Jump to content


Photo
- - - - -

ผ่านไปสองปี ผมขอ"ข้อดี"ของนโยบายรับจำนำข้าวของรัฐบาลด้วยครับ


  • Please log in to reply
52 ความเห็นในกระทู้นี้

#1 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 18:54

ข้อดี มากกว่า หรือ ข้อเสีย มากกว่ากัน ?



#2 คนงาม ณ บ้านทุ่ง

คนงาม ณ บ้านทุ่ง

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 68 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 18:56

ข้อเสีย

และข้อเสียสำคัญเลยก็คือ

ชาวนาก็ยังไม่สามารถลืมตาอ้าปากได้ซักที

โดนโกง โดนหลอก โดนใช้เป็นเครื่องมือ ตามเคย



#3 pinkpanda

pinkpanda

    คุ้กกี้เกลียดควายแดงค่ะ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,600 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:01

ดี...ไปหมด ได้มั้ยคะ

 

 

แบบตอบไม่ถูก



#4 puggi

puggi

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,869 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:02

เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิต ชาวนา ค่ะ   จบนะคร้าาา    อีปู มันคงตอบแบบนี้ โพยมันมีแค่นี้



#5 Bot V Mask

Bot V Mask

    ตัว V อยู่กลางหน้าผาก

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,185 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:32

15 ล้านเสียงตาสว่างไปเยอะเลยครับ ถือเป็นข้อดีได้ไหม :D


Edited by Bot V Mask, 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:33.


#6 -เจ๊ม้าม-

-เจ๊ม้าม-

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 980 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:33

ข้อดี เป็นการกำจัดคนจนทิ้งค่ะ คนจนจะหมดไปสักที

#7 สุกี้น้อย

สุกี้น้อย

    หล่อสุดในเสรีไทย 55

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,636 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:35

ทำให้การค้าชายแดนไทย-เขมร เรื่องการส่งออกและนำเข้าข้าว..ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด

#8 ผู้พิทักษ์ความดี

ผู้พิทักษ์ความดี

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 516 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:37

ข้อดีคือ รบ. ได้รู้ว่าข้าวเก็บได้ไม่นาน มันจะเน่า หุๆครับ มันหาข้อดีไม่ได้เลยครับต้องให้ควายแดงมากล่าว

#9 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:53

จริงๆ ผมอยากให้ คนที่เห็น..ถึงข้อดี ของนโยบาย ผมเห็นมีหลายคนอยู่ครับ

สรท. เลยอยากขอ"ข้อดี" ที่เค้าคิดว่า มาถกเถียงกันเสียนิดนึง จะได้รับรู้ว่าเขาคิดยังไง?

แต่ข้าว เรื่องข้าว ที่ไม่ใช่"ข้าวสารเสก" เงียบเป่าสาก เลยครับ สงสัยอยู่ว่าจะมี ข้อดี ไหม?


Edited by บัวทอง..., 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:59.


#10 คนบูรพา

คนบูรพา

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,290 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:56

ข้อดี.........คือ..........

 

 

"ได้โกดังเก็บข้าวใหม่..........หลังถูกไฟปริศนา....เผามอดจนเป็นจุล"

 

:D


ถ้าไม่คิดจะตอบแทนแผ่นดิน ก็จงอย่าทำลาย

#11 หมื่นปีขอมีทักษิณคนเดียว

หมื่นปีขอมีทักษิณคนเดียว

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,167 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:59

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมาธิการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฏร โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผอ.วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) มาชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ 
 
ดร.วิโรจน์ ได้ชี้แจงช่วงหนึ่งนโยบายรับจำนำข้าวว่า ไม่เชื่อว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลจะสามารถยกระดับราคาข้าวในตลาดโลกให้สูงขึ้นได้ เพราะราคาข้าวในประเทศอินเดียและเวียดนามมีราคาต่ำกว่า การที่อ้างว่าการเก็บข้าวในสต็อกจะทำให้ข้าวหายไปจากตลาด และจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้นตามมานั้น ยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ แต่จะสูงขึ้นเพียงแค่ชั่วคราวเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้วข้าวที่ค้างสต็อกจากการขาดประสิทธิภาพในการระบายของรัฐบาล รวมถึงข้าวอีกปริมาณมหาศาลที่เตรียมจะเข้าสู่โครงการรับจำนำในปีถัดไปนั้น จะทำให้ปริมาณข้าวทั้งหมดมีปริมาณสูงจนในที่สุดต้องยอมปล่อยออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกตกลงมาในที่สุด 
 
ดร.วิโรจน์ กล่าวอีกว่า ขณะนี้สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ เร่งระบายข้าวที่ค้างในสต็อกอย่างเร็วที่สุดผ่านการประมูลอย่างโปร่งใส เพื่อให้ได้ราคาข้าวตามตลาดโลก ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลขาดทุนราว 1 แสนล้านบาท เนื่องจากต้นทุนรับซื้อข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 800 เหรียญต่อตัน แต่ขายออกไปในราคาตลาดที่ 500 เหรียญต่อตัน แต่เม็ดเงินแสนล้านบาทที่เสียไปนั้นไม่ได้แตกต่างจากโครงการรับประกันราคาข้าวในสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มากนัก เพราะการรับประกันราคาข้าวในปี 52-53 นั้นก็ขาดทุน 5 หมื่นล้านบาท และปี 53-54 ขาดทุน 7.7 หมื่นล้านบาท แต่โครงการของรัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีนั้น มีขนาดโครงการใหญ่กว่า เพราะขีดเส้นรับจำนำไว้ให้ที่ 1.5 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งถือว่าเยอะที่สุดเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ดังนั้นการขาดทุน 1 แสนล้านบาทจึงไม่ใช่เรื่องแปลก
 
ในระยะสั้นอยากให้รัฐบาลเร่งระบายข้าวในสต็อกและลดราคาจำนำลงมาในระดับที่ทชาวนารับได้และรัฐบาลไม่ขาดทุนมากจนเกินไป ซึ่งอาจจะอยู่ที่ 1.3 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งจะทำให้ขายข้าวในตลาดโลกไม่ขาดทุนจนเกินไป ทั้งนี้ หากจะแก้ปัญหานี้ในระยะยาวนั้น ตนขอเสนอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำนำแล้วหันไปใช้การประกันราคาตามปกติโดยยึดราคาข้าวเฉลี่ย 3 ปีเป็นมาตรฐาน และหากปีใดชาวนาได้ราคาข้าวที่ต่ำกว่าราคามาตรฐานดังกล่าวรัฐบาลจึงเข้ามาชดเชยในราคาข้าวส่วนต่างที่ชาวนาไม่ได้รับตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลดีให้รัฐบาลคาดการณ์แนวโน้มจากตลาดโลกโดยรวมแล้วมาปรับปรุงนโยบายภายในประเทศได้ เพราะโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้กำลังเข้าไปกำหนดกลไกตลาดโลก ดังนั้นควรเปลี่ยนให้ตลาดโลกเป็นตัวส่งสัญญาณเข้ามาแล้วรัฐบาลก็มาปรับนโยบาย ส่วนชาวนาก็ต้องปรับพฤติกรรมการปลูกพืชให้ทุกอย่างเป็นไปตามกลไก ไม่ควรเป็นผู้เข้าไปฝืนตลาดเอง
 


#12 ขะยิ่นดง

ขะยิ่นดง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 667 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:00

ชาวนาลืมตาอ้าปากได้แล้วได้ขายข้าวราคาดี...แต่..........ต้องรอเงินอีกนิดเพิ่งผ่านไปเกือบ 6 เดือนเอง เดี๋ยวเงินขายข้าวก็มาแล้ว....... และช่วงนี้ได้กินของแพงแบบอำมาตย์ทุกมื้อ.....สบายดี..... :D :D :D



#13 wat

wat

    เนตังมะมะ เนโสหะมัสมิ นะเมโสอัตตา.

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,542 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:05

<_<  ชาวนาได้ตังซื้อเฟอรารี่รุ่นใหม่มาไถนา คนไทยได้กินข้าวเน่าๆจากเขมร แล้วพอป่วยเป็นมะเร็งก็ใช้โครงการประกันสังคม ท่านก็จะแจกยาครอบจักรวาลคือพาราฯให้แดรกแก้มะเร็ง หรือมีเงินหน่อยก็ไปเลี้ยงลูก, เลี้ยงเมียหมอกับเจ้าของ รพ. ไป... เศรษฐกิจหมุนเวียนยันสัปเหร่อหากหมอกับ รพ. แม่มยังสูบเงินไม่หมดขอรับ...


:) Sometime...Sun shine through the rain...

#14 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:05

 

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมาธิการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฏร โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผอ.วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) มาชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ 
 
ดร.วิโรจน์ ได้ชี้แจงช่วงหนึ่งนโยบายรับจำนำข้าวว่า ไม่เชื่อว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลจะสามารถยกระดับราคาข้าวในตลาดโลกให้สูงขึ้นได้ เพราะราคาข้าวในประเทศอินเดียและเวียดนามมีราคาต่ำกว่า การที่อ้างว่าการเก็บข้าวในสต็อกจะทำให้ข้าวหายไปจากตลาด และจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้นตามมานั้น ยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ แต่จะสูงขึ้นเพียงแค่ชั่วคราวเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้วข้าวที่ค้างสต็อกจากการขาดประสิทธิภาพในการระบายของรัฐบาล รวมถึงข้าวอีกปริมาณมหาศาลที่เตรียมจะเข้าสู่โครงการรับจำนำในปีถัดไปนั้น จะทำให้ปริมาณข้าวทั้งหมดมีปริมาณสูงจนในที่สุดต้องยอมปล่อยออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกตกลงมาในที่สุด 
 
ดร.วิโรจน์ กล่าวอีกว่า ขณะนี้สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ เร่งระบายข้าวที่ค้างในสต็อกอย่างเร็วที่สุดผ่านการประมูลอย่างโปร่งใส เพื่อให้ได้ราคาข้าวตามตลาดโลก ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลขาดทุนราว 1 แสนล้านบาท เนื่องจากต้นทุนรับซื้อข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 800 เหรียญต่อตัน แต่ขายออกไปในราคาตลาดที่ 500 เหรียญต่อตัน แต่เม็ดเงินแสนล้านบาทที่เสียไปนั้นไม่ได้แตกต่างจากโครงการรับประกันราคาข้าวในสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มากนัก เพราะการรับประกันราคาข้าวในปี 52-53 นั้นก็ขาดทุน 5 หมื่นล้านบาท และปี 53-54 ขาดทุน 7.7 หมื่นล้านบาท แต่โครงการของรัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีนั้น มีขนาดโครงการใหญ่กว่า เพราะขีดเส้นรับจำนำไว้ให้ที่ 1.5 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งถือว่าเยอะที่สุดเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ดังนั้นการขาดทุน 1 แสนล้านบาทจึงไม่ใช่เรื่องแปลก
 
ในระยะสั้นอยากให้รัฐบาลเร่งระบายข้าวในสต็อกและลดราคาจำนำลงมาในระดับที่ทชาวนารับได้และรัฐบาลไม่ขาดทุนมากจนเกินไป ซึ่งอาจจะอยู่ที่ 1.3 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งจะทำให้ขายข้าวในตลาดโลกไม่ขาดทุนจนเกินไป ทั้งนี้ หากจะแก้ปัญหานี้ในระยะยาวนั้น ตนขอเสนอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำนำแล้วหันไปใช้การประกันราคาตามปกติโดยยึดราคาข้าวเฉลี่ย 3 ปีเป็นมาตรฐาน และหากปีใดชาวนาได้ราคาข้าวที่ต่ำกว่าราคามาตรฐานดังกล่าวรัฐบาลจึงเข้ามาชดเชยในราคาข้าวส่วนต่างที่ชาวนาไม่ได้รับตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลดีให้รัฐบาลคาดการณ์แนวโน้มจากตลาดโลกโดยรวมแล้วมาปรับปรุงนโยบายภายในประเทศได้ เพราะโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้กำลังเข้าไปกำหนดกลไกตลาดโลก ดังนั้นควรเปลี่ยนให้ตลาดโลกเป็นตัวส่งสัญญาณเข้ามาแล้วรัฐบาลก็มาปรับนโยบาย ส่วนชาวนาก็ต้องปรับพฤติกรรมการปลูกพืชให้ทุกอย่างเป็นไปตามกลไก ไม่ควรเป็นผู้เข้าไปฝืนตลาดเอง
 

 

ผมอ่านแล้ว ..ยังเห็นข้อดีหรือป่าวไม่รู้ ขอความกรุณาชี้ ประเด็นตาม ข่าวที่คุณแปะมาด้วยครับ

วา"ข้อดีคืออะไร...



#15 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:06

 

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมาธิการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฏร โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผอ.วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) มาชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ 
 
ดร.วิโรจน์ ได้ชี้แจงช่วงหนึ่งนโยบายรับจำนำข้าวว่า ไม่เชื่อว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลจะสามารถยกระดับราคาข้าวในตลาดโลกให้สูงขึ้นได้ เพราะราคาข้าวในประเทศอินเดียและเวียดนามมีราคาต่ำกว่า การที่อ้างว่าการเก็บข้าวในสต็อกจะทำให้ข้าวหายไปจากตลาด และจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้นตามมานั้น ยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ แต่จะสูงขึ้นเพียงแค่ชั่วคราวเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้วข้าวที่ค้างสต็อกจากการขาดประสิทธิภาพในการระบายของรัฐบาล รวมถึงข้าวอีกปริมาณมหาศาลที่เตรียมจะเข้าสู่โครงการรับจำนำในปีถัดไปนั้น จะทำให้ปริมาณข้าวทั้งหมดมีปริมาณสูงจนในที่สุดต้องยอมปล่อยออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกตกลงมาในที่สุด 
 
ดร.วิโรจน์ กล่าวอีกว่า ขณะนี้สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ เร่งระบายข้าวที่ค้างในสต็อกอย่างเร็วที่สุดผ่านการประมูลอย่างโปร่งใส เพื่อให้ได้ราคาข้าวตามตลาดโลก ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลขาดทุนราว 1 แสนล้านบาท เนื่องจากต้นทุนรับซื้อข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 800 เหรียญต่อตัน แต่ขายออกไปในราคาตลาดที่ 500 เหรียญต่อตัน แต่เม็ดเงินแสนล้านบาทที่เสียไปนั้นไม่ได้แตกต่างจากโครงการรับประกันราคาข้าวในสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มากนัก เพราะการรับประกันราคาข้าวในปี 52-53 นั้นก็ขาดทุน 5 หมื่นล้านบาท และปี 53-54 ขาดทุน 7.7 หมื่นล้านบาท แต่โครงการของรัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีนั้น มีขนาดโครงการใหญ่กว่า เพราะขีดเส้นรับจำนำไว้ให้ที่ 1.5 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งถือว่าเยอะที่สุดเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ดังนั้นการขาดทุน 1 แสนล้านบาทจึงไม่ใช่เรื่องแปลก
 
ในระยะสั้นอยากให้รัฐบาลเร่งระบายข้าวในสต็อกและลดราคาจำนำลงมาในระดับที่ทชาวนารับได้และรัฐบาลไม่ขาดทุนมากจนเกินไป ซึ่งอาจจะอยู่ที่ 1.3 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งจะทำให้ขายข้าวในตลาดโลกไม่ขาดทุนจนเกินไป ทั้งนี้ หากจะแก้ปัญหานี้ในระยะยาวนั้น ตนขอเสนอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำนำแล้วหันไปใช้การประกันราคาตามปกติโดยยึดราคาข้าวเฉลี่ย 3 ปีเป็นมาตรฐาน และหากปีใดชาวนาได้ราคาข้าวที่ต่ำกว่าราคามาตรฐานดังกล่าวรัฐบาลจึงเข้ามาชดเชยในราคาข้าวส่วนต่างที่ชาวนาไม่ได้รับตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลดีให้รัฐบาลคาดการณ์แนวโน้มจากตลาดโลกโดยรวมแล้วมาปรับปรุงนโยบายภายในประเทศได้ เพราะโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้กำลังเข้าไปกำหนดกลไกตลาดโลก ดังนั้นควรเปลี่ยนให้ตลาดโลกเป็นตัวส่งสัญญาณเข้ามาแล้วรัฐบาลก็มาปรับนโยบาย ส่วนชาวนาก็ต้องปรับพฤติกรรมการปลูกพืชให้ทุกอย่างเป็นไปตามกลไก ไม่ควรเป็นผู้เข้าไปฝืนตลาดเอง
 

 

ก๊อปมาแปะนี่ อ่านมั๊งเปล่า 



#16 หมื่นปีขอมีทักษิณคนเดียว

หมื่นปีขอมีทักษิณคนเดียว

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,167 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:07

 

 

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมาธิการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฏร โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผอ.วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) มาชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ 
 
ดร.วิโรจน์ ได้ชี้แจงช่วงหนึ่งนโยบายรับจำนำข้าวว่า ไม่เชื่อว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลจะสามารถยกระดับราคาข้าวในตลาดโลกให้สูงขึ้นได้ เพราะราคาข้าวในประเทศอินเดียและเวียดนามมีราคาต่ำกว่า การที่อ้างว่าการเก็บข้าวในสต็อกจะทำให้ข้าวหายไปจากตลาด และจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้นตามมานั้น ยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ แต่จะสูงขึ้นเพียงแค่ชั่วคราวเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้วข้าวที่ค้างสต็อกจากการขาดประสิทธิภาพในการระบายของรัฐบาล รวมถึงข้าวอีกปริมาณมหาศาลที่เตรียมจะเข้าสู่โครงการรับจำนำในปีถัดไปนั้น จะทำให้ปริมาณข้าวทั้งหมดมีปริมาณสูงจนในที่สุดต้องยอมปล่อยออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกตกลงมาในที่สุด 
 
ดร.วิโรจน์ กล่าวอีกว่า ขณะนี้สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ เร่งระบายข้าวที่ค้างในสต็อกอย่างเร็วที่สุดผ่านการประมูลอย่างโปร่งใส เพื่อให้ได้ราคาข้าวตามตลาดโลก ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลขาดทุนราว 1 แสนล้านบาท เนื่องจากต้นทุนรับซื้อข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 800 เหรียญต่อตัน แต่ขายออกไปในราคาตลาดที่ 500 เหรียญต่อตัน แต่เม็ดเงินแสนล้านบาทที่เสียไปนั้นไม่ได้แตกต่างจากโครงการรับประกันราคาข้าวในสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มากนัก เพราะการรับประกันราคาข้าวในปี 52-53 นั้นก็ขาดทุน 5 หมื่นล้านบาท และปี 53-54 ขาดทุน 7.7 หมื่นล้านบาท แต่โครงการของรัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีนั้น มีขนาดโครงการใหญ่กว่า เพราะขีดเส้นรับจำนำไว้ให้ที่ 1.5 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งถือว่าเยอะที่สุดเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ดังนั้นการขาดทุน 1 แสนล้านบาทจึงไม่ใช่เรื่องแปลก
 
ในระยะสั้นอยากให้รัฐบาลเร่งระบายข้าวในสต็อกและลดราคาจำนำลงมาในระดับที่ทชาวนารับได้และรัฐบาลไม่ขาดทุนมากจนเกินไป ซึ่งอาจจะอยู่ที่ 1.3 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งจะทำให้ขายข้าวในตลาดโลกไม่ขาดทุนจนเกินไป ทั้งนี้ หากจะแก้ปัญหานี้ในระยะยาวนั้น ตนขอเสนอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำนำแล้วหันไปใช้การประกันราคาตามปกติโดยยึดราคาข้าวเฉลี่ย 3 ปีเป็นมาตรฐาน และหากปีใดชาวนาได้ราคาข้าวที่ต่ำกว่าราคามาตรฐานดังกล่าวรัฐบาลจึงเข้ามาชดเชยในราคาข้าวส่วนต่างที่ชาวนาไม่ได้รับตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลดีให้รัฐบาลคาดการณ์แนวโน้มจากตลาดโลกโดยรวมแล้วมาปรับปรุงนโยบายภายในประเทศได้ เพราะโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้กำลังเข้าไปกำหนดกลไกตลาดโลก ดังนั้นควรเปลี่ยนให้ตลาดโลกเป็นตัวส่งสัญญาณเข้ามาแล้วรัฐบาลก็มาปรับนโยบาย ส่วนชาวนาก็ต้องปรับพฤติกรรมการปลูกพืชให้ทุกอย่างเป็นไปตามกลไก ไม่ควรเป็นผู้เข้าไปฝืนตลาดเอง
 

 

ผมอ่านแล้ว ..ยังเห็นข้อดีหรือป่าวไม่รู้ ขอความกรุณาชี้ ประเด็นตาม ข่าวที่คุณแปะมาด้วยครับ

วา"ข้อดีคืออะไร...

 

ลองเข้าไปอ่านเพิ่มเติม

 

http://pantip.com/topic/30522652



#17 หมื่นปีขอมีทักษิณคนเดียว

หมื่นปีขอมีทักษิณคนเดียว

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,167 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:08

 

 

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมาธิการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฏร โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผอ.วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) มาชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ 
 
ดร.วิโรจน์ ได้ชี้แจงช่วงหนึ่งนโยบายรับจำนำข้าวว่า ไม่เชื่อว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลจะสามารถยกระดับราคาข้าวในตลาดโลกให้สูงขึ้นได้ เพราะราคาข้าวในประเทศอินเดียและเวียดนามมีราคาต่ำกว่า การที่อ้างว่าการเก็บข้าวในสต็อกจะทำให้ข้าวหายไปจากตลาด และจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้นตามมานั้น ยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ แต่จะสูงขึ้นเพียงแค่ชั่วคราวเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้วข้าวที่ค้างสต็อกจากการขาดประสิทธิภาพในการระบายของรัฐบาล รวมถึงข้าวอีกปริมาณมหาศาลที่เตรียมจะเข้าสู่โครงการรับจำนำในปีถัดไปนั้น จะทำให้ปริมาณข้าวทั้งหมดมีปริมาณสูงจนในที่สุดต้องยอมปล่อยออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกตกลงมาในที่สุด 
 
ดร.วิโรจน์ กล่าวอีกว่า ขณะนี้สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ เร่งระบายข้าวที่ค้างในสต็อกอย่างเร็วที่สุดผ่านการประมูลอย่างโปร่งใส เพื่อให้ได้ราคาข้าวตามตลาดโลก ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลขาดทุนราว 1 แสนล้านบาท เนื่องจากต้นทุนรับซื้อข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 800 เหรียญต่อตัน แต่ขายออกไปในราคาตลาดที่ 500 เหรียญต่อตัน แต่เม็ดเงินแสนล้านบาทที่เสียไปนั้นไม่ได้แตกต่างจากโครงการรับประกันราคาข้าวในสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มากนัก เพราะการรับประกันราคาข้าวในปี 52-53 นั้นก็ขาดทุน 5 หมื่นล้านบาท และปี 53-54 ขาดทุน 7.7 หมื่นล้านบาท แต่โครงการของรัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีนั้น มีขนาดโครงการใหญ่กว่า เพราะขีดเส้นรับจำนำไว้ให้ที่ 1.5 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งถือว่าเยอะที่สุดเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ดังนั้นการขาดทุน 1 แสนล้านบาทจึงไม่ใช่เรื่องแปลก
 
ในระยะสั้นอยากให้รัฐบาลเร่งระบายข้าวในสต็อกและลดราคาจำนำลงมาในระดับที่ทชาวนารับได้และรัฐบาลไม่ขาดทุนมากจนเกินไป ซึ่งอาจจะอยู่ที่ 1.3 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งจะทำให้ขายข้าวในตลาดโลกไม่ขาดทุนจนเกินไป ทั้งนี้ หากจะแก้ปัญหานี้ในระยะยาวนั้น ตนขอเสนอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำนำแล้วหันไปใช้การประกันราคาตามปกติโดยยึดราคาข้าวเฉลี่ย 3 ปีเป็นมาตรฐาน และหากปีใดชาวนาได้ราคาข้าวที่ต่ำกว่าราคามาตรฐานดังกล่าวรัฐบาลจึงเข้ามาชดเชยในราคาข้าวส่วนต่างที่ชาวนาไม่ได้รับตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลดีให้รัฐบาลคาดการณ์แนวโน้มจากตลาดโลกโดยรวมแล้วมาปรับปรุงนโยบายภายในประเทศได้ เพราะโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้กำลังเข้าไปกำหนดกลไกตลาดโลก ดังนั้นควรเปลี่ยนให้ตลาดโลกเป็นตัวส่งสัญญาณเข้ามาแล้วรัฐบาลก็มาปรับนโยบาย ส่วนชาวนาก็ต้องปรับพฤติกรรมการปลูกพืชให้ทุกอย่างเป็นไปตามกลไก ไม่ควรเป็นผู้เข้าไปฝืนตลาดเอง
 

 

ก๊อปมาแปะนี่ อ่านมั๊งเปล่า 

 

อ่านแล้วสรุปให้คงเอาไว้เรื่องจำนำ

 

อยากอ่านแบบสรุปๆง่ายๆ ก็

 

http://pantip.com/topic/30522652



#18 โคนัน

โคนัน

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,836 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:11

ชาวนาร่ำรวยคับ สังเกตุได้ว่า รถหรูต่างๆที่แห่ไปจดทะเบียนนั้น ก็คือ รถของชาวนา นั้นเอง  :lol:  :lol:



#19 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:15

 

 

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมาธิการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฏร โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผอ.วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) มาชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ 
 
ดร.วิโรจน์ ได้ชี้แจงช่วงหนึ่งนโยบายรับจำนำข้าวว่า ไม่เชื่อว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลจะสามารถยกระดับราคาข้าวในตลาดโลกให้สูงขึ้นได้ เพราะราคาข้าวในประเทศอินเดียและเวียดนามมีราคาต่ำกว่า การที่อ้างว่าการเก็บข้าวในสต็อกจะทำให้ข้าวหายไปจากตลาด และจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้นตามมานั้น ยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ แต่จะสูงขึ้นเพียงแค่ชั่วคราวเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้วข้าวที่ค้างสต็อกจากการขาดประสิทธิภาพในการระบายของรัฐบาล รวมถึงข้าวอีกปริมาณมหาศาลที่เตรียมจะเข้าสู่โครงการรับจำนำในปีถัดไปนั้น จะทำให้ปริมาณข้าวทั้งหมดมีปริมาณสูงจนในที่สุดต้องยอมปล่อยออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกตกลงมาในที่สุด 
 
ดร.วิโรจน์ กล่าวอีกว่า ขณะนี้สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ เร่งระบายข้าวที่ค้างในสต็อกอย่างเร็วที่สุดผ่านการประมูลอย่างโปร่งใส เพื่อให้ได้ราคาข้าวตามตลาดโลก ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลขาดทุนราว 1 แสนล้านบาท เนื่องจากต้นทุนรับซื้อข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 800 เหรียญต่อตัน แต่ขายออกไปในราคาตลาดที่ 500 เหรียญต่อตัน แต่เม็ดเงินแสนล้านบาทที่เสียไปนั้นไม่ได้แตกต่างจากโครงการรับประกันราคาข้าวในสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มากนัก เพราะการรับประกันราคาข้าวในปี 52-53 นั้นก็ขาดทุน 5 หมื่นล้านบาท และปี 53-54 ขาดทุน 7.7 หมื่นล้านบาท แต่โครงการของรัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีนั้น มีขนาดโครงการใหญ่กว่า เพราะขีดเส้นรับจำนำไว้ให้ที่ 1.5 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งถือว่าเยอะที่สุดเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ดังนั้นการขาดทุน 1 แสนล้านบาทจึงไม่ใช่เรื่องแปลก
 
ในระยะสั้นอยากให้รัฐบาลเร่งระบายข้าวในสต็อกและลดราคาจำนำลงมาในระดับที่ทชาวนารับได้และรัฐบาลไม่ขาดทุนมากจนเกินไป ซึ่งอาจจะอยู่ที่ 1.3 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งจะทำให้ขายข้าวในตลาดโลกไม่ขาดทุนจนเกินไป ทั้งนี้ หากจะแก้ปัญหานี้ในระยะยาวนั้น ตนขอเสนอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำนำแล้วหันไปใช้การประกันราคาตามปกติโดยยึดราคาข้าวเฉลี่ย 3 ปีเป็นมาตรฐาน และหากปีใดชาวนาได้ราคาข้าวที่ต่ำกว่าราคามาตรฐานดังกล่าวรัฐบาลจึงเข้ามาชดเชยในราคาข้าวส่วนต่างที่ชาวนาไม่ได้รับตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลดีให้รัฐบาลคาดการณ์แนวโน้มจากตลาดโลกโดยรวมแล้วมาปรับปรุงนโยบายภายในประเทศได้ เพราะโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้กำลังเข้าไปกำหนดกลไกตลาดโลก ดังนั้นควรเปลี่ยนให้ตลาดโลกเป็นตัวส่งสัญญาณเข้ามาแล้วรัฐบาลก็มาปรับนโยบาย ส่วนชาวนาก็ต้องปรับพฤติกรรมการปลูกพืชให้ทุกอย่างเป็นไปตามกลไก ไม่ควรเป็นผู้เข้าไปฝืนตลาดเอง
 

 

ผมอ่านแล้ว ..ยังเห็นข้อดีหรือป่าวไม่รู้ ขอความกรุณาชี้ ประเด็นตาม ข่าวที่คุณแปะมาด้วยครับ

วา"ข้อดีคืออะไร...

 

สิ่งที่นำมาให้ผมอ่าน...ผมสรุปไม่ได้ อาจไม่ตรงใจคุณ ไงช่วยผมหน่อยนะครับ ได้โปรด?

จะได้เห็นถกเถียง ตรงกัน



#20 Wuddy

Wuddy

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 581 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:26

ทำให้พวกฝรั่งได้กินข้าวเน่าๆ แพงๆ



#21 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:26

 

 

 

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมาธิการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฏร โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผอ.วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) มาชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ 
 
ดร.วิโรจน์ ได้ชี้แจงช่วงหนึ่งนโยบายรับจำนำข้าวว่า ไม่เชื่อว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลจะสามารถยกระดับราคาข้าวในตลาดโลกให้สูงขึ้นได้ เพราะราคาข้าวในประเทศอินเดียและเวียดนามมีราคาต่ำกว่า การที่อ้างว่าการเก็บข้าวในสต็อกจะทำให้ข้าวหายไปจากตลาด และจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้นตามมานั้น ยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ แต่จะสูงขึ้นเพียงแค่ชั่วคราวเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้วข้าวที่ค้างสต็อกจากการขาดประสิทธิภาพในการระบายของรัฐบาล รวมถึงข้าวอีกปริมาณมหาศาลที่เตรียมจะเข้าสู่โครงการรับจำนำในปีถัดไปนั้น จะทำให้ปริมาณข้าวทั้งหมดมีปริมาณสูงจนในที่สุดต้องยอมปล่อยออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกตกลงมาในที่สุด 
 
ดร.วิโรจน์ กล่าวอีกว่า ขณะนี้สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ เร่งระบายข้าวที่ค้างในสต็อกอย่างเร็วที่สุดผ่านการประมูลอย่างโปร่งใส เพื่อให้ได้ราคาข้าวตามตลาดโลก ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลขาดทุนราว 1 แสนล้านบาท เนื่องจากต้นทุนรับซื้อข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 800 เหรียญต่อตัน แต่ขายออกไปในราคาตลาดที่ 500 เหรียญต่อตัน แต่เม็ดเงินแสนล้านบาทที่เสียไปนั้นไม่ได้แตกต่างจากโครงการรับประกันราคาข้าวในสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มากนัก เพราะการรับประกันราคาข้าวในปี 52-53 นั้นก็ขาดทุน 5 หมื่นล้านบาท และปี 53-54 ขาดทุน 7.7 หมื่นล้านบาท แต่โครงการของรัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีนั้น มีขนาดโครงการใหญ่กว่า เพราะขีดเส้นรับจำนำไว้ให้ที่ 1.5 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งถือว่าเยอะที่สุดเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ดังนั้นการขาดทุน 1 แสนล้านบาทจึงไม่ใช่เรื่องแปลก
 
ในระยะสั้นอยากให้รัฐบาลเร่งระบายข้าวในสต็อกและลดราคาจำนำลงมาในระดับที่ทชาวนารับได้และรัฐบาลไม่ขาดทุนมากจนเกินไป ซึ่งอาจจะอยู่ที่ 1.3 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งจะทำให้ขายข้าวในตลาดโลกไม่ขาดทุนจนเกินไป ทั้งนี้ หากจะแก้ปัญหานี้ในระยะยาวนั้น ตนขอเสนอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำนำแล้วหันไปใช้การประกันราคาตามปกติโดยยึดราคาข้าวเฉลี่ย 3 ปีเป็นมาตรฐาน และหากปีใดชาวนาได้ราคาข้าวที่ต่ำกว่าราคามาตรฐานดังกล่าวรัฐบาลจึงเข้ามาชดเชยในราคาข้าวส่วนต่างที่ชาวนาไม่ได้รับตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลดีให้รัฐบาลคาดการณ์แนวโน้มจากตลาดโลกโดยรวมแล้วมาปรับปรุงนโยบายภายในประเทศได้ เพราะโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้กำลังเข้าไปกำหนดกลไกตลาดโลก ดังนั้นควรเปลี่ยนให้ตลาดโลกเป็นตัวส่งสัญญาณเข้ามาแล้วรัฐบาลก็มาปรับนโยบาย ส่วนชาวนาก็ต้องปรับพฤติกรรมการปลูกพืชให้ทุกอย่างเป็นไปตามกลไก ไม่ควรเป็นผู้เข้าไปฝืนตลาดเอง
 

 

ก๊อปมาแปะนี่ อ่านมั๊งเปล่า 

 

อ่านแล้วสรุปให้คงเอาไว้เรื่องจำนำ

 

อยากอ่านแบบสรุปๆง่ายๆ ก็

 

http://pantip.com/topic/30522652

 

ถ้าอ่านถึงข้อเปรียบเทียบกับ รัฐบาลที่แล้ว มีข้อดีข้อเสียอย่างไร พันทิป บอกไว้ คุณเชื่อหรือ?

ประเด็นมันอยู่ที่ว่า คุณคิดว่า"ข้อดี"ของ นโยบายรับจำนำข้าว คือ? ที่ผมถาม ไม่ได้ย้อนอดีต

แต่มีบ้าง ก็เป็นข้อเปรียบเทียบที่ รับฟัง คิดตามได้ครับ



#22 puggi

puggi

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,869 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:31

 

 

 

 

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมาธิการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฏร โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผอ.วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) มาชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ 
 
ดร.วิโรจน์ ได้ชี้แจงช่วงหนึ่งนโยบายรับจำนำข้าวว่า ไม่เชื่อว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลจะสามารถยกระดับราคาข้าวในตลาดโลกให้สูงขึ้นได้ เพราะราคาข้าวในประเทศอินเดียและเวียดนามมีราคาต่ำกว่า การที่อ้างว่าการเก็บข้าวในสต็อกจะทำให้ข้าวหายไปจากตลาด และจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้นตามมานั้น ยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ แต่จะสูงขึ้นเพียงแค่ชั่วคราวเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้วข้าวที่ค้างสต็อกจากการขาดประสิทธิภาพในการระบายของรัฐบาล รวมถึงข้าวอีกปริมาณมหาศาลที่เตรียมจะเข้าสู่โครงการรับจำนำในปีถัดไปนั้น จะทำให้ปริมาณข้าวทั้งหมดมีปริมาณสูงจนในที่สุดต้องยอมปล่อยออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกตกลงมาในที่สุด 
 
ดร.วิโรจน์ กล่าวอีกว่า ขณะนี้สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ เร่งระบายข้าวที่ค้างในสต็อกอย่างเร็วที่สุดผ่านการประมูลอย่างโปร่งใส เพื่อให้ได้ราคาข้าวตามตลาดโลก ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลขาดทุนราว 1 แสนล้านบาท เนื่องจากต้นทุนรับซื้อข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 800 เหรียญต่อตัน แต่ขายออกไปในราคาตลาดที่ 500 เหรียญต่อตัน แต่เม็ดเงินแสนล้านบาทที่เสียไปนั้นไม่ได้แตกต่างจากโครงการรับประกันราคาข้าวในสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มากนัก เพราะการรับประกันราคาข้าวในปี 52-53 นั้นก็ขาดทุน 5 หมื่นล้านบาท และปี 53-54 ขาดทุน 7.7 หมื่นล้านบาท แต่โครงการของรัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีนั้น มีขนาดโครงการใหญ่กว่า เพราะขีดเส้นรับจำนำไว้ให้ที่ 1.5 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งถือว่าเยอะที่สุดเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ดังนั้นการขาดทุน 1 แสนล้านบาทจึงไม่ใช่เรื่องแปลก
 
ในระยะสั้นอยากให้รัฐบาลเร่งระบายข้าวในสต็อกและลดราคาจำนำลงมาในระดับที่ทชาวนารับได้และรัฐบาลไม่ขาดทุนมากจนเกินไป ซึ่งอาจจะอยู่ที่ 1.3 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งจะทำให้ขายข้าวในตลาดโลกไม่ขาดทุนจนเกินไป ทั้งนี้ หากจะแก้ปัญหานี้ในระยะยาวนั้น ตนขอเสนอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำนำแล้วหันไปใช้การประกันราคาตามปกติโดยยึดราคาข้าวเฉลี่ย 3 ปีเป็นมาตรฐาน และหากปีใดชาวนาได้ราคาข้าวที่ต่ำกว่าราคามาตรฐานดังกล่าวรัฐบาลจึงเข้ามาชดเชยในราคาข้าวส่วนต่างที่ชาวนาไม่ได้รับตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลดีให้รัฐบาลคาดการณ์แนวโน้มจากตลาดโลกโดยรวมแล้วมาปรับปรุงนโยบายภายในประเทศได้ เพราะโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้กำลังเข้าไปกำหนดกลไกตลาดโลก ดังนั้นควรเปลี่ยนให้ตลาดโลกเป็นตัวส่งสัญญาณเข้ามาแล้วรัฐบาลก็มาปรับนโยบาย ส่วนชาวนาก็ต้องปรับพฤติกรรมการปลูกพืชให้ทุกอย่างเป็นไปตามกลไก ไม่ควรเป็นผู้เข้าไปฝืนตลาดเอง
 

 

ก๊อปมาแปะนี่ อ่านมั๊งเปล่า 

 

อ่านแล้วสรุปให้คงเอาไว้เรื่องจำนำ

 

อยากอ่านแบบสรุปๆง่ายๆ ก็

 

http://pantip.com/topic/30522652

 

ถ้าอ่านถึงข้อเปรียบเทียบกับ รัฐบาลที่แล้ว มีข้อดีข้อเสียอย่างไร พันทิป บอกไว้ คุณเชื่อหรือ?

ประเด็นมันอยู่ที่ว่า คุณคิดว่า"ข้อดี"ของ นโยบายรับจำนำข้าว คือ? ที่ผมถาม ไม่ได้ย้อนอดีต

แต่มีบ้าง ก็เป็นข้อเปรียบเทียบที่ รับฟัง คิดตามได้ครับ

 

เอาตัวแดง ใหญ่ๆ ไอ้นี่สงสัียอ่านมา แค่ สามบรรทัด จาก สิบกว่าบรรทัด

 

อ้อ อีกอย่าง จำนำข้าว นี่ เค้ายังไม่สรุปงบว่า ขาดทุนเท่าไหร่นะ  ในปีแรก  ดังนั้น รวมสองปี  เกินแสนล้าน และ เจ๊งมากกว่าประกัน ราคาแน่นอน

 

จะมาเห่าว่า อย่างน้อยรัฐยังมีข้าวในมือ  อยากถามว่า  *คุณ* จะ แดรก ข้าวเน่า ในมือรัฐมั้ย



#23 HiddenMan

HiddenMan

    Long Live The King

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,023 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:32

 

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมาธิการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฏร โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผอ.วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) มาชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ 
 
ดร.วิโรจน์ ได้ชี้แจงช่วงหนึ่งนโยบายรับจำนำข้าวว่า ไม่เชื่อว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลจะสามารถยกระดับราคาข้าวในตลาดโลกให้สูงขึ้นได้ เพราะราคาข้าวในประเทศอินเดียและเวียดนามมีราคาต่ำกว่า การที่อ้างว่าการเก็บข้าวในสต็อกจะทำให้ข้าวหายไปจากตลาด และจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้นตามมานั้น ยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ แต่จะสูงขึ้นเพียงแค่ชั่วคราวเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้วข้าวที่ค้างสต็อกจากการขาดประสิทธิภาพในการระบายของรัฐบาล รวมถึงข้าวอีกปริมาณมหาศาลที่เตรียมจะเข้าสู่โครงการรับจำนำในปีถัดไปนั้น จะทำให้ปริมาณข้าวทั้งหมดมีปริมาณสูงจนในที่สุดต้องยอมปล่อยออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกตกลงมาในที่สุด 
 
ดร.วิโรจน์ กล่าวอีกว่า ขณะนี้สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ เร่งระบายข้าวที่ค้างในสต็อกอย่างเร็วที่สุดผ่านการประมูลอย่างโปร่งใส เพื่อให้ได้ราคาข้าวตามตลาดโลก ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลขาดทุนราว 1 แสนล้านบาท เนื่องจากต้นทุนรับซื้อข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 800 เหรียญต่อตัน แต่ขายออกไปในราคาตลาดที่ 500 เหรียญต่อตัน แต่เม็ดเงินแสนล้านบาทที่เสียไปนั้นไม่ได้แตกต่างจากโครงการรับประกันราคาข้าวในสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มากนัก เพราะการรับประกันราคาข้าวในปี 52-53 นั้นก็ขาดทุน 5 หมื่นล้านบาท และปี 53-54 ขาดทุน 7.7 หมื่นล้านบาท แต่โครงการของรัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีนั้น มีขนาดโครงการใหญ่กว่า เพราะขีดเส้นรับจำนำไว้ให้ที่ 1.5 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งถือว่าเยอะที่สุดเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ดังนั้นการขาดทุน 1 แสนล้านบาทจึงไม่ใช่เรื่องแปลก
 
ในระยะสั้นอยากให้รัฐบาลเร่งระบายข้าวในสต็อกและลดราคาจำนำลงมาในระดับที่ทชาวนารับได้และรัฐบาลไม่ขาดทุนมากจนเกินไป ซึ่งอาจจะอยู่ที่ 1.3 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งจะทำให้ขายข้าวในตลาดโลกไม่ขาดทุนจนเกินไป ทั้งนี้ หากจะแก้ปัญหานี้ในระยะยาวนั้น ตนขอเสนอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำนำแล้วหันไปใช้การประกันราคาตามปกติโดยยึดราคาข้าวเฉลี่ย 3 ปีเป็นมาตรฐาน และหากปีใดชาวนาได้ราคาข้าวที่ต่ำกว่าราคามาตรฐานดังกล่าวรัฐบาลจึงเข้ามาชดเชยในราคาข้าวส่วนต่างที่ชาวนาไม่ได้รับตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลดีให้รัฐบาลคาดการณ์แนวโน้มจากตลาดโลกโดยรวมแล้วมาปรับปรุงนโยบายภายในประเทศได้ เพราะโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้กำลังเข้าไปกำหนดกลไกตลาดโลก ดังนั้นควรเปลี่ยนให้ตลาดโลกเป็นตัวส่งสัญญาณเข้ามาแล้วรัฐบาลก็มาปรับนโยบาย ส่วนชาวนาก็ต้องปรับพฤติกรรมการปลูกพืชให้ทุกอย่างเป็นไปตามกลไก ไม่ควรเป็นผู้เข้าไปฝืนตลาดเอง
 

 

 

ตรงไหนข้อดีหว่า...  :D

 

ส่วนเรื่องขาดทุน.... ประกันราคาข้าวขาดทุนมากกว่างบประมาณโครงการอีกหรอ อยากรู้

 

185037_357459544347652_1027804421_n.jpg

 

 

 

แต่ที่แน่ๆ...

 

%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%


“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.”  - Mahatma Gandhi

 

สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด

https://www.facebook...denman.serithai


#24 Suraphan07

Suraphan07

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,016 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:33

ดูการ์ตูนเก่าๆ ไปพลางๆก่อนแล๊ะกัน...

สักวันเมื่อบ้านเมืองเป็น ปชต.หรือได้ ปชต.กลับคืนมาแล้ว

ทั่น รมต.หรือนายกปูแดง คงออกมาสาธยายให้ฟังเอง...

 

จำนำข้าวได้ราคา.

 

 อันดับ 1 ซื้อข้าวเก็บ

 

ประโยชน์แก่ผู้รับเหมา

 

ใกล้ชนิดเพื่อนบ้าน


Edited by Suraphan07, 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:33.


#25 ant

ant

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,081 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:33

 

 

 

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมาธิการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฏร โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผอ.วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) มาชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ 
 
ดร.วิโรจน์ ได้ชี้แจงช่วงหนึ่งนโยบายรับจำนำข้าวว่า ไม่เชื่อว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลจะสามารถยกระดับราคาข้าวในตลาดโลกให้สูงขึ้นได้ เพราะราคาข้าวในประเทศอินเดียและเวียดนามมีราคาต่ำกว่า การที่อ้างว่าการเก็บข้าวในสต็อกจะทำให้ข้าวหายไปจากตลาด และจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้นตามมานั้น ยอมรับว่ามีความเป็นไปได้ แต่จะสูงขึ้นเพียงแค่ชั่วคราวเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้วข้าวที่ค้างสต็อกจากการขาดประสิทธิภาพในการระบายของรัฐบาล รวมถึงข้าวอีกปริมาณมหาศาลที่เตรียมจะเข้าสู่โครงการรับจำนำในปีถัดไปนั้น จะทำให้ปริมาณข้าวทั้งหมดมีปริมาณสูงจนในที่สุดต้องยอมปล่อยออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกตกลงมาในที่สุด 
 
ดร.วิโรจน์ กล่าวอีกว่า ขณะนี้สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ เร่งระบายข้าวที่ค้างในสต็อกอย่างเร็วที่สุดผ่านการประมูลอย่างโปร่งใส เพื่อให้ได้ราคาข้าวตามตลาดโลก ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลขาดทุนราว 1 แสนล้านบาท เนื่องจากต้นทุนรับซื้อข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 800 เหรียญต่อตัน แต่ขายออกไปในราคาตลาดที่ 500 เหรียญต่อตัน แต่เม็ดเงินแสนล้านบาทที่เสียไปนั้นไม่ได้แตกต่างจากโครงการรับประกันราคาข้าวในสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มากนัก เพราะการรับประกันราคาข้าวในปี 52-53 นั้นก็ขาดทุน 5 หมื่นล้านบาท และปี 53-54 ขาดทุน 7.7 หมื่นล้านบาท แต่โครงการของรัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีนั้น มีขนาดโครงการใหญ่กว่า เพราะขีดเส้นรับจำนำไว้ให้ที่ 1.5 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งถือว่าเยอะที่สุดเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ดังนั้นการขาดทุน 1 แสนล้านบาทจึงไม่ใช่เรื่องแปลก
 
ในระยะสั้นอยากให้รัฐบาลเร่งระบายข้าวในสต็อกและลดราคาจำนำลงมาในระดับที่ทชาวนารับได้และรัฐบาลไม่ขาดทุนมากจนเกินไป ซึ่งอาจจะอยู่ที่ 1.3 หมื่นบาทต่อตัน ซึ่งจะทำให้ขายข้าวในตลาดโลกไม่ขาดทุนจนเกินไป ทั้งนี้ หากจะแก้ปัญหานี้ในระยะยาวนั้น ตนขอเสนอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำนำแล้วหันไปใช้การประกันราคาตามปกติโดยยึดราคาข้าวเฉลี่ย 3 ปีเป็นมาตรฐาน และหากปีใดชาวนาได้ราคาข้าวที่ต่ำกว่าราคามาตรฐานดังกล่าวรัฐบาลจึงเข้ามาชดเชยในราคาข้าวส่วนต่างที่ชาวนาไม่ได้รับตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลดีให้รัฐบาลคาดการณ์แนวโน้มจากตลาดโลกโดยรวมแล้วมาปรับปรุงนโยบายภายในประเทศได้ เพราะโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้กำลังเข้าไปกำหนดกลไกตลาดโลก ดังนั้นควรเปลี่ยนให้ตลาดโลกเป็นตัวส่งสัญญาณเข้ามาแล้วรัฐบาลก็มาปรับนโยบาย ส่วนชาวนาก็ต้องปรับพฤติกรรมการปลูกพืชให้ทุกอย่างเป็นไปตามกลไก ไม่ควรเป็นผู้เข้าไปฝืนตลาดเอง
 

 

ก๊อปมาแปะนี่ อ่านมั๊งเปล่า 

 

อ่านแล้วสรุปให้คงเอาไว้เรื่องจำนำ

 

อยากอ่านแบบสรุปๆง่ายๆ ก็

 

http://pantip.com/topic/30522652

 

สรุปง่ายๆ ของใคร


ตราบที่สูอยู่-กิน..แผ่นดินไทย ตราบโคตรเหง้าสูใช้แผ่นดินนี้ตราบศพสูฝังใต้..ไทยปฐพี สูไม่มีสิทธิ์ยํ่ายี.." พระเจ้าแผ่นดิน "

#26 Suraphan07

Suraphan07

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,016 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:49

คนไทยได้ออกกำลังกายกันถ้วนหน้า...

ด้วยการ...

 

แบกหนี้...

 

 

ดาวเทียม สามารถส่องเห็นประเทศไทยง่ายขึ้น...

 

ได้เห็นไอเดียและฝีมือการตกแต่งการ์ตูนเนียนๆ ...



#27 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 21:22

ข้าวสารเสก สะกด วิญญาณ เสื้อแดง สรท ได้จริงๆแฮะ เหอ เหอ

นอนก่อนแล้วนะครับ โชคดีทุกคน เหอ เหอ :lol:  :lol: 

 



#28 Suraphan07

Suraphan07

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,016 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:00

ร่วมสนับสนุนให้เศรษฐกิจของเพื่อนบ้านดีขึ้น...

 

'เต็งเส่ง'ลั่นพม่าจะส่งออกข้าวอันดับ1โลก

"เต็ง เส่ง" ประกาศ พม่า จะเป็นประเทศส่งออกข้าว อันดับ 1 ของโลก รับ AEC พร้อมให้เกษตรกร เพิ่มปริมาณผลผลิตข้าว ช่วงฤดูฝนนี้

มีรายงานข่าวจากชายแดนไทย-พม่า ที่ จ.เมียวดี ตรงข้าม อ.แม่สอด จ.ตาก โดยคณะกรรมการการค้าชายแดน จ.เมียวดี ได้รับแจ้งจากรัฐบาลกลางพม่า ว่า พล.อ.เต็ง เส่ง ประธานาธิบดีผู้นำสูงสุดของพม่า ได้สั่งการและมอบนโยบาย ให้กับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และกระทรวงที่เกี่ยวข้องด้านพาณิชย์และการเงิน-การคลัง ว่า ให้ทำการเพิ่มพื้นที่และปริมาณการทำนา เพื่อผลิตข้าวสาร ในช่วงฤดูฝนที่เข้าสู่การทำไร่-นา ตั้งแต่ปี 2556 โดยเน้นนโยบายให้กระทรวงเกษตรพม่า ต้องผลิตข้าวสารให้ได้ 2,500-3,000 ล้านถัง

ซึ่งผู้นำพม่า ยังประกาศว่า การพัฒนาประเทศไปสู่การเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจ การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจและการพัฒนาอุตสาหกรรม และการตั้งนิคมอุตสาหกรรมนั้น จะต้องดำเนินนโยบายควบคู่กับการพัฒนาด้านการเกษตรด้วย โดยพม่าจะต้องเป็นผู้ผลิตและส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่งพม่าจะเป็นประเทศของกลุ่ม AEC ที่จะได้รับความสนใจจากนักธุรกิจและนักลงทุนจากต่างประเทศมากที่สุด ทั้งการลงทุนด้านอุตสาหกรรม-พาณิชย์และเกษตรกรรม ฯลฯ

สำหรับเมืองชายแดนที่ จ.เมียวดี กับเมืองต่างๆ ในพื้นที่ชายแดน ทั้งผาอัน-กอกาเรก ต่างก็เป็นจังหวัดที่มีการปลูกข้าวมากที่สุดเป็นอันดับต้นๆ ของพม่าhttp://www.innnews.c...newscode=457335

 



#29 พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน

พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,450 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 12:24

ทำให้เจ้าของโรงสี โกดังข้าว ได้ลืมตาอ้าปาก  :lol:


อยากรู้ว่าประชาธิปไตยไทยเป็นแบบไหน ให้ดูการใช้รถใช้ถนนรู้จักกันแต่สิทธิ แต่ไม่เคยรู้จักหน้าที่ ในการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่วางไว้

#30 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 12:54

เป็นนิมิตหมายที่ดีนะครับ ที่เสื้อแดงใน สรท.ไม่มีใครเห็นข้อดี ของโครงการรับจำนำข้าวเลย



#31 MIRO

MIRO

    Praise the Sun

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,883 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 13:00

เป็นนิมิตหมายที่ดีนะครับ ที่เสื้อแดงใน สรท.ไม่มีใครเห็นข้อดี ของโครงการรับจำนำข้าวเลย

 

สรุปซะ น้ำชาพุ่งเลย.. :lol:


The most valuable things in life are not measured in monetary terms.

The really important things are not houses and lands, stocks and bonds, automobiles and real estate,

but friendships, trust, confidence, empathy, mercy, love and faith.


#32 ซีมั่น โลช่า

ซีมั่น โลช่า

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,098 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 13:09

ขอเพิ่มข้อดีอีกข้อ

รัฐฯส่งออกข้าวไปประเทศเพื่อนบ้านได้มากเป็นประวัติการณ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แต่เป็นข้อดีทางฝั่งกำปงเจีย  แถลงรัฐบาลเขมรสามารถส่งออกให้กับประเทศไทย อ่ะครับ



#33 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 13:12

 

เป็นนิมิตหมายที่ดีนะครับ ที่เสื้อแดงใน สรท.ไม่มีใครเห็นข้อดี ของโครงการรับจำนำข้าวเลย

 

สรุปซะ น้ำชาพุ่งเลย.. :lol:

 

ไม่ต้องเสียดายครับ แค่น้ำชา แต่ได้รู้ว่า เสื้อแดง สรท.ไม่มีไผเห็น ข้อดี นโยบายนี้เลย นิมิตหมายที่ดี :D  :D



#34 Suraphan07

Suraphan07

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,016 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 13:16

ทำให้เจ้าของโรงสี โกดังข้าว ได้ลืมตาอ้าปาก  :lol:

 

ชาวนาก็ได้ "ลืมตาอ้าปาก" น่ะครับ... ;)

 


Edited by Suraphan07, 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 13:24.


#35 butadad

butadad

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,119 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 13:56

มีแต่ข้อดีครับ

 

ถ้าคุณเป็นคน พม่า เวียดนาม เขมร อินเดีย นะ



#36 PHOENiiX

PHOENiiX

    ปู 4ssโกงชาวนา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 9,226 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 13:57

15 ล้านเสียงตาสว่างไปเยอะเลยครับ ถือเป็นข้อดีได้ไหม :D

 

ตาสว่างยังไง วานบอก :lol:



#37 สมชายสายชม

สมชายสายชม

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,564 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 14:03

วาทะของรัฐมนตรีบุญทรง ยืดอก(อ่านว่า ยืด อก ไม่ใช่ ยือ ดอก) บอกกับสื่อว่า

 

"ขาดทุนไม่ขาย  ไม่ขายไม่ขาดทุน"

...


ชาวนา เกษตรกร กรรมกร และประชาชน เป็นเจ้าของประเทศ
แต่ หลงจู๊ ผู้รับเหมา นายทุน และนักการเมือง เป็นเจ้าของโฉนด

 

คนชั่วที่ชอบใช้ประชาธิปไตยเป็นข้ออ้างว่า "มาจากการเลือกตั้ง"

ก็ไม่ต่างกับพระปลอมที่นำ "จีวร" มาห่มเพื่อหลอกชาวบ้าน


#38 Suraphan07

Suraphan07

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,016 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 14:12

ขนาด ฝรั่งยังรู้... ;) 

 



#39 คนกินข้าว

คนกินข้าว

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,422 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 15:23

482553_509217135799701_1195725222_n.png


"การเมือง เป็นเรื่องผลประโยชน์ส่วนตน ผลประโยชน์ประชาชน เป็นข้ออ้าง"

#40 mebeam

mebeam

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 775 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 16:21

เป็นบทความที่อ่านได้ทั้งสองฟาก

 

_______________________________________________________________________________________________________

 

ประกัน VS จำนำ

แม้ว่าเป้าหมายดูเหมือนๆ กัน แต่วิธีการทั้งสองกลับบ่งชี้สิ่งๆหนึ่งที่ทำให้ทั้งสองพรรคแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง

ก่อนอื่นผมถามก่อนว่า เป้าหมายของธุรกิจคืออะไร?

คำถามนี้ตอบง่ายมาก เป้าหมายของธุรกิจคือขายของแล้วได้กำไร

แต่ถ้าเปลี่ยนคำถามใหม่ว่า ธุรกิจจะล้มเหลวเพราะอะไร?

ธุรกิจจะล้มเหลวเพราะขายของแล้วขาดทุนใช่หรือไม่?

ปรากฏว่าคำตอบคือไม่ใช่!!! เราเห็นหลายครั้งที่ธุรกิจยอมขายของขาดทุน ถามว่าธุรกิจที่ขายของขาดทุนคือธุรกิจที่ล้มเหลวใช่หรือไม่ คำตอบคือไม่ใช่ แต่ธุรกิจที่ล้มเหลวคือธุรกิจที่ขาดสิ่งที่เรียกว่า “เงินทุนหมุนเวียน”

ตอนผมได้ยินเรื่อง “เงินทุนหมุนเวียน” ผมถึงกับงง เขาบอกว่าธุรกิจถึงแม้จะกำไร แต่ถ้าขาดเงินทุนหมุนเวียนจะเจ๊งทันที ยกตัวอย่างเช่นถ้าคุณขายของที่มั่นใจได้แน่นอนว่าราคาขายสูง กำไรงาม แต่ลูกค้าไม่ได้ใช้เงินสดซื้อ แต่ “แปะ” หรือซื้อ “เงินเชื่อ” ไว้ว่าอีกเดือนหนึ่งค่อยมาจ่าย แล้วปรากฏว่าครึ่งเดือนนั้นเจ้าหนี้ทวงเงินพอดี คุณไม่มีเงินจ่าย เพราะของก็ให้ลูกค้าไปแล้ว เงินก็ยังไม่ได้จากลูกค้า ยืมใครก็ไม่ได้ บริษัทคุณจะเจ๊งทันที แม้ว่าคุณจะขายของ แล้วได้กำไรก็ตาม แม้ฟังดูเหลือเชื่อ แต่หลายบริษัทตอนวิกฤตการเงินปี ’40 ก็เจ๊งด้วยวิธี “ขาดเงินทุนหมุนเวียน” แม้ว่าจะยังกำไรอยู่ หลายคนที่เล่นเกมเศรษฐีหรือ Monopoly จะรู้เรื่องนี้ดี เพราะเกม Monopoly นี้ส่วนหนึ่งก็สร้างขึ้นมาเพื่อสอนเรื่อง “เงินทุนหมุนเวียน” นั่นเอง

สรุปโดยง่ายว่า “เป้าหมายของธุรกิจคือกำไร ลมหายใจของธุรกิจคือเงินทุนหมุนเวียน” นั่นเอง

แล้วเรื่องนี้เกี่ยวอะไรกับการจำนำหรือประกันราคาข้าวด้วยล่ะ

นั่นก็เพราะว่าประกันราคาข้าวนั้นส่งเสริมกำไร ส่วนจำนำข้าวนั้นส่งเสริมเงินทุนหมุนเวียนนั่นเอง

ประกันราคาข้าวนั้นการันตี “กำไร” ถ้าพูดง่ายๆ แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่กำไรนัก เพราะมันเป็นราคาขายลบราคาตลาด ไม่ใช่ราคาขายลบทุน แต่ถ้าคุณปลูกข้าวแล้ว คุณได้ “ส่วนต่าง” นี้แน่ๆ แต่จำนำข้าวนั้นไม่เหมือนกัน เพราะคุณจะได้ “เงินก้อนใหญ่” มาผันก่อน ชาวนาจะสามารถเอาเงินมาหมุนได้อย่างรวดเร็วขึ้น เอามาใช้หนี้ หรือเอามาเพิ่มทุน เพราะทุนยิ่งมาก ก็จะได้กำไรมากไปด้วย

พูดง่ายๆ คือ ประกันเน้น “การการันตี” ส่วนจำนำเน้น “สภาพคล่อง”

ถ้าขยายแนวคิดนี้ออกไปยัง “แนวคิด” สำคัญของสองพรรคใหญ่ ถ้าหากเราลองดูนโยบายพรรคประชาธิปัตย์ที่จะ ตรึงราคาดีเซล ตรึงราคาก๊าซหุงต้ม เรียนฟรี 12 ปี ค่าแรงขั้นต่ำ 25% พูดง่ายๆ คือเน้นการ “การันตี” แต่ถ้าหากเราลองดูนโยบายพรรคเพื่อไทยที่จะ ลดภาษีนิติบุคคลเพื่อให้เอาไปเพิ่มเป็นค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท เงินเดือน 15,000 บาทสำหรับปริญญาตรี เอาบัตรเครดิตเกษตกรผันการันตีต้นทุนการทำนาในโครงการจำนำข้าว พูดง่ายๆ คือเน้นการ”หมุน” ของเงิน คล้ายๆ กับโฆษณาสมัยก่อน ที่มีเพลงประกอบว่า “เงินกำลังจะหมุนไป กำลังจะหมุนไป ให้ชุมชน…”

ภาพประกอบอรรรส: การทำนา (Credit: commons.wikimedia.org)

ถามว่า “ประกัน” กับ “จำนำ” อะไรดีกว่ากัน?

คำตอบง่ายๆ คือไม่มีอะไรดีกว่าอะไร ถ้ามองในแง่การบริหารจัดการ ดั่งที่กฎการอนุรักษ์สิ่งสกปรกของเอมเบซิสได้ กล่าวไว้ว่า “หากคุณจะทำความสะอาดที่หนึ่ง มันเลี่ยงไม่ได้เลยที่จะทำความสกปรกให้อีกที่หนึ่ง” ดังนั้นหากชาวนาได้กำไร รัฐบาลก็ต้องขาดทุนแทน หากชาวนาได้รับการประกัน รัฐบาลก็ต้องเสียประกันแทน กล่าวคือการันตีการสูญเสีย “ส่วนต่าง” นี้ตลอดเวลาที่ราคาข้าวต่ำกว่าราคาที่รัฐต้องการ แต่ถ้าชาวนาได้เพิ่มสภาพคล่อง รัฐบาลก็ต้องขาดสภาพคล่องแทน เพราะฉะนั้นรัฐบาลที่จำนำข้าวจะต้องบริหารสภาพคล่องให้ดีเป็นด้วย ถ้าใช้คำพูดในภาษาของผม นโยบายพรรคการเมืองนั้นบอก Metaphor ของพรรคการเมืองนั้น กล่าวคือพรรคการเมืองไหนถนัดคิดอย่างไรก็จะออกแบบนโยบายที่มีแนวคิดแบบนั้น หรือถ้าพูดง่ายๆ นโยบายพรรคการเมืองนั้นบอก “วิสัยทัศน์” ของพรรคการเมืองนั่นเอง และวิสัยทัศน์ของสองพรรคการเมืองใหญ่ก็ชัดเจนมากคือพรรคหนึ่งเน้นการันตี “เป้าหมาย” อีกพรรคหนึ่งเน้นการเพิ่ม “โอกาส” พูดในทางรัฐศาสตร์ พรรคหนึ่งเป็นอนุรักษ์นิยม (Conservative) ส่วนอีกพรรคหนึ่งเป็นเสรีนิยม (Liberal) นั่นเอง

ถามว่าอนุรักษ์นิยมกับเสรีนิยมอะไรดีกว่ากัน ก็ไม่มีอะไรดีกว่าอะไรเหมือนกัน ถ้า “การันตี” นานๆ คุณก็สูญเสีย”โอกาส” แต่ถ้ามัวแต่เพิ่ม “โอกาส” ความเสี่ยงก็จะเพิ่มขึ้น ก็ต้องผลัดมา “การันตี” กันบ้าง แล้วถามว่าเมื่อใดประเทศต้องการเพิ่ม “โอกาส” เมื่อใดประเทศต้องการเพิ่ม “ความแน่นอน” กันแน่ นั่นต้องให้ประชาชนตัดสินกันเอง อย่างตอนนี้เราต้องการเพิ่ม “ความแน่นอน” หรือความสงบในสังคม หรือต้องการเพิ่ม “โอกาส” หลังจากที่บ้านเมืองหยุดฉะงักไป นั่นไม่ใช่สิ่งที่คนใดคนหนึ่งจะตัดสินได้

สำหรับทั้งสองระบบ ถ้ามองในแง่การทุจริต ก็มองได้ว่าทั้งสองระบบเอื้อต่อการทุจริตที่ต่างกัน แบบ “การันตี” ก็จะทุจริตแบบ “การันตี” คือเงินกินเปล่า หักเปอร์เซนต์ รายได้จาก “การคอรัปชัน” จะแน่นอนมาก แต่แบบ “หมุนเวียน” ก็จะทุจริตแบบ “หมุนเวียน” คือใครเห็นโอกาสก็จะเข้ามากอบโกย เข้าทำนอง “มือใครยาว สาวได้สาวเอา” นั่นเอง

ถ้ามองในแง่ชาวนา “ประกัน” จะ “ลดความเสี่ยง” ไปได้มาก เพราะนโยบาย “ประกัน” นับกันที่ขนาดของนาข้า วหากเกิดภัยพิบัติที่ไม่มีข้าว ชาวนาก็ยังได้ “ส่วนต่าง” นั้นอยู่ การประกันจึงเหมาะสมสำหรับธุรกิจที่ต้องการ “เพิ่มความแน่นอน” ให้มากขึ้น ส่วน “จำนำ” นั้นจะ “เพิ่มโอกาส” ไปได้มาก เหมาะสมสำหรับชาวนาที่ต้องการแสวงหา โอกาสเพิ่มความมั่งคั่ง การประกันจึงเหมาะสมสำหรับธุรกิจที่ต้องการ “เพิ่มโอกาส” ส่วนธุรกิจการทำนานั้นจะเป็น
ธุรกิจที่ต้องการ “เพิ่มความแน่นอน” หรือ “เพิ่มโอกาส” นั้น ผมไม่ทราบ อันนี้ต้องถามชาวนาที่เชี่ยวชาญเรื่องการทำนามากกว่า แต่คาดว่าน่าจะแล้วแต่ราย ถ้ามองว่า “การทำนา” นั้นเป็นทักษะอาชีพก็คงอยากเพิ่มความแน่นอนเหมือนพนักงานกินเงินเดือน ถ้ามองว่า “การทำนา” นั้นเป็นธุรกิจก็คงอยากเพิ่มโอกาสเหมือนนักลงทุนในตลาดหุ้นทั่วไป สำหรับเรื่องการทำนานี้ต่างคนต่างใจ แต่บางเรื่องเช่นสุขภาพ พรรคการเมืองล้วนเห็นพ้องต้องกันว่าต้องประกันสถานเดียว เพราะเวลาเราเจ็บป่วย เราคงอยากเพิ่ม “ความแน่นอน” มากกว่า “โอกาส”ที่มาพร้อมกับความเสี่ยงแน่ๆ

แต่สำหรับในความคิดเห็นของผมเรื่องจำนำหรือประกัน ผมเห็นว่าไม่มีประเด็น มีคนบอกว่าเราควรตัดสินพรรคการเมืองกันที่ “นโยบาย” ผมเห็นว่าปัจจุบันก็ไม่เป็นเช่นนั้น เพราะผลสำรวจมักบอกว่าคนตัดสินพรรคการเมืองที่ “ผลงานที่ผ่านมา” และผมก็ไม่เห็นด้วยว่าเราควรตัดสินพรรคการเมืองที่นโยบาย เพราะว่าสมมติคนที่ชอบพรรคประชาธิปัตย์แต่ชอบจำนำข้าว หรือคนที่ชอบพรรคเพื่อไทยแต่ชอบประกันข้าว เขาต้องเลือกที่จะทิ้งนโยบายที่เขาชอบเพื่อเลือกพรรคที่เขารักกระนั้นหรือ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เมื่อพรรคใดพรรคหนึ่งได้เป็นรัฐบาลแล้ว เขาไม่สามารถทำนโยบายของพรรคฝ่ายตรงข้ามแม้ว่านโยบายนั้นจะดีก็ตามกระนั้น หรือ ผมเห็นว่านโยบายไม่ควร “ผูกพัน” กับพรรคการเมือง

ในทางอุดมคติ ประชาชนควรจะเป็นฝ่ายเสนอนโยบายและบังคับให้ฝ่ายรัฐทำตามได้ ใครใคร่ “ประกัน” รัฐก็ต้องประกัน ใครใคร่ “จำนำ” รัฐก็ต้องจำนำ เราเลือกพรรคการเมืองไม่ใช่เพราะ “นโยบาย” และก็ไม่ใช่ “ผลงานที่ผ่านมา” ซะทีเดียว แต่เลือกจาก “วิสัยทัศน์” ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วถึงแม้ “วิสัยทัศน์” อาจไม่ใช่สิ่งที่เห็นได้ด้วยตา แต่ประชาชนสามารถสัมผัสได้ด้วยใจ

 

http://tonwachara.wo...ประกันราคาข้าว/


Edited by mebeam, 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 16:22.

Fear can hold you prisoner. Hope can set you free.

#41 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 16:21

ขอดันไว้รอ แดงกลับใจหน่อยนะครับ เหอ เหอ



#42 DarkSwan

DarkSwan

    Reporter Activated

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,689 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 16:23

ข้อดีคือ ทำให้ควายแดงยังคงชาบูรัดถะเ บื๊อกต่อปายย

:mellow: /

 

ปลง.  เบื๊ อก นี่ทำไมต้องเซ็นฯ กรองคำด้วยอ่ะคับ มันไปเฉียวโดนคำไหนเข้าเหรอ?


Edited by ดาร์ค สวอน, 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 16:23.

ถ้าอยากได้ความเท่าเทียม

ก็ปีนป่ายขึ้นไปให้อยู่เทียบเท่ากับคนอื่นเค้า

อย่าได้กระชากฉุดให้คนอื่นเขาลงมาตกต่ำเท่ากับตน


#43 จูกัดขงเบ้ง

จูกัดขงเบ้ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,226 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 16:23

ขาดทุน สองแสนล้าน มิน่าล่ะ ถึงคิดจะกู้อีก สองแสนล้านเหมือนกัน ทั้งๆที่ยังไม่เขียนโครงการเลย


แผ่นดินนี้ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก ทั้งกษัตริย์ยังทรงคุณธรรมอันสูงส่ง

จำคำนี้ไว้ไปบอกยมบาลเวลาเจ้าลงนรกก็แล้วกัน


#44 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 16:39

เป็นบทความที่อ่านได้ทั้งสองฟาก

 

_______________________________________________________________________________________________________

 

ประกัน VS จำนำ

แม้ว่าเป้าหมายดูเหมือนๆ กัน แต่วิธีการทั้งสองกลับบ่งชี้สิ่งๆหนึ่งที่ทำให้ทั้งสองพรรคแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง

ก่อนอื่นผมถามก่อนว่า เป้าหมายของธุรกิจคืออะไร?

คำถามนี้ตอบง่ายมาก เป้าหมายของธุรกิจคือขายของแล้วได้กำไร

แต่ถ้าเปลี่ยนคำถามใหม่ว่า ธุรกิจจะล้มเหลวเพราะอะไร?

ธุรกิจจะล้มเหลวเพราะขายของแล้วขาดทุนใช่หรือไม่?

ปรากฏว่าคำตอบคือไม่ใช่!!! เราเห็นหลายครั้งที่ธุรกิจยอมขายของขาดทุน ถามว่าธุรกิจที่ขายของขาดทุนคือธุรกิจที่ล้มเหลวใช่หรือไม่ คำตอบคือไม่ใช่ แต่ธุรกิจที่ล้มเหลวคือธุรกิจที่ขาดสิ่งที่เรียกว่า “เงินทุนหมุนเวียน”

ตอนผมได้ยินเรื่อง “เงินทุนหมุนเวียน” ผมถึงกับงง เขาบอกว่าธุรกิจถึงแม้จะกำไร แต่ถ้าขาดเงินทุนหมุนเวียนจะเจ๊งทันที ยกตัวอย่างเช่นถ้าคุณขายของที่มั่นใจได้แน่นอนว่าราคาขายสูง กำไรงาม แต่ลูกค้าไม่ได้ใช้เงินสดซื้อ แต่ “แปะ” หรือซื้อ “เงินเชื่อ” ไว้ว่าอีกเดือนหนึ่งค่อยมาจ่าย แล้วปรากฏว่าครึ่งเดือนนั้นเจ้าหนี้ทวงเงินพอดี คุณไม่มีเงินจ่าย เพราะของก็ให้ลูกค้าไปแล้ว เงินก็ยังไม่ได้จากลูกค้า ยืมใครก็ไม่ได้ บริษัทคุณจะเจ๊งทันที แม้ว่าคุณจะขายของ แล้วได้กำไรก็ตาม แม้ฟังดูเหลือเชื่อ แต่หลายบริษัทตอนวิกฤตการเงินปี ’40 ก็เจ๊งด้วยวิธี “ขาดเงินทุนหมุนเวียน” แม้ว่าจะยังกำไรอยู่ หลายคนที่เล่นเกมเศรษฐีหรือ Monopoly จะรู้เรื่องนี้ดี เพราะเกม Monopoly นี้ส่วนหนึ่งก็สร้างขึ้นมาเพื่อสอนเรื่อง “เงินทุนหมุนเวียน” นั่นเอง

สรุปโดยง่ายว่า เป้าหมายของธุรกิจคือกำไร ลมหายใจของธุรกิจคือเงินทุนหมุนเวียน นั่นเอง

แล้วเรื่องนี้เกี่ยวอะไรกับการจำนำหรือประกันราคาข้าวด้วยล่ะ

นั่นก็เพราะว่าประกันราคาข้าวนั้นส่งเสริมกำไร ส่วนจำนำข้าวนั้นส่งเสริมเงินทุนหมุนเวียนนั่นเอง

ประกันราคาข้าวนั้นการันตี “กำไร” ถ้าพูดง่ายๆ แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่กำไรนัก เพราะมันเป็นราคาขายลบราคาตลาด ไม่ใช่ราคาขายลบทุน แต่ถ้าคุณปลูกข้าวแล้ว คุณได้ “ส่วนต่าง” นี้แน่ๆ แต่จำนำข้าวนั้นไม่เหมือนกัน เพราะคุณจะได้ “เงินก้อนใหญ่” มาผันก่อน ชาวนาจะสามารถเอาเงินมาหมุนได้อย่างรวดเร็วขึ้น เอามาใช้หนี้ หรือเอามาเพิ่มทุน เพราะทุนยิ่งมาก ก็จะได้กำไรมากไปด้วย

พูดง่ายๆ คือ ประกันเน้น “การการันตี” ส่วนจำนำเน้น “สภาพคล่อง

ถ้าขยายแนวคิดนี้ออกไปยัง “แนวคิด” สำคัญของสองพรรคใหญ่ ถ้าหากเราลองดูนโยบายพรรคประชาธิปัตย์ที่จะ ตรึงราคาดีเซล ตรึงราคาก๊าซหุงต้ม เรียนฟรี 12 ปี ค่าแรงขั้นต่ำ 25% พูดง่ายๆ คือเน้นการ “การันตีแต่ถ้าหากเราลองดูนโยบายพรรคเพื่อไทยที่จะ ลดภาษีนิติบุคคลเพื่อให้เอาไปเพิ่มเป็นค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท เงินเดือน 15,000 บาทสำหรับปริญญาตรี เอาบัตรเครดิตเกษตกรผันการันตีต้นทุนการทำนาในโครงการจำนำข้าว พูดง่ายๆ คือเน้นการ”หมุน” ของเงิน คล้ายๆ กับโฆษณาสมัยก่อน ที่มีเพลงประกอบว่า “เงินกำลังจะหมุนไป กำลังจะหมุนไป ให้ชุมชน…”

ภาพประกอบอรรรส: การทำนา (Credit: commons.wikimedia.org)

ถามว่า “ประกัน” กับ “จำนำ” อะไรดีกว่ากัน?

คำตอบง่ายๆ คือไม่มีอะไรดีกว่าอะไร ถ้ามองในแง่การบริหารจัดการ ดั่งที่กฎการอนุรักษ์สิ่งสกปรกของเอมเบซิสได้ กล่าวไว้ว่า “หากคุณจะทำความสะอาดที่หนึ่ง มันเลี่ยงไม่ได้เลยที่จะทำความสกปรกให้อีกที่หนึ่ง” ดังนั้นหากชาวนาได้กำไร รัฐบาลก็ต้องขาดทุนแทน หากชาวนาได้รับการประกัน รัฐบาลก็ต้องเสียประกันแทน กล่าวคือการันตีการสูญเสีย “ส่วนต่าง” นี้ตลอดเวลาที่ราคาข้าวต่ำกว่าราคาที่รัฐต้องการ แต่ถ้าชาวนาได้เพิ่มสภาพคล่อง รัฐบาลก็ต้องขาดสภาพคล่องแทน เพราะฉะนั้นรัฐบาลที่จำนำข้าวจะต้องบริหารสภาพคล่องให้ดีเป็นด้วย ถ้าใช้คำพูดในภาษาของผม นโยบายพรรคการเมืองนั้นบอก Metaphor ของพรรคการเมืองนั้น กล่าวคือพรรคการเมืองไหนถนัดคิดอย่างไรก็จะออกแบบนโยบายที่มีแนวคิดแบบนั้น หรือถ้าพูดง่ายๆ นโยบายพรรคการเมืองนั้นบอก “วิสัยทัศน์” ของพรรคการเมืองนั่นเอง และวิสัยทัศน์ของสองพรรคการเมืองใหญ่ก็ชัดเจนมากคือพรรคหนึ่งเน้นการันตี “เป้าหมาย” อีกพรรคหนึ่งเน้นการเพิ่ม “โอกาส” พูดในทางรัฐศาสตร์ พรรคหนึ่งเป็นอนุรักษ์นิยม (Conservative) ส่วนอีกพรรคหนึ่งเป็นเสรีนิยม (Liberal) นั่นเอง

ถามว่าอนุรักษ์นิยมกับเสรีนิยมอะไรดีกว่ากัน ก็ไม่มีอะไรดีกว่าอะไรเหมือนกัน ถ้า “การันตี” นานๆ คุณก็สูญเสีย”โอกาส” แต่ถ้ามัวแต่เพิ่ม “โอกาส” ความเสี่ยงก็จะเพิ่มขึ้น ก็ต้องผลัดมา “การันตี” กันบ้าง แล้วถามว่าเมื่อใดประเทศต้องการเพิ่ม “โอกาส” เมื่อใดประเทศต้องการเพิ่ม “ความแน่นอน” กันแน่ นั่นต้องให้ประชาชนตัดสินกันเอง อย่างตอนนี้เราต้องการเพิ่ม “ความแน่นอน” หรือความสงบในสังคม หรือต้องการเพิ่ม “โอกาส” หลังจากที่บ้านเมืองหยุดฉะงักไป นั่นไม่ใช่สิ่งที่คนใดคนหนึ่งจะตัดสินได้

สำหรับทั้งสองระบบ ถ้ามองในแง่การทุจริต ก็มองได้ว่าทั้งสองระบบเอื้อต่อการทุจริตที่ต่างกัน แบบ “การันตี” ก็จะทุจริตแบบ “การันตี” คือเงินกินเปล่า หักเปอร์เซนต์ รายได้จาก “การคอรัปชัน” จะแน่นอนมาก แต่แบบ “หมุนเวียน” ก็จะทุจริตแบบ “หมุนเวียน” คือใครเห็นโอกาสก็จะเข้ามากอบโกย เข้าทำนอง “มือใครยาว สาวได้สาวเอา” นั่นเอง

ถ้ามองในแง่ชาวนา “ประกัน” จะ “ลดความเสี่ยง” ไปได้มาก เพราะนโยบาย “ประกัน” นับกันที่ขนาดของนาข้า วหากเกิดภัยพิบัติที่ไม่มีข้าว ชาวนาก็ยังได้ “ส่วนต่าง” นั้นอยู่ การประกันจึงเหมาะสมสำหรับธุรกิจที่ต้องการ “เพิ่มความแน่นอน” ให้มากขึ้น ส่วน “จำนำ” นั้นจะ “เพิ่มโอกาส” ไปได้มาก เหมาะสมสำหรับชาวนาที่ต้องการแสวงหา โอกาสเพิ่มความมั่งคั่ง การประกันจึงเหมาะสมสำหรับธุรกิจที่ต้องการ “เพิ่มโอกาส” ส่วนธุรกิจการทำนานั้นจะเป็น
ธุรกิจที่ต้องการ “เพิ่มความแน่นอน” หรือ “เพิ่มโอกาส” นั้น ผมไม่ทราบ อันนี้ต้องถามชาวนาที่เชี่ยวชาญเรื่องการทำนามากกว่า แต่คาดว่าน่าจะแล้วแต่ราย ถ้ามองว่า “การทำนา” นั้นเป็นทักษะอาชีพก็คงอยากเพิ่มความแน่นอนเหมือนพนักงานกินเงินเดือน ถ้ามองว่า “การทำนา” นั้นเป็นธุรกิจก็คงอยากเพิ่มโอกาสเหมือนนักลงทุนในตลาดหุ้นทั่วไป สำหรับเรื่องการทำนานี้ต่างคนต่างใจ แต่บางเรื่องเช่นสุขภาพ พรรคการเมืองล้วนเห็นพ้องต้องกันว่าต้องประกันสถานเดียว เพราะเวลาเราเจ็บป่วย เราคงอยากเพิ่ม “ความแน่นอน” มากกว่า “โอกาส”ที่มาพร้อมกับความเสี่ยงแน่ๆ

แต่สำหรับในความคิดเห็นของผมเรื่องจำนำหรือประกัน ผมเห็นว่าไม่มีประเด็น มีคนบอกว่าเราควรตัดสินพรรคการเมืองกันที่ “นโยบาย” ผมเห็นว่าปัจจุบันก็ไม่เป็นเช่นนั้น เพราะผลสำรวจมักบอกว่าคนตัดสินพรรคการเมืองที่ “ผลงานที่ผ่านมา” และผมก็ไม่เห็นด้วยว่าเราควรตัดสินพรรคการเมืองที่นโยบาย เพราะว่าสมมติคนที่ชอบพรรคประชาธิปัตย์แต่ชอบจำนำข้าว หรือคนที่ชอบพรรคเพื่อไทยแต่ชอบประกันข้าว เขาต้องเลือกที่จะทิ้งนโยบายที่เขาชอบเพื่อเลือกพรรคที่เขารักกระนั้นหรือ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เมื่อพรรคใดพรรคหนึ่งได้เป็นรัฐบาลแล้ว เขาไม่สามารถทำนโยบายของพรรคฝ่ายตรงข้ามแม้ว่านโยบายนั้นจะดีก็ตามกระนั้น หรือ ผมเห็นว่านโยบายไม่ควร “ผูกพัน” กับพรรคการเมือง

ในทางอุดมคติ ประชาชนควรจะเป็นฝ่ายเสนอนโยบายและบังคับให้ฝ่ายรัฐทำตามได้ ใครใคร่ “ประกัน” รัฐก็ต้องประกัน ใครใคร่ “จำนำ” รัฐก็ต้องจำนำ เราเลือกพรรคการเมืองไม่ใช่เพราะ “นโยบาย” และก็ไม่ใช่ “ผลงานที่ผ่านมา” ซะทีเดียว แต่เลือกจาก “วิสัยทัศน์” ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วถึงแม้ “วิสัยทัศน์” อาจไม่ใช่สิ่งที่เห็นได้ด้วยตา แต่ประชาชนสามารถสัมผัสได้ด้วยใจ

 

http://tonwachara.wo...ประกันราคาข้าว/

เอามาให้อ่านเล่นใช่ไหมครับ ..ขอบคุณครับ

แล้วคำตอบ......ของคุณคือ?

อันนี้คำถาม.......

ผ่านไปสองปี ผมขอ"ข้อดี"ของนโยบายรับจำนำข้าวของรัฐบาลด้วยครับ?

#45 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 00:41

 

ขอดันไว้รอ แดงกลับใจหน่อยนะครับ เหอ เหอ

 

ดันรอต่อครับ แต่ไม่ไหวแล้ว นอนก่อนเด้อ เหอ เหอ



#46 ก๊องส์ไข่กวน

ก๊องส์ไข่กวน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,012 posts

ตอบ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 07:01

เขมร

รวยขึ้น

เสียงตอบจากฮุนเซ็น

#47 บัวทอง...

บัวทอง...

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 08:32

เขมร

รวยขึ้น

เสียงตอบจากฮุนเซ็น

ห่วย เซ็ง มันก็รับไปเต็มๆ ญาติกันอ่ะ เหอ เหอ



#48 อาตี๋

อาตี๋

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,267 posts

ตอบ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 09:59

ทำให้ประเทศไทยมีข้าวสำรองในประเทศเพิ่มขึ้น :P

 

ปล.เห็นเสื้อแดงมาตอบสองคน ไม่เห็นพูดข้อดีข้อเสียเลย เสียชื่อหมด  :angry:   


Edited by อาตี๋, 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:07.

สิทธิตามระบอบประชาติปไตยมีไว้สำหรับให้เสื้อแดงผู้เรียกร้องประชาติปไตยเท่านั้น


ผู้อื่นห้ามใช้มิเช่นนั้นจะโดนประชาติปไตยลงโทษ


#49 meeboon

meeboon

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 180 posts

ตอบ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:26

อืม...เคยถามคนทำนาที่บ้าน บอกว่าดีได้ราคามากกว่าขายให้โรงสี แต่ต้องรอ สามสี่เดือนถึงได้เงิน แต่เบื้องหลังเบื้องลึกเขาไม่รู้ดอก  ขอให้ได้เงินมาใช้หนี้ แต่ถ้าได้รับข้อมูลข่าวสารเช่นนี้ คงจะตอบได้ชัดๆ



#50 ขุนพลชิน

ขุนพลชิน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,053 posts

ตอบ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:28

ทำให้ตลาดรถหรูขายดี






ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน