจและนำแผนไปสู่การปฏิบัติเพื่อผลสำเร็จในการพัฒนากรุงเทพมหานครอย่างแท้จริง
2. วิสัยทัศน์การพัฒนากรุงเทพมหานคร
จากการระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนของสังคม สามารถนำจุดมุ่งหมายและแนวความคิดมาสังเคราะห์เชื่อมโยง เพื่อกำหนดเป็นวิสัยทัศน์ร่วมในการพัฒนากรุงเทพมหานคร ได้ดังนี้
"กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่ด้วยการบริหารจัดการที่ดี และมีความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม โดยชุมชนมีความเข้มแข็งครอบครัวมีความอบอุ่นและสงบสุข"
3. พันธกิจหลักการพัฒนา
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์การพัฒนากรุงเทพมหานครดังกล่าว จึงกำหนด พันธกิจหลักการพัฒนาไว้ 7 ประการ คือ
3.1 การสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผนพัฒนา การตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหาร และการปกครอง
3.2 การสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการคลัง โดยปรับปรุง กระบวนการบริหารการเงินการคลังให้สอดรับกับอำนาจหน้าที่และภารกิจที่มีอยู่เดิม และที่ได้รับโอนจากการกระจายอำนาจจากรัฐสู่ท้องถิ่น
3.3 การพัฒนาศักยภาพของคนและชุมชนให้เข้มแข็ง และสามารถพึ่งพาตนเองได้
3.4 การสร้างระบบคมนาคมขนส่ง ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่มีประสิทธิภาพและสนับสนุนแนวทางการพัฒนาเมือง
3.5 การเพิ่มศักยภาพของผังเมืองให้เป็นเครื่องมือชี้นำ และสนับสนุนการพัฒนาเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งหรือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ
3.6 การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่ดีของเมืองอย่างยั่งยืน
3.7 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริการ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดี
4. วัตถุประสงค์การพัฒนา
เพื่อให้การพัฒนากรุงเทพมหานครเป็นไปตามวิสัยทัศน์และพันธกิจการพัฒนา จึงกำหนดวัตถุประสงค์ของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545-2549) ดังนี้
4.1 เพื่อสร้างสรรค์กรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนบนพื้นฐานความสมดุลแห่งวิถีไทยและโลกาภิวัตน์
4.2 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน ให้ทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษา การบริการสังคม การประกอบอาชีพ การพัฒนาศักยภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และทักษะในการประกอบอาชีพอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียมกัน
4.3 เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีในการบริหารราชการกรุงเทพ มหานคร และส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.4 เพื่อสร้างเสถียรภาพทางการเงินการคลังของกรุงเทพมหานครให้มีความมั่นคง มีทรัพยากรการเงินครอบคลุมการพัฒนาทุกด้าน ทั้งการพัฒนาคน การพัฒนาเมือง และการพัฒนาการบริหาร
5. เป้าหมายการพัฒนา
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์การพัฒนากรุงเทพมหานคร จึงได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาไว้ ดังนี้
5.1 เป้าหมายการพัฒนาเมืองสร้างเมืองให้น่าอยู่ โดยใช้กระบวนการพัฒนาแบบองค์รวม และจัดทำกระบวนการแก้ไขปัญหาของเมืองอย่างเป็นระบบและให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องประสานกัน ทั้งทางด้านการจัดทำผังเมืองที่ทันสมัย และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการจัดการระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการในทุก ๆ ด้าน เพื่อให้บังเกิดผลการพัฒนาเมืองที่มีดุลยภาพและยั่งยืน
5.2 เป้าหมายการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน
(1) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นเครื่องมือในการพัฒนา ประชาชนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตตามความสมัครใจ เพื่อปรับปรุงตนให้มีคุณภาพ มีทักษะในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง อยู่ในสังคมอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน
(2) เสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน และเครือข่าย ให้มีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม
(3) ดำเนินมาตรการทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ที่เพิ่มโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนจนเมืองให้สามารถพึ่งพาตนเองได้
5.3 เป้าหมายการพัฒนาการบริหาร
(1) ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและองค์กร ระเบียบ กฎหมาย ให้เอื้ออำนวยและสอดรับกับอำนาจหน้าที่และภารกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการกระจายอำนาจจากรัฐสู่ท้องถิ่น
(2) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการ ทั้งด้านการบริหารบุคคล และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริการ
(3) เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการตามหลักการบริหาร จัดการที่ดี
(4) สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และการพัฒนากรุงเทพมหานครด้านต่าง ๆ
5.4 เป้าหมายการพัฒนาเสถียรภาพทางการเงิน
(1) เพิ่มศักยภาพในการสร้างรายได้ให้เพียงพอกับรายจ่าย
(2) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง และการงบประมาณ
(3) พัฒนาการพาณิชย์ของกรุงเทพมหานครให้มีความ หลากหลายและสร้างผลกำไร เพื่อสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานครให้ตอบสนองความต้องการของประชาชน
6. ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ภายใต้วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายหลักดังกล่าว เพื่อให้การดำเนินงานในระยะแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545-2549) เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สอดคล้อง เป็นบูรณาการทั้งระบบ โดยมีองค์ประกอบ 7 ด้าน ดังนี้
6.1 ด้านการบริหารและการปกครอง กำหนดยุทธศาสตร์ออกเป็น 3 สาขา
+ สาขาการบริหารและการจัดการ
+ สาขาการบริหารงานบุคคล
+ สาขาการต่างประเทศ
6.2 ด้านการคลัง กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาออกเป็น 2 สาขา
+ สาขาการคลัง
+ สาขาการพาณิชย์
6.3 ด้านทรัพยากรมนุษย์และสังคม กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาออกเป็น 7 สาขา
+ สาขาการศึกษา
+ สาขาวัฒนธรรม
+ สาขาสุขภาพ
+ สาขาพัฒนาชุมชน
+ สาขาสวัสดิการสังคม
+ สาขาการท่องเที่ยว
+ สาขาการกีฬา
6.4 ด้านการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค
6.5 ด้านผังเมืองและการใช้ที่ดิน
6.6 ด้านสิ่งแวดล้อม
7. ลำดับความสำคัญของการพัฒนา
8. การบริหารเพื่อการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติและติดตามประเมินผล
Posted 16 January 2013 - 16:47
แผนยุทธศาสตร์ระยะ 5 ปี ซึ่งเน้นกระบวนการในการวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมเพื่อทราบถึงจุดเด่น จุดด้อย โอกาส และอุปสรรค เพื่อกำหนดทิศทางในการพัฒนาโดยเริ่มจากการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ในการพัฒนากรุงเทพมหานคร เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรและการบริหารจัดการของกรุงเทพมหานครเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความยืดหยุ่น สอดคล้องกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแกนความคิดหลักในการพัฒนาแบบองค์รวม และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลบ้านเมืองด้วยกระบวนการที่หลากหลายในระดับต่าง ๆ อย่างใกล้ชิด1. หลักการและกรอบแนวทางที่ใช้ในการกำหนดแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6
1.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549)
1.2 แผนมหาดไทย ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2545 – 2549)
1.3 นโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
1.4 พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
1.5 ผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2540 – 2544)
โดยภาพรวมการพัฒนากรุงเทพมหานครในช่วง 25 ปีที่ผ่านมา กรุงเทพมหานครใช้แผนพัฒนาเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนามาแล้ว จำนวน 5 ฉบับ แต่จากการประเมินผลพบว่า การพัฒนามุ่งเน้นทางด้านกายภาพ และการบริการ โครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นการพัฒนาที่เน้นด้านวัตถุมากกว่าด้านสังคมและวัฒนธรรมจึงเป็นการพัฒนาที่ขาดความสมดุล และที่ผ่านมาไม่สามารถใช้แผนพัฒนากรุงเทพมหานครเป็นเครื่องมือในการพัฒนาไปสู่เป้าหมายที่กำหนดได้อย่างแท้จริง เพราะแผนที่ยังไม่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างสมบูรณ์ เนื่องจากไม่ประสานสอดคล้องกับงบประมาณ ประชาชนยังไม่มีส่วนร่วมในการจัดทำหรือดำเนินการตามแผน ลักษณะของแผนเป็นการรวบรวมโครงการ / กิจกรรมของหน่วยงานมาดำเนินการ โดยไม่มีการบูรณาการของแผนเพื่อให้เกิดผลการพัฒนาในภาพรวม จึงทำให้การพัฒนาโดยรวมไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน ยึดผลผลิตและการใช้ งบประมาณเป็นตัวประเมินความสำเร็จ ไม่มีระบบการติดตามประเมินผลว่าสมประโยชน์และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนหรือไม่ เพียงไร แต่อย่างไรก็ตาม ในการจัดทำแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2540 - 2544) ได้เริ่มให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และกำหนดทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานครอย่างจริงจัง
ด้วยสถานการณ์และปัจจัยสำคัญๆ ดังกล่าวมาข้างต้น ทำให้การจัดทำ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการกำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาของกรุงเทพมหานคร ในระยะ 5 ปี ที่ได้จากการระดมความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วนมาสังเคราะห์เชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงภาพรวมของการพัฒนาที่ผ่านมา สถานการณ์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก ความต้องการของประชาชน ความสอดคล้องกับกระแสการปฏิรูประบบการเมือง การปกครอง ซึ่งมุ่งเน้นการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐที่เน้นคุณภาพ ความโปร่งใส และตรวจสอบได้
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2545 – 2549) จึงได้กำหนดเป็นแผนยุทธศาสตร์ที่จะชี้นำทิศทางการพัฒนาแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนตั้งแต่เริ่มกระบวนการจัดทำแผนจนเสร็จสิ้นการดำเนินงานตามแผน ทั้งนี้โดยเน้นการเชื่อมโยงกลไกทางสังคม ระบบงบประมาณ และองค์ความรู้ เพื่อให้ทุกฝ่ายมั่นใจและนำแผนไปสู่การปฏิบัติเพื่อผลสำเร็จในการพัฒนากรุงเทพมหานครอย่างแท้จริง
2. วิสัยทัศน์การพัฒนากรุงเทพมหานคร
จากการระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนของสังคม สามารถนำจุดมุ่งหมายและแนวความคิดมาสังเคราะห์เชื่อมโยง เพื่อกำหนดเป็นวิสัยทัศน์ร่วมในการพัฒนากรุงเทพมหานคร ได้ดังนี้
"กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่ด้วยการบริหารจัดการที่ดี และมีความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม โดยชุมชนมีความเข้มแข็งครอบครัวมีความอบอุ่นและสงบสุข"
3. พันธกิจหลักการพัฒนา
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์การพัฒนากรุงเทพมหานครดังกล่าว จึงกำหนด พันธกิจหลักการพัฒนาไว้ 7 ประการ คือ
3.1 การสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผนพัฒนา การตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหาร และการปกครอง
3.2 การสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการคลัง โดยปรับปรุง กระบวนการบริหารการเงินการคลังให้สอดรับกับอำนาจหน้าที่และภารกิจที่มีอยู่เดิม และที่ได้รับโอนจากการกระจายอำนาจจากรัฐสู่ท้องถิ่น
3.3 การพัฒนาศักยภาพของคนและชุมชนให้เข้มแข็ง และสามารถพึ่งพาตนเองได้
3.4 การสร้างระบบคมนาคมขนส่ง ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่มีประสิทธิภาพและสนับสนุนแนวทางการพัฒนาเมือง
3.5 การเพิ่มศักยภาพของผังเมืองให้เป็นเครื่องมือชี้นำ และสนับสนุนการพัฒนาเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งหรือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ
3.6 การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่ดีของเมืองอย่างยั่งยืน
3.7 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริการ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดี
4. วัตถุประสงค์การพัฒนา
เพื่อให้การพัฒนากรุงเทพมหานครเป็นไปตามวิสัยทัศน์และพันธกิจการพัฒนา จึงกำหนดวัตถุประสงค์ของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545-2549) ดังนี้
4.1 เพื่อสร้างสรรค์กรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนบนพื้นฐานความสมดุลแห่งวิถีไทยและโลกาภิวัตน์
4.2 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน ให้ทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษา การบริการสังคม การประกอบอาชีพ การพัฒนาศักยภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และทักษะในการประกอบอาชีพอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียมกัน
4.3 เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีในการบริหารราชการกรุงเทพ มหานคร และส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.4 เพื่อสร้างเสถียรภาพทางการเงินการคลังของกรุงเทพมหานครให้มีความมั่นคง มีทรัพยากรการเงินครอบคลุมการพัฒนาทุกด้าน ทั้งการพัฒนาคน การพัฒนาเมือง และการพัฒนาการบริหาร
5. เป้าหมายการพัฒนา
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์การพัฒนากรุงเทพมหานคร จึงได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาไว้ ดังนี้
5.1 เป้าหมายการพัฒนาเมืองสร้างเมืองให้น่าอยู่ โดยใช้กระบวนการพัฒนาแบบองค์รวม และจัดทำกระบวนการแก้ไขปัญหาของเมืองอย่างเป็นระบบและให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องประสานกัน ทั้งทางด้านการจัดทำผังเมืองที่ทันสมัย และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการจัดการระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการในทุก ๆ ด้าน เพื่อให้บังเกิดผลการพัฒนาเมืองที่มีดุลยภาพและยั่งยืน
5.2 เป้าหมายการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน
(1) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นเครื่องมือในการพัฒนา ประชาชนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตตามความสมัครใจ เพื่อปรับปรุงตนให้มีคุณภาพ มีทักษะในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง อยู่ในสังคมอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน
(2) เสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน และเครือข่าย ให้มีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม
(3) ดำเนินมาตรการทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ที่เพิ่มโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนจนเมืองให้สามารถพึ่งพาตนเองได้
5.3 เป้าหมายการพัฒนาการบริหาร
(1) ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและองค์กร ระเบียบ กฎหมาย ให้เอื้ออำนวยและสอดรับกับอำนาจหน้าที่และภารกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการกระจายอำนาจจากรัฐสู่ท้องถิ่น
(2) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการ ทั้งด้านการบริหารบุคคล และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริการ
(3) เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการตามหลักการบริหาร จัดการที่ดี
(4) สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และการพัฒนากรุงเทพมหานครด้านต่าง ๆ
5.4 เป้าหมายการพัฒนาเสถียรภาพทางการเงิน
(1) เพิ่มศักยภาพในการสร้างรายได้ให้เพียงพอกับรายจ่าย
(2) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง และการงบประมาณ
(3) พัฒนาการพาณิชย์ของกรุงเทพมหานครให้มีความ หลากหลายและสร้างผลกำไร เพื่อสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานครให้ตอบสนองความต้องการของประชาชน
6. ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ภายใต้วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายหลักดังกล่าว เพื่อให้การดำเนินงานในระยะแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545-2549) เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สอดคล้อง เป็นบูรณาการทั้งระบบ โดยมีองค์ประกอบ 7 ด้าน ดังนี้
6.1 ด้านการบริหารและการปกครอง กำหนดยุทธศาสตร์ออกเป็น 3 สาขา
+ สาขาการบริหารและการจัดการ
+ สาขาการบริหารงานบุคคล
+ สาขาการต่างประเทศ
6.2 ด้านการคลัง กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาออกเป็น 2 สาขา
+ สาขาการคลัง
+ สาขาการพาณิชย์
6.3 ด้านทรัพยากรมนุษย์และสังคม กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาออกเป็น 7 สาขา
+ สาขาการศึกษา
+ สาขาวัฒนธรรม
+ สาขาสุขภาพ
+ สาขาพัฒนาชุมชน
+ สาขาสวัสดิการสังคม
+ สาขาการท่องเที่ยว
+ สาขาการกีฬา
6.4 ด้านการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค
6.5 ด้านผังเมืองและการใช้ที่ดิน
6.6 ด้านสิ่งแวดล้อม
7. ลำดับความสำคัญของการพัฒนา
8. การบริหารเพื่อการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติและติดตามประเมินผล
นี้นโยบายเหรอ ถามจริงนะ
แน่ใจไหม?เพราะเท่าที่ดู
นี้คือ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2545-2549 เขียนโดย สำนักนโยบายและแผนกรุงเทพมหานคร
เขียนตั้งนานแล้ว ก่อนการเกิดของพรรค ไทยรักไทย ด้วย
ถามจริงๆ เอาอะไรมาเช็คก่อนไหม?
ไม่มีนโยบายใช่ไหม?
Edited by sigree, 16 January 2013 - 16:48.
Posted 16 January 2013 - 16:53
อันนี้ถามวัวตอบควายดี
ถามนโยบาย ตอบเรื่องขโมยวิทยุ
ที่แย่กว่าคือคิดเองไม่ได้ ไปก๊อปมาทั้งรูป นโยบาย ฯลฯ
หัดคิดหน่อยเถอะ
Posted 16 January 2013 - 16:55
ทำไมไม่ฟ้องหมิ่นประมาทคนที่กล่าวหาท่านรุนแรงขนาดนั้นล่ะครับ
ผมว่าควรฟ้องเลย เพื่อมิให้ท่านเสื่อมเสียชื่อเสียงไปมากกว่านี้
อย่ามาทำตัวเป็นเทวดานางฟ้าอยู่เลยครับ ฟ้องเลย
อย่างน้อยหลังจากการเลือกตั้งแล้ว ไม่ว่าผลจะเป็นอย่างไร
ท่านจะได้ไม่ถูกตราหน้าด้วยคดีความเหล่านี้อีก
นักประชาสัมพันธ์อย่างท่านคงจะสามารถเผยแพร่การตัดสินคดีของศาลต่อสาธารณชนได้เป็นอย่างดีและครบถ้วน
อย่ามัวรีรออยู่เลยครับ ดำเนินการโดยทันที พวกเราจะรอ
Edited by ม่านน้ำ, 16 January 2013 - 16:56.
Posted 16 January 2013 - 17:56
Posted 16 January 2013 - 18:26
24 ชม
วันนี้หาเสียงไปแล้วด้วย
ยังไม่มีนโยบาย..............
Posted 16 January 2013 - 18:28
Edited by IFai, 16 January 2013 - 18:29.
ประโยชน์สูงสุดของประชาชน คือกฏหมายสูงสุดของประเทศ ...วิชา มหาคุณ
Posted 16 January 2013 - 18:57
Posted 16 January 2013 - 19:22
ถ้ารอยต่อทำให้ต้องระวัง และ ช่วยกันระวัง มันจะเสียหายตรงไหนครับ
Posted 16 January 2013 - 20:30
นโยบายคือ รัฐบาลจะร่วมมือทำงานกับผู้ว่าที่มาจากพรรคเพื่อไทยเท่านั้น
เหมือนกับว่าที่พยายามมีปัญหาเรื่องน้ำท่วม ก็เพื่อการนี้
Posted 16 January 2013 - 22:13
ขำคำตอบนะ
มันไม่ชัด แรกคุณเลยไปลอกแผนพัฒนากรุงเทพที่มีมาตั้งแต่ปี 45 ...........
ตลกดีนะ นโยบายเหมือนคำขู่ ถ้าไม่ใช่กู อย่าหวังรัฐบาลจะประสานงานหรือให้อะไรกทม ว่างั้น
Posted 16 January 2013 - 22:16
ผู้ว่าฯกทม. มีบทบาทภารกิจสำคัญใน 2 เรื่อง คือ การบริหารจัดการเมืองขนาดใหญ่ (Mega City) และการจัดทำบริการสาธารณะ
การบริหารจัดการเมืองขนาดใหญ่จำเป็นต้องมีความสัมพันธ์และประสานความร่วมมือกับเมืองรอบข้างได้
เพราะปัญหาของเมืองใหญ่ไม่ได้จบในตัวเอง เช่น รถติดจากสมุทรปราการมาถึง กทม.รถติดจาก กทม. ถึงนนทบุรี
รวมถึงประชากรแฝงไปเช้าเย็นกลับจากปริมณฑล หรือกรณีน้ำท่วมจากนครสวรรค์ ลงมาอยุธยา จนถึง กทม.
เป็นที่มาของมหากาพย์น้ำท่วม ถุงทราย สนามอารีนา รถ-เรือดับเพลิงเสียเงิน 8พันล้านได้รถมาใช้การงานไม่ได้ แถมเสียค่าจอดปีละ 100ล้าน
ขณะที่การจัดทำบริการสาธารณะ ก็ต้องอาศัยความร่วมมือกับรัฐบาลเป็นอย่างมาก เนื่องจาก การกระจายอำนาจในประเทศไทยยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เบ็ดเสร็จเด็ดขาด
ดังนั้น การจัดหาบริการสาธารณะจึงยังคงมีความคาบเกี่ยว กับ กทม. ในหลายกรณีจึงเกิดปัญหา เช่น รถไฟฟ้า บีทีเอส ของ กทม. พิพาทกับกรมทางหลวงชนบทเจ้าของสะพานตากสินในการเดินรถผ่านสะพาน หรือกรณีการตีความสัญญารถไฟฟ้าที่ต่างกันในมุมของ กทม. กับ ดีเอสไอ นอกจากนี้ บริการสาธารณะด้านระบบขนส่งมวลชนอื่น ๆ เช่นขสมก. รถไฟฟ้าใต้ดิน ก็ไม่ได้สังกัด กทม. บริการสาธารณะด้านความมั่นคงระดับท้องถิ่น เช่น ตำรวจนครบาลก็ยังสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ต่างจากมหานครใหญ่หลายแห่งไม่ว่าจะเป็นนิวยอร์ก แอลเอ ที่ล้วนแต่มีตำรวจท้องถิ่นซึ่งมีอำนาจหน้าที่มากกว่าเทศกิจของ กทม.
งานของผู้บริหาร กทม. 3 ด้าน คือ งานประจำวัน งานที่เกี่ยวกับสภา กทม. และงานติดตามนโยบาย ลงพื้นที่พบประชาชน แล้ว จะเห็นได้ว่า
เกิดปัญหาขัดแย้งสูงมาก ที่ไม่ได้เลือกผู้ว่าฯ ที่สังกัดพรรคเดียวกัน ทำให้การบริหารงาน กทม. ไม่ราบรื่นมากกว่า ล้าช้า เสียโอกาสและผลประโยชน์ของชาว กทม
เพราะปัญหาของ กทม. นั้นอยู่ที่ว่า งาน กทม. มีมากมายกว้างขวาง แต่อำนาจของ กทม. ตามกรอบการกระจายอำนาจและกฎหมายกลับมีอยู่อย่างจำกัด
ผู้ว่าฯ กทม.หลายคนหลายสมัยหาเสียงไว้หลายอย่างแต่ได้ทำเพียงบางอย่างเท่านั้น เพราะ กทม. ขาดความเป็นอิสระอย่างแท้จริง
ยังคงต้องอยู่ภายใต้การควบคุมกำกับของกระทรวงมหาดไทย สถานะทางกฎหมายจึงไม่ต่างจาก อบจ. อบต. เทศบาล และ ผู้ว่าฯ ก็คือ นายกเทศมนตรี กทม.
Edited by Axis Kernel, 16 January 2013 - 22:19.
Posted 16 January 2013 - 22:29
ผู้ว่าฯกทม. มีบทบาทภารกิจสำคัญใน 2 เรื่อง คือ การบริหารจัดการเมืองขนาดใหญ่ (Mega City) และการจัดทำบริการสาธารณะการบริหารจัดการเมืองขนาดใหญ่จำเป็นต้องมีความสัมพันธ์และประสานความร่วมมือกับเมืองรอบข้างได้
เพราะปัญหาของเมืองใหญ่ไม่ได้จบในตัวเอง เช่น รถติดจากสมุทรปราการมาถึง กทม.รถติดจาก กทม. ถึงนนทบุรี
รวมถึงประชากรแฝงไปเช้าเย็นกลับจากปริมณฑล หรือกรณีน้ำท่วมจากนครสวรรค์ ลงมาอยุธยา จนถึง กทม.
เป็นที่มาของมหากาพย์น้ำท่วม ถุงทราย สนามอารีนา รถ-เรือดับเพลิงเสียเงิน 8พันล้านได้รถมาใช้การงานไม่ได้ แถมเสียค่าจอดปีละ 100ล้าน
ขณะที่การจัดทำบริการสาธารณะ ก็ต้องอาศัยความร่วมมือกับรัฐบาลเป็นอย่างมาก เนื่องจาก การกระจายอำนาจในประเทศไทยยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เบ็ดเสร็จเด็ดขาด
ดังนั้น การจัดหาบริการสาธารณะจึงยังคงมีความคาบเกี่ยว กับ กทม. ในหลายกรณีจึงเกิดปัญหา เช่น รถไฟฟ้า บีทีเอส ของ กทม. พิพาทกับกรมทางหลวงชนบทเจ้าของสะพานตากสินในการเดินรถผ่านสะพาน หรือกรณีการตีความสัญญารถไฟฟ้าที่ต่างกันในมุมของ กทม. กับ ดีเอสไอ นอกจากนี้ บริการสาธารณะด้านระบบขนส่งมวลชนอื่น ๆ เช่นขสมก. รถไฟฟ้าใต้ดิน ก็ไม่ได้สังกัด กทม. บริการสาธารณะด้านความมั่นคงระดับท้องถิ่น เช่น ตำรวจนครบาลก็ยังสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ต่างจากมหานครใหญ่หลายแห่งไม่ว่าจะเป็นนิวยอร์ก แอลเอ ที่ล้วนแต่มีตำรวจท้องถิ่นซึ่งมีอำนาจหน้าที่มากกว่าเทศกิจของ กทม.
งานของผู้บริหาร กทม. 3 ด้าน คือ งานประจำวัน งานที่เกี่ยวกับสภา กทม. และงานติดตามนโยบาย ลงพื้นที่พบประชาชน แล้ว จะเห็นได้ว่า
เกิดปัญหาขัดแย้งสูงมาก ที่ไม่ได้เลือกผู้ว่าฯ ที่สังกัดพรรคเดียวกัน ทำให้การบริหารงาน กทม. ไม่ราบรื่นมากกว่า ล้าช้า เสียโอกาสและผลประโยชน์ของชาว กทม
เพราะปัญหาของ กทม. นั้นอยู่ที่ว่า งาน กทม. มีมากมายกว้างขวาง แต่อำนาจของ กทม. ตามกรอบการกระจายอำนาจและกฎหมายกลับมีอยู่อย่างจำกัด
ผู้ว่าฯ กทม.หลายคนหลายสมัยหาเสียงไว้หลายอย่างแต่ได้ทำเพียงบางอย่างเท่านั้น เพราะ กทม. ขาดความเป็นอิสระอย่างแท้จริง
ยังคงต้องอยู่ภายใต้การควบคุมกำกับของกระทรวงมหาดไทย สถานะทางกฎหมายจึงไม่ต่างจาก อบจ. อบต. เทศบาล และ ผู้ว่าฯ ก็คือ นายกเทศมนตรี กทม.
อ้างที่มาด้วยก็ดีนะ
http://www.dailynews...thailand/178216
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
Posted 16 January 2013 - 23:56
ผู้ว่าฯกทม. มีบทบาทภารกิจสำคัญใน 2 เรื่อง คือ การบริหารจัดการเมืองขนาดใหญ่ (Mega City) และการจัดทำบริการสาธารณะการบริหารจัดการเมืองขนาดใหญ่จำเป็นต้องมีความสัมพันธ์และประสานความร่วมมือกับเมืองรอบข้างได้
เพราะปัญหาของเมืองใหญ่ไม่ได้จบในตัวเอง เช่น รถติดจากสมุทรปราการมาถึง กทม.รถติดจาก กทม. ถึงนนทบุรี
รวมถึงประชากรแฝงไปเช้าเย็นกลับจากปริมณฑล หรือกรณีน้ำท่วมจากนครสวรรค์ ลงมาอยุธยา จนถึง กทม.
เป็นที่มาของมหากาพย์น้ำท่วม ถุงทราย สนามอารีนา รถ-เรือดับเพลิงเสียเงิน 8พันล้านได้รถมาใช้การงานไม่ได้ แถมเสียค่าจอดปีละ 100ล้าน
ขณะที่การจัดทำบริการสาธารณะ ก็ต้องอาศัยความร่วมมือกับรัฐบาลเป็นอย่างมาก เนื่องจาก การกระจายอำนาจในประเทศไทยยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เบ็ดเสร็จเด็ดขาด
ดังนั้น การจัดหาบริการสาธารณะจึงยังคงมีความคาบเกี่ยว กับ กทม. ในหลายกรณีจึงเกิดปัญหา เช่น รถไฟฟ้า บีทีเอส ของ กทม. พิพาทกับกรมทางหลวงชนบทเจ้าของสะพานตากสินในการเดินรถผ่านสะพาน หรือกรณีการตีความสัญญารถไฟฟ้าที่ต่างกันในมุมของ กทม. กับ ดีเอสไอ นอกจากนี้ บริการสาธารณะด้านระบบขนส่งมวลชนอื่น ๆ เช่นขสมก. รถไฟฟ้าใต้ดิน ก็ไม่ได้สังกัด กทม. บริการสาธารณะด้านความมั่นคงระดับท้องถิ่น เช่น ตำรวจนครบาลก็ยังสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ต่างจากมหานครใหญ่หลายแห่งไม่ว่าจะเป็นนิวยอร์ก แอลเอ ที่ล้วนแต่มีตำรวจท้องถิ่นซึ่งมีอำนาจหน้าที่มากกว่าเทศกิจของ กทม.
งานของผู้บริหาร กทม. 3 ด้าน คือ งานประจำวัน งานที่เกี่ยวกับสภา กทม. และงานติดตามนโยบาย ลงพื้นที่พบประชาชน แล้ว จะเห็นได้ว่า
เกิดปัญหาขัดแย้งสูงมาก ที่ไม่ได้เลือกผู้ว่าฯ ที่สังกัดพรรคเดียวกัน ทำให้การบริหารงาน กทม. ไม่ราบรื่นมากกว่า ล้าช้า เสียโอกาสและผลประโยชน์ของชาว กทม
เพราะปัญหาของ กทม. นั้นอยู่ที่ว่า งาน กทม. มีมากมายกว้างขวาง แต่อำนาจของ กทม. ตามกรอบการกระจายอำนาจและกฎหมายกลับมีอยู่อย่างจำกัด
ผู้ว่าฯ กทม.หลายคนหลายสมัยหาเสียงไว้หลายอย่างแต่ได้ทำเพียงบางอย่างเท่านั้น เพราะ กทม. ขาดความเป็นอิสระอย่างแท้จริง
ยังคงต้องอยู่ภายใต้การควบคุมกำกับของกระทรวงมหาดไทย สถานะทางกฎหมายจึงไม่ต่างจาก อบจ. อบต. เทศบาล และ ผู้ว่าฯ ก็คือ นายกเทศมนตรี กทม.
อ้างที่มาด้วยก็ดีนะ
ตกลงยังไม่มีนโยบาย
อ้างของคนอื่นไปเรือ่ยๆ
อืม............
Posted 17 January 2013 - 12:01
ผู้ว่าฯกทม. มีบทบาทภารกิจสำคัญใน 2 เรื่อง คือ การบริหารจัดการเมืองขนาดใหญ่ (Mega City) และการจัดทำบริการสาธารณะ
การบริหารจัดการเมืองขนาดใหญ่จำเป็นต้องมีความสัมพันธ์และประสานความร่วมมือกับเมืองรอบข้างได้
เพราะปัญหาของเมืองใหญ่ไม่ได้จบในตัวเอง เช่น รถติดจากสมุทรปราการมาถึง กทม.รถติดจาก กทม. ถึงนนทบุรี
รวมถึงประชากรแฝงไปเช้าเย็นกลับจากปริมณฑล หรือกรณีน้ำท่วมจากนครสวรรค์ ลงมาอยุธยา จนถึง กทม.
เป็นที่มาของมหากาพย์น้ำท่วม ถุงทราย สนามอารีนา รถ-เรือดับเพลิงเสียเงิน 8พันล้านได้รถมาใช้การงานไม่ได้ แถมเสียค่าจอดปีละ 100ล้าน
ขณะที่การจัดทำบริการสาธารณะ ก็ต้องอาศัยความร่วมมือกับรัฐบาลเป็นอย่างมาก เนื่องจาก การกระจายอำนาจในประเทศไทยยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เบ็ดเสร็จเด็ดขาด
ดังนั้น การจัดหาบริการสาธารณะจึงยังคงมีความคาบเกี่ยว กับ กทม. ในหลายกรณีจึงเกิดปัญหา เช่น รถไฟฟ้า บีทีเอส ของ กทม. พิพาทกับกรมทางหลวงชนบทเจ้าของสะพานตากสินในการเดินรถผ่านสะพาน หรือกรณีการตีความสัญญารถไฟฟ้าที่ต่างกันในมุมของ กทม. กับ ดีเอสไอ นอกจากนี้ บริการสาธารณะด้านระบบขนส่งมวลชนอื่น ๆ เช่นขสมก. รถไฟฟ้าใต้ดิน ก็ไม่ได้สังกัด กทม. บริการสาธารณะด้านความมั่นคงระดับท้องถิ่น เช่น ตำรวจนครบาลก็ยังสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ต่างจากมหานครใหญ่หลายแห่งไม่ว่าจะเป็นนิวยอร์ก แอลเอ ที่ล้วนแต่มีตำรวจท้องถิ่นซึ่งมีอำนาจหน้าที่มากกว่าเทศกิจของ กทม.
งานของผู้บริหาร กทม. 3 ด้าน คือ งานประจำวัน งานที่เกี่ยวกับสภา กทม. และงานติดตามนโยบาย ลงพื้นที่พบประชาชน แล้ว จะเห็นได้ว่า
เกิดปัญหาขัดแย้งสูงมาก ที่ไม่ได้เลือกผู้ว่าฯ ที่สังกัดพรรคเดียวกัน ทำให้การบริหารงาน กทม. ไม่ราบรื่นมากกว่า ล้าช้า เสียโอกาสและผลประโยชน์ของชาว กทม
เพราะปัญหาของ กทม. นั้นอยู่ที่ว่า งาน กทม. มีมากมายกว้างขวาง แต่อำนาจของ กทม. ตามกรอบการกระจายอำนาจและกฎหมายกลับมีอยู่อย่างจำกัด
ผู้ว่าฯ กทม.หลายคนหลายสมัยหาเสียงไว้หลายอย่างแต่ได้ทำเพียงบางอย่างเท่านั้น เพราะ กทม. ขาดความเป็นอิสระอย่างแท้จริง
ยังคงต้องอยู่ภายใต้การควบคุมกำกับของกระทรวงมหาดไทย สถานะทางกฎหมายจึงไม่ต่างจาก อบจ. อบต. เทศบาล และ ผู้ว่าฯ ก็คือ นายกเทศมนตรี กทม.
Posted 17 January 2013 - 12:02
Posted 17 January 2013 - 12:35
บางครั้งผมขำนะ
จะว่าไปนะ หนนี้เพื่อไทยส่งคนลงเลือกตั้งและการเตรียมการห่วย ห่วยท่สุด
ยุคประภัส ยังมีการตระเตรียม มีนโยบายให้เห็นก่อนลง แซมก็มี
พงศพัฒน์ ไม่มีเลย
Posted 17 January 2013 - 12:36
เลือกไม๊ ?ไม่เลือก.ไม่เลือก.!!!
ไม่เลือก...( เผา..เผา..เผา..)
========== ==========
Posted 17 January 2013 - 13:07
นโยบายแบบเพ้อๆฝันๆ ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใคร แต่จะตัดสินจากความเบื่อหน่ายของการเล่นสงครามการเมือง 6-7ปีทีผ่านมา
มากกว่า50% จะออกมาแนวนี้
- ฉันเป็นคนที่ไม่เอียงซ้ายหรือเอียงขวา ฉันไม่ใช่ "เสือเหลือง"หรือ"เสื้อแดง"
- ฉันไม่ใช่ฝ่ายรัฐบาลหรือฝ่ายค้าน ฉันเป็นคนเดินสายกลาง หรืออยู่ตรงกลางของปัญหาในทุก ๆ เรื่อง
- ยกเว้นเรื่องที่ทำให้ฉันเสียประโยชน์โดยตรง ฉันจะไม่ยุ่ง ไม่สนใจ ฉันไม่ยอมเสียเวลา เสียเงินเสียทองกับข้างใดข้างหนึ่ง
- ฉันจะไม่สร้างศัตรู ฉันไม่สนใจปัญหาสังคม ฉันไม่ใช่ผู้เสียสละ ฉันใช้เวลาทำงานของฉันเพื่อสร้างธุรกิจให้มั่นคงใหญ่โต
- ฉันจะใช้เวลาของฉันกับครอบครัว ญาติมิตร และเพื่อนฝูง ฉันอยากอยู่อย่างสงบสุข ไม่อยากให้เป็นสนามห้ำหั่นกัน
Edited by Axis Kernel, 17 January 2013 - 13:08.
Posted 17 January 2013 - 13:23
นโยบายแบบเพ้อๆฝันๆ ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใคร แต่จะตัดสินจากความเบื่อหน่ายของการเล่นสงครามการเมือง 6-7ปีทีผ่านมา
มากกว่า50% จะออกมาแนวนี้
- ฉันเป็นคนที่ไม่เอียงซ้ายหรือเอียงขวา ฉันไม่ใช่ "เสือเหลือง"หรือ"เสื้อแดง"
- ฉันไม่ใช่ฝ่ายรัฐบาลหรือฝ่ายค้าน ฉันเป็นคนเดินสายกลาง หรืออยู่ตรงกลางของปัญหาในทุก ๆ เรื่อง
- ยกเว้นเรื่องที่ทำให้ฉันเสียประโยชน์โดยตรง ฉันจะไม่ยุ่ง ไม่สนใจ ฉันไม่ยอมเสียเวลา เสียเงินเสียทองกับข้างใดข้างหนึ่ง
- ฉันจะไม่สร้างศัตรู ฉันไม่สนใจปัญหาสังคม ฉันไม่ใช่ผู้เสียสละ ฉันใช้เวลาทำงานของฉันเพื่อสร้างธุรกิจให้มั่นคงใหญ่โต
- ฉันจะใช้เวลาของฉันกับครอบครัว ญาติมิตร และเพื่อนฝูง ฉันอยากอยู่อย่างสงบสุข ไม่อยากให้เป็นสนามห้ำหั่นกัน
ฮั่นแน่ รู้นะ หานโยบาย ของเพื่อไทย และ พงศพัฒน์ ต่อ กทม ไม่ได้เลยแก้เกี้ยวด้วยการบอกว่า
นโยบายแบบเพ้อๆฝันๆ ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใคร แต่จะตัดสินจากความเบื่อหน่ายของการเล่นสงครามการเมือง 6-7ปีทีผ่านมา
รู้ทันนะตะเอง
0 members, 0 guests, 0 anonymous users