Edited by zeus, 14 February 2013 - 18:28.
เห็นคลิปนี้ในยูทูป คนที่ไปร่วมงานศพของหัวโจกที่บุกเข้าตีฐานนยเมื่อวาน
#1
Posted 14 February 2013 - 18:27
- ขบวนการเสรีไทย likes this
#2
Posted 14 February 2013 - 18:29
== ข้อความถูกระงับโดยผู้ดูแล ==
Edited by karasu, 14 February 2013 - 18:40.
7.ห้ามตั้งกระทู้หรือแสดงความเห็นที่มีลักษณยั่วยุให้เพื่อนสมาชิกโกรธเคือง หรือสร้างความร้าวฉาน แตกความสามัคคีในหมู่สมาชิก *
#3
Posted 14 February 2013 - 18:39
---
Edited by notcomeng, 14 February 2013 - 18:42.
#4
Posted 14 February 2013 - 18:39
ดุจำนวนคนที่ไปร่วมแล้ว น่าตกใจ คิดว่าพวกเขาน่าจะรู้ว่าลูกหลานของตนเองกำลังทำอะไรอยู่
น่ากลัวจะเกิดเหตุรุนแรงตามมา เหมือนใบปลิวขู่ ที่แจกว่อนในจังหวัดชายแดนไต้
เครดิต Siriwanna Jill
#5
Posted 14 February 2013 - 18:42
ดุจำนวนคนที่ไปร่วมแล้ว น่าตกใจ คิดว่าพวกเขาน่าจะรู้ว่าลูกหลานของตนเองกำลังทำอะไรอยู่
น่ากลัวจะเกิดเหตุรุนแรงตามมา เหมือนใบปลิวขู่ ที่แจกว่อนในจังหวัดชายแดนไต้
เครดิต Siriwanna Jill
เหตุการณ์จากนี้ไปจะรุนแรงมากกว่้าเดิมแน่นอนคับ เพราะเหตุการณ์เมื่อคืนมันพลาดมาตายกันเยอะ ภารกิจล้มเหลว มันต้องเอาคืนแน่นอน
- อู๋ ฮานามิ likes this
"ประชาชนไม่ควรกลัวรัฐบาลของตนเอง รัฐบาลต่างหากที่ควรกลัวประชาชน”
"กลุ่มชาวพุทธหูรุนแรง"
#6
Posted 14 February 2013 - 18:43
#7
Posted 14 February 2013 - 18:48
ข้อความหาย
"ประชาชนไม่ควรกลัวรัฐบาลของตนเอง รัฐบาลต่างหากที่ควรกลัวประชาชน”
"กลุ่มชาวพุทธหูรุนแรง"
#8
Posted 14 February 2013 - 19:08
ผู้บริสุทธิ์ พ่องงงดิ เตรียมชุด เตรียมแผนมาอย่างดี
มีตัดต้นไม้ โรยตะปู เมรึงอย่าตัดตอน ๆตายแล้วศพไม่สวยมาพูดดิ๊
เพราะแผนรั่ว มันจึงต้องตายมากขนาดนี้ ถ้าทหารไม่รู้ก่อน และอยู่กันน้อยๆ ก็เสร็จพวกเมริง
ถ้าเมริงตีได้ เมริงคงไม่เรียกร้องว่าบริสุทธิ์
มันเลวตั้งแต่ตอนเริ่มแล้ว ตายไม่ตาย ก็คือเลว เลวหากินจากความหลงงมงายของชาวบ้าน
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายขอได้โปรดคุ้มครองผู้บริสุทธิ์ที่่แท้จริงด้วยเถิด
- อู๋ ฮานามิ and ไฮยีน่า like this
"ทำดี(ผู้อื่น)เห็นผลช้า"
#10
Posted 14 February 2013 - 19:35
คือ มันมีเสียงผู้ชายพูดอ่ะครับ คล้ายๆภาษายาวีหรือปล่าว ไม่ใช่เสียงคนที่ร่วมในงาน มันเป็นเสียงประกอบคลิปอ่ะครับในคลิป เป็นการไว้อาลัยผู้เสียชีวิต ตามปรกติ ครับไม่มีเนื้อหาในการปลุกระดม
#11
Posted 14 February 2013 - 20:06
"ฆ่าผู้บริสุทธิ์" อ่านดูแล้วมันคุ้นๆกับพวกเผาบ้านเผาเมือง อ้าง ตอนปี53ไงไม่รู้นะมันใช้คำว่า "การฆ่าผู้บริสุทธิ์ให้ดูดี"
ผู้บริสุทธิ์ พ่องงงดิ เตรียมชุด เตรียมแผนมาอย่างดี
มีตัดต้นไม้ โรยตะปู เมรึงอย่าตัดตอน ๆตายแล้วศพไม่สวยมาพูดดิ๊
เพราะแผนรั่ว มันจึงต้องตายมากขนาดนี้ ถ้าทหารไม่รู้ก่อน และอยู่กันน้อยๆ ก็เสร็จพวกเมริง
ถ้าเมริงตีได้ เมริงคงไม่เรียกร้องว่าบริสุทธิ์
มันเลวตั้งแต่ตอนเริ่มแล้ว ตายไม่ตาย ก็คือเลว เลวหากินจากความหลงงมงายของชาวบ้าน
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายขอได้โปรดคุ้มครองผู้บริสุทธิ์ที่่แท้จริงด้วยเถิด
“People shouldn't be afraid of their government. Governments should be afraid of their people.”
#12
Posted 14 February 2013 - 20:12
ตรรกะโจรนี่ก็ดูแปลก ๆ เวลาไปทำเค้า ยิงเค้า ไม่คิดบ้างว่า ญาติคนที่บาดเจ็บ-ล้มตายก็เจ็บเป็น แค้นเป็น อยากเอาคืนเหมือนกัน แต่มันทำไม่ได้
แต่พอตัวเองโดนบ้าง ทั้ง ๆ ที่พลาดเอง ก็ยังไม่เคยสำนึก รู้สึกแต่เพียงว่าตัวเองเจ็บแค้น จะเอาทัคืนเค้าฝ่ายเดียว
อยากก่อกรรมทำเข็ญมากยิ่งขึ้น ฮ่วย!
#13
Posted 14 February 2013 - 20:29
POPULAR
ไว้อาลัยธรรมดา
- MIRO, RiDKuN_user, จอมโจรคิด and 13 others like this
#14
Posted 14 February 2013 - 20:31
ตรรกะโจรนี่ก็ดูแปลก ๆ เวลาไปทำเค้า ยิงเค้า ไม่คิดบ้างว่า ญาติคนที่บาดเจ็บ-ล้มตายก็เจ็บเป็น แค้นเป็น อยากเอาคืนเหมือนกัน แต่มันทำไม่ได้
แต่พอตัวเองโดนบ้าง ทั้ง ๆ ที่พลาดเอง ก็ยังไม่เคยสำนึก รู้สึกแต่เพียงว่าตัวเองเจ็บแค้น จะเอาทัคืนเค้าฝ่ายเดียว
อยากก่อกรรมทำเข็ญมากยิ่งขึ้น ฮ่วย!
ตรรกะนี้คุ้นๆ มากเลยฮะ 555
- Bourne likes this
#15
Posted 14 February 2013 - 21:12
ดุจำนวนคนที่ไปร่วมแล้ว น่าตกใจ คิดว่าพวกเขาน่าจะรู้ว่าลูกหลานของตนเองกำลังทำอะไรอยู่
น่ากลัวจะเกิดเหตุรุนแรงตามมา เหมือนใบปลิวขู่ ที่แจกว่อนในจังหวัดชายแดนไต้
เครดิต Siriwanna Jill
เหตุการณ์จากนี้ไปจะรุนแรงมากกว่้าเดิมแน่นอนคับ เพราะเหตุการณ์เมื่อคืนมันพลาดมาตายกันเยอะ ภารกิจล้มเหลว มันต้องเอาคืนแน่นอน
ไม่อยากจะคิดเลย ห่วงทุกคน และที่สำคัญผู้นำรัฐบาลเรา มาเป็นซะอย่างนี้
จากใบปลิวนี้ แสดงให้เห็นว่า เราไม่อาจเปลี่ยนความคิดเขาให้มีเมตตา ปรานี ได้
เขาแสดงความเจ็บแค้น ฝังจิต ฝังใจ ออกมา
#16
Posted 14 February 2013 - 21:13
ผมถึงสงสัยไงครับ ไม่รู้ในคลิปเขาพูดอะไรกัน
ให้เดานะ อาจเป็นบทสวด รึอาจจะมีการสาบแช่งด้วยก็ได้
เพราะเป็นภาษาของเขา
#17
Posted 14 February 2013 - 21:15
ดุจำนวนคนที่ไปร่วมแล้ว น่าตกใจ คิดว่าพวกเขาน่าจะรู้ว่าลูกหลานของตนเองกำลังทำอะไรอยู่
น่ากลัวจะเกิดเหตุรุนแรงตามมา เหมือนใบปลิวขู่ ที่แจกว่อนในจังหวัดชายแดนไต้
เครดิต Siriwanna Jill
เหตุการณ์จากนี้ไปจะรุนแรงมากกว่้าเดิมแน่นอนคับ เพราะเหตุการณ์เมื่อคืนมันพลาดมาตายกันเยอะ ภารกิจล้มเหลว มันต้องเอาคืนแน่นอน
ถ้าคืนนั้นไม่พลาด...
เหตุการณ์จะรุนแรงน้อยลง....
หรือพวกมันจะย่ามใจ..
น่าจะกำแหงมากกว่าเดิม.......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
- ไฮยีน่า likes this
เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...
#18
Posted 14 February 2013 - 21:28
ดุจำนวนคนที่ไปร่วมแล้ว น่าตกใจ คิดว่าพวกเขาน่าจะรู้ว่าลูกหลานของตนเองกำลังทำอะไรอยู่
น่ากลัวจะเกิดเหตุรุนแรงตามมา เหมือนใบปลิวขู่ ที่แจกว่อนในจังหวัดชายแดนไต้
เครดิต Siriwanna Jill
มั่วครับ ปลุกระดม ไม่ใช้ภาษาไทยจ๋าแบบนี้หรอกครับ ร้อยละ 95 ใช้ภาษา ยาวี ถ้าหนังสือนี้อยู้ในพื้นที่จริง ...ปั่นคนไทยให้เกลียด โจรและญาติ ครับ
Edited by susu, 14 February 2013 - 21:29.
- turbora, shinethai and conservative like this
#19
Posted 14 February 2013 - 21:32
ตายถึงสิบหกคนนะครับ ญาติเยอะธรรมดา มุสลิม ถึงใครทำไม่ดี ก็ถือว่า คนศาสนาเดียวกัน เขาไปร่วมครับ แต่จะบอกว่า ดีกับหน้าที่ทุกคน ทั้งหมด แน่นอน ไม่ใช่
#20
Posted 14 February 2013 - 21:48
ชื่อคลิปคือ Untukmu 16 Syahid Pahlawan Patani
Syahid
ภาคผนวก : 3. การเสียชีวิตแบบชะฮีด (มรณะสักขี)
3.1 นิยามคำว่า “ชะฮีด” และความหมาย
คำว่า “ชะฮีด” มาจากคำกริยาในภาษาอาหรับว่า ชะฮิด้า (شَهِدَ) หมายถึง บอกข่าว ที่แน่นอน หรือมาจากคำกริยาว่า ชะฮุด้า (شَهُدَ) หมายถึง เป็นพยานยืนยัน มีคำนามร่วมกันว่า ชะฮาดะฮฺ (شَهَادَة) ซึ่งมีความหมายว่า ข่าวที่แน่นอน, การสาบาน, การเสียชีวิตในวิถีทางของ พระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) เป็นต้น ในกรณีหลังนี้เรียกผู้ที่เสียชีวิตในวิถีทางของ พระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) ว่า “ชะฮีด” (شَهِيد) มีรูปพหูพจน์ว่า ชุฮะดาอฺ (شُهَدَاء) (อัลมุนญิด ฟิลลุเฆาะฮฺ วัลอะอฺลาม ,หน้า 406;2002)
นักวิชาการได้อธิบายถึงเหตุที่เรียกผู้เสียชีวิตในวิถีทางของพระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุ วะตะอาลา) ว่า “ชะฮีด” เอาไว้หลายหลายดังนี้
1) อัลอัซฺฮะรีย์ กล่าวว่า : (เหตุที่เรียกเช่นนั้น) เพราะพระองค์อัลลอฮฺ (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) และท่านศาสนทูต (ศ้อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม) ได้ยืนยัน (หรือรับรอง) สวนสวรรค์ แก่บุคคลผู้นั้น (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ ชัรฮุ้ลมุ่ฮัซฺซับ , อันนะวาวีย์ 1/330)
2) อันนัฎรฺ อิบนุ ชะมีล กล่าวว่า : ชะฮีด คือ ผู้มีชีวิตดำรงอยู่ เพราะบรรดาชะฮีดยังคงมีชีวิตอยู่ ณ พระผู้อภิบาลของพวกเขา (อ้างแล้วหน้าเดียวกัน)
3) นักวิชาการบางท่านกล่าวว่า เหตุที่เรียกผู้เสียชีวิตในวิถีทางของพระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) ว่า “ชะฮีด” นั้นเป็นเพราะ บรรดาม่าลาอิกะฮฺ (เทวทูต) แห่งความเมตตาได้มาปรากฏ ร่วมเป็นสักขีพยาน และถอดวิญญาณของผู้เป็นชะฮีดนั้น (กิตาบ อัลมัจญฺมูอฺ 1/330 , อัดดุรรุ้ลมุคต๊าร ; 1/848, อัลลุบ๊าบ ; 1/135, มุฆนีย์ อัลมุฮฺต๊าจญฺ ; 1/350) เป็นต้น
นักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดกลุ่ม ชาฟิอียะฮฺ ได้นิยามคำ “ชะฮีด” ว่าหมายถึง “บุคคล ที่เสียชีวิตจากชาวมุสลิมในการญิฮาด (สงครามปกป้องศาสนา) กับเหล่าผู้ปฏิเสธศาสนาอิสลาม (กุฟฟ๊าร) ด้วยเหตุหนึ่งเหตุใดจากบรรดาเหตุแห่งการสู้รบกับเหล่าผู้ปฏิเสธก่อนการสิ้นสุดสงคราม (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ ; 5/220) หรือ หมายถึง “ผู้ที่ถูกสังหารในการศึกสงครามที่เกิดขึ้นเพื่อปกป้องและเชิดชูธงชัยแห่งศาสนาอิสลามให้สูงส่ง” (อัลฟิกฮุ้ลมันฮะญี่ย ; 1/264)
3.2 ประเภทของผู้เสียชีวิตแบบชะฮีด
นักวิชาการได้แบ่งประเภทของผู้เสียชีวิตแบบชะฮีดออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
3.2.1 ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกนี้และโลกหน้า คือ ผู้ตายชะฮีดในสมรภูมิ (เพื่อปกป้องและเชิดชูธงชัยแห่งศาสนาอิสลามให้สูงส่ง) ข้อชี้ขาดของโลกนี้คือ ไม่มีการอาบน้ำศพ และไม่มี การละหมาดให้ตามทัศนะของปวงปราชญ์ (ญุมฮูรุ้ลอุละมาอฺ) และข้อชี้ขาดของโลกหน้านั้น คือ ผู้ตายชะฮีดนั้นจะได้รับผลานิสงค์เป็นกรณีพิเศษ ถือเป็นผู้ตายชะฮีดที่ได้รับภาคผลของการเป็นชะฮีด (ชะฮาดะฮฺ) ที่สมบูรณ์ (อัลฟิกฮุล อิสลามี่ย์ ว่า อะดิ้ลล่าตุฮู ; วะฮฺบะฮฺ อัซซุฮัยลี่ย์, 2/559 , ดารุ้ลฟิกร์ , ดามัสกัส ; 1989)
3.2.2 ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกนี้เท่านั้น ตามความเห็นของนักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดกลุ่มชาฟิอียะฮฺนั้นคือ ผู้ที่ถูกสังหารในสมรภูมิกับกลุ่มชนผู้ปฏิเสธด้วยสาเหตุของสมรภูมินั้น โดยผู้นั้นได้ยักยอกส่วนของทรัพย์สงคราม (ฆ่อนีมะฮฺ) หรือผู้นั้นถูกสังหารในสภาพที่เขาหนีทัพ หรือผู้นั้นได้ทำการศึกอันเป็นไปเพื่อการโอ้อวด (ริยาอฺ) เป็นต้น (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/225)
3.2.3 ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้า (อาคิเราะฮฺ) เท่านั้น หมายถึง ผู้ที่ไม่ได้เสียชีวิต ด้วยเหตุของการทำสงครามกับเหล่าชนผู้ปฏิเสธ (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/224) มีข้อชี้ขาดในการจัดการศพเหมือนกับผู้ที่มิใช่ชะฮีด กล่าวคือ มีการอาบน้ำศพให้ ห่อศพ ละหมาดให้และฝังศพ (อิอานะตุดตอลิบีน ; 2/124) ผู้ตายชะฮีดในประเภทนี้จะได้รับผลานิสงค์ในโลกหน้า และมีกรณีการเสียชีวิตหลายลักษณะ อาทิเช่น สตรีที่เสียชีวิตในการคลอดบุตร, ผู้ที่เสียชีวิตเนื่องจากท้องเดิน (ท้องร่วง) , ผู้ที่เสียชีวิตในคราที่เกิดโรคระบาดใหญ่ (ตออูน) , ผู้ที่จมน้ำตาย , ผู้ที่เสียชีวิตจากเหตุอาคารถล่มทับ , ผู้เสียชีวิตเนื่องจากไฟคลอก , ผู้ทีเสียชีวิตในสภาพทีแสวงหาความรู้ และผู้ที่ ถูกสังหารโดยอธรรม เป็นต้น (อิอานะตุดตอลิบีน ; 2/124, อัลฟิกฮุล อิสลามี่ย์ ; 2/560, กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/224)
3.3 การจัดการศพของผู้เป็นชะฮีด
3.3.1 กรณีของผู้ที่เป็นชะฮีดในประเภท 3.2.3 ซึ่งเป็นชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้าเท่านั้น ให้จัดการศพเหมือนกับผู้เสียชีวิตในกรณีปกติ กล่าวคือ มีการอาบน้ำศพ, ห่อศพ, ละหมาด และฝังศพ (อัลฟิกฮุลอิสลามี่ย ; 2/561 , กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/224)
3.3.2 กรณีของผู้ที่เป็นชะฮีดในประเภท 3.2.1 และ 3.2.2 ซึ่งเป็นชะฮีดเนื่องจาก การทำสงครามเพื่อปกป้องและเชิดชูธงของศาสนา ปวงปราชญ์ (ญุมฮูรุ้ลอุละมาอฺ) ไม่นับรวมกลุ่มฮะนะฟียะฮฺ ซึ่งมีความเห็นแตกต่าง ถือว่า ไม่ต้องมีการอาบน้ำศพ การห่อศพ และการละหมาดให้แก่ศพ แต่ให้ขจัดสิ่งสกปรกที่เกิดขึ้นนอกจากโลหิตของผู้ตายชะฮีดเท่านั้น (อัลฟิกฮุลอิสลามี่ย์ ; 2/558) ในส่วนของมัซฮับชาฟิอีย์นั้น ถือเป็นที่ต้องห้าม (ฮะรอม) ในการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพของผู้ที่ตายชะฮีด (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/221) ส่วนการห่อศพและฝังศพ ผู้ที่ตายชะฮีดนั้นเป็นสิ่งจำเป็น (วาญิบ) (อิอานะตุดตอลิบีน ; 2/123 ,อาชียะฮฺ อัชชัยคฺ อิบรอฮีม อัลบัยญูรีย์ ; 1/466)
3.4 ประเด็นข้อพิจารณาสืบเนื่อง
3.4.1 การเสียชีวิตของผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ถือเป็นการตายชะฮีดหรือไม่?
ความเห็น คำตอบที่ว่าเป็นการตายชะฮีดหรือไม่? ขึ้นอยู่กับกรณีดังต่อไปนี้
1) การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายภาคใต้เข้าข่ายตามหลักเกณฑ์การญิฮาดในรูปแบบสงครามปกป้องศาสนาหรือไม่? หากพิจารณาแล้วได้ข้อชี้ขาดว่าเป็นการญิฮาดตามหลักเกณฑ์ ที่ศาสนากำหนดไว้ ย่อมถือว่า ผู้ก่อความไม่สงบที่เสียชีวิตเป็นชะฮีด และเมื่อมีการจัดการศพ ก็ให้กระทำได้เฉพาะการห่อศพ (กะฝั่น) และฝังศพเท่านั้น ส่วนการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพนั้น ถือเป็นที่ต้องห้าม (ฮะรอม) ตามมัซฮับชาฟิอีย์ดังที่กล่าวมาข้างต้น
ในกรณีที่พิจารณาแล้วได้ข้อชี้ขาดว่าไม่เข้าข่ายการญิฮาดตามหลักเกณฑ์ของศาสนา แต่มีลักษณะเข้าข่ายการถูกสังหารโดยอธรรมหรือเกินกว่าเหตุอันควรหรือเป็นการก่อความไม่สงบ ทั้ง 3 ลักษณะให้ทำการจัดการศพเหมือนปกติ กล่าวคือ อาบน้ำศพ ละหมาด และฝังศพ ตามมัซฮับชาฟิอีย์ (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/229) ทั้งนี้ถึงแม้ว่าผู้ที่ถูกฆ่าตายโดยอธรรมจะถูกเรียกว่า ชะฮีดก็ตาม แต่เป็นชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้าเท่านั้น อย่างไรก็ตาม นักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดกลุ่ม ฮัมบะลีย์ได้ผนวก ผู้ที่ถูกฆ่าตายโดยอธรรมอยู่ในกลุ่มของชะฮีดในสงคราม จึงไม่ต้องมีการอาบน้ำศพแต่อย่างใด (อัลฟิกฮุลอิสลามี่ย์ ; 2/557)
2) การจัดการศพของผู้ก่อความไม่สงบที่เสียชีวิตซึ่งยังไม่ชัดเจนว่าเป็นชะฮีดหรือไม่? หรือเป็นชะฮีดประเภทใด? จำต้องคำนึงถึงกฎเกณฑ์ทางนิติศาสตร์อิสลามในการพิจารณา เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการชี้ขาด โดยเฉพาะในกรณีที่เกิดความสงสัย (شك) ส่วนหนึ่งจากกฎเกณฑ์ ทางนิติศาสตร์อิสลามคือกฏเกณฑ์ที่ว่า (اليقينُ لايزول بالشك) “ความมั่นใจจะไม่หมดไปด้วยการสงสัย”
ความมั่นใจ (ยะกีน) ในกรณีข้างต้น คือ มีการเสียชีวิตของผู้ก่อความไม่สงบเกิดขึ้น ซึ่งตามภาวะปกติ มุสลิมที่ยังมีชีวิตอยู่และรับรู้ถึงการเสียชีวิตดังกล่าว จำต้องปฏิบัติในการ จัดการศพ 4 ประการ คือ การอาบน้ำศพ, การห่อศพ, การละหมาดให้แก่ศพและการฝังศพ ทั้ง 4 ประการนี้ตามหลักการของศาสนาถือเป็นฟัรฎูกิฟายะฮฺ ซึ่งหากมีผู้ดำเนินการหรือกระทำ ไม่ครบถ้วนทั้ง 4 ประการ ย่อมถือว่ามีโทษทั้งกลุ่มชนนั้น (อัลฟิกฮุ้ลมันฮะญี่ย์ ; 1/23) ทั้งนี้ เพราะสิ่งที่เป็นฟัรฎู (فرض) คือสิ่งทีศาสนาเรียกร้องให้กระทำสิ่งนั้น อันเป็นการเรียกร้อง ที่เด็ดขาด โดยการกระทำสิ่งนั้นมีผลทำให้ได้รับผลานิสงค์ตามมา และการละทิ้งการกระทำนั้น มีผลทำให้ถูกลงทัณฑ์ตามมา (อ้างแล้ว 1/22)
ส่วนกรณีว่าผู้เสียชีวิตเป็นชะฮีดหรือไม่? ยังเป็น ที่สงสัยอยู่ หากเป็นชะฮีดแต่อยู่ในประเภท 3.2.3 อันหมายถึง ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้า เพียงอย่างเดียว ก็จำต้องปฏิบัติในการจัดการศพด้วย 4 ประการข้างต้นตามมัซฮับชาฟิอีย์ แต่ถ้าอ้างว่าผู้ก่อความไม่สงบเป็นชะฮีด เนื่องจากการทำสงครามปกป้องศาสนา ซึ่งยังไม่ชัดเจนและยังมีข้อสงสัยอยู่ ก็ให้ถือหลักเดิมคือ เป็นการเสียชีวิตที่มิใช่ชะฮีด ทั้งนี้ให้ถือตามกฎเกณฑ์ ทางนิติศาสตร์อิสลามที่ว่า “หลักการเดิมคือการคงอยู่ของสิ่งที่มันเคยเป็นอยู่” (الأصل بقاءماكان علىماكان) และกฎที่ว่า “หลักการเดิมในเรื่องที่เกิดขึ้นใหม่คือ ไม่มีมาก่อน” (الأصل في الأمورالعارضةالعدم) (ดิรอซ๊าต ฟี อัลอิคติลาฟ อัลฟิกฮียะฮฺ ; หน้า 211) ทั้งนี้เนื่องจากการตายชะฮีดเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ (أمرعارض) มิใช่ภาวะปกติที่เป็นหลักการพื้นฐาน (الأصل) คือ การสิ้นชีวิตโดยทั่วไป
3.4.2 ตามหลักการของศาสนาอิสลาม ได้วางกฎเกณฑ์การจัดการพิธีศพระหว่างผู้ที่ตายตามปกติกับตายชะฮีดอย่างไร?
ความเห็น ประเด็นนี้ได้ให้รายละเอียดไว้แล้วดังข้างต้น
3.4.3 ในกรณีการตายของผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้จะจัดการพิธีศพอย่างไร? จึงจะถูกต้องตามหลักการของศาสนาอิสลาม
ความเห็น ประเด็นได้ให้รายละเอียดไว้แล้วในข้อ 3.4.1
3.4.4 ประเด็นเพิ่มเติม
1) การจะชี้ขาดว่าผู้เสียชีวิตในการก่อความไม่สงบนั้นจะเป็นชะฮีดหรือไม่? มีความเกี่ยวพันกับการชี้ขาดว่าการก่อความไม่สงบดังกล่าวเป็นการญิฮาดตามหลักการหรือไม่?
2) การด่วนสรุปว่าการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นการญิฮาด และการเสียชีวิตของผู้ก่อความไม่สงบที่มีการปะทะกับเจ้าหน้าที่ของรัฐว่าเป็นชะฮีด แล้วมีการจัดการศพเยี่ยงผู้ตายชะฮีดนั้น อาจนำไปสู่ความวุ่นวาย และการสูญเสียอย่างใหญ่หลวง ตลอดจนมีผลทำให้ผู้มีชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศพต้องได้รับโทษในโลกหน้า เนื่องจากการกระทำผิดต่อหลักการของศาสนาในการจัดการศพ กล่าวคือ มีการละทิ้งการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพ ซึ่งถือเป็นสิ่งจำเป็นตามหลักการของศาสนา
3) ในหลักนิติศาสตร์อิสลามมีกฎเกณฑ์อยู่ประการหนึ่งระบุว่า “เมื่อสิ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหาย 2 ประการ ค้านกัน ให้คำนึงถึงสิ่งที่มีความเสียหายใหญ่หลวงที่สุดจาก 2 ประการนั้น ด้วยการกระทำสิ่งที่ความเสียหายนั้นเบากว่า” (اﺬاتعارض مفسدتان روعي أعظمهماضررابارتكاب أخفهما) กฎเกณฑ์นี้สามารถนำมาบังคับใช้ในกรณีนี้ได้หรือไม่? กล่าวคือ การจัดการศพกับผู้ก่อความไม่สงบที่เสียชีวิตนั้นมี ความเป็นไปได้ (احتمال) ว่าอาจจะเป็นชะฮีดหรือไม่ใช่ชะฮีด หากมิใช่ชะฮีดก็ต้องจัดการศพตามปกติ แต่ถ้าเป็นชะฮีดก็ถือว่าการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพเป็นสิ่งต้องห้าม
เมื่อพิจารณาแล้วว่า อาจมีความเป็นไปได้ทั้งสองประการ คือเป็นชะฮีดและไม่เป็นชะฮีด ก็ต้องเลือกกระทำในกรณีที่เกิดความเสียหายน้อยกว่า หรือมีโทษเบากว่า ซึ่งในกรณีเช่นนี้ก็คือการจัดการศพตามปกติ เพราะหากจัดการศพในแบบชะฮีดทั้งๆ ที่มิใช่ชะฮีดก็จะเกิดโทษที่รุนแรงกว่า ทั้งนี้เพราะกรณีของการอาบน้ำและละหมาดให้แก่ศพของผู้ตายชะฮีดนั้นยังเป็นเรื่องที่นักวิชาการในมัซฮับต่างๆ ยังคงมีความเห็นแตกต่างกันว่าอนุญาตหรือเป็นที่ต้องห้าม ดังเช่น ในมัซฮับ ฮะนาฟีย์มีความเห็นว่า ผู้ที่ตายชะฮีดจะถูกห่อศพด้วยเสื้อผ้าของเขา และมีการละหมาดให้ และไม่ต้องมีการอาบน้ำศพ เมื่อผู้ตายชะฮีดนั้นเป็นผู้บรรลุศาสนภาวะเข้าเกณฑ์บังคับทางศาสนา (มุกัลลัฟ) และสะอาดจากการมีหะดัษใหญ่ ส่วนผู้มีญุนูบ, สตรีมีรอบเดือนและสตรีมีเลือดหลัง การคลอดบุตร (นิฟาส) เมื่อเสียชีวิตแบบชะฮีด ให้อาบน้ำตามความเห็นของท่านอิหม่ามอบู ฮะนีฟะฮฺ (ร.ฮ.)
ตลอดจนเด็กและคนบ้าเมื่อตายชะฮีดก็ให้อาบน้ำเช่นกัน ส่วนอิหม่ามมุฮำมัดและอัลกอฎีย์ อบูยูซุฟ สหายของท่านอิหม่ามอบูฮะนีฟะฮฺ ระบุว่า ทั้งสองคนนี้ไม่ต้องมีการอาบน้ำศพให้แต่อย่างใด (อัลฟิกฮุ้ลอิสลามี่ย์ ว่า อะดิ้ลละตุฮู , 2/558) ในส่วนของนักวิชาการสังกัดมัซฮับชาฟีอีย์เองนั้น นักวิชาการบางท่าน เช่น อัลมุ่ซะนีย์ (ร.ฮ.) กล่าวว่า ให้ละหมาดแก่ศพของผู้ที่เสียชีวิตแบบชะฮีด และอิหม่ามอัลฮะร่อมัยนฺ , อัลบะฆ่อวี่ย์และนักวิชาการท่านอื่นได้เล่าประเด็นหนึ่งเอาไว้ว่า อนุญาติให้ละหมาดแก่ศพของผู้ตายชะฮีด แต่ไม่จำเป็น (วาญิบ) และไม่มีการอาบน้ำให้แก่ศพ ท่านอัรรอฟิอีย์ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : การอาบน้ำศพนั้นถ้าหากนำไปสู่การทำให้โลหิตของผู้ตายชะฮีดหมดไปก็ถือเป็นที่ต้องห้ามในการอาบน้ำศพโดยไม่มีข้อขัดแย้ง ถ้าไม่เป็นเช่นนั้น ก็ถือว่าเป็นที่ต้องห้ามตามมัซฮับ และมีบางทัศนะกล่าวว่า : ที่มีความเห็นขัดแย้งกันว่า เป็นที่ต้องห้ามนั้นคือ เรื่องการละหมาดให้แก่ศพ (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/221)
4) กรณีความไม่ชัดเจนว่าผู้ตายเป็นชะฮีดหรือไม่? อาจเทียบได้กับกรณีที่มีผู้ตายปะปนกันระหว่างผู้ที่ต้องละหมาดให้กับผู้ที่ไม่อนุญาตให้ละหมาดให้ เช่น มุสลิมกับคนกาฟิรปนกัน หรือคนที่ไม่ใช่ชะฮีดปะปนกับคนที่ตายชะฮีด มีคำตอบในประเด็นนี้ ในหนังสือ ฟุรูอุ้ลมะซาอิ้ล ของท่าน ชัยคฺ ดาวูด อิบนุ อับดิลลาฮฺ อัลฟะฏอนีย์ (ร.ฮ.) ว่า
مك دجوابڽ
(ฟุรูอุ้ลมะซาอิ้ล ; 1/172 , สำนักพิมพ์ มุฮำมัด อันนะฮฺดีย์ ฯ)
Edited by Ricebeanoil, 14 February 2013 - 21:58.
- ใจหมาอำมหิต`, conservative, susu and 2 others like this
#21
Posted 14 February 2013 - 22:19
ชื่อคลิปคือ Untukmu 16 Syahid Pahlawan Patani
Syahid
ภาคผนวก : 3. การเสียชีวิตแบบชะฮีด (มรณะสักขี)
3.1 นิยามคำว่า “ชะฮีด” และความหมาย
คำว่า “ชะฮีด” มาจากคำกริยาในภาษาอาหรับว่า ชะฮิด้า (شَهِدَ) หมายถึง บอกข่าว ที่แน่นอน หรือมาจากคำกริยาว่า ชะฮุด้า (شَهُدَ) หมายถึง เป็นพยานยืนยัน มีคำนามร่วมกันว่า ชะฮาดะฮฺ (شَهَادَة) ซึ่งมีความหมายว่า ข่าวที่แน่นอน, การสาบาน, การเสียชีวิตในวิถีทางของ พระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) เป็นต้น ในกรณีหลังนี้เรียกผู้ที่เสียชีวิตในวิถีทางของ พระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) ว่า “ชะฮีด” (شَهِيد) มีรูปพหูพจน์ว่า ชุฮะดาอฺ (شُهَدَاء) (อัลมุนญิด ฟิลลุเฆาะฮฺ วัลอะอฺลาม ,หน้า 406;2002)
นักวิชาการได้อธิบายถึงเหตุที่เรียกผู้เสียชีวิตในวิถีทางของพระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุ วะตะอาลา) ว่า “ชะฮีด” เอาไว้หลายหลายดังนี้
1) อัลอัซฺฮะรีย์ กล่าวว่า : (เหตุที่เรียกเช่นนั้น) เพราะพระองค์อัลลอฮฺ (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) และท่านศาสนทูต (ศ้อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม) ได้ยืนยัน (หรือรับรอง) สวนสวรรค์ แก่บุคคลผู้นั้น (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ ชัรฮุ้ลมุ่ฮัซฺซับ , อันนะวาวีย์ 1/330)
2) อันนัฎรฺ อิบนุ ชะมีล กล่าวว่า : ชะฮีด คือ ผู้มีชีวิตดำรงอยู่ เพราะบรรดาชะฮีดยังคงมีชีวิตอยู่ ณ พระผู้อภิบาลของพวกเขา (อ้างแล้วหน้าเดียวกัน)
3) นักวิชาการบางท่านกล่าวว่า เหตุที่เรียกผู้เสียชีวิตในวิถีทางของพระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) ว่า “ชะฮีด” นั้นเป็นเพราะ บรรดาม่าลาอิกะฮฺ (เทวทูต) แห่งความเมตตาได้มาปรากฏ ร่วมเป็นสักขีพยาน และถอดวิญญาณของผู้เป็นชะฮีดนั้น (กิตาบ อัลมัจญฺมูอฺ 1/330 , อัดดุรรุ้ลมุคต๊าร ; 1/848, อัลลุบ๊าบ ; 1/135, มุฆนีย์ อัลมุฮฺต๊าจญฺ ; 1/350) เป็นต้น
นักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดกลุ่ม ชาฟิอียะฮฺ ได้นิยามคำ “ชะฮีด” ว่าหมายถึง “บุคคล ที่เสียชีวิตจากชาวมุสลิมในการญิฮาด (สงครามปกป้องศาสนา) กับเหล่าผู้ปฏิเสธศาสนาอิสลาม (กุฟฟ๊าร) ด้วยเหตุหนึ่งเหตุใดจากบรรดาเหตุแห่งการสู้รบกับเหล่าผู้ปฏิเสธก่อนการสิ้นสุดสงคราม (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ ; 5/220) หรือ หมายถึง “ผู้ที่ถูกสังหารในการศึกสงครามที่เกิดขึ้นเพื่อปกป้องและเชิดชูธงชัยแห่งศาสนาอิสลามให้สูงส่ง” (อัลฟิกฮุ้ลมันฮะญี่ย ; 1/264)
3.2 ประเภทของผู้เสียชีวิตแบบชะฮีด
นักวิชาการได้แบ่งประเภทของผู้เสียชีวิตแบบชะฮีดออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
3.2.1 ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกนี้และโลกหน้า คือ ผู้ตายชะฮีดในสมรภูมิ (เพื่อปกป้องและเชิดชูธงชัยแห่งศาสนาอิสลามให้สูงส่ง) ข้อชี้ขาดของโลกนี้คือ ไม่มีการอาบน้ำศพ และไม่มี การละหมาดให้ตามทัศนะของปวงปราชญ์ (ญุมฮูรุ้ลอุละมาอฺ) และข้อชี้ขาดของโลกหน้านั้น คือ ผู้ตายชะฮีดนั้นจะได้รับผลานิสงค์เป็นกรณีพิเศษ ถือเป็นผู้ตายชะฮีดที่ได้รับภาคผลของการเป็นชะฮีด (ชะฮาดะฮฺ) ที่สมบูรณ์ (อัลฟิกฮุล อิสลามี่ย์ ว่า อะดิ้ลล่าตุฮู ; วะฮฺบะฮฺ อัซซุฮัยลี่ย์, 2/559 , ดารุ้ลฟิกร์ , ดามัสกัส ; 1989)
3.2.2 ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกนี้เท่านั้น ตามความเห็นของนักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดกลุ่มชาฟิอียะฮฺนั้นคือ ผู้ที่ถูกสังหารในสมรภูมิกับกลุ่มชนผู้ปฏิเสธด้วยสาเหตุของสมรภูมินั้น โดยผู้นั้นได้ยักยอกส่วนของทรัพย์สงคราม (ฆ่อนีมะฮฺ) หรือผู้นั้นถูกสังหารในสภาพที่เขาหนีทัพ หรือผู้นั้นได้ทำการศึกอันเป็นไปเพื่อการโอ้อวด (ริยาอฺ) เป็นต้น (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/225)
3.2.3 ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้า (อาคิเราะฮฺ) เท่านั้น หมายถึง ผู้ที่ไม่ได้เสียชีวิต ด้วยเหตุของการทำสงครามกับเหล่าชนผู้ปฏิเสธ (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/224) มีข้อชี้ขาดในการจัดการศพเหมือนกับผู้ที่มิใช่ชะฮีด กล่าวคือ มีการอาบน้ำศพให้ ห่อศพ ละหมาดให้และฝังศพ (อิอานะตุดตอลิบีน ; 2/124) ผู้ตายชะฮีดในประเภทนี้จะได้รับผลานิสงค์ในโลกหน้า และมีกรณีการเสียชีวิตหลายลักษณะ อาทิเช่น สตรีที่เสียชีวิตในการคลอดบุตร, ผู้ที่เสียชีวิตเนื่องจากท้องเดิน (ท้องร่วง) , ผู้ที่เสียชีวิตในคราที่เกิดโรคระบาดใหญ่ (ตออูน) , ผู้ที่จมน้ำตาย , ผู้ที่เสียชีวิตจากเหตุอาคารถล่มทับ , ผู้เสียชีวิตเนื่องจากไฟคลอก , ผู้ทีเสียชีวิตในสภาพทีแสวงหาความรู้ และผู้ที่ ถูกสังหารโดยอธรรม เป็นต้น (อิอานะตุดตอลิบีน ; 2/124, อัลฟิกฮุล อิสลามี่ย์ ; 2/560, กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/224)
3.3 การจัดการศพของผู้เป็นชะฮีด
3.3.1 กรณีของผู้ที่เป็นชะฮีดในประเภท 3.2.3 ซึ่งเป็นชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้าเท่านั้น ให้จัดการศพเหมือนกับผู้เสียชีวิตในกรณีปกติ กล่าวคือ มีการอาบน้ำศพ, ห่อศพ, ละหมาด และฝังศพ (อัลฟิกฮุลอิสลามี่ย ; 2/561 , กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/224)
3.3.2 กรณีของผู้ที่เป็นชะฮีดในประเภท 3.2.1 และ 3.2.2 ซึ่งเป็นชะฮีดเนื่องจาก การทำสงครามเพื่อปกป้องและเชิดชูธงของศาสนา ปวงปราชญ์ (ญุมฮูรุ้ลอุละมาอฺ) ไม่นับรวมกลุ่มฮะนะฟียะฮฺ ซึ่งมีความเห็นแตกต่าง ถือว่า ไม่ต้องมีการอาบน้ำศพ การห่อศพ และการละหมาดให้แก่ศพ แต่ให้ขจัดสิ่งสกปรกที่เกิดขึ้นนอกจากโลหิตของผู้ตายชะฮีดเท่านั้น (อัลฟิกฮุลอิสลามี่ย์ ; 2/558) ในส่วนของมัซฮับชาฟิอีย์นั้น ถือเป็นที่ต้องห้าม (ฮะรอม) ในการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพของผู้ที่ตายชะฮีด (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/221) ส่วนการห่อศพและฝังศพ ผู้ที่ตายชะฮีดนั้นเป็นสิ่งจำเป็น (วาญิบ) (อิอานะตุดตอลิบีน ; 2/123 ,อาชียะฮฺ อัชชัยคฺ อิบรอฮีม อัลบัยญูรีย์ ; 1/466)
3.4 ประเด็นข้อพิจารณาสืบเนื่อง
3.4.1 การเสียชีวิตของผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ถือเป็นการตายชะฮีดหรือไม่?
ความเห็น คำตอบที่ว่าเป็นการตายชะฮีดหรือไม่? ขึ้นอยู่กับกรณีดังต่อไปนี้
1) การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายภาคใต้เข้าข่ายตามหลักเกณฑ์การญิฮาดในรูปแบบสงครามปกป้องศาสนาหรือไม่? หากพิจารณาแล้วได้ข้อชี้ขาดว่าเป็นการญิฮาดตามหลักเกณฑ์ ที่ศาสนากำหนดไว้ ย่อมถือว่า ผู้ก่อความไม่สงบที่เสียชีวิตเป็นชะฮีด และเมื่อมีการจัดการศพ ก็ให้กระทำได้เฉพาะการห่อศพ (กะฝั่น) และฝังศพเท่านั้น ส่วนการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพนั้น ถือเป็นที่ต้องห้าม (ฮะรอม) ตามมัซฮับชาฟิอีย์ดังที่กล่าวมาข้างต้น
ในกรณีที่พิจารณาแล้วได้ข้อชี้ขาดว่าไม่เข้าข่ายการญิฮาดตามหลักเกณฑ์ของศาสนา แต่มีลักษณะเข้าข่ายการถูกสังหารโดยอธรรมหรือเกินกว่าเหตุอันควรหรือเป็นการก่อความไม่สงบ ทั้ง 3 ลักษณะให้ทำการจัดการศพเหมือนปกติ กล่าวคือ อาบน้ำศพ ละหมาด และฝังศพ ตามมัซฮับชาฟิอีย์ (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/229) ทั้งนี้ถึงแม้ว่าผู้ที่ถูกฆ่าตายโดยอธรรมจะถูกเรียกว่า ชะฮีดก็ตาม แต่เป็นชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้าเท่านั้น อย่างไรก็ตาม นักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดกลุ่ม ฮัมบะลีย์ได้ผนวก ผู้ที่ถูกฆ่าตายโดยอธรรมอยู่ในกลุ่มของชะฮีดในสงคราม จึงไม่ต้องมีการอาบน้ำศพแต่อย่างใด (อัลฟิกฮุลอิสลามี่ย์ ; 2/557)
2) การจัดการศพของผู้ก่อความไม่สงบที่เสียชีวิตซึ่งยังไม่ชัดเจนว่าเป็นชะฮีดหรือไม่? หรือเป็นชะฮีดประเภทใด? จำต้องคำนึงถึงกฎเกณฑ์ทางนิติศาสตร์อิสลามในการพิจารณา เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการชี้ขาด โดยเฉพาะในกรณีที่เกิดความสงสัย (شك) ส่วนหนึ่งจากกฎเกณฑ์ ทางนิติศาสตร์อิสลามคือกฏเกณฑ์ที่ว่า (اليقينُ لايزول بالشك) “ความมั่นใจจะไม่หมดไปด้วยการสงสัย”
ความมั่นใจ (ยะกีน) ในกรณีข้างต้น คือ มีการเสียชีวิตของผู้ก่อความไม่สงบเกิดขึ้น ซึ่งตามภาวะปกติ มุสลิมที่ยังมีชีวิตอยู่และรับรู้ถึงการเสียชีวิตดังกล่าว จำต้องปฏิบัติในการ จัดการศพ 4 ประการ คือ การอาบน้ำศพ, การห่อศพ, การละหมาดให้แก่ศพและการฝังศพ ทั้ง 4 ประการนี้ตามหลักการของศาสนาถือเป็นฟัรฎูกิฟายะฮฺ ซึ่งหากมีผู้ดำเนินการหรือกระทำ ไม่ครบถ้วนทั้ง 4 ประการ ย่อมถือว่ามีโทษทั้งกลุ่มชนนั้น (อัลฟิกฮุ้ลมันฮะญี่ย์ ; 1/23) ทั้งนี้ เพราะสิ่งที่เป็นฟัรฎู (فرض) คือสิ่งทีศาสนาเรียกร้องให้กระทำสิ่งนั้น อันเป็นการเรียกร้อง ที่เด็ดขาด โดยการกระทำสิ่งนั้นมีผลทำให้ได้รับผลานิสงค์ตามมา และการละทิ้งการกระทำนั้น มีผลทำให้ถูกลงทัณฑ์ตามมา (อ้างแล้ว 1/22)
ส่วนกรณีว่าผู้เสียชีวิตเป็นชะฮีดหรือไม่? ยังเป็น ที่สงสัยอยู่ หากเป็นชะฮีดแต่อยู่ในประเภท 3.2.3 อันหมายถึง ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้า เพียงอย่างเดียว ก็จำต้องปฏิบัติในการจัดการศพด้วย 4 ประการข้างต้นตามมัซฮับชาฟิอีย์ แต่ถ้าอ้างว่าผู้ก่อความไม่สงบเป็นชะฮีด เนื่องจากการทำสงครามปกป้องศาสนา ซึ่งยังไม่ชัดเจนและยังมีข้อสงสัยอยู่ ก็ให้ถือหลักเดิมคือ เป็นการเสียชีวิตที่มิใช่ชะฮีด ทั้งนี้ให้ถือตามกฎเกณฑ์ ทางนิติศาสตร์อิสลามที่ว่า “หลักการเดิมคือการคงอยู่ของสิ่งที่มันเคยเป็นอยู่” (الأصل بقاءماكان علىماكان) และกฎที่ว่า “หลักการเดิมในเรื่องที่เกิดขึ้นใหม่คือ ไม่มีมาก่อน” (الأصل في الأمورالعارضةالعدم) (ดิรอซ๊าต ฟี อัลอิคติลาฟ อัลฟิกฮียะฮฺ ; หน้า 211) ทั้งนี้เนื่องจากการตายชะฮีดเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ (أمرعارض) มิใช่ภาวะปกติที่เป็นหลักการพื้นฐาน (الأصل) คือ การสิ้นชีวิตโดยทั่วไป
3.4.2 ตามหลักการของศาสนาอิสลาม ได้วางกฎเกณฑ์การจัดการพิธีศพระหว่างผู้ที่ตายตามปกติกับตายชะฮีดอย่างไร?
ความเห็น ประเด็นนี้ได้ให้รายละเอียดไว้แล้วดังข้างต้น
3.4.3 ในกรณีการตายของผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้จะจัดการพิธีศพอย่างไร? จึงจะถูกต้องตามหลักการของศาสนาอิสลาม
ความเห็น ประเด็นได้ให้รายละเอียดไว้แล้วในข้อ 3.4.1
3.4.4 ประเด็นเพิ่มเติม
1) การจะชี้ขาดว่าผู้เสียชีวิตในการก่อความไม่สงบนั้นจะเป็นชะฮีดหรือไม่? มีความเกี่ยวพันกับการชี้ขาดว่าการก่อความไม่สงบดังกล่าวเป็นการญิฮาดตามหลักการหรือไม่?
2) การด่วนสรุปว่าการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นการญิฮาด และการเสียชีวิตของผู้ก่อความไม่สงบที่มีการปะทะกับเจ้าหน้าที่ของรัฐว่าเป็นชะฮีด แล้วมีการจัดการศพเยี่ยงผู้ตายชะฮีดนั้น อาจนำไปสู่ความวุ่นวาย และการสูญเสียอย่างใหญ่หลวง ตลอดจนมีผลทำให้ผู้มีชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศพต้องได้รับโทษในโลกหน้า เนื่องจากการกระทำผิดต่อหลักการของศาสนาในการจัดการศพ กล่าวคือ มีการละทิ้งการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพ ซึ่งถือเป็นสิ่งจำเป็นตามหลักการของศาสนา
3) ในหลักนิติศาสตร์อิสลามมีกฎเกณฑ์อยู่ประการหนึ่งระบุว่า “เมื่อสิ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหาย 2 ประการ ค้านกัน ให้คำนึงถึงสิ่งที่มีความเสียหายใหญ่หลวงที่สุดจาก 2 ประการนั้น ด้วยการกระทำสิ่งที่ความเสียหายนั้นเบากว่า” (اﺬاتعارض مفسدتان روعي أعظمهماضررابارتكاب أخفهما) กฎเกณฑ์นี้สามารถนำมาบังคับใช้ในกรณีนี้ได้หรือไม่? กล่าวคือ การจัดการศพกับผู้ก่อความไม่สงบที่เสียชีวิตนั้นมี ความเป็นไปได้ (احتمال) ว่าอาจจะเป็นชะฮีดหรือไม่ใช่ชะฮีด หากมิใช่ชะฮีดก็ต้องจัดการศพตามปกติ แต่ถ้าเป็นชะฮีดก็ถือว่าการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพเป็นสิ่งต้องห้าม
เมื่อพิจารณาแล้วว่า อาจมีความเป็นไปได้ทั้งสองประการ คือเป็นชะฮีดและไม่เป็นชะฮีด ก็ต้องเลือกกระทำในกรณีที่เกิดความเสียหายน้อยกว่า หรือมีโทษเบากว่า ซึ่งในกรณีเช่นนี้ก็คือการจัดการศพตามปกติ เพราะหากจัดการศพในแบบชะฮีดทั้งๆ ที่มิใช่ชะฮีดก็จะเกิดโทษที่รุนแรงกว่า ทั้งนี้เพราะกรณีของการอาบน้ำและละหมาดให้แก่ศพของผู้ตายชะฮีดนั้นยังเป็นเรื่องที่นักวิชาการในมัซฮับต่างๆ ยังคงมีความเห็นแตกต่างกันว่าอนุญาตหรือเป็นที่ต้องห้าม ดังเช่น ในมัซฮับ ฮะนาฟีย์มีความเห็นว่า ผู้ที่ตายชะฮีดจะถูกห่อศพด้วยเสื้อผ้าของเขา และมีการละหมาดให้ และไม่ต้องมีการอาบน้ำศพ เมื่อผู้ตายชะฮีดนั้นเป็นผู้บรรลุศาสนภาวะเข้าเกณฑ์บังคับทางศาสนา (มุกัลลัฟ) และสะอาดจากการมีหะดัษใหญ่ ส่วนผู้มีญุนูบ, สตรีมีรอบเดือนและสตรีมีเลือดหลัง การคลอดบุตร (นิฟาส) เมื่อเสียชีวิตแบบชะฮีด ให้อาบน้ำตามความเห็นของท่านอิหม่ามอบู ฮะนีฟะฮฺ (ร.ฮ.)
ตลอดจนเด็กและคนบ้าเมื่อตายชะฮีดก็ให้อาบน้ำเช่นกัน ส่วนอิหม่ามมุฮำมัดและอัลกอฎีย์ อบูยูซุฟ สหายของท่านอิหม่ามอบูฮะนีฟะฮฺ ระบุว่า ทั้งสองคนนี้ไม่ต้องมีการอาบน้ำศพให้แต่อย่างใด (อัลฟิกฮุ้ลอิสลามี่ย์ ว่า อะดิ้ลละตุฮู , 2/558) ในส่วนของนักวิชาการสังกัดมัซฮับชาฟีอีย์เองนั้น นักวิชาการบางท่าน เช่น อัลมุ่ซะนีย์ (ร.ฮ.) กล่าวว่า ให้ละหมาดแก่ศพของผู้ที่เสียชีวิตแบบชะฮีด และอิหม่ามอัลฮะร่อมัยนฺ , อัลบะฆ่อวี่ย์และนักวิชาการท่านอื่นได้เล่าประเด็นหนึ่งเอาไว้ว่า อนุญาติให้ละหมาดแก่ศพของผู้ตายชะฮีด แต่ไม่จำเป็น (วาญิบ) และไม่มีการอาบน้ำให้แก่ศพ ท่านอัรรอฟิอีย์ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : การอาบน้ำศพนั้นถ้าหากนำไปสู่การทำให้โลหิตของผู้ตายชะฮีดหมดไปก็ถือเป็นที่ต้องห้ามในการอาบน้ำศพโดยไม่มีข้อขัดแย้ง ถ้าไม่เป็นเช่นนั้น ก็ถือว่าเป็นที่ต้องห้ามตามมัซฮับ และมีบางทัศนะกล่าวว่า : ที่มีความเห็นขัดแย้งกันว่า เป็นที่ต้องห้ามนั้นคือ เรื่องการละหมาดให้แก่ศพ (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/221)
4) กรณีความไม่ชัดเจนว่าผู้ตายเป็นชะฮีดหรือไม่? อาจเทียบได้กับกรณีที่มีผู้ตายปะปนกันระหว่างผู้ที่ต้องละหมาดให้กับผู้ที่ไม่อนุญาตให้ละหมาดให้ เช่น มุสลิมกับคนกาฟิรปนกัน หรือคนที่ไม่ใช่ชะฮีดปะปนกับคนที่ตายชะฮีด มีคำตอบในประเด็นนี้ ในหนังสือ ฟุรูอุ้ลมะซาอิ้ล ของท่าน ชัยคฺ ดาวูด อิบนุ อับดิลลาฮฺ อัลฟะฏอนีย์ (ร.ฮ.) ว่า
ﺩڠن واجب كيت تجهيزاكن سكلينڽ درفدممنديكن دان مكفنكن دان سمبهيڠكن أتس سكلينڽ يأيت أفضل......
مك دجوابڽ“ก็ตอบคำถามนั้นว่า จำเป็นที่เราจะต้องจัดการศพคนทั้งหมดนั้นจากการอาบน้ำ การห่อศพ และการละหมาดให้แก่ศพทั้งหมดนั้น นั่นคือสิ่งที่ดีที่สุด....
(ฟุรูอุ้ลมะซาอิ้ล ; 1/172 , สำนักพิมพ์ มุฮำมัด อันนะฮฺดีย์ ฯ)***********************************************************ตามที่ผมเข้าใจ สรุปว่า คนทำคลิปเค้าเห็นว่าการตายของทั้ง 16 คนนี้ เป็นการตายตามแนวทางชะฮีด คือเป็นแนวทางการตายตามวิถีของพระผู้เป็นเจ้า
ชะฮีต เป็นเรื่องใหญ่นะ
เพราะมีฐานความเชื่อว่าผู้ที่ตายแบบนั้นจะเข้าสวรรค์ทันทีโดยไม่มีการสอบสวน
แต่ละสายจะเชื่อในเรื่องนี้ต่างๆกัน ส่วนผมมองว่าใครจะชะฮีตหรือไม่เป็นธุระของพระเจ้า คนอยู่ทำได้เพียงแต่คาดหมายว่าเขาจะตายในหนทางพระเจ้าเท่านั้น
คนตายก็ตายไป ทำศพให้สมเกียรติเป็นเรื่องของญาติๆและชุมชนจะกระทำให้ ทางการก็ไม่เข้ามาข้องเกี่ยวให้เขาเอาไปเป็นเหตุ
มาถูกทางแล้ว
- voodoo, ใจหมาอำมหิต`, emujack and 5 others like this
#22
Posted 14 February 2013 - 22:36
จริงๆไม่อยากให้มีเรื่องศาสนามาเกี่ยวข้องเลย ไอ่พวก 16 ตัวที่ตายเพราะจะไป จี้ ปล้น ฆ่า คนอื่น มันไม่ได้มีศาสนาอยู่แล้ว
#23
Posted 14 February 2013 - 23:12
ชื่อคลิปคือ Untukmu 16 Syahid Pahlawan Patani
Syahid
ภาคผนวก : 3. การเสียชีวิตแบบชะฮีด (มรณะสักขี)
3.1 นิยามคำว่า “ชะฮีด” และความหมาย
คำว่า “ชะฮีด” มาจากคำกริยาในภาษาอาหรับว่า ชะฮิด้า (شَهِدَ) หมายถึง บอกข่าว ที่แน่นอน หรือมาจากคำกริยาว่า ชะฮุด้า (شَهُدَ) หมายถึง เป็นพยานยืนยัน มีคำนามร่วมกันว่า ชะฮาดะฮฺ (شَهَادَة) ซึ่งมีความหมายว่า ข่าวที่แน่นอน, การสาบาน, การเสียชีวิตในวิถีทางของ พระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) เป็นต้น ในกรณีหลังนี้เรียกผู้ที่เสียชีวิตในวิถีทางของ พระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) ว่า “ชะฮีด” (شَهِيد) มีรูปพหูพจน์ว่า ชุฮะดาอฺ (شُهَدَاء) (อัลมุนญิด ฟิลลุเฆาะฮฺ วัลอะอฺลาม ,หน้า 406;2002)
นักวิชาการได้อธิบายถึงเหตุที่เรียกผู้เสียชีวิตในวิถีทางของพระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุ วะตะอาลา) ว่า “ชะฮีด” เอาไว้หลายหลายดังนี้
1) อัลอัซฺฮะรีย์ กล่าวว่า : (เหตุที่เรียกเช่นนั้น) เพราะพระองค์อัลลอฮฺ (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) และท่านศาสนทูต (ศ้อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม) ได้ยืนยัน (หรือรับรอง) สวนสวรรค์ แก่บุคคลผู้นั้น (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ ชัรฮุ้ลมุ่ฮัซฺซับ , อันนะวาวีย์ 1/330)
2) อันนัฎรฺ อิบนุ ชะมีล กล่าวว่า : ชะฮีด คือ ผู้มีชีวิตดำรงอยู่ เพราะบรรดาชะฮีดยังคงมีชีวิตอยู่ ณ พระผู้อภิบาลของพวกเขา (อ้างแล้วหน้าเดียวกัน)
3) นักวิชาการบางท่านกล่าวว่า เหตุที่เรียกผู้เสียชีวิตในวิถีทางของพระผู้เป็นเจ้า (ซุบบาฮานาฮุวะตะอาลา) ว่า “ชะฮีด” นั้นเป็นเพราะ บรรดาม่าลาอิกะฮฺ (เทวทูต) แห่งความเมตตาได้มาปรากฏ ร่วมเป็นสักขีพยาน และถอดวิญญาณของผู้เป็นชะฮีดนั้น (กิตาบ อัลมัจญฺมูอฺ 1/330 , อัดดุรรุ้ลมุคต๊าร ; 1/848, อัลลุบ๊าบ ; 1/135, มุฆนีย์ อัลมุฮฺต๊าจญฺ ; 1/350) เป็นต้น
นักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดกลุ่ม ชาฟิอียะฮฺ ได้นิยามคำ “ชะฮีด” ว่าหมายถึง “บุคคล ที่เสียชีวิตจากชาวมุสลิมในการญิฮาด (สงครามปกป้องศาสนา) กับเหล่าผู้ปฏิเสธศาสนาอิสลาม (กุฟฟ๊าร) ด้วยเหตุหนึ่งเหตุใดจากบรรดาเหตุแห่งการสู้รบกับเหล่าผู้ปฏิเสธก่อนการสิ้นสุดสงคราม (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ ; 5/220) หรือ หมายถึง “ผู้ที่ถูกสังหารในการศึกสงครามที่เกิดขึ้นเพื่อปกป้องและเชิดชูธงชัยแห่งศาสนาอิสลามให้สูงส่ง” (อัลฟิกฮุ้ลมันฮะญี่ย ; 1/264)
3.2 ประเภทของผู้เสียชีวิตแบบชะฮีด
นักวิชาการได้แบ่งประเภทของผู้เสียชีวิตแบบชะฮีดออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
3.2.1 ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกนี้และโลกหน้า คือ ผู้ตายชะฮีดในสมรภูมิ (เพื่อปกป้องและเชิดชูธงชัยแห่งศาสนาอิสลามให้สูงส่ง) ข้อชี้ขาดของโลกนี้คือ ไม่มีการอาบน้ำศพ และไม่มี การละหมาดให้ตามทัศนะของปวงปราชญ์ (ญุมฮูรุ้ลอุละมาอฺ) และข้อชี้ขาดของโลกหน้านั้น คือ ผู้ตายชะฮีดนั้นจะได้รับผลานิสงค์เป็นกรณีพิเศษ ถือเป็นผู้ตายชะฮีดที่ได้รับภาคผลของการเป็นชะฮีด (ชะฮาดะฮฺ) ที่สมบูรณ์ (อัลฟิกฮุล อิสลามี่ย์ ว่า อะดิ้ลล่าตุฮู ; วะฮฺบะฮฺ อัซซุฮัยลี่ย์, 2/559 , ดารุ้ลฟิกร์ , ดามัสกัส ; 1989)
3.2.2 ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกนี้เท่านั้น ตามความเห็นของนักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดกลุ่มชาฟิอียะฮฺนั้นคือ ผู้ที่ถูกสังหารในสมรภูมิกับกลุ่มชนผู้ปฏิเสธด้วยสาเหตุของสมรภูมินั้น โดยผู้นั้นได้ยักยอกส่วนของทรัพย์สงคราม (ฆ่อนีมะฮฺ) หรือผู้นั้นถูกสังหารในสภาพที่เขาหนีทัพ หรือผู้นั้นได้ทำการศึกอันเป็นไปเพื่อการโอ้อวด (ริยาอฺ) เป็นต้น (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/225)
3.2.3 ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้า (อาคิเราะฮฺ) เท่านั้น หมายถึง ผู้ที่ไม่ได้เสียชีวิต ด้วยเหตุของการทำสงครามกับเหล่าชนผู้ปฏิเสธ (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/224) มีข้อชี้ขาดในการจัดการศพเหมือนกับผู้ที่มิใช่ชะฮีด กล่าวคือ มีการอาบน้ำศพให้ ห่อศพ ละหมาดให้และฝังศพ (อิอานะตุดตอลิบีน ; 2/124) ผู้ตายชะฮีดในประเภทนี้จะได้รับผลานิสงค์ในโลกหน้า และมีกรณีการเสียชีวิตหลายลักษณะ อาทิเช่น สตรีที่เสียชีวิตในการคลอดบุตร, ผู้ที่เสียชีวิตเนื่องจากท้องเดิน (ท้องร่วง) , ผู้ที่เสียชีวิตในคราที่เกิดโรคระบาดใหญ่ (ตออูน) , ผู้ที่จมน้ำตาย , ผู้ที่เสียชีวิตจากเหตุอาคารถล่มทับ , ผู้เสียชีวิตเนื่องจากไฟคลอก , ผู้ทีเสียชีวิตในสภาพทีแสวงหาความรู้ และผู้ที่ ถูกสังหารโดยอธรรม เป็นต้น (อิอานะตุดตอลิบีน ; 2/124, อัลฟิกฮุล อิสลามี่ย์ ; 2/560, กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/224)
3.3 การจัดการศพของผู้เป็นชะฮีด
3.3.1 กรณีของผู้ที่เป็นชะฮีดในประเภท 3.2.3 ซึ่งเป็นชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้าเท่านั้น ให้จัดการศพเหมือนกับผู้เสียชีวิตในกรณีปกติ กล่าวคือ มีการอาบน้ำศพ, ห่อศพ, ละหมาด และฝังศพ (อัลฟิกฮุลอิสลามี่ย ; 2/561 , กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/224)
3.3.2 กรณีของผู้ที่เป็นชะฮีดในประเภท 3.2.1 และ 3.2.2 ซึ่งเป็นชะฮีดเนื่องจาก การทำสงครามเพื่อปกป้องและเชิดชูธงของศาสนา ปวงปราชญ์ (ญุมฮูรุ้ลอุละมาอฺ) ไม่นับรวมกลุ่มฮะนะฟียะฮฺ ซึ่งมีความเห็นแตกต่าง ถือว่า ไม่ต้องมีการอาบน้ำศพ การห่อศพ และการละหมาดให้แก่ศพ แต่ให้ขจัดสิ่งสกปรกที่เกิดขึ้นนอกจากโลหิตของผู้ตายชะฮีดเท่านั้น (อัลฟิกฮุลอิสลามี่ย์ ; 2/558) ในส่วนของมัซฮับชาฟิอีย์นั้น ถือเป็นที่ต้องห้าม (ฮะรอม) ในการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพของผู้ที่ตายชะฮีด (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/221) ส่วนการห่อศพและฝังศพ ผู้ที่ตายชะฮีดนั้นเป็นสิ่งจำเป็น (วาญิบ) (อิอานะตุดตอลิบีน ; 2/123 ,อาชียะฮฺ อัชชัยคฺ อิบรอฮีม อัลบัยญูรีย์ ; 1/466)
3.4 ประเด็นข้อพิจารณาสืบเนื่อง
3.4.1 การเสียชีวิตของผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ถือเป็นการตายชะฮีดหรือไม่?
ความเห็น คำตอบที่ว่าเป็นการตายชะฮีดหรือไม่? ขึ้นอยู่กับกรณีดังต่อไปนี้
1) การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายภาคใต้เข้าข่ายตามหลักเกณฑ์การญิฮาดในรูปแบบสงครามปกป้องศาสนาหรือไม่? หากพิจารณาแล้วได้ข้อชี้ขาดว่าเป็นการญิฮาดตามหลักเกณฑ์ ที่ศาสนากำหนดไว้ ย่อมถือว่า ผู้ก่อความไม่สงบที่เสียชีวิตเป็นชะฮีด และเมื่อมีการจัดการศพ ก็ให้กระทำได้เฉพาะการห่อศพ (กะฝั่น) และฝังศพเท่านั้น ส่วนการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพนั้น ถือเป็นที่ต้องห้าม (ฮะรอม) ตามมัซฮับชาฟิอีย์ดังที่กล่าวมาข้างต้น
ในกรณีที่พิจารณาแล้วได้ข้อชี้ขาดว่าไม่เข้าข่ายการญิฮาดตามหลักเกณฑ์ของศาสนา แต่มีลักษณะเข้าข่ายการถูกสังหารโดยอธรรมหรือเกินกว่าเหตุอันควรหรือเป็นการก่อความไม่สงบ ทั้ง 3 ลักษณะให้ทำการจัดการศพเหมือนปกติ กล่าวคือ อาบน้ำศพ ละหมาด และฝังศพ ตามมัซฮับชาฟิอีย์ (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/229) ทั้งนี้ถึงแม้ว่าผู้ที่ถูกฆ่าตายโดยอธรรมจะถูกเรียกว่า ชะฮีดก็ตาม แต่เป็นชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้าเท่านั้น อย่างไรก็ตาม นักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดกลุ่ม ฮัมบะลีย์ได้ผนวก ผู้ที่ถูกฆ่าตายโดยอธรรมอยู่ในกลุ่มของชะฮีดในสงคราม จึงไม่ต้องมีการอาบน้ำศพแต่อย่างใด (อัลฟิกฮุลอิสลามี่ย์ ; 2/557)
2) การจัดการศพของผู้ก่อความไม่สงบที่เสียชีวิตซึ่งยังไม่ชัดเจนว่าเป็นชะฮีดหรือไม่? หรือเป็นชะฮีดประเภทใด? จำต้องคำนึงถึงกฎเกณฑ์ทางนิติศาสตร์อิสลามในการพิจารณา เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการชี้ขาด โดยเฉพาะในกรณีที่เกิดความสงสัย (شك) ส่วนหนึ่งจากกฎเกณฑ์ ทางนิติศาสตร์อิสลามคือกฏเกณฑ์ที่ว่า (اليقينُ لايزول بالشك) “ความมั่นใจจะไม่หมดไปด้วยการสงสัย”
ความมั่นใจ (ยะกีน) ในกรณีข้างต้น คือ มีการเสียชีวิตของผู้ก่อความไม่สงบเกิดขึ้น ซึ่งตามภาวะปกติ มุสลิมที่ยังมีชีวิตอยู่และรับรู้ถึงการเสียชีวิตดังกล่าว จำต้องปฏิบัติในการ จัดการศพ 4 ประการ คือ การอาบน้ำศพ, การห่อศพ, การละหมาดให้แก่ศพและการฝังศพ ทั้ง 4 ประการนี้ตามหลักการของศาสนาถือเป็นฟัรฎูกิฟายะฮฺ ซึ่งหากมีผู้ดำเนินการหรือกระทำ ไม่ครบถ้วนทั้ง 4 ประการ ย่อมถือว่ามีโทษทั้งกลุ่มชนนั้น (อัลฟิกฮุ้ลมันฮะญี่ย์ ; 1/23) ทั้งนี้ เพราะสิ่งที่เป็นฟัรฎู (فرض) คือสิ่งทีศาสนาเรียกร้องให้กระทำสิ่งนั้น อันเป็นการเรียกร้อง ที่เด็ดขาด โดยการกระทำสิ่งนั้นมีผลทำให้ได้รับผลานิสงค์ตามมา และการละทิ้งการกระทำนั้น มีผลทำให้ถูกลงทัณฑ์ตามมา (อ้างแล้ว 1/22)
ส่วนกรณีว่าผู้เสียชีวิตเป็นชะฮีดหรือไม่? ยังเป็น ที่สงสัยอยู่ หากเป็นชะฮีดแต่อยู่ในประเภท 3.2.3 อันหมายถึง ชะฮีดในข้อชี้ขาดของโลกหน้า เพียงอย่างเดียว ก็จำต้องปฏิบัติในการจัดการศพด้วย 4 ประการข้างต้นตามมัซฮับชาฟิอีย์ แต่ถ้าอ้างว่าผู้ก่อความไม่สงบเป็นชะฮีด เนื่องจากการทำสงครามปกป้องศาสนา ซึ่งยังไม่ชัดเจนและยังมีข้อสงสัยอยู่ ก็ให้ถือหลักเดิมคือ เป็นการเสียชีวิตที่มิใช่ชะฮีด ทั้งนี้ให้ถือตามกฎเกณฑ์ ทางนิติศาสตร์อิสลามที่ว่า “หลักการเดิมคือการคงอยู่ของสิ่งที่มันเคยเป็นอยู่” (الأصل بقاءماكان علىماكان) และกฎที่ว่า “หลักการเดิมในเรื่องที่เกิดขึ้นใหม่คือ ไม่มีมาก่อน” (الأصل في الأمورالعارضةالعدم) (ดิรอซ๊าต ฟี อัลอิคติลาฟ อัลฟิกฮียะฮฺ ; หน้า 211) ทั้งนี้เนื่องจากการตายชะฮีดเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ (أمرعارض) มิใช่ภาวะปกติที่เป็นหลักการพื้นฐาน (الأصل) คือ การสิ้นชีวิตโดยทั่วไป
3.4.2 ตามหลักการของศาสนาอิสลาม ได้วางกฎเกณฑ์การจัดการพิธีศพระหว่างผู้ที่ตายตามปกติกับตายชะฮีดอย่างไร?
ความเห็น ประเด็นนี้ได้ให้รายละเอียดไว้แล้วดังข้างต้น
3.4.3 ในกรณีการตายของผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้จะจัดการพิธีศพอย่างไร? จึงจะถูกต้องตามหลักการของศาสนาอิสลาม
ความเห็น ประเด็นได้ให้รายละเอียดไว้แล้วในข้อ 3.4.1
3.4.4 ประเด็นเพิ่มเติม
1) การจะชี้ขาดว่าผู้เสียชีวิตในการก่อความไม่สงบนั้นจะเป็นชะฮีดหรือไม่? มีความเกี่ยวพันกับการชี้ขาดว่าการก่อความไม่สงบดังกล่าวเป็นการญิฮาดตามหลักการหรือไม่?
2) การด่วนสรุปว่าการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นการญิฮาด และการเสียชีวิตของผู้ก่อความไม่สงบที่มีการปะทะกับเจ้าหน้าที่ของรัฐว่าเป็นชะฮีด แล้วมีการจัดการศพเยี่ยงผู้ตายชะฮีดนั้น อาจนำไปสู่ความวุ่นวาย และการสูญเสียอย่างใหญ่หลวง ตลอดจนมีผลทำให้ผู้มีชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศพต้องได้รับโทษในโลกหน้า เนื่องจากการกระทำผิดต่อหลักการของศาสนาในการจัดการศพ กล่าวคือ มีการละทิ้งการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพ ซึ่งถือเป็นสิ่งจำเป็นตามหลักการของศาสนา
3) ในหลักนิติศาสตร์อิสลามมีกฎเกณฑ์อยู่ประการหนึ่งระบุว่า “เมื่อสิ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหาย 2 ประการ ค้านกัน ให้คำนึงถึงสิ่งที่มีความเสียหายใหญ่หลวงที่สุดจาก 2 ประการนั้น ด้วยการกระทำสิ่งที่ความเสียหายนั้นเบากว่า” (اﺬاتعارض مفسدتان روعي أعظمهماضررابارتكاب أخفهما) กฎเกณฑ์นี้สามารถนำมาบังคับใช้ในกรณีนี้ได้หรือไม่? กล่าวคือ การจัดการศพกับผู้ก่อความไม่สงบที่เสียชีวิตนั้นมี ความเป็นไปได้ (احتمال) ว่าอาจจะเป็นชะฮีดหรือไม่ใช่ชะฮีด หากมิใช่ชะฮีดก็ต้องจัดการศพตามปกติ แต่ถ้าเป็นชะฮีดก็ถือว่าการอาบน้ำศพและการละหมาดให้แก่ศพเป็นสิ่งต้องห้าม
เมื่อพิจารณาแล้วว่า อาจมีความเป็นไปได้ทั้งสองประการ คือเป็นชะฮีดและไม่เป็นชะฮีด ก็ต้องเลือกกระทำในกรณีที่เกิดความเสียหายน้อยกว่า หรือมีโทษเบากว่า ซึ่งในกรณีเช่นนี้ก็คือการจัดการศพตามปกติ เพราะหากจัดการศพในแบบชะฮีดทั้งๆ ที่มิใช่ชะฮีดก็จะเกิดโทษที่รุนแรงกว่า ทั้งนี้เพราะกรณีของการอาบน้ำและละหมาดให้แก่ศพของผู้ตายชะฮีดนั้นยังเป็นเรื่องที่นักวิชาการในมัซฮับต่างๆ ยังคงมีความเห็นแตกต่างกันว่าอนุญาตหรือเป็นที่ต้องห้าม ดังเช่น ในมัซฮับ ฮะนาฟีย์มีความเห็นว่า ผู้ที่ตายชะฮีดจะถูกห่อศพด้วยเสื้อผ้าของเขา และมีการละหมาดให้ และไม่ต้องมีการอาบน้ำศพ เมื่อผู้ตายชะฮีดนั้นเป็นผู้บรรลุศาสนภาวะเข้าเกณฑ์บังคับทางศาสนา (มุกัลลัฟ) และสะอาดจากการมีหะดัษใหญ่ ส่วนผู้มีญุนูบ, สตรีมีรอบเดือนและสตรีมีเลือดหลัง การคลอดบุตร (นิฟาส) เมื่อเสียชีวิตแบบชะฮีด ให้อาบน้ำตามความเห็นของท่านอิหม่ามอบู ฮะนีฟะฮฺ (ร.ฮ.)
ตลอดจนเด็กและคนบ้าเมื่อตายชะฮีดก็ให้อาบน้ำเช่นกัน ส่วนอิหม่ามมุฮำมัดและอัลกอฎีย์ อบูยูซุฟ สหายของท่านอิหม่ามอบูฮะนีฟะฮฺ ระบุว่า ทั้งสองคนนี้ไม่ต้องมีการอาบน้ำศพให้แต่อย่างใด (อัลฟิกฮุ้ลอิสลามี่ย์ ว่า อะดิ้ลละตุฮู , 2/558) ในส่วนของนักวิชาการสังกัดมัซฮับชาฟีอีย์เองนั้น นักวิชาการบางท่าน เช่น อัลมุ่ซะนีย์ (ร.ฮ.) กล่าวว่า ให้ละหมาดแก่ศพของผู้ที่เสียชีวิตแบบชะฮีด และอิหม่ามอัลฮะร่อมัยนฺ , อัลบะฆ่อวี่ย์และนักวิชาการท่านอื่นได้เล่าประเด็นหนึ่งเอาไว้ว่า อนุญาติให้ละหมาดแก่ศพของผู้ตายชะฮีด แต่ไม่จำเป็น (วาญิบ) และไม่มีการอาบน้ำให้แก่ศพ ท่านอัรรอฟิอีย์ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : การอาบน้ำศพนั้นถ้าหากนำไปสู่การทำให้โลหิตของผู้ตายชะฮีดหมดไปก็ถือเป็นที่ต้องห้ามในการอาบน้ำศพโดยไม่มีข้อขัดแย้ง ถ้าไม่เป็นเช่นนั้น ก็ถือว่าเป็นที่ต้องห้ามตามมัซฮับ และมีบางทัศนะกล่าวว่า : ที่มีความเห็นขัดแย้งกันว่า เป็นที่ต้องห้ามนั้นคือ เรื่องการละหมาดให้แก่ศพ (กิตาบ อัลมัจญมูอฺ 5/221)
4) กรณีความไม่ชัดเจนว่าผู้ตายเป็นชะฮีดหรือไม่? อาจเทียบได้กับกรณีที่มีผู้ตายปะปนกันระหว่างผู้ที่ต้องละหมาดให้กับผู้ที่ไม่อนุญาตให้ละหมาดให้ เช่น มุสลิมกับคนกาฟิรปนกัน หรือคนที่ไม่ใช่ชะฮีดปะปนกับคนที่ตายชะฮีด มีคำตอบในประเด็นนี้ ในหนังสือ ฟุรูอุ้ลมะซาอิ้ล ของท่าน ชัยคฺ ดาวูด อิบนุ อับดิลลาฮฺ อัลฟะฏอนีย์ (ร.ฮ.) ว่า
ﺩڠن واجب كيت تجهيزاكن سكلينڽ درفدممنديكن دان مكفنكن دان سمبهيڠكن أتس سكلينڽ يأيت أفضل......
مك دجوابڽ“ก็ตอบคำถามนั้นว่า จำเป็นที่เราจะต้องจัดการศพคนทั้งหมดนั้นจากการอาบน้ำ การห่อศพ และการละหมาดให้แก่ศพทั้งหมดนั้น นั่นคือสิ่งที่ดีที่สุด....
(ฟุรูอุ้ลมะซาอิ้ล ; 1/172 , สำนักพิมพ์ มุฮำมัด อันนะฮฺดีย์ ฯ)***********************************************************ตามที่ผมเข้าใจ สรุปว่า คนทำคลิปเค้าเห็นว่าการตายของทั้ง 16 คนนี้ เป็นการตายตามแนวทางชะฮีด คือเป็นแนวทางการตายตามวิถีของพระผู้เป็นเจ้าชะฮีต เป็นเรื่องใหญ่นะ
เพราะมีฐานความเชื่อว่าผู้ที่ตายแบบนั้นจะเข้าสวรรค์ทันทีโดยไม่มีการสอบสวน
แต่ละสายจะเชื่อในเรื่องนี้ต่างๆกัน ส่วนผมมองว่าใครจะชะฮีตหรือไม่เป็นธุระของพระเจ้า คนอยู่ทำได้เพียงแต่คาดหมายว่าเขาจะตายในหนทางพระเจ้าเท่านั้น
คนตายก็ตายไป ทำศพให้สมเกียรติเป็นเรื่องของญาติๆและชุมชนจะกระทำให้ ทางการก็ไม่เข้ามาข้องเกี่ยวให้เขาเอาไปเป็นเหตุ
มาถูกทางแล้ว
กลัวแต่ว่า ทางผู้ก่อการร้ายจะบิดเบือนความหมายของคำว่า "ชะฮีด" นั้นละครับ
เพื่อเอามาปลุกระดมให้เข้าร่วมขบวนการก่อการร้าย
#24
Posted 14 February 2013 - 23:22
เห็นด้วย ทุกคำ
"คนตายก็ตายไป ทำศพให้สมเกียรติเป็นเรื่องของญาติๆและชุมชนจะกระทำให้ ทางการก็ไม่เข้ามาข้องเกี่ยวให้เขาเอาไปเป็นเหตุ"
#26
Posted 15 February 2013 - 01:23
มองอีกมุมผมว่าอย่างน้อยโจรพวกนั้นก็มีอุดมการณ์จริงๆ ในหัวใจ
ส่วนอีกมุมหนึ่งคนที่เราเรียกว่าตำรวจตัวเป้งๆ แมร่งอย่าไปหวังอุดมการณ์กับมันเลย
ผลประโยชน์ไปทางไหนแมร่งก็วิ่งหางกระดิกไปทางนั้น
#27
Posted 15 February 2013 - 01:48
เห็นด้วยครับ ไม่ควรมีใครตายเพราะความเห็นต่าง คนที่เสียชีวิตเขาเชื่อในอีกแบบหนึ่ง เขาเชื่อว่าการปกครองตนเองของเขาดีกว่าการที่รัฐมาปกครอง จึงทำทุกอย่างเพื่อให้รัฐหมดอำนาจการปกครอง และประชาชนในพื้นที่ยอมจำนน ไม่ว่าจะด้วยความสมัครใจ หรือ ความกลัว
มองอีกมุมผมว่าอย่างน้อยโจรพวกนั้นก็มีอุดมการณ์จริงๆ ในหัวใจ
ส่วนอีกมุมหนึ่งคนที่เราเรียกว่าตำรวจตัวเป้งๆ แมร่งอย่าไปหวังอุดมการณ์กับมันเลย
ผลประโยชน์ไปทางไหนแมร่งก็วิ่งหางกระดิกไปทางนั้น
ผมว่าก็แค่โดนล้างสมอง จากกลุ่มผู้มีผลประโยชน์มากกว่าครับ
สำหรับผม คนพวกนี้ก็แค่ฆาตกร
กฎหมายมันก็แค่สิงที่สร้างมาอย่างมีเป้าหมาย แต่หาก เอาแต่บอกว่ากฎหมายเป็นแบบนี้ แบบนั้น โดยไม่สนใจว่าเป้าหมายจริงๆ นันคืออะไร ก็คงไม่ใช่
#28
Posted 15 February 2013 - 01:49
ขำเม้นท์ในยูทูป
This has been flagged as spam hide • Not Spam
ไม่มีใคร สมควรตาย เพราะความคิดต่าง
อันจริงๆ ถ้าปกติก็เห็นด้วยนะกับแนวความคิดนี้ แต่ที่ไม่ปกติที่มาโพส ในคลิป ที่คนคิดต่าง กำลังจะโจมตีอีกฝ่าย แต่ดันโดนอีกฝ่ายเล่นงานกลับ
- mickie likes this
กฎหมายมันก็แค่สิงที่สร้างมาอย่างมีเป้าหมาย แต่หาก เอาแต่บอกว่ากฎหมายเป็นแบบนี้ แบบนั้น โดยไม่สนใจว่าเป้าหมายจริงๆ นันคืออะไร ก็คงไม่ใช่
#29
Posted 15 February 2013 - 10:03
ผมสงสัยครับ ในคลิป เค้าพูดอะไร กัน ใครรู้่ช่วยบอกหน่อยน่ะครับ ไม่ได้ตั้งใจปลุกระดมอะไรน่ะครับ ผมแค่สงสัยเฉยๆ
ไม่รู้มันแปลว่าไรประโยคที่เขาพูดกัน
แต่เคยดูคลิบสู้รบตะวันออกกลางบ่อยๆโดยเฉพาะสงครามกลางเมืองซีเรียตอนนี้
เวลาพวกกบฏมันฆ่าทหารหรือตำรวจซีเรียได้
มันจะตะโกนคำนี้ตลอดเลย อัลเลาะ ฮอทมัส ไม่รู้เขียนถูกป่าวนะ
น่าจะเป็นคำสรรเสริญพระเจ้าของเขานะ
เพราะเห็นพวกที่สู้รบกันในตะวันออกกลางมันตะโกนคำนี้ประจำ
#30
Posted 15 February 2013 - 10:25
ดุจำนวนคนที่ไปร่วมแล้ว น่าตกใจ คิดว่าพวกเขาน่าจะรู้ว่าลูกหลานของตนเองกำลังทำอะไรอยู่
น่ากลัวจะเกิดเหตุรุนแรงตามมา เหมือนใบปลิวขู่ ที่แจกว่อนในจังหวัดชายแดนไต้
เครดิต Siriwanna Jill
ก็ตาต่อตา ฟันต่อฟันไง
มันฆ่าเราสิบ เราจะฆ่ามันเป็นพัน
เอาเลือดชั่ว ๆมันล้างเท้าให้ทหารที่ตายไป
#31
Posted 15 February 2013 - 12:55
ตอนนี้ มีคนเข้าใจผิดทั้งในยูทูป กับ http://www.manager.c...D=9560000019558ไว้อาลัยธรรมดา
ไปเข้าใจว่าเป็นคลิปผู้ก่อการร้ายปลุกระดมซักอย่างนั้น กลายเป็นว่า ด่าศาสนากันเพลินเลย ผมไปอ่านคอมเม้นหนึ่งในเฟสของดราม่า ก็มีคนมาแสดงความเห็นเป็นแค่บทสวดคล้ายๆสรรเสริญพระเจ้า แล้วก็เป็นการขออภัยโทษที่ตัวเองได้ทำผิดไป ผมว่าคลิปนี้ ใครหลายๆคนดูแล้วก็ไม่เข้าใจ ไปเข้าใจว่าเป็นการปลุกระดม ทั้งๆที่เป็นแค่การจัดงานศพธรรมดา
- Bookmarks, เช never die and Tiger Lily like this
#32
Posted 15 February 2013 - 16:55
สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
#33
Posted 15 February 2013 - 17:32
สำหรับผม ยิ่งวัน ยิ่งสับสน จริง ๆ ครับ
*ชาวบ้านโทษทหาร....
*ทหารบอก พวกก่อการนั่นแหละ ที่ปลอมตัวมา.....
*สิ่งที่เห็นได้จากยูทรูป อยากทราบว่าเค้าปฏิบัติต่อผู้ที่เสียชีวิต เสมือนตาย "ชะฮีด" รึเปล่า....
และตอนนี้ สิ่งที่คิดอยู่สองทาง คือ
1. รุนแรงขึ้น เพราะถ้าชาวบ้านปฏิบัติ ต่อผู้เสียชีวิต เฉกเช่นการตาย "ชะฮีด" นั่นก็คือการบอกให้ทางการรู้ว่า "เราไม่ยอม"
หรือ 2.เงียบสงบ "เฉพาะในเขตพื้นที่นี้" เพราะหัวโดนเด็ด ตามที่ได้ทราบข่าวกัน
สับสน สับสน และ สับสน
#34
Posted 15 February 2013 - 18:42
สำหรับผม ยิ่งวัน ยิ่งสับสน จริง ๆ ครับ
*ชาวบ้านโทษทหาร....
*ทหารบอก พวกก่อการนั่นแหละ ที่ปลอมตัวมา.....
*สิ่งที่เห็นได้จากยูทรูป อยากทราบว่าเค้าปฏิบัติต่อผู้ที่เสียชีวิต เสมือนตาย "ชะฮีด" รึเปล่า....
และตอนนี้ สิ่งที่คิดอยู่สองทาง คือ
1. รุนแรงขึ้น เพราะถ้าชาวบ้านปฏิบัติ ต่อผู้เสียชีวิต เฉกเช่นการตาย "ชะฮีด" นั่นก็คือการบอกให้ทางการรู้ว่า "เราไม่ยอม"
หรือ 2.เงียบสงบ "เฉพาะในเขตพื้นที่นี้" เพราะหัวโดนเด็ด ตามที่ได้ทราบข่าวกัน
สับสน สับสน และ สับสน
ข้อ 1 คือสิ่งที่กังวลว่ามันจะเกิดขึ้นนั้นละครับ
#35
Posted 15 February 2013 - 20:35
กรรมชั่ว...ทำชั่วไม่ว่าศาสนาไหน ก็ตกนรกทั้งนั้น....ชาตินี้ปัญญาน้อยรับรู้และเข้าใจแนวทางชีวิตแบบผิดๆ ....ต่อไปต้องไปรับกรรมมากมาย
#36
Posted 16 February 2013 - 00:00
ต้องจัดการขั้นเด็ดขาด ก่อนไฟจะลามทุ่ง
0 user(s) are reading this topic
0 members, 0 guests, 0 anonymous users