http://en.wikipedia....ntum_ad_populum
ข้างล่าง แปลคร่าวๆ มาจากภาษาอังกฤษ บางที่ขอละไว้ ไว้แปลคราวหน้า
...
ในทฤษฎีของการใช้เหตุผล Argumentum Ad Populum คือ "เหตุผลวิบัติ" ที่สรุปว่าประพจน์ใดๆ เป็นจริง เพราะมีคนจำนวนมากเชื่อว่ามันเป็นจริง พูดอีกอย่างก็คือ การใช้เหตุผลว่า "ถ้ามีคนเชื่ออย่างนั้นเยอะ ก็แปลว่าเป็นอย่างนั้นจริง"
This type of argument is known by several names,[1] including appeal to the masses, appeal to belief, appeal to the majority, appeal to democracy, argument by consensus, consensus fallacy,authority of the many, and bandwagon fallacy, and in Latin as argumentum ad numerum ("appeal to the number"), and consensus gentium ("agreement of the clans"). It is also the basis of a number of social phenomena, including communal reinforcement and the bandwagon effect. The Chinese proverb "three men make a tiger" concerns the same idea.
การใช้เหตุผลวิบัติแบบนี้ บางครั้งก็ถูกใช้เพื่อชักจูงบุคคลให้เชื่อว่า สิ่งที่คนจำนวนมากเชื่ออยู่แล้วจะต้องเป็นจริง เช่น
- ชาวบ้านที่เลือกผมมา 9 ใน 10 คนต่อต้านกฎหมายนี้ ดังนั้นมันเป็นกฎหมายที่ไม่ดี
- วุฒิสมาชิก 9 ใน 10 คนสนับสนุนกฎหมายนี้ ดังนั้นมันเป็นกฎหมายที่ดี
หรือ
- ใครๆ ก็ทำกัน
- ในศาล ลูกขุนใช้เสียงส่วนใหญ่ แปลว่าลูกขุนจะตัดสินถูกเสมอ
- คนจำนวนมากซื้อประกันเสริม แปลว่าการซื้อเป็นเรื่องที่ฉลาด
- มันอยู่ใน wikipedia แสดงว่าเป็นเรื่องจริง
...
ที่เหลือ ไปอ่านภาษาอังกฤษต่อได้นะครับ ระดับด็อกคงไม่เกินความสามารถ
ด็อกจะเข้าไปอ่านใน Wiki หรือจะไป google หาก็ได้ จะได้หลุดพ้นจาก "เหตุผลวิบัติ" ชนิดนี้เสียที
พอดีผมก็มีเพื่อนที่จบสถาบันเดียวกับด็อก ไม่อยากให้ชื่อเสียงสถาบันมัวหมอง
ว่ามีคนจบปริญญาเอกที่นี่ ทำหน้ามึนยืนกระต่ายขาเดียวว่า appeal to the majority เป็นตรรกะที่สมเหตุสมผล