เอาเป็นว่า เป็นผู้ว่า ให้ได้ก่อนละกันนะครับ
ไม่ได้เป็นผู้ว่าฯ เลยแสดงความเห็นมิได้ ตรรกวิบัติจังครับ
Posted 28 June 2013 - 08:27
เอาเป็นว่า เป็นผู้ว่า ให้ได้ก่อนละกันนะครับ
ไม่ได้เป็นผู้ว่าฯ เลยแสดงความเห็นมิได้ ตรรกวิบัติจังครับ
Posted 28 June 2013 - 08:27
ก็แค่ Dogโสเภณี หน้าเงิน
จะคาดหวังอะไรมากมาย
สมาชิกผู้รกบอร์ด
หยาบคาย ทำเสียชื่อบอร์ด
ควรถูกเตือน
Posted 28 June 2013 - 08:36
ลดนน..JPG
อย่าให้โฆษณาลดนน.ยึดเพจ
??? (คนนี้ก็บ้าไม่เลิก งงครับ)
แล้วลบกระทู้กระฉูดในเสรีไทยของตัวเองในเพจ ทำไมครับ
??? งงครับ คุณหยาบคายได้คนเดียว หรือ
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
Posted 28 June 2013 - 08:59
โอยยยย ผ่านมาหลายวันแร้วว๊อยยยยย
ยังไม่รู้เรย
ใครคือนัีกวิทยาศาสตร์ที่เชื่อเปรตกู้ ?
แร้วยังมีหน้ามาบ่อง
ผมตอบทุกเม็ด
ถุ๊ย !
เขียนดี ๆ สุภาพ ๆ ซี่ครับ แล้วจะตอบครับ
ถามไปตั้งหลายครั้งแร้วในกระทู้โน้นนนนนนนนน
ทำไมคุณไม่ตอบ
เอ้า ถามอีกครั้งก้อได้
ใครคือนักวิทยาศาสตร์ที่เชื่อเปรตกู้ ?
ข้าจักล้มล้าง ระบอบทักษิณ ให้หมดสิ้นไปจากแผ่นดินไทย
Posted 28 June 2013 - 09:22
วัยทอง เค้าสติแตก และ เหวี่ยง แบบนี้เองเหรอ?
Posted 28 June 2013 - 10:08
ก็เพราะด็อกคิดเอง เออเอง ชาวกทมก็เลยไม่คิดเลือกไง
แบบนี้ก็ดีนะด็อกคนกทมเค้าจะได้รู้ว่าคุณไม่อยากให้คนกทมได้มีสวน เพราะเอาเงินคนส่วนใหญ่มาทำ ที่เอาเงินภาษีคนทั้งชาติไปจมกับจำนำข้าว ด็อกไม่เห่า
ไม่ไปคิดบ้างว่าภาษีที่เสียในแต่ละปีจังหวัดใหนบ้างที่เค้าจ่ายภาษีเยอะ
เอ็งขอเป็น"ขี้ข้าโจร" ข้าเลือกเป็น"ข้าธุลีพระบาท" เอ็งขอเป็น"ไพร่" ข้าเลือกเป็น"พสกนิกร"
Posted 28 June 2013 - 10:11
เอาละเข้าเรื่อง
อยากถามด๊อก ตรง ๆ ว่า เอาที่ไปทำสาธารณะ กับ เอาไปให้เอกชนประมูล
อันไหน ได้ประโยชน์ มากกว่า
อันไหน ประชาชนเข้าถึงได้มากกว่า
อันไหน ทำให้ช่วยลดมลพิษได้มากกว่า
และ อันไหน ทำคุณประโยชน์ฺให้ประเทศมากกว่า
ถามแค่นี้ หวังว่า ด๊อก คงตอบได้นะครับ
ปล. ถ้าไม่ตอบ ผมถึอว่า ด๊อก ไม่มีปัญญา ทำอย่างที่พูดละกันนะครับ
ปล2. จะกลับมาเม้น หลัง 4 ทุ่มนะครับ เวลานี้ ใกล้เวลาจะแดกเหล้าของผม
โควท มาให้ด๊อกเห้นอีกรอบครับ
ทำตัวสีแดง ๆ ให้ด๊อกอ่าน
ด๊อก ครับ
ช่วยกรุณาตอบความเห็นผม ซึ่งเป็นคนวุฒิการศึกษา แค่ระดับ ปวส เอง จะไ้ด้ไหมครับ
ช่งวยตอบผมทีจะไ้ด้ไหม
เพราะผมถามด๊อกไปหลายกระทู้ หลายเรือ่งแต่ ด๊อก ไม่เคยตอบ ย้ำนะ ไม่เคยตอบผม แบบตรง ๆ ซักที
ช่วยตอบผมทีนะ ด๊อก
ไม่รู้ไม่มีไรทำครับ
เลยโควทมาให้ด๊อกเห็นครับ
ช่วยตอบด้วยครับ
ด๊อก ให้สมกับ ตำแหน่ง ดร หน่อยครับ
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
Posted 28 June 2013 - 11:40
ดร ครับ
ท่านเรียกร้องพื้นที่สีเขียวกรณีผังเมือง แต่ต่อต้านพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง
แปลกไหม?
ไม่แปลกหรอกครับ หากได้อ่านที่ผมเขียน ก่อน comment ครับผม
http://webboard.seri...-หลงทางหาทางเข/
นิสัยเดิมๆเลยนะฮะดร.
พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ”
แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"
Posted 28 June 2013 - 11:41
เอาเป็นว่า เป็นผู้ว่า ให้ได้ก่อนละกันนะครับ
ไม่ได้เป็นผู้ว่าฯ เลยแสดงความเห็นมิได้ ตรรกวิบัติจังครับ
เป็นเสียงส่วนน้อยไม่ได้เลือกรัฐบาลแล้วด่ารัฐบาลไม่ได้ ตรรกวิบัติจังครับ
ป.ล. ประเมินราคาที่ดินฮวงซุ้ยเตี่ยด๊อกมาให้ผมยังครับ หมาๆที่บ้านกำลังเดือดร้อนครับ
Posted 28 June 2013 - 12:11
ผมก็เหนด้วยกับท่านหมดเลยครับ
ยกเว้นการเอาสมบัติของคนทั้งประเทศ
มาประเคนให้คน กทม บางส่วน
อย่าอ้างนักท่องเที่ยวเลยครับ
ขนาด central park ก็ไม่ใช่จุดท่องเที่ยวหลักนะครับ
แล้วท่านเห็นด้วยกับการสร้างสวนสัตว์เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีรึเปล่าครับ ???
Posted 28 June 2013 - 13:11
ต่อจากนี้ไป หากมีงานสัมมนาทางวิชาการ หรือการบรรยายใดๆที่ท่าน จขกท ไปร่วมเป็นวิทยากร
ผมจะไม่อนุญาติให้ภรรยาผมไปเด็ดขาด พอกันที
Posted 28 June 2013 - 13:16
ก็เพราะด็อกคิดเอง เออเอง ชาวกทมก็เลยไม่คิดเลือกไง
แบบนี้ก็ดีนะด็อกคนกทมเค้าจะได้รู้ว่าคุณไม่อยากให้คนกทมได้มีสวน เพราะเอาเงินคนส่วนใหญ่มาทำ ที่เอาเงินภาษีคนทั้งชาติไปจมกับจำนำข้าว ด็อกไม่เห่า
ไม่ไปคิดบ้างว่าภาษีที่เสียในแต่ละปีจังหวัดใหนบ้างที่เค้าจ่ายภาษีเยอะ
Posted 28 June 2013 - 13:18
ต่อจากนี้ไป หากมีงานสัมมนาทางวิชาการ หรือการบรรยายใดๆที่ท่าน จขกท ไปร่วมเป็นวิทยากร
ผมจะไม่อนุญาติให้ภรรยาผมไปเด็ดขาด พอกันที
Posted 28 June 2013 - 13:20
ผมไม่สงสัยเลยจริงๆว่าทำไมได้แค่พันกว่าคะแนน
Posted 28 June 2013 - 13:21
ผมไม่สงสัยเลยจริงๆว่าทำไมได้แค่พันกว่าคะแนน
เช่นกัน แต่ชอบที่หน้าแกขำดี ฮาาาา
Posted 28 June 2013 - 13:22
ผมก็เหนด้วยกับท่านหมดเลยครับ
ยกเว้นการเอาสมบัติของคนทั้งประเทศ
มาประเคนให้คน กทม บางส่วน
อย่าอ้างนักท่องเที่ยวเลยครับ
ขนาด central park ก็ไม่ใช่จุดท่องเที่ยวหลักนะครับ
แล้วท่านเห็นด้วยกับการสร้างสวนสัตว์เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีรึเปล่าครับ ???
Posted 28 June 2013 - 13:22
ผมไม่สงสัยเลยจริงๆว่าทำไมได้แค่พันกว่าคะแนน
มันไม่เกี่ยวกันหรอก
โฆษิตทุ่มพอๆ กับ ผู้ว่า ยังได้ 20,000
ผมเสีย 150,000 ได้ 1,144 คะแนนก็หรูแล้วครับ
ใช่ว่าแพ้แล้วจะผิดนี่นา
แค่ 1128 อย่าโมเม สว. แล้ว
Posted 28 June 2013 - 13:24
ดร ครับ
ท่านเรียกร้องพื้นที่สีเขียวกรณีผังเมือง แต่ต่อต้านพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง
แปลกไหม?
ไม่แปลกหรอกครับ หากได้อ่านที่ผมเขียน ก่อน comment ครับผม
http://webboard.seri...-หลงทางหาทางเข/
นิสัยเดิมๆเลยนะฮะดร.
Posted 28 June 2013 - 13:26
ก็เพราะด็อกคิดเอง เออเอง ชาวกทมก็เลยไม่คิดเลือกไง
แบบนี้ก็ดีนะด็อกคนกทมเค้าจะได้รู้ว่าคุณไม่อยากให้คนกทมได้มีสวน เพราะเอาเงินคนส่วนใหญ่มาทำ ที่เอาเงินภาษีคนทั้งชาติไปจมกับจำนำข้าว ด็อกไม่เห่า
ไม่ไปคิดบ้างว่าภาษีที่เสียในแต่ละปีจังหวัดใหนบ้างที่เค้าจ่ายภาษีเยอะ
Posted 28 June 2013 - 13:28
ต่อจากนี้ไป หากมีงานสัมมนาทางวิชาการ หรือการบรรยายใดๆที่ท่าน จขกท ไปร่วมเป็นวิทยากร
ผมจะไม่อนุญาติให้ภรรยาผมไปเด็ดขาด พอกันที
อย่าเผด็จการกับศรีภริยาครับ
ถ้าคุณมีความเปนเสรีไทย
จงกล้าให้ภริยาอ่านที่ผมเขียน
ให้เธอตัดสินใจเองครับ
กล้าไหมครับ
กล้าครับ
Posted 28 June 2013 - 13:29
ดร ครับ
ท่านเรียกร้องพื้นที่สีเขียวกรณีผังเมือง แต่ต่อต้านพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง
แปลกไหม?
ไม่แปลกหรอกครับ หากได้อ่านที่ผมเขียน ก่อน comment ครับผม
http://webboard.seri...-หลงทางหาทางเข/
นิสัยเดิมๆเลยนะฮะดร.
ผมเข้าไม่ถูกก็ถาม
ผิดหรือ
แล้วเกี่ยวกับกระทู้นี้ยังไง
คนไม่ดีก็หวังแต่จะตอดโจมตีกัน
คนอย่างนี้ใครเปนเพื่อนด้วย
ต้องระวังนะครับ
ถามได้ แต่ไม่ควรถามอะไรโง่โง่
อย่าเชื่อในสิ่งที่ไอ้แม้วและไอ้พวกแกนนำ นปช. พูด
แต่ให้ดูในสิ่งที่พวกมันทำ
Posted 28 June 2013 - 13:30
ผมไม่สงสัยเลยจริงๆว่าทำไมได้แค่พันกว่าคะแนน
มันไม่เกี่ยวกันหรอก
โฆษิตทุ่มพอๆ กับ ผู้ว่า ยังได้ 20,000
ผมเสีย 150,000 ได้ 1,144 คะแนนก็หรูแล้วครับ
ใช่ว่าแพ้แล้วจะผิดนี่นา
แต่เสียงส่วนใหญ่คือความถูกต้องแน่นอนครับ
Posted 28 June 2013 - 13:32
อย่าไปจริงจังกับด็อกแกมากครับ นึกว่าอ่านเอาฮามั่งก็ได้ครับ เห็นผู้สมัครผู้ว่า กทม มั้ย คนที่เป็นตัวประกอบรายการ มักมีอะไรแปลกๆให้เห็นเสมอ บางคนแต่งตัวแบบดาราหนังจีนยังงี้ บางคนเหมือนเจ้าแม่ บางคนบอกให้เปิดไฟเขียวหมดทุกแยก เพราะฉนั้นกระมังด็อกแกก็เลยเป็นแบบที่เห็น
Posted 28 June 2013 - 13:35
ผมไม่สงสัยเลยจริงๆว่าทำไมได้แค่พันกว่าคะแนน
มันไม่เกี่ยวกันหรอก
โฆษิตทุ่มพอๆ กับ ผู้ว่า ยังได้ 20,000
ผมเสีย 150,000 ได้ 1,144 คะแนนก็หรูแล้วครับ
ใช่ว่าแพ้แล้วจะผิดนี่นา
แต่เสียงส่วนใหญ่คือความถูกต้องแน่นอนครับ
Posted 28 June 2013 - 13:36
ผมก็เหนด้วยกับท่านหมดเลยครับ
ยกเว้นการเอาสมบัติของคนทั้งประเทศ
มาประเคนให้คน กทม บางส่วน
อย่าอ้างนักท่องเที่ยวเลยครับ
ขนาด central park ก็ไม่ใช่จุดท่องเที่ยวหลักนะครับ
แล้วท่านเห็นด้วยกับการสร้างสวนสัตว์เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีรึเปล่าครับ ???
สวนสัตว์ยังเกบตังค์ได้ และกระจายความเจริญออกนอกครับ
ถูกต้องครับ เพราะสวนสัตว์เชียงใหม่ มันไม่ใช่สวน"สาธารณะ" ... ท่านเข้าใจคำว่า "สาธารณะ" ว่าคือแบบไหนหรือครับ ???
Posted 28 June 2013 - 13:43
จุดประสงค์ในการสร้างสวนสาธาณะตามเมืองหลวง ส่วนใหญ่ก็เพื่อให้คนในเมืองได้มีสถานที่พักผ่อน และมักจะพยายามสร้างออกมาให้เป็นธรรมชาติมากที่สุด มีสิ่งก่อสร้างให้น้อยที่สุด และจำกัดการใช้ยานพาหนะที่ก่อให้เกิดมลพิษภายในสวนสาธารณะให้น้อยที่สุด
แนวทางที่ด๊อกฯเสนอนั้น ... มันเหมือนการทำธุรกิจ มากกว่าทำเพื่อสาธารณะนะครับ
http://th.wikipedia....wiki/สวนสาธารณะ
สวนลุมพินีก่อสร้างในสมัยรัชกาลที่ 7 ดูแลโดยกรมนคราทร (กรมโยธาธิการและผังเมืองปัจจุบัน) ต่อมาได้โอนให้เทศบาลนครกรุงเทพฯ ในสมัยนั้น การใช้สวนลุมพินีในช่วงแรกๆ มีการใช้อย่างผิดวัตถุประสงค์กันมาก เช่น ใช้เป็นที่จัดงานต่างๆ รวมทั้งใช้เป็นที่สร้างโรงไฟฟ้า โรงเรียน ทั้งไทยและจีน ให้เช่าทำภัตตาคารทั้งบนบกและในน้ำ รวมถึงภัตตาคารกินรีนาวา ผู้ใช้ที่ใช้สวนเพื่อพักผ่อนออกกำลังกายจริงๆ จังๆ มักเป็นชาวต่างประเทศ คนไทยจำนวนน้อยที่ใช้ มักเป็นคนยากจนใช้เป็นที่พักผ่อนและหารายได้จากการขายของ ส่วนคนไทยมีอันจะกินมักเข้าไปใช้ภัตตาคาร การใช้ในทางที่ผิดทำให้สวนลุมพินีทรุดโทรม ไม่ปลอดภัย ไม่เหมาะกับการเป็นสวนสาธารณะตามความต้องการของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
Posted 28 June 2013 - 13:45
เท่าที่ด๊อกทำอยู่ เสนอบทความเพื่ออ้างว่าให้เกิดการเรียนรู้หรืออะไรก็แล้วแต่
ด๊อกไม่ได้คุยโวเลย ที่จริงแล้วด๊อกกำลังสับสนกับแนวคิดนักวิชาการ
และแนวคิดตอนที่หาเสียงเพือหวังคะแนน มันดูสวนทางกันสิ้นเชิง
ฟังๆดูแล้วคล้ายๆ จะออกแนวโคตระขี้แพ้ชวนตี พอใครๆเขาบอกให้ไปเสนอแนวทางกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ด๊อกก็หาว่าเขาขับไล่ อคติโดยเนื้อแท้มาจากตัวด๊อกเองต่างาก
เพื่อนในบอร์ดเค่าก็แค่เสนอแนวความคิดเช่นกัน
ดังนั้น เสียงส่วนใหญ่ที่นี่ก็คือแนวความคิดที่ตรงกันข้ามกับด๊อก พวกเขาสนับสนุนการมีพื้นที่สีเขียว
ด๊อกไม่น่าตกหลุมที่ตัวเองขุดไว้เลย เมื่อเสนอแล้วไม่มีคนสนองก็ควรศึกษาแนวทางใหม่ เสนอใหม่
ไม่ใช่ดันทุรังเห็นเสียงตัวเองที่ค่อนแคะน้อยใจ แล้วมาโวยวายกับคนอื่น
อย่าเลียนแบบเด็กพึ่งหัดคลาน แม้อนาคตข้างหน้าอันใกล้ ด๊อกจะค่อยๆเริ่มก้มคลานก็ตาม
People shouldn't be afraid of their government.
Governments should be afraid of their people
Posted 28 June 2013 - 13:45
ก็แค่ Dogโสเภณี หน้าเงิน
จะคาดหวังอะไรมากมาย
สมาชิกผู้รกบอร์ด
หยาบคาย ทำเสียชื่อบอร์ด
ควรถูกเตือน
Posted 28 June 2013 - 13:48
ผมไม่สงสัยเลยจริงๆว่าทำไมได้แค่พันกว่าคะแนน
มันไม่เกี่ยวกันหรอก
โฆษิตทุ่มพอๆ กับ ผู้ว่า ยังได้ 20,000
ผมเสีย 150,000 ได้ 1,144 คะแนนก็หรูแล้วครับ
ใช่ว่าแพ้แล้วจะผิดนี่นา
แต่เสียงส่วนใหญ่คือความถูกต้องแน่นอนครับ
ใช่ครับ เสียงส่วนใหญ่คือความถูกต้อง
นั่นคือตอนเลือกหนเดียว
ไม่ได้รับรองพฤติกรรมว่าคุณชายจะไม่โกงในภายหลัง
ไม่ได้บอกว่าเรื่องอื่น เช่นที่เรากำลังคุยอยู่นี้ผิดนี่ครับ
ตกลงเสียงส่วนใหญ่คือความถูกต้องแค่ครั้งเดียวตอนผลการเลือกตั้งออกมา ว่างั้น
Posted 28 June 2013 - 13:48
ก็เพราะด็อกคิดเอง เออเอง ชาวกทมก็เลยไม่คิดเลือกไง
แบบนี้ก็ดีนะด็อกคนกทมเค้าจะได้รู้ว่าคุณไม่อยากให้คนกทมได้มีสวน เพราะเอาเงินคนส่วนใหญ่มาทำ ที่เอาเงินภาษีคนทั้งชาติไปจมกับจำนำข้าว ด็อกไม่เห่า
ไม่ไปคิดบ้างว่าภาษีที่เสียในแต่ละปีจังหวัดใหนบ้างที่เค้าจ่ายภาษีเยอะ
คน กทม จ่ายภาษีแยะน่ะ ภาษีทางตรงครับ ที่จ่าย vat และอื่นๆ อยู่ภูมิภาคครับ
แล้ว ดร คิดยังไงครับ
ที่ ปลอดฯ สร้างศูนย์ประชุมให้เชียงใหม่ แต่กลับไม่ยอมสร้างให้ภูเก็ต
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
Posted 28 June 2013 - 13:50
สู้เค้าครับ ด๊อก ต้องมีซักวัน ที่จะได้เป็นผู้ว่า
Posted 28 June 2013 - 13:55
สวนลุมมีมูลค่า 37,800 ล้านบาท ต้องเร่งสร้างเพิ่ม
หาเสียงส่งท้าย ตีค่าสวนลุมพินี เร่งสร้างเพิ่ม
ศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2556
ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 4http://www.sopon4.ho...?p=pages_46.php
หาเสียงส่งท้ายที่สวนลุมพินี มุ่งสร้างสวนสาธารณะเพิ่มเพื่อประชาชน
เช้าวันศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2556 ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หมายเลข 4 ได้ออกหาเสียงภาคสนามในส่วนของตนเองในครั้งสุดท้าย ณ สวนลุมพินี ได้พบปะกับพี่น้องประชาชน รวมทั้งเยาวชนและผู้สูงวัยในสวนลุมพินี พร้อมพาผู้สื่อข่าวสัมภาษณ์ผู้สูงวัยในสวนลุมพินีอีกด้วย
ในการนี้ ดร.โสภณ ได้ประมาณการมูลค่าของสวนลุมพินีไว้คร่าว ๆ 37,800 ล้านบาท หรือตกเป็นเงินตารางวาละ 262,000 บาท ซึ่งแม้จะถูกกว่าราคาที่ดินที่สีลมที่ประเมินไว้ที่ 1,200,000 บาทต่อตารางวา แต่ก็นับว่าเป็นมูลค่าที่สูงมาก และยังเอื้อให้มูลค่าที่ดินโดยรอบเพิ่มสูงขึ้นด้วยเพราะการดำรงอยู่ของสวนลุมพินี ดังนั้นจึงควรที่จะหาทางพัฒนาสวนสาธารณะโดยเฉพาะในเขตเมืองเพิ่มขึ้น เพื่อลดความตึงเครียดและเพิ่มความสุขแก่ประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร
รายละเอียดการคำนวณเป็นดังนี้:
1. เริ่มต้นที่การประมาณการจำนวนผู้ใช้สวนลุมพินีวันละประมาณ 12,000 คน (ปกติ 8,000 - 10,000 คน และวันเสาร์อาทิตย์ประมาณ 12,000 - 15,000 คน ทั้งนี้สอบถามจากสำนักงานสวนลุมพินี
2. ถ้าไม่มีสวนลุมพินี ประชาชนอาจต้องไปใช้บริการที่อื่น โดยเฉพาะภาคเอกชน ทั้งนี้ประมาณการค่าใช้จ่ายตกเป็นเงินวันละ 200 บาทต่อวัน แต่สวนลุมพินีเปิดให้ใช้ฟรี
3. ดังนั้นวันหนึ่ง ๆ การใช้สวนลุมพินีมีมูลค่ารวม 2.4 ล้านบาท (12,000 คน ๆ ละ 200 บาท) หรือปีละเป็นเงิน 876 ล้านบาท
4. หากคิดจากอัตราผลตอบแทนที่ 3.5% เพราะแทบไม่มีความเสี่ยงใด ๆ ในการดำเนินการสวนลุมพินีนี้ มูลค่าการใช้สวนลุมพินีจะเป็นเงิน 25,028.57 ล้านบาท (โดยคิดจากสูตรว่า มูลค่าเท่ากับรายได้หารด้วยอัตราผลตอบแทน หรือ 876 ล้าน หารด้วย 3.5%)
5. ยิ่งกว่านั้นการมีสวนลุมพินี ยังก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มเติมแก่อสังหาริมทรัพย์โดยรอบ โดยประมาณการว่าโดยรอบสวนลุมมีระยะทาง 3,040 เมตร แม้ในความเป็นจริงจะมีโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ตั้งอยู่ แต่หากสมมติให้สามารถพัฒนาพื้นที่โดยรอบให้เป็นเชิงพาณิชย์ได้ อสังหาริมทรัพย์ที่หันหน้าเข้าทางวิวสวนลุมพินีก็ย่อมมีมูลค่ามากกว่า
6. หากพื้นที่ 70% ของระยะโดยรอบ 3,040 เมตร หรือ 2,128 เมตรสามารถสร้างอาคารได้ และสร้างอาคารประมาณว่าลึก 100 เมตร ก็จะสามารถสร้างอาคารได้ 212,800 ตารางเมตร
7. หากการก่อสร้างสามารถสร้างได้ 10 เท่าของพื้นที่ก่อสร้าง ก็เท่ากับจะสามารถสร้างไดถึง 2,128,000 ตารางเมตร
8. หากประมาณการว่า 60% ของพื้นที่ดังกล่าวสามารถนำไปใช้เพื่อการพาณิชย์ได้ ก็จะมีพื้นที่ขายหรือให้เช่าได้ 1,276,800 ตารางเมตร ส่วนที่เหลือใช้เพื่อเป็นพื้นที่ส่วนกลาง โถงลิฟท์ และอื่น ๆ
9. ค่าเช่าพื้นที่สำนักงานในพื้นที่นี้ควรเป็นเงินประมาณตารางเมตรละ 100,000 บาท หากประมาณการคร่าว ๆ ว่า การได้อยู่ใกล้หรือมีวิวสวนลุมพินี น่าจะมีมูลค่าล้ำกว่ากัน 10% ก็เท่ากับว่าค่าการอยู่ใกล้หรือการมีวิวเป็นเงินตารางเมตรละ 10,000 บาท
10. ดังนั้นด้วยพื้นที่ 1,276,800 ตารางเมตร ณ ตารางเมตรละ 10,000 บาทที่เป็นส่วนล้ำของการอยู่ใกล้หรือได้วิวสวนลุมพินี ก็จะเป็นเงิน 12,768 ล้านบาท
11. มูลค่าของสวนลุมพินี จึงเป็นเงินเบื้องต้นประมาณ 37,796.57 ล้านบาท (ข้อ 4 + ข้อ 10) และโดยที่สวนลุมพินีมีขนาด 360 ไร่ จึงตกเป็นเงินตารางวาละ 262,476 บาท
นอกจากนี้ยังมีรายได้จากการให้เช่าต่าง ๆ อีกเป็นจำนวนมาก แต่ไม่ได้คิดไว้ในรายละเอียดในที่นี้ จึงจะเห็นได้ว่า สวนลุมพินีนั้นมีมูลค่ามหาศาล แม้จะต่ำกว่ามูลค่าของราคาที่ดินเพื่อการพาณิชย์ทั่วไปก็ตาม การดำรงอยู่ของสวนลุมพินี ยังช่วยเพิ่มพูนมูลค่าแก่อสังหาริมทรัพย์ใกล้เคียงอีกเป็นจำนวนมาก หากไม่มีสวนลุมพินี มูลค่าทรัพย์สินโดยรอบอาจจะลดลงไประดับหนึ่ง
จากมูลค่าเบื้องต้นที่ 262,000 ล้านบาทนี้ ชี้ว่า หากทางราชการนำสถานที่ราชการใจกลางเมืองมาพัฒนาเป็นสวนสาธารณะเพิ่มเติม ก็จะคุ้มค่าเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะหากพิจารณาถึงสุขภาพอนามัยของประชาชนที่หากเจ็บป่วยเพราะไม่ได้ออกกำลังกายเพียงพอ จะเกิดความสูญเสียกว่านี้มากนัก สวนลุมพินีสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 ควรมีเพิ่มขึ้นอีกหลายแห่งในใจกลางเมือง
ยิ่งกว่านั้นกรุงเทพมหานครในฐานะผู้ควบคุมอาคาร ควรกำหนดผังเมืองให้สามารถสร้างอาคารขนาดใหญ่ใจกลางเมือง โดยให้สร้างได้ 15-20 เท่าของขนาดที่ดิน ให้ขึ้นอาคารสูง ๆ แต่ให้เว้นพื้นที่โดยรอบให้มาก ก็จะทำให้เกิดพื้นที่สีเขียวใจกลางเมืองได้อีกมาก กลายเป็น Garden City เช่น สิงคโปร์ ที่ออกแบบเมืองให้มีความหนาแน่นสูง (High Density) แต่ไม่แออัด (Overcrowdedness) แต่กรุงเทพมหานครของไทยเรากลับเป็นแบบตรงกันข้ามคือแออัดแต่ไม่หนาแน่น มีจำนวนประชากร 3,600 คนต่อตารางกิโลเมตร ขณะที่สิงคโปร์มีสูงถึง 7,000 คน และนครนิวยอร์คมีสูงถึง 10,000 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นต้น
เราต้องคิดวางแผนและสร้างบ้านแปงเมืองอย่างมืออาชีพเสียที
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
Posted 28 June 2013 - 14:20
ผมไม่สงสัยเลยจริงๆว่าทำไมได้แค่พันกว่าคะแนน
มันไม่เกี่ยวกันหรอก
โฆษิตทุ่มพอๆ กับ ผู้ว่า ยังได้ 20,000
ผมเสีย 150,000 ได้ 1,144 คะแนนก็หรูแล้วครับ
ใช่ว่าแพ้แล้วจะผิดนี่นา
ผมไม่ได้หมายถึงจำนวนเงินที่ทุ่มไปกับการหาเสียงนะครับ
ผมหมายถึงสมองของด็อกน่ะ
คนอย่างด็อกนี่หน้าเงินของแท้เลย
พูดอะไรพาเข้าเรื่องเงินได้หมดเลย
ขอซูฮกจริงๆ
Posted 28 June 2013 - 14:22
ผมก็เหนด้วยกับท่านหมดเลยครับ
ยกเว้นการเอาสมบัติของคนทั้งประเทศ
มาประเคนให้คน กทม บางส่วน
อย่าอ้างนักท่องเที่ยวเลยครับ
ขนาด central park ก็ไม่ใช่จุดท่องเที่ยวหลักนะครับ
แล้วท่านเห็นด้วยกับการสร้างสวนสัตว์เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีรึเปล่าครับ ???
สวนสัตว์ยังเกบตังค์ได้ และกระจายความเจริญออกนอกครับ
ถูกต้องครับ เพราะสวนสัตว์เชียงใหม่ มันไม่ใช่สวน"สาธารณะ" ... ท่านเข้าใจคำว่า "สาธารณะ" ว่าคือแบบไหนหรือครับ ???
ไอ้สวนสาธารณะนี่ทำเงินได้หรือเปล่าครับ
ถ้าทำเงินไม่ได้ ก็อย่าเอามาคุยกับด็อกหน้าเงินดีกว่าครับ
Posted 28 June 2013 - 14:22
ผมไม่สงสัยเลยจริงๆว่าทำไมได้แค่พันกว่าคะแนน
มันไม่เกี่ยวกันหรอก
โฆษิตทุ่มพอๆ กับ ผู้ว่า ยังได้ 20,000
ผมเสีย 150,000 ได้ 1,144 คะแนนก็หรูแล้วครับ
ใช่ว่าแพ้แล้วจะผิดนี่นา
ผมไม่ได้หมายถึงจำนวนเงินที่ทุ่มไปกับการหาเสียงนะครับ
ผมหมายถึงสมองของด็อกน่ะ
คนอย่างด็อกนี่หน้าเงินของแท้เลย
พูดอะไรพาเข้าเรื่องเงินได้หมดเลย
ขอซูฮกจริงๆ
อย่าเชื่อในสิ่งที่ไอ้แม้วและไอ้พวกแกนนำ นปช. พูด
แต่ให้ดูในสิ่งที่พวกมันทำ
Posted 28 June 2013 - 15:12
ดร ครับ
ท่านเรียกร้องพื้นที่สีเขียวกรณีผังเมือง แต่ต่อต้านพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง
แปลกไหม?
ไม่แปลกหรอกครับ หากได้อ่านที่ผมเขียน ก่อน comment ครับผม
http://webboard.seri...-หลงทางหาทางเข/
นิสัยเดิมๆเลยนะฮะดร.
ผมเข้าไม่ถูกก็ถาม
ผิดหรือ
แล้วเกี่ยวกับกระทู้นี้ยังไง
คนไม่ดีก็หวังแต่จะตอดโจมตีกัน
คนอย่างนี้ใครเปนเพื่อนด้วย
ต้องระวังนะครับ
คุณโสภณถามว่ามันเกี่ยวกับกระทู้ยังไงน่ะเหรอคะ คนเม้นเค้าต้องการแสดงให้คนอื่นดูถึงความโง่ของ จขกทน่ะค่ะ เวลาที่คุณโสภณเป็นจขกทกระทู้อื่นก็มักเป็นกระทู้ที่โง่ๆ ชี้แจงไม่ได้ตอบไม่ตรงคำถาม เค้าก็เลยลองเอาความโง่ของจขกทตอนที่อยู่นอกเว็บบอร์ดมาให้ดูบ้างไงคะ คุณอ่านออกไหมน่ะคะเค้าเม้นว่านี่คือนิสัยเดิมๆของจขกท ซึ่งแสดงว่ายังมีนิสัยเสียแบบนี้อยู่น่ะค่ะ
Edited by แดงประจำเดือน, 28 June 2013 - 15:22.
Posted 28 June 2013 - 15:13
ผมไม่สงสัยเลยจริงๆว่าทำไมได้แค่พันกว่าคะแนน
มันไม่เกี่ยวกันหรอก
โฆษิตทุ่มพอๆ กับ ผู้ว่า ยังได้ 20,000
ผมเสีย 150,000 ได้ 1,144 คะแนนก็หรูแล้วครับ
ใช่ว่าแพ้แล้วจะผิดนี่นา
ผมไม่ได้หมายถึงจำนวนเงินที่ทุ่มไปกับการหาเสียงนะครับ
ผมหมายถึงสมองของด็อกน่ะ
คนอย่างด็อกนี่หน้าเงินของแท้เลย
พูดอะไรพาเข้าเรื่องเงินได้หมดเลย
ขอซูฮกจริงๆ
ลองอ่านดูครับ
สวนลุมมีมูลค่า 37,800 ล้านบาท ต้องเร่งสร้างเพิ่ม
หาเสียงส่งท้าย ตีค่าสวนลุมพินี เร่งสร้างเพิ่ม
ศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2556
ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 4
http://www.sopon4.ho...?p=pages_46.php
หาเสียงส่งท้ายที่สวนลุมพินี มุ่งสร้างสวนสาธารณะเพิ่มเพื่อประชาชน
เช้าวันศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2556 ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หมายเลข 4 ได้ออกหาเสียงภาคสนามในส่วนของตนเองในครั้งสุดท้าย ณ สวนลุมพินี ได้พบปะกับพี่น้องประชาชน รวมทั้งเยาวชนและผู้สูงวัยในสวนลุมพินี พร้อมพาผู้สื่อข่าวสัมภาษณ์ผู้สูงวัยในสวนลุมพินีอีกด้วย
ในการนี้ ดร.โสภณ ได้ประมาณการมูลค่าของสวนลุมพินีไว้คร่าว ๆ 37,800 ล้านบาท หรือตกเป็นเงินตารางวาละ 262,000 บาท ซึ่งแม้จะถูกกว่าราคาที่ดินที่สีลมที่ประเมินไว้ที่ 1,200,000 บาทต่อตารางวา แต่ก็นับว่าเป็นมูลค่าที่สูงมาก และยังเอื้อให้มูลค่าที่ดินโดยรอบเพิ่มสูงขึ้นด้วยเพราะการดำรงอยู่ของสวนลุมพินี ดังนั้นจึงควรที่จะหาทางพัฒนาสวนสาธารณะโดยเฉพาะในเขตเมืองเพิ่มขึ้น เพื่อลดความตึงเครียดและเพิ่มความสุขแก่ประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร
รายละเอียดการคำนวณเป็นดังนี้:
1. เริ่มต้นที่การประมาณการจำนวนผู้ใช้สวนลุมพินีวันละประมาณ 12,000 คน (ปกติ 8,000 - 10,000 คน และวันเสาร์อาทิตย์ประมาณ 12,000 - 15,000 คน ทั้งนี้สอบถามจากสำนักงานสวนลุมพินี
2. ถ้าไม่มีสวนลุมพินี ประชาชนอาจต้องไปใช้บริการที่อื่น โดยเฉพาะภาคเอกชน ทั้งนี้ประมาณการค่าใช้จ่ายตกเป็นเงินวันละ 200 บาทต่อวัน แต่สวนลุมพินีเปิดให้ใช้ฟรี
3. ดังนั้นวันหนึ่ง ๆ การใช้สวนลุมพินีมีมูลค่ารวม 2.4 ล้านบาท (12,000 คน ๆ ละ 200 บาท) หรือปีละเป็นเงิน 876 ล้านบาท
4. หากคิดจากอัตราผลตอบแทนที่ 3.5% เพราะแทบไม่มีความเสี่ยงใด ๆ ในการดำเนินการสวนลุมพินีนี้ มูลค่าการใช้สวนลุมพินีจะเป็นเงิน 25,028.57 ล้านบาท (โดยคิดจากสูตรว่า มูลค่าเท่ากับรายได้หารด้วยอัตราผลตอบแทน หรือ 876 ล้าน หารด้วย 3.5%)
5. ยิ่งกว่านั้นการมีสวนลุมพินี ยังก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มเติมแก่อสังหาริมทรัพย์โดยรอบ โดยประมาณการว่าโดยรอบสวนลุมมีระยะทาง 3,040 เมตร แม้ในความเป็นจริงจะมีโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ตั้งอยู่ แต่หากสมมติให้สามารถพัฒนาพื้นที่โดยรอบให้เป็นเชิงพาณิชย์ได้ อสังหาริมทรัพย์ที่หันหน้าเข้าทางวิวสวนลุมพินีก็ย่อมมีมูลค่ามากกว่า
6. หากพื้นที่ 70% ของระยะโดยรอบ 3,040 เมตร หรือ 2,128 เมตรสามารถสร้างอาคารได้ และสร้างอาคารประมาณว่าลึก 100 เมตร ก็จะสามารถสร้างอาคารได้ 212,800 ตารางเมตร
7. หากการก่อสร้างสามารถสร้างได้ 10 เท่าของพื้นที่ก่อสร้าง ก็เท่ากับจะสามารถสร้างไดถึง 2,128,000 ตารางเมตร
8. หากประมาณการว่า 60% ของพื้นที่ดังกล่าวสามารถนำไปใช้เพื่อการพาณิชย์ได้ ก็จะมีพื้นที่ขายหรือให้เช่าได้ 1,276,800 ตารางเมตร ส่วนที่เหลือใช้เพื่อเป็นพื้นที่ส่วนกลาง โถงลิฟท์ และอื่น ๆ
9. ค่าเช่าพื้นที่สำนักงานในพื้นที่นี้ควรเป็นเงินประมาณตารางเมตรละ 100,000 บาท หากประมาณการคร่าว ๆ ว่า การได้อยู่ใกล้หรือมีวิวสวนลุมพินี น่าจะมีมูลค่าล้ำกว่ากัน 10% ก็เท่ากับว่าค่าการอยู่ใกล้หรือการมีวิวเป็นเงินตารางเมตรละ 10,000 บาท
10. ดังนั้นด้วยพื้นที่ 1,276,800 ตารางเมตร ณ ตารางเมตรละ 10,000 บาทที่เป็นส่วนล้ำของการอยู่ใกล้หรือได้วิวสวนลุมพินี ก็จะเป็นเงิน 12,768 ล้านบาท
11. มูลค่าของสวนลุมพินี จึงเป็นเงินเบื้องต้นประมาณ 37,796.57 ล้านบาท (ข้อ 4 + ข้อ 10) และโดยที่สวนลุมพินีมีขนาด 360 ไร่ จึงตกเป็นเงินตารางวาละ 262,476 บาท
นอกจากนี้ยังมีรายได้จากการให้เช่าต่าง ๆ อีกเป็นจำนวนมาก แต่ไม่ได้คิดไว้ในรายละเอียดในที่นี้ จึงจะเห็นได้ว่า สวนลุมพินีนั้นมีมูลค่ามหาศาล แม้จะต่ำกว่ามูลค่าของราคาที่ดินเพื่อการพาณิชย์ทั่วไปก็ตาม การดำรงอยู่ของสวนลุมพินี ยังช่วยเพิ่มพูนมูลค่าแก่อสังหาริมทรัพย์ใกล้เคียงอีกเป็นจำนวนมาก หากไม่มีสวนลุมพินี มูลค่าทรัพย์สินโดยรอบอาจจะลดลงไประดับหนึ่ง
จากมูลค่าเบื้องต้นที่ 262,000 ล้านบาทนี้ ชี้ว่า หากทางราชการนำสถานที่ราชการใจกลางเมืองมาพัฒนาเป็นสวนสาธารณะเพิ่มเติม ก็จะคุ้มค่าเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะหากพิจารณาถึงสุขภาพอนามัยของประชาชนที่หากเจ็บป่วยเพราะไม่ได้ออกกำลังกายเพียงพอ จะเกิดความสูญเสียกว่านี้มากนัก สวนลุมพินีสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 ควรมีเพิ่มขึ้นอีกหลายแห่งในใจกลางเมือง
ยิ่งกว่านั้นกรุงเทพมหานครในฐานะผู้ควบคุมอาคาร ควรกำหนดผังเมืองให้สามารถสร้างอาคารขนาดใหญ่ใจกลางเมือง โดยให้สร้างได้ 15-20 เท่าของขนาดที่ดิน ให้ขึ้นอาคารสูง ๆ แต่ให้เว้นพื้นที่โดยรอบให้มาก ก็จะทำให้เกิดพื้นที่สีเขียวใจกลางเมืองได้อีกมาก กลายเป็น Garden City เช่น สิงคโปร์ ที่ออกแบบเมืองให้มีความหนาแน่นสูง (High Density) แต่ไม่แออัด (Overcrowdedness) แต่กรุงเทพมหานครของไทยเรากลับเป็นแบบตรงกันข้ามคือแออัดแต่ไม่หนาแน่น มีจำนวนประชากร 3,600 คนต่อตารางกิโลเมตร ขณะที่สิงคโปร์มีสูงถึง 7,000 คน และนครนิวยอร์คมีสูงถึง 10,000 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นต้น
เราต้องคิดวางแผนและสร้างบ้านแปงเมืองอย่างมืออาชีพเสียที
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
Posted 28 June 2013 - 15:19
ดร ครับ
ท่านเรียกร้องพื้นที่สีเขียวกรณีผังเมือง แต่ต่อต้านพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง
แปลกไหม?
ไม่แปลกหรอกครับ หากได้อ่านที่ผมเขียน ก่อน comment ครับผม
http://webboard.seri...-หลงทางหาทางเข/
นิสัยเดิมๆเลยนะฮะดร.
ผมเข้าไม่ถูกก็ถาม
ผิดหรือ
แล้วเกี่ยวกับกระทู้นี้ยังไง
คนไม่ดีก็หวังแต่จะตอดโจมตีกัน
คนอย่างนี้ใครเปนเพื่อนด้วย
ต้องระวังนะครับ
คุณโสภณถามว่ามันเกี่ยวกับกระทู้ยังไงน่ะเหรอคะ คนเม้นเค้าต้องการแสดงให้คนอื่นดูถึงความโง่ของ จขกทน่ะค่ะ เวลาที่คุณโสภณเป็นจขกทกระทู้อื่นก็มักเป็นกระทู้ที่โง่ๆ ชี้อจงไม่ได้ตอบไม่ตรงคำถาม เค้าก็เลยลองเอาความโง่ของจขกทตอนที่อยู่นอกเว็บบอร์ดมาให้ดูบ้างไงคะ คุณอ่านออกไหมน่ะคะเค้าเม้นว่านี่คือนิสัยเดิมๆของจขกท ซึ่งแสดงว่ายังมีนิสัยเสียแบบนี้อยู่น่ะค่ะ
Posted 28 June 2013 - 15:20
ผมได้ทำจดหมายเปิดผนึกร่วมคัดค้านร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 ถึงนายกรัฐมนตรี ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและรัฐมนตรีตลอดจนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และกำลังระดมหาผู้เห็นด้วย เพื่อร่วมลงนามคัดค้านร่างผังเมืองดังกล่าว จึงขอความร่วมมือสื่อมวลชนโปรดเผยแพร่จดหมายเปิดผนึกนี้ และหากมีประชาชนท่านใดเห็นด้วยกับหนังสือคัดค้านนี้ ก็สามารถ Click http://thaisocialwork.files.wordpress.com/2013/04/2013-04-218_fax-022951154.pdf เพื่อ download ฉบับจริงแล้วลงนามส่งกลับไปที่ ดร.โสภณ พรโชคชัย ทาง Fax 02.295.1154 หรือ Email: thaiappraisal@gmail.com ภายในวันศุกร์ที่ 26 เมษายน 2556 นี้เพื่อรวบรวมส่งรัฐบาลต่อไปจดหมายเปิดผนึกร่วมคัดค้านร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.255622 เมษายน 2556เรื่อง คัดค้านร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556เรียน น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
นายสันติ พร้อมพัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
นายประเสริฐ บุญชัยสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
นายประชา ประสพดี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
พลตำรวจโท ชัจจ์ กุลดิลก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
พลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
นายฐานิสร์ เทียนทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
นายมณฑล สุดประเสริฐ อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเนื่องด้วยขณะนี้กรุงเทพมหานครพยายามเสนอต่อกระทรวงมหาดไทยเพื่อผลักดันร่างผังเมืองฉบับใหม่ออกมาประกาศใช้ แต่ร่างดังกล่าวมีข้อบกพร่องมากมาย หากนำมาใช้จะสร้างปัญหามากกว่าจะช่วยสนับสนุนการวางแผนพัฒนาเมืองให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย พวกข้าพเจ้าจึงขอคัดค้านร่างดังกล่าวดังนี้:1. ในพื้นที่ธุรกิจใจกลางเมืองถูกจำกัดการก่อสร้างทั้งที่ควรให้พัฒนาในแนวสูง เพื่อใช้ที่ดินอย่างคุ้มค่าและเก็บภาษีได้มาก กรุงเทพมหานครมักอ้างว่ามีไฟไหม้อาคารขนาดใหญ่บ่อยครั้ง ซึ่งไม่จริง ในช่วง พ.ศ.2550-5 อาคารเหล่านี้ เกิดเพลิงไหม้ลดลงจาก 9% เหลือ 1% อาคารเหล่านี้มีระบบป้องกันไฟไหม้ที่ดี กรุงเทพมหานครควรปรับปรุงประสิทธิภาพในการดับเพลิง แทนที่จะนำมาอ้างเพื่อกีดขวางการพัฒนา2. ร่างผังเมืองนี้ทำให้เมืองขยายออกไปในแนวราบ รุกทำลายสิ่งแวดล้อมและพื้นที่เกษตรกรรม สิ้นเปลืองงบประมาณขยายสาธารณูปโภคไม่สิ้นสุด ยังทำให้ประชาชนเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก ซึ่งเป็นการผลักภาระและปัญหาไปสู่จังหวัดอื่น เช่น
2.1 ในพื้นที่ ย.3 ซึ่งเป็นพื้นที่อยู่อาศัยหลายร้อยตารางกิโลเมตรและมีอะพาร์ตเมนต์ให้บริการผู้มีรายได้น้อยมากมาย กรุงเทพมหานครกลับห้ามสร้างอะพาร์ตเมนต์ขนาดเกิน 1,000 ตารางเมตรหากถนนผ่านหน้าที่ดินมีความกว้างไม่ถึง 30 เมตร ทั้งที่รู้ว่าในความเป็นจริงไม่มีซอยใดที่จะมีความกว้างเช่นนี้
2.2 ในพื้นที่ ย.2 ห้ามสร้างทาวน์เฮาส์ ทั้งที่บริเวณเหล่านี้มีทาวน์เฮาส์สำหรับผู้มีรายได้ปานกลางและรายได้น้อยอยู่มากมาย ดังนั้นต่อไปประชาชนโดยเฉพาะผู้มีรายได้น้อยและรายได้ปานกลางต้องระเห็จออกไปอยู่นอกเมือง โดยตามรอยตะเข็บเขตสมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี กลับมีโครงการใหญ่ๆ ประเภทอาคารชุดและทาวน์เฮาส์มากมาย เพราะไม่สามารถสร้างในเขตกรุงเทพมหานครได้3. ตามร่างผังเมืองใหม่ก็ไม่ได้กำหนดให้มีแผนการป้องกันน้ำท่วมอย่างเป็นรูปธรรมเพราะไม่ได้ทำถนนและเขื่อนริมแม่น้ำเจ้าพระยา ระบบเปิดปิดน้ำกันน้ำทะเลหนุน และระบบคลองระบายน้ำใหม่ๆ เป็นต้น ยิ่งกว่านั้นกรุงเทพมหานครควรดำเนินการอย่างมีบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่น4. ผังเมืองที่ออกมาไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงในหลายประการ เช่น
4.1 ถนนบางเส้นไม่จำเป็นต้องสร้าง เช่น ถนน ง.2 หนองจอก เพราะสภาพเป็นทุ่งนา แต่บางเส้นเล็กและคดเคี้ยวกลับไม่ตัดถนน เช่นทางเข้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตบางขุนเทียน
4.2 กำหนดการใช้พื้นที่ไม่เป็นจริง เช่น พื้นที่พาณิชยกรรม พ.1-12 ถนนนวมินทร์กลับมีสภาพจริงเป็นหมู่บ้านจัดสรร หรือพื้นที่ อ.1-4 ถนนเทียนทะเลที่กำหนดให้เป็นเขตอุตสาหกรรมเฉพาะ 200 เมตรแรกที่ติดถนน (ฝั่งซ้าย) และ ตลอดแนวคลองที่ขนานกับถนน (ฝั่งขวา) แต่ในความเป็นจริง พื้นที่โดยรอบก็มีโรงงานมากมาย ผังเมืองจึงวางอย่างละเอียดรอบคอบกว่านี้5. แผนก่อสร้างและปรับปรุงถนน 140 สายตามร่างผังเมืองรวมนั้น หลายสายก็วาดไว้ตั้งแต่ผังเมืองฉบับปัจจุบันที่ประกาศใช้ในปี พ.ศ.2549 แต่ยังไม่ได้ก่อสร้าง บางสายก็วาดต่างไปจากเดิม ที่สำคัญก็คือ งบประมาณก่อสร้างถนนตามที่วาดไว้ยังไม่มีการจัดหาไว้ ซึ่งแสดงถึงความไม่แน่นอน6. ผังเมืองกรุงเทพมหานครขาดการพัฒนาสวนสาธารณะ ซึ่งขณะนี้มีพื้นที่เพียง 4.65 ตารางเมตรต่อคน ซึ่งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับมหานครทั่วโลก ที่สำคัญพื้นที่สวนสวนสาธารณะ 26 ตารางกิโลเมตรยังรวมสวนในหมู่บ้านเอกชน เกาะกลางถนน บึงน้ำ พื้นที่ว่างของกองทัพ ฯลฯ เข้าไปด้วย นอกจากนี้สวนสาธารณะส่วนมากจะสร้างในเขตรอบนอกซึ่งมีความจำเป็นน้อย ไม่มีการวางแผนสร้างสวนสาธารณะใจกลางเมือง ดังนั้นการกล่าวอ้างว่าผังเมืองจะทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองสีเขียว (Green City) จึงไม่จริง7. ร่างผังเมืองนี้พยายามเสนอข้อดีบางประการ ซึ่งไม่เป็นจริง เช่น
7.1 จะเพิ่มการควบคุมกิจกรรมที่ขัดต่อสุขลักษณะ 5 กิจกรรม เช่น สนามแข่งม้า สนามแข่งรถ และสนามยิงปืนนั้น ในความเป็นจริงไม่ได้มีผลในทางปฏิบัติอยู่แล้ว เพราะแทบไม่มีการขออนุญาต
7.2 การแจก "แจกโบนัส 5-20%" คือให้สร้างเพิ่มเติมกว่ากฎหมายปกติกำหนด ในรัศมี 500 เมตรรอบสถานีรถไฟฟ้านั้น ก็ใช้ได้เฉพาะสถานีที่สร้างเสร็จแล้ว ไม่ใช่ที่กำลังก่อสร้างอยู่ ดังนั้นจึงไม่มีผลอะไร
7.3 การพัฒนาศูนย์เมืองย่อย เช่น ในย่านมีนบุรีที่แนวรถไฟฟ้าสายสีชมพู-สีส้มมาบรรจบกัน ย่านพระรามที่ 2 ใกล้กับถนนกาญจนาภิเษก และย่านรามอินทราใกล้จุดตัดถนนรัชดา-รามอินทรา เป็นต้น หากร่างผังเมืองนี้ได้ประกาศใช้ในปีนี้และหมดอายุในปี 2560 ก็ยังไม่แน่ว่ารถไฟฟ้าทั้งสองสายจะได้สร้างเสร็จโดยสรุปแล้ว อาจกล่าวได้ว่าร่างผังเมืองนี้ เป็นการแก้ปัญหาเมืองแบบซุกปัญหาไว้ใต้พรม เพราะแทนที่จะจัดระเบียบการใช้ที่ดินที่ดี กลับปัดปัญหาออกไปนอกเมือง นี่จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้ประชากรของกรุงเทพมหานครลดลงในระยะหลายปีที่ผ่านมา เพราะประชาชนไม่สามารถอยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครได้ เพราะความพยายามทำเมืองให้หลวม กรุงเทพมหานครควรคิดใหม่ ทำเมืองให้หนาแน่น (High Density) แต่ไม่แออัด (Overcrowded) แต่ปัจจุบันกลับทำในทางตรงกันข้ามประเด็นหนึ่งที่กรุงเทพมหานครเองไม่สามารถจะแก้ปัญหาของเมืองและวางแผนการพัฒนาเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ เพราะขณะนี้ความเป็นเมืองของกรุงเทพมหานครได้ขยายออกนอกเขตบริหารของกรุงเทพมหานครแล้ว ยิ่งกว่านั้นกรุงเทพมหานครยังขาดการประสานแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงทำให้ผังเมืองกับการขยายตัวของสถานศึกษา พื้นที่ปกครอง กิจการไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ถนน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือแม้แต่ราคาประเมินของทางราชการ ก็ไม่ได้ยึดโยงกับผังเมืองดังนั้นกระทรวงมหาดไทยในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบการวางผังเมืองจึงควรดำเนินการวางแผนภาคมหานคร ซึ่งรวมพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมกันวางผังนี้ให้เป็นแผนแม่บทในด้านการปกครอง สาธารณูปโภคและอื่นๆ ในระหว่างนี้ให้ประกาศใช้ผังเมืองฉบับเดิมไปก่อน และให้มีกรอบเวลาการทำผังภาคมหานครให้แล้วเสร็จใน 2 ปี สำหรับสาระสำคัญดังนี้:
1. ในพื้นที่เขตธุรกิจชั้นในของกรุงเทพมหานคร ควรอนุญาตให้ก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่และสูงพิเศษ แต่ให้เว้นพื้นที่ว่างให้มากเพื่อให้เกิดพื้นที่สีเขียวใจกลางเมือง แต่ทั้งนี้ไม่ใช่ให้สิทธิพิเศษ เพราะกรุงเทพมหานครควรจัดเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษสำหรับการก่อสร้างอาคารได้สูงหรือใหญ่พิเศษ เพื่อนำเงินไปเข้ากองทุนพัฒนาระบบคมนาคม เช่น รถไฟฟ้ามวลเบา ผ่านเข้าสู่ถนนสายต่างๆ เพื่อการระบายการจราจร2. ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ประสาน
2.1 กับกิจการไฟฟ้า ประปา ทางหลวง รถไฟฟ้า ช่วยกันน่างผังเมืองนี้เป็นแผนแม่บทของหน่วยงานของตน ส่วนในพื้นที่อนุรักษ์ชนบทจะห้ามก่อสร้างถนนหรือขยายไฟฟ้า ประปาไปบริเวณดังกล่าว
2.2 กับการเคหะแห่งชาติและหน่วยงานอื่นโดยควรใช้วิธีจัดรูปหรือเวนคืนที่ดินชานเมือง เช่น เขตหนองจอก ราว 10,000 – 20,000 ไร่ สร้างเมืองใหม่แบบปิดล้อมแต่มีระบบขนส่งมวลชนเข้าสู่ใจกลางเมืองโดยตรง แล้วจัดสรรที่ดินที่มีสาธารณูปโภคครบ (serviced land) เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย ศูนย์ธุรกิจ เป็นต้น
2.3 กับกรมธนารักษ์เพื่อนำที่ดินใจกลางเมืองมาพัฒนาเป็นศูนย์ธุรกิจ เพื่อให้ธุรกิจมีการรวมศูนย์ สาธารณูปโภคไม่ต้องขยายตัวอย่างไร้ขอบเขต เป็นการเพิ่มศักยภาพให้กับธุรกิจด้วยกันเองในพื้นที่
2.4 กับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อจัดสร้างนิคมให้โรงงานได้ใช้ในราคาถูกเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม และเพื่อห้ามการก่อสร้างโรงงานตามท้องนาหรือย่านชานเมืองเช่นที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาและขอขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้ขอแสดงความนับถือ
ชื่อ-สกุล _____________________ เลขที่บัตรประชาชน ____________________ ลายมือชื่อ________________
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
Posted 28 June 2013 - 15:22
ผมได้ทำจดหมายเปิดผนึกร่วมคัดค้านร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 ถึงนายกรัฐมนตรี ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและรัฐมนตรีตลอดจนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และกำลังระดมหาผู้เห็นด้วย เพื่อร่วมลงนามคัดค้านร่างผังเมืองดังกล่าว จึงขอความร่วมมือสื่อมวลชนโปรดเผยแพร่จดหมายเปิดผนึกนี้ และหากมีประชาชนท่านใดเห็นด้วยกับหนังสือคัดค้านนี้ ก็สามารถ Click http://thaisocialwork.files.wordpress.com/2013/04/2013-04-218_fax-022951154.pdf เพื่อ download ฉบับจริงแล้วลงนามส่งกลับไปที่ ดร.โสภณ พรโชคชัย ทาง Fax 02.295.1154 หรือ Email: thaiappraisal@gmail.com ภายในวันศุกร์ที่ 26 เมษายน 2556 นี้เพื่อรวบรวมส่งรัฐบาลต่อไปจดหมายเปิดผนึกร่วมคัดค้านร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.255622 เมษายน 2556เรื่อง คัดค้านร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556เรียน น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
นายสันติ พร้อมพัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
นายประเสริฐ บุญชัยสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
นายประชา ประสพดี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
พลตำรวจโท ชัจจ์ กุลดิลก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
พลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
นายฐานิสร์ เทียนทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
นายมณฑล สุดประเสริฐ อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเนื่องด้วยขณะนี้กรุงเทพมหานครพยายามเสนอต่อกระทรวงมหาดไทยเพื่อผลักดันร่างผังเมืองฉบับใหม่ออกมาประกาศใช้ แต่ร่างดังกล่าวมีข้อบกพร่องมากมาย หากนำมาใช้จะสร้างปัญหามากกว่าจะช่วยสนับสนุนการวางแผนพัฒนาเมืองให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย พวกข้าพเจ้าจึงขอคัดค้านร่างดังกล่าวดังนี้:1. ในพื้นที่ธุรกิจใจกลางเมืองถูกจำกัดการก่อสร้างทั้งที่ควรให้พัฒนาในแนวสูง เพื่อใช้ที่ดินอย่างคุ้มค่าและเก็บภาษีได้มาก กรุงเทพมหานครมักอ้างว่ามีไฟไหม้อาคารขนาดใหญ่บ่อยครั้ง ซึ่งไม่จริง ในช่วง พ.ศ.2550-5 อาคารเหล่านี้ เกิดเพลิงไหม้ลดลงจาก 9% เหลือ 1% อาคารเหล่านี้มีระบบป้องกันไฟไหม้ที่ดี กรุงเทพมหานครควรปรับปรุงประสิทธิภาพในการดับเพลิง แทนที่จะนำมาอ้างเพื่อกีดขวางการพัฒนา2. ร่างผังเมืองนี้ทำให้เมืองขยายออกไปในแนวราบ รุกทำลายสิ่งแวดล้อมและพื้นที่เกษตรกรรม สิ้นเปลืองงบประมาณขยายสาธารณูปโภคไม่สิ้นสุด ยังทำให้ประชาชนเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก ซึ่งเป็นการผลักภาระและปัญหาไปสู่จังหวัดอื่น เช่น
2.1 ในพื้นที่ ย.3 ซึ่งเป็นพื้นที่อยู่อาศัยหลายร้อยตารางกิโลเมตรและมีอะพาร์ตเมนต์ให้บริการผู้มีรายได้น้อยมากมาย กรุงเทพมหานครกลับห้ามสร้างอะพาร์ตเมนต์ขนาดเกิน 1,000 ตารางเมตรหากถนนผ่านหน้าที่ดินมีความกว้างไม่ถึง 30 เมตร ทั้งที่รู้ว่าในความเป็นจริงไม่มีซอยใดที่จะมีความกว้างเช่นนี้
2.2 ในพื้นที่ ย.2 ห้ามสร้างทาวน์เฮาส์ ทั้งที่บริเวณเหล่านี้มีทาวน์เฮาส์สำหรับผู้มีรายได้ปานกลางและรายได้น้อยอยู่มากมาย ดังนั้นต่อไปประชาชนโดยเฉพาะผู้มีรายได้น้อยและรายได้ปานกลางต้องระเห็จออกไปอยู่นอกเมือง โดยตามรอยตะเข็บเขตสมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี กลับมีโครงการใหญ่ๆ ประเภทอาคารชุดและทาวน์เฮาส์มากมาย เพราะไม่สามารถสร้างในเขตกรุงเทพมหานครได้3. ตามร่างผังเมืองใหม่ก็ไม่ได้กำหนดให้มีแผนการป้องกันน้ำท่วมอย่างเป็นรูปธรรมเพราะไม่ได้ทำถนนและเขื่อนริมแม่น้ำเจ้าพระยา ระบบเปิดปิดน้ำกันน้ำทะเลหนุน และระบบคลองระบายน้ำใหม่ๆ เป็นต้น ยิ่งกว่านั้นกรุงเทพมหานครควรดำเนินการอย่างมีบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่น4. ผังเมืองที่ออกมาไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงในหลายประการ เช่น
4.1 ถนนบางเส้นไม่จำเป็นต้องสร้าง เช่น ถนน ง.2 หนองจอก เพราะสภาพเป็นทุ่งนา แต่บางเส้นเล็กและคดเคี้ยวกลับไม่ตัดถนน เช่นทางเข้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตบางขุนเทียน
4.2 กำหนดการใช้พื้นที่ไม่เป็นจริง เช่น พื้นที่พาณิชยกรรม พ.1-12 ถนนนวมินทร์กลับมีสภาพจริงเป็นหมู่บ้านจัดสรร หรือพื้นที่ อ.1-4 ถนนเทียนทะเลที่กำหนดให้เป็นเขตอุตสาหกรรมเฉพาะ 200 เมตรแรกที่ติดถนน (ฝั่งซ้าย) และ ตลอดแนวคลองที่ขนานกับถนน (ฝั่งขวา) แต่ในความเป็นจริง พื้นที่โดยรอบก็มีโรงงานมากมาย ผังเมืองจึงวางอย่างละเอียดรอบคอบกว่านี้5. แผนก่อสร้างและปรับปรุงถนน 140 สายตามร่างผังเมืองรวมนั้น หลายสายก็วาดไว้ตั้งแต่ผังเมืองฉบับปัจจุบันที่ประกาศใช้ในปี พ.ศ.2549 แต่ยังไม่ได้ก่อสร้าง บางสายก็วาดต่างไปจากเดิม ที่สำคัญก็คือ งบประมาณก่อสร้างถนนตามที่วาดไว้ยังไม่มีการจัดหาไว้ ซึ่งแสดงถึงความไม่แน่นอน6. ผังเมืองกรุงเทพมหานครขาดการพัฒนาสวนสาธารณะ ซึ่งขณะนี้มีพื้นที่เพียง 4.65 ตารางเมตรต่อคน ซึ่งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับมหานครทั่วโลก ที่สำคัญพื้นที่สวนสวนสาธารณะ 26 ตารางกิโลเมตรยังรวมสวนในหมู่บ้านเอกชน เกาะกลางถนน บึงน้ำ พื้นที่ว่างของกองทัพ ฯลฯ เข้าไปด้วย นอกจากนี้สวนสาธารณะส่วนมากจะสร้างในเขตรอบนอกซึ่งมีความจำเป็นน้อย ไม่มีการวางแผนสร้างสวนสาธารณะใจกลางเมือง ดังนั้นการกล่าวอ้างว่าผังเมืองจะทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองสีเขียว (Green City) จึงไม่จริง7. ร่างผังเมืองนี้พยายามเสนอข้อดีบางประการ ซึ่งไม่เป็นจริง เช่น
7.1 จะเพิ่มการควบคุมกิจกรรมที่ขัดต่อสุขลักษณะ 5 กิจกรรม เช่น สนามแข่งม้า สนามแข่งรถ และสนามยิงปืนนั้น ในความเป็นจริงไม่ได้มีผลในทางปฏิบัติอยู่แล้ว เพราะแทบไม่มีการขออนุญาต
7.2 การแจก "แจกโบนัส 5-20%" คือให้สร้างเพิ่มเติมกว่ากฎหมายปกติกำหนด ในรัศมี 500 เมตรรอบสถานีรถไฟฟ้านั้น ก็ใช้ได้เฉพาะสถานีที่สร้างเสร็จแล้ว ไม่ใช่ที่กำลังก่อสร้างอยู่ ดังนั้นจึงไม่มีผลอะไร
7.3 การพัฒนาศูนย์เมืองย่อย เช่น ในย่านมีนบุรีที่แนวรถไฟฟ้าสายสีชมพู-สีส้มมาบรรจบกัน ย่านพระรามที่ 2 ใกล้กับถนนกาญจนาภิเษก และย่านรามอินทราใกล้จุดตัดถนนรัชดา-รามอินทรา เป็นต้น หากร่างผังเมืองนี้ได้ประกาศใช้ในปีนี้และหมดอายุในปี 2560 ก็ยังไม่แน่ว่ารถไฟฟ้าทั้งสองสายจะได้สร้างเสร็จโดยสรุปแล้ว อาจกล่าวได้ว่าร่างผังเมืองนี้ เป็นการแก้ปัญหาเมืองแบบซุกปัญหาไว้ใต้พรม เพราะแทนที่จะจัดระเบียบการใช้ที่ดินที่ดี กลับปัดปัญหาออกไปนอกเมือง นี่จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้ประชากรของกรุงเทพมหานครลดลงในระยะหลายปีที่ผ่านมา เพราะประชาชนไม่สามารถอยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครได้ เพราะความพยายามทำเมืองให้หลวม กรุงเทพมหานครควรคิดใหม่ ทำเมืองให้หนาแน่น (High Density) แต่ไม่แออัด (Overcrowded) แต่ปัจจุบันกลับทำในทางตรงกันข้ามประเด็นหนึ่งที่กรุงเทพมหานครเองไม่สามารถจะแก้ปัญหาของเมืองและวางแผนการพัฒนาเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ เพราะขณะนี้ความเป็นเมืองของกรุงเทพมหานครได้ขยายออกนอกเขตบริหารของกรุงเทพมหานครแล้ว ยิ่งกว่านั้นกรุงเทพมหานครยังขาดการประสานแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงทำให้ผังเมืองกับการขยายตัวของสถานศึกษา พื้นที่ปกครอง กิจการไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ถนน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือแม้แต่ราคาประเมินของทางราชการ ก็ไม่ได้ยึดโยงกับผังเมืองดังนั้นกระทรวงมหาดไทยในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบการวางผังเมืองจึงควรดำเนินการวางแผนภาคมหานคร ซึ่งรวมพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมกันวางผังนี้ให้เป็นแผนแม่บทในด้านการปกครอง สาธารณูปโภคและอื่นๆ ในระหว่างนี้ให้ประกาศใช้ผังเมืองฉบับเดิมไปก่อน และให้มีกรอบเวลาการทำผังภาคมหานครให้แล้วเสร็จใน 2 ปี สำหรับสาระสำคัญดังนี้:
1. ในพื้นที่เขตธุรกิจชั้นในของกรุงเทพมหานคร ควรอนุญาตให้ก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่และสูงพิเศษ แต่ให้เว้นพื้นที่ว่างให้มากเพื่อให้เกิดพื้นที่สีเขียวใจกลางเมือง แต่ทั้งนี้ไม่ใช่ให้สิทธิพิเศษ เพราะกรุงเทพมหานครควรจัดเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษสำหรับการก่อสร้างอาคารได้สูงหรือใหญ่พิเศษ เพื่อนำเงินไปเข้ากองทุนพัฒนาระบบคมนาคม เช่น รถไฟฟ้ามวลเบา ผ่านเข้าสู่ถนนสายต่างๆ เพื่อการระบายการจราจร2. ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ประสาน
2.1 กับกิจการไฟฟ้า ประปา ทางหลวง รถไฟฟ้า ช่วยกันน่างผังเมืองนี้เป็นแผนแม่บทของหน่วยงานของตน ส่วนในพื้นที่อนุรักษ์ชนบทจะห้ามก่อสร้างถนนหรือขยายไฟฟ้า ประปาไปบริเวณดังกล่าว
2.2 กับการเคหะแห่งชาติและหน่วยงานอื่นโดยควรใช้วิธีจัดรูปหรือเวนคืนที่ดินชานเมือง เช่น เขตหนองจอก ราว 10,000 – 20,000 ไร่ สร้างเมืองใหม่แบบปิดล้อมแต่มีระบบขนส่งมวลชนเข้าสู่ใจกลางเมืองโดยตรง แล้วจัดสรรที่ดินที่มีสาธารณูปโภคครบ (serviced land) เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย ศูนย์ธุรกิจ เป็นต้น
2.3 กับกรมธนารักษ์เพื่อนำที่ดินใจกลางเมืองมาพัฒนาเป็นศูนย์ธุรกิจ เพื่อให้ธุรกิจมีการรวมศูนย์ สาธารณูปโภคไม่ต้องขยายตัวอย่างไร้ขอบเขต เป็นการเพิ่มศักยภาพให้กับธุรกิจด้วยกันเองในพื้นที่
2.4 กับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อจัดสร้างนิคมให้โรงงานได้ใช้ในราคาถูกเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม และเพื่อห้ามการก่อสร้างโรงงานตามท้องนาหรือย่านชานเมืองเช่นที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาและขอขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้ขอแสดงความนับถือ
ชื่อ-สกุล _____________________ เลขที่บัตรประชาชน ____________________ ลายมือชื่อ________________
ขอบคุณที่ช่วยเผยแพร่ความเห็นของผมครับ ผมต้องการเพิ่มสวนสาธารณะ แต่ไม่ใช่ไปปล้นนิติบุคคลหนึ่ง ซึ่งเป็นของคนทั้งชาติเอาไปให้คน กทม บางส่วน ผู้ว่าฯ กทม ไม่ควรถือหางพวกเรียกร้องทำผิดกฎหมายนี้ครับ วิธีสร้างพื้นที่สีเขียวเพิ่ม ผมก็เขียนไว้ชัดนะครับ ลองไปหาอ่านดูครับ
Posted 28 June 2013 - 15:24
ผมไม่สงสัยเลยจริงๆว่าทำไมได้แค่พันกว่าคะแนน
มันไม่เกี่ยวกันหรอก
โฆษิตทุ่มพอๆ กับ ผู้ว่า ยังได้ 20,000
ผมเสีย 150,000 ได้ 1,144 คะแนนก็หรูแล้วครับ
ใช่ว่าแพ้แล้วจะผิดนี่นา
ผมไม่ได้หมายถึงจำนวนเงินที่ทุ่มไปกับการหาเสียงนะครับ
ผมหมายถึงสมองของด็อกน่ะ
คนอย่างด็อกนี่หน้าเงินของแท้เลย
พูดอะไรพาเข้าเรื่องเงินได้หมดเลย
ขอซูฮกจริงๆ
ลองอ่านดูครับ
สวนลุมมีมูลค่า 37,800 ล้านบาท ต้องเร่งสร้างเพิ่ม
หาเสียงส่งท้าย ตีค่าสวนลุมพินี เร่งสร้างเพิ่ม
ศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2556
ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 4http://www.sopon4.ho...?p=pages_46.php
หาเสียงส่งท้ายที่สวนลุมพินี มุ่งสร้างสวนสาธารณะเพิ่มเพื่อประชาชน
เช้าวันศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2556 ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หมายเลข 4 ได้ออกหาเสียงภาคสนามในส่วนของตนเองในครั้งสุดท้าย ณ สวนลุมพินี ได้พบปะกับพี่น้องประชาชน รวมทั้งเยาวชนและผู้สูงวัยในสวนลุมพินี พร้อมพาผู้สื่อข่าวสัมภาษณ์ผู้สูงวัยในสวนลุมพินีอีกด้วย
ในการนี้ ดร.โสภณ ได้ประมาณการมูลค่าของสวนลุมพินีไว้คร่าว ๆ 37,800 ล้านบาท หรือตกเป็นเงินตารางวาละ 262,000 บาท ซึ่งแม้จะถูกกว่าราคาที่ดินที่สีลมที่ประเมินไว้ที่ 1,200,000 บาทต่อตารางวา แต่ก็นับว่าเป็นมูลค่าที่สูงมาก และยังเอื้อให้มูลค่าที่ดินโดยรอบเพิ่มสูงขึ้นด้วยเพราะการดำรงอยู่ของสวนลุมพินี ดังนั้นจึงควรที่จะหาทางพัฒนาสวนสาธารณะโดยเฉพาะในเขตเมืองเพิ่มขึ้น เพื่อลดความตึงเครียดและเพิ่มความสุขแก่ประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร
รายละเอียดการคำนวณเป็นดังนี้:
1. เริ่มต้นที่การประมาณการจำนวนผู้ใช้สวนลุมพินีวันละประมาณ 12,000 คน (ปกติ 8,000 - 10,000 คน และวันเสาร์อาทิตย์ประมาณ 12,000 - 15,000 คน ทั้งนี้สอบถามจากสำนักงานสวนลุมพินี
2. ถ้าไม่มีสวนลุมพินี ประชาชนอาจต้องไปใช้บริการที่อื่น โดยเฉพาะภาคเอกชน ทั้งนี้ประมาณการค่าใช้จ่ายตกเป็นเงินวันละ 200 บาทต่อวัน แต่สวนลุมพินีเปิดให้ใช้ฟรี
3. ดังนั้นวันหนึ่ง ๆ การใช้สวนลุมพินีมีมูลค่ารวม 2.4 ล้านบาท (12,000 คน ๆ ละ 200 บาท) หรือปีละเป็นเงิน 876 ล้านบาท
4. หากคิดจากอัตราผลตอบแทนที่ 3.5% เพราะแทบไม่มีความเสี่ยงใด ๆ ในการดำเนินการสวนลุมพินีนี้ มูลค่าการใช้สวนลุมพินีจะเป็นเงิน 25,028.57 ล้านบาท (โดยคิดจากสูตรว่า มูลค่าเท่ากับรายได้หารด้วยอัตราผลตอบแทน หรือ 876 ล้าน หารด้วย 3.5%)
5. ยิ่งกว่านั้นการมีสวนลุมพินี ยังก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มเติมแก่อสังหาริมทรัพย์โดยรอบ โดยประมาณการว่าโดยรอบสวนลุมมีระยะทาง 3,040 เมตร แม้ในความเป็นจริงจะมีโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ตั้งอยู่ แต่หากสมมติให้สามารถพัฒนาพื้นที่โดยรอบให้เป็นเชิงพาณิชย์ได้ อสังหาริมทรัพย์ที่หันหน้าเข้าทางวิวสวนลุมพินีก็ย่อมมีมูลค่ามากกว่า
6. หากพื้นที่ 70% ของระยะโดยรอบ 3,040 เมตร หรือ 2,128 เมตรสามารถสร้างอาคารได้ และสร้างอาคารประมาณว่าลึก 100 เมตร ก็จะสามารถสร้างอาคารได้ 212,800 ตารางเมตร
7. หากการก่อสร้างสามารถสร้างได้ 10 เท่าของพื้นที่ก่อสร้าง ก็เท่ากับจะสามารถสร้างไดถึง 2,128,000 ตารางเมตร
8. หากประมาณการว่า 60% ของพื้นที่ดังกล่าวสามารถนำไปใช้เพื่อการพาณิชย์ได้ ก็จะมีพื้นที่ขายหรือให้เช่าได้ 1,276,800 ตารางเมตร ส่วนที่เหลือใช้เพื่อเป็นพื้นที่ส่วนกลาง โถงลิฟท์ และอื่น ๆ
9. ค่าเช่าพื้นที่สำนักงานในพื้นที่นี้ควรเป็นเงินประมาณตารางเมตรละ 100,000 บาท หากประมาณการคร่าว ๆ ว่า การได้อยู่ใกล้หรือมีวิวสวนลุมพินี น่าจะมีมูลค่าล้ำกว่ากัน 10% ก็เท่ากับว่าค่าการอยู่ใกล้หรือการมีวิวเป็นเงินตารางเมตรละ 10,000 บาท
10. ดังนั้นด้วยพื้นที่ 1,276,800 ตารางเมตร ณ ตารางเมตรละ 10,000 บาทที่เป็นส่วนล้ำของการอยู่ใกล้หรือได้วิวสวนลุมพินี ก็จะเป็นเงิน 12,768 ล้านบาท
11. มูลค่าของสวนลุมพินี จึงเป็นเงินเบื้องต้นประมาณ 37,796.57 ล้านบาท (ข้อ 4 + ข้อ 10) และโดยที่สวนลุมพินีมีขนาด 360 ไร่ จึงตกเป็นเงินตารางวาละ 262,476 บาท
นอกจากนี้ยังมีรายได้จากการให้เช่าต่าง ๆ อีกเป็นจำนวนมาก แต่ไม่ได้คิดไว้ในรายละเอียดในที่นี้ จึงจะเห็นได้ว่า สวนลุมพินีนั้นมีมูลค่ามหาศาล แม้จะต่ำกว่ามูลค่าของราคาที่ดินเพื่อการพาณิชย์ทั่วไปก็ตาม การดำรงอยู่ของสวนลุมพินี ยังช่วยเพิ่มพูนมูลค่าแก่อสังหาริมทรัพย์ใกล้เคียงอีกเป็นจำนวนมาก หากไม่มีสวนลุมพินี มูลค่าทรัพย์สินโดยรอบอาจจะลดลงไประดับหนึ่ง
จากมูลค่าเบื้องต้นที่ 262,000 ล้านบาทนี้ ชี้ว่า หากทางราชการนำสถานที่ราชการใจกลางเมืองมาพัฒนาเป็นสวนสาธารณะเพิ่มเติม ก็จะคุ้มค่าเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะหากพิจารณาถึงสุขภาพอนามัยของประชาชนที่หากเจ็บป่วยเพราะไม่ได้ออกกำลังกายเพียงพอ จะเกิดความสูญเสียกว่านี้มากนัก สวนลุมพินีสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 ควรมีเพิ่มขึ้นอีกหลายแห่งในใจกลางเมือง
ยิ่งกว่านั้นกรุงเทพมหานครในฐานะผู้ควบคุมอาคาร ควรกำหนดผังเมืองให้สามารถสร้างอาคารขนาดใหญ่ใจกลางเมือง โดยให้สร้างได้ 15-20 เท่าของขนาดที่ดิน ให้ขึ้นอาคารสูง ๆ แต่ให้เว้นพื้นที่โดยรอบให้มาก ก็จะทำให้เกิดพื้นที่สีเขียวใจกลางเมืองได้อีกมาก กลายเป็น Garden City เช่น สิงคโปร์ ที่ออกแบบเมืองให้มีความหนาแน่นสูง (High Density) แต่ไม่แออัด (Overcrowdedness) แต่กรุงเทพมหานครของไทยเรากลับเป็นแบบตรงกันข้ามคือแออัดแต่ไม่หนาแน่น มีจำนวนประชากร 3,600 คนต่อตารางกิโลเมตร ขณะที่สิงคโปร์มีสูงถึง 7,000 คน และนครนิวยอร์คมีสูงถึง 10,000 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นต้น
เราต้องคิดวางแผนและสร้างบ้านแปงเมืองอย่างมืออาชีพเสียที
ที่เน้นไว้ถูกต้องแล้วครับ ควรทำตามที่ผมว่า ไม่ใช่ไปปล้นสมบัติของนิติบุคคลที่เป็นรัฐวิสาหกิจหนึ่ง มาประเคนให้คนกรุง (บางส่วน) ครับ
ปล. ที่ผมเสนอนี้ ท่านผู้ว่าฯ ยังคิดไปไม่ถึงเลยนะครับ
Posted 28 June 2013 - 15:25
ผมก็เหนด้วยกับท่านหมดเลยครับ
ยกเว้นการเอาสมบัติของคนทั้งประเทศ
มาประเคนให้คน กทม บางส่วน
อย่าอ้างนักท่องเที่ยวเลยครับ
ขนาด central park ก็ไม่ใช่จุดท่องเที่ยวหลักนะครับ
แล้วท่านเห็นด้วยกับการสร้างสวนสัตว์เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีรึเปล่าครับ ???
สวนสัตว์ยังเกบตังค์ได้ และกระจายความเจริญออกนอกครับ
ถูกต้องครับ เพราะสวนสัตว์เชียงใหม่ มันไม่ใช่สวน"สาธารณะ" ... ท่านเข้าใจคำว่า "สาธารณะ" ว่าคือแบบไหนหรือครับ ???
ไอ้สวนสาธารณะนี่ทำเงินได้หรือเปล่าครับ
ถ้าทำเงินไม่ได้ ก็อย่าเอามาคุยกับด็อกหน้าเงินดีกว่าครับ
ย้ำ ตกลงคุณเข้าใจหรือยัง ระหว่างสวนสาธารณะ กับ สวนสัตว์น่ะครับ
Posted 28 June 2013 - 15:25
วิพากษ์แนวคิดผังเมืองของ ผอ.ผังเมือง กทม.
ผู้แถลง: ดร.โสภณ พรโชคชัย
ตามที่หนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งได้ลงบทสัมภาษณ์ของ ดร.เกรียงพล พัฒนรัฐ ผอ.สำนักผังเมือง กทม. เรื่อง ‘ผังเมืองใหม่’ จุดเปลี่ยนกทม.-ปริมณฑล ที่เรียบเรียงโดยคุณธนัชพงศ์ คงสาย* ผมเห็นว่ามีสาระที่ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง อาจทำให้ประชาชนเข้าใจผิดได้ จึงขออนุญาต มองในอีกแง่มุมหนึ่ง ขอสื่อมวลชนโปรดเมตตาเผยแพร่ข่าวสารที่เป็นข้อเท็จจริงต่อประชาชนด้วย
1. ผอ.สำนักผังเมืองกล่าวว่า "เป็นไปไม่ได้ (ที่ผังเมือง) มันจะกระทบสิทธิประชาชน" การรอนสิทธิไม่ให้สร้างโน่นนี่ ถือเป็นการรอนสิทธิ์ กระทบสิทธิ์โดยแท้ ผังเมืองฉบับก่อน ๆ ไม่ได้จำกัดสัดส่วนพื้นที่ก่อสร้างต่อพื้นที่ดิน (Floor Area Ratio) ผังเมืองก่อนปี 2549 ก็กำหนดให้สร้างได้แค่ 10 เท่าทั่วกรุงเทพมหานคร ผังเมืองฉบับปี 2549 และ 2556 ให้สร้างได้ 10 เท่าแค่กระหย่อมเดียว อย่างนี้ไม่กระทบสิทธิ์ได้อย่างไร
2. ข้อความต่อไปนี้ "นักวิชาการพูดกันเยอะว่า ผังเมืองเป็นความสมดุลบนความขัดแย้ง เนื่องจากภาคส่วนต่างๆ ประชาชน นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ บริษัทเล็ก บริษัทใหญ่ ล้วนมีส่วนร่วม มีส่วนได้เสีย แต่ไม่มีใครได้ฝ่ายเดียว และไม่มีใครที่เสียฝ่ายเดียว เราต้องหาความสมดุลบนความขัดแย้งต่างๆ" ไม่รู้ข้อความข้างต้น ผู้สรุป สรุปไม่รู้เรื่อง หรือผู้พูด ๆ ไม่เข้าใจ เพราะอ่านไม่เข้าใจอะไรเป็นสาระได้เท่าที่ควร
3. "กฎหมายผังเมือง ไม่ใช่การดำเนินการของฝ่ายรัฐฝ่ายเดียว การร่างแผนยุทธศาสตร์ผังเมืองต้องผ่านการหารือสาธารณะ แน่นอนที่สุด มีความเห็นต่างจากประชาชนบางกลุ่ม แต่ก็มีบางกลุ่มที่เห็นด้วยเช่นกัน" แต่ในความเป็นจริงก็คือ การรับฟังความเห็นของประชาชน จัดทำในเชิงรูปแบบ มาชี้แจงแต่ข้อดี ถ้ามีคนค้านก็ฟัง ไม่มีบันทึกในที่ประชุม หรือบันทึกก็ไม่มีการตอบว่า แล้วแต่ละกรณีทำไมต้องเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ มีประชาชนร้องค้านไปนับพัน ๆ เรื่อง แต่แทบไม่มีเรื่องใดได้แก้ไข เท่ากับไม่ได้ฟังประชาชนจริงเลย
4. ที่ว่า "เมื่อมีการประกาศไปแล้ว ไม่ใช่สิ่งตายตัว ยังต้องปรับปรุงต่อไป" ไม่เป็นความจริง ก็แบบเดียวกับรัฐธรรมนูญ รับ ๆ ไปก่อนแล้วค่อยแก้ แต่ไม่แก้ ที่แก้แน่ ๆ ก็คือกำลังแก้กฎหมายผังเมืองให้อยู่ได้ 10 ปี ต่ออายุได้อีก 10 ปี ถ้ายังแก้ไม่เสร็จก็ต่ออายุได้อีกครั้งละ 2 ปี 2 ครั้ง เท่ากับต่อไปถ้าฝ่ายราชการออกผังเมืองที่ไม่ดี ก็ต้องรอแก้ไปอีก 24 ปี
5. ที่ว่า " มีขนส่งมวลชนระบบรางจากเดิม 7 สาย เป็น 12 สาย . . . ทำให้ผังเมืองต้องวางกรอบให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง" ข้อนี้ไม่จริง เพราะสายต่าง ๆ กว่าจะเสร็จ ก็คงอีกหลายปี ที่ผ่านมา กทม.วางผังเมือง กับหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ได้ประสานงานกันเลย ผังเมืองควรเป็นแผนแม่บทของหน่วยงานสาธารณูปโภคต่าง ๆ แต่ความจริงไปกันคนละทิศทาง แม้แต่ราคาประเมินราชการก็ไปอีกทางหนึ่ง
6. เรื่องกรีนบิลดิ้ง พื้นที่น้ำซึมผ่านได้ ก็ไม่ใช่มาตรการแก้ปัญหาน้ำท่วมเลย ผังเมืองไม่มีเรื่องแก้ไขน้ำท่วม ลำพังมาตรการ "น้ำจิ้ม" แค่นี้ไม่ได้มีผลใด ๆ เลย ถ้าจะมีประสิทธิผลจริงต้องประสานกันทำถนนรอบแม่น้ำเจ้าพระยาสองฝั่งอย่างต่างประเทศ ต้องมีเขื่อนริมทะเล ต้องมีประตูเปิดปิดแม่น้ำเจ้าพระยา ต้องมีแนวคลองใหม่ ฯลฯ
7. เรื่องที่ กทม. สอดมือเข้าไปบอกว่า "หากมีการพัฒนาพื้นที่อยู่อาศัยรวม โดยจัดให้ชุมชนเดิมอยู่อาศัยด้วย เป็นการแก้ปัญหาสังคม โดยรูปแบบเป็นอาคารแฟลตจะได้ประโยชน์ สำหรับการจัดชั้นให้ผู้อาศัยเดิมได้อยู่ หรือจัดพื้นที่ไม่เกิน 5 กิโลเมตรจากพื้นที่เดิม เขาจะได้พื้นที่ปลูกสร้างอาคารเพิ่มกว่าเดิม" เป็นสิ่งที่ "ไม่ใช่หน้าที่" เป็นเรื่องของการเคหะแห่งชาติและขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทาน การกำหนดอย่างนี้เคยมีในมาเลเซีย แต่พิสูจน์แล้วว่าใช้ไมได้
8. ที่ว่า "อาคารสาธารณะขนาดใหญ่ ถ้าจัดให้มีพื้นที่โล่งเพื่อสาธารณะ เพื่อลดความแออัดของอาคาร และเป็นเรื่องสวัสดิการ เช่น พารากอน เซ็นทรัลเวิลด์ จะมีโบนัสให้" เป็นสิ่งที่ไม่เป็นจริง กรณีที่ยกมานั้นเป็นเพราะต้องมีระยะร่นอยู่ตามกฎหมายเดิมอยู่แล้ว ไม่ได้เกี่ยวกับความใจดีของเจ้าของโครงการเลย ถ้าจะให้ได้ผลจริง ต้องอนุญาตให้มี FAR สูง ๆ แล้วเว้นโดยรอบให้เขียว ๆ จะดีกว่า แต่นี่ กทม. กลับกำหนด FAR ต่ำ ๆ
9. เรื่องโบนัสพิเศษ ก็เป็นเรื่องไม่จริง เพราะถ้าอยู่ใกล้สถานีรถไฟฟ้า ก็ต้องเป็นสถานีที่เปิดใช้แล้ว ไม่ใช่สถานีที่สร้างเสร็จ ไม่ใช่สถานีที่กำลังก่อสร้าง ถ้าสร้างที่จอดรถให้สาธารณะมาจอดรถ ก็ไม่คุ้ม เพราะลำพังที่จอดของแต่ละอาคารก็ไม่เพียงพออยู่แล้ว เป็นโบนัสแบบ "หลอกเด็ก" มากกว่า
10. ผอ.สำนักผังเมือง กทม. พูดเองว่า "ขณะที่การเชื่อมโยงกับ 6 จังหวัดปริมณฑล ผังเมืองต้องคำนึงถึงด้วย ทั้งภาวะอุทกภัย หรือปริมาณจราจรที่เข้ามาในกรุงเทพฯ แต่ลักษณะโครงสร้างอำนาจหน้าที่ของ กทม. มีเฉพาะพื้นที่ ยังไม่อาจเป็นเนื้อเดียวกัน" ดังนั้นผมจึงขอเสนอให้กรมโยธาฯ ตั้งคณะขึ้นมาจัดทำผังภาคมหานครที่รวม กทม.และปริมณฑลแล้ว ไม่ใช่ทำเฉพาะผังเมืองรวม กทม. ซึ่งไร้ประสิทธิผลในการวางแผนพัฒนาเมือง
11. ที่ว่า "ผังเมืองอยากให้มีสวนสาธารณะ 6 ตารางเมตรต่อคน" ก็เป็นการพูดแบบ "หวานๆ" ให้ดูว่าผังเมืองมีข้อดี ซึ่งไม่เป็นความจริงเลย พื้นที่สีเขียวที่ผังเมืองจะสร้างจริงมีน้อยมาก ส่วนมาก "ขี้ตู่" ไปนับพื้นที่สีเขียวในหมู่บ้านเอกชน เขตทหาร เขตราชการ บ่อ บึง ฯลฯ หรือขีดเส้นกีดกันที่ดินชาวบ้านรอบนอกให้เป็นพื้นที่สีเขียว ในขณะที่พื้นที่จังหวัดรอยต่อกลับเป็นเขตที่อยู่อาศัยหมดแล้ว ผังเมืองไม่ได้มีแผนที่แน่ชัดที่จะเพิ่มพื้นที่สีเขียวได้จริง ผมเคยเสนอมาหลายครั้งแล้วว่าต้องอนุญาตให้ตึกสร้างได้สูง ๆ แล้วเว้นพื้นที่โดยรอบให้เขียวๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวใจกลางเมือง แต่ กทม. ทำได้แค่การซื้อที่ดินชานเมืองมาทำเป็นสวนสาธารณะเป็นหลัก
12. ศูนย์พาณิชยกรรมรองที่ กทม. คิดจะทำตามผังเมืองรวมนั้น คิดไม่รอบ เพราะให้สร้างกิจกรรมพาณิชยกรรมได้แค่กระผีกริ้น ห้ามสร้างสูง ๆ ในความเป็นจริง เราควรอนุญาตให้แถวชานเมืองที่วางแผนให้เป็นศูนย์ชานเมือง เช่น มีนบุรี ลาดกระบัง ปิ่นเกล้า ฯลฯ ให้มี FAR สูง ๆ แต่โดยรอบให้มี FAR ต่ำ เพื่อให้การพัฒนาไปรวมศูนย์เฉพาะเขตที่กำหนด ไม่ใช่ให้กระจายตัวอย่างไร้ทิศผิดทาง
การวางผังเมืองที่ไม่มีประสิทธิภาพ จะทำให้ประเทศชาติถอยหลัง กรมโยธาฯ ก็ให้ กทม. วางผัง เพราะตัวเองขาดกำลังคน กทม. ก็ไปจ้างบริษัทเอกชนวางผังอีกต่อหนึ่ง วางไปวางมาก็ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง
ตามข่าวนี้: เรื่อง 'ผังเมืองใหม่'จุดเปลี่ยนกทม.-ปริมณฑล www.komchadluek.net/detail/20130521/159000/ผังเมืองใหม่จุดเปลี่ยนกทม.ปริมณฑล.html
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
Posted 28 June 2013 - 15:28
อรุณสวัสดิ์ครับ ผมเขียนบทความนี้เองครับ . . . ตอนนี้กระแสเอาที่ดินของรัฐวิสาหกิจมาทำสวน กำลังมาแรง ดูดี น่ารัก เขาว่าน้ำเชี่ยว อย่าเอาเรือเข้าขวาง จะกลายเปนคนดูไม่ดีได้ แต่ผมขออนุญาตขวาง มองต่างมุมเพื่อชาติหน่อยครับ
www.area.co.th/thai/area_announce/area_anpg.php?strquey=area_announcement518.htm
ที่ดินมักกะสันเอาไปทำสวนสาธารณะไม่ได้
ดร.โสภณ พรโชคชัย
มีความเคลื่อนไหวของคนบางกลุ่มที่จะเอาพื้นที่โรงซ่อมรถไฟมักกะสันไปทำสวนสาธารณะ แนวคิดนี้คล้ายดูดี แต่จะหวังฉวยเอามาประเคนให้เฉพาะคนกรุงเทพมหานครแถบนั้น คงไม่เหมาะสมเช่นกัน
พื้นที่โรงซ่อมรถไฟมักกะสันนี้มีขนาดเกือบ 400 ไร่ เป็นโรงซ่อมมานานและพื้นที่ส่วนมากถูกปล่อยรกร้างว่างเปล่ามานาน จนครั้งหนึ่งเคยมีผู้พบเห็นและสามารถจับเสือที่แอบซ่อนอยู่ในพื้นที่นี้ได้ แสดงว่าพื้นที่นี้ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาเท่าที่ควร จนต่อมาได้มีการก่อสร้างทางด่วนและถนนเข้าไปใสพื้นที่บางส่วนทางด้านข้าง อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนับเป็นทำเลทองสำคัญเพราะด้านทิศเหนือติดกับทางด่วน ด้านทิศตะวันออกติดกับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (รถไฟฟ้า MRT) และทางด้านทิศใต้ติดกับรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link, Airport Rail Link)
การรถไฟแห่งประเทศไทยมีแนวคิดที่จะนำที่ดินแปลงนี้มาจัดประโยชน์ในเชิงธุรกิจ แต่ก็ถูกคัดค้านอย่างหนักจากกลุ่มนักอนุรักษ์ นักรักพื้นที่สีเขียว ฯลฯ เป็นจำนวนมาก อันที่จริง การแก้ปัญหาการขาดทุนของการรถไฟแห่งประเทศไทย ไม่สมควรจะแก้ไขโดยการหากำไรจากทางอื่นมาโปะเพื่อตัดหรือลดการขาดทุน การขาดทุนเกิดขึ้นจากการทุจริต การบริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพ การตัดการขาดทุนด้วยวิธีนี้ ก็เท่ากับเป็นการรักษาไว้ซึ่งระบบการทุจริตหรือไม่ได้แก้ไขปัญหาทุจริต
การนำที่ดินแปลงนี้ไปทำสวนสาธารณะนั้นเป็นแนวคิดที่ดูคล้ายจะดี เพราะทำให้กรุงเทพมหานครมีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น กรุงเทพมหานครเองก็มีพื้นที่สีเขียวอยู่น้อยมาก ขนาดว่ากรุงเทพมหานครนำเอาที่หนองบึง สวนสาธารณะในหมู่บ้านจัดสรร ค่ายทหาร พื้นที่สีเขียวบนเกาะกลางถนน ฯลฯ ไปนับรวมแล้ว ประชากรกรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่สีเขียวเพียง 4.6 ตารางเมตรต่อคนเท่านั้น การเคลื่อนไหวของผู้คนที่สนับสนุนแนวคิดนี้ก็ดูศิวิไลซ์ น่ารักน่าชังที่ต่างเห็นแก่สิ่งแวดล้อม เห็นแก่เมือง เห็นแก่ส่วนรวมกัน
อย่างไรก็ตาม การที่คิดจะเอาพื้นที่นี้ไปทำสวนสาธารณะก็ไม่ใช่สิ่งที่สมควรทำเช่นกัน สิ่งที่พึงเข้าใจก็คือที่ดินแปลงนี้ไม่ใช่ของชาวกรุงเทพมหานคร เป็นของประชาชนทั่วประเทศโดยรวมที่ถือครองโดยการรถไฟแห่งประเทศไทยซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจที่ประชาชนเจ้าของประเทศทุกคนเป็นเจ้าของโดยการดูแลของรัฐบาล หากชาวกรุงเทพมหานครจะถือวิสาสะ เอาที่ดินแปลงนี้ไปเป็นสาธารณะเพื่อประโยชน์ของตน โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ใกล้พื้นที่นี้แล้ว ย่อมเป็นสิ่งที่ควรทบทวนเป็นอย่างยิ่ง
ที่ดินแถวถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แถวสี่แยกอโศกแถวขนาดไม่เกิน 10 ไร่นั้น หากเป็นของเอกชนก็จะขายได้ ณ ราคาตารางวาละ 600,000 บาท หรือไร่ละ 240 ล้านบาทเข้าไปแล้ว ถ้าที่ดินแปลงนี้ที่มีขนาด 400 ไร่ หักแบ่งเป็นถนนและสาธารณูปโภคอื่นสัก 40% ก็จะเหลือที่ดิน 240 ไร่ที่จะขายได้ แต่โดยที่ที่ดินแปลงนี้ไม่ได้ติดถนนใหญ่ปัจจุบัน ราคาอาจลดหย่อนกว่าปกติประมาณ 30% ดังนั้นจึงน่าจะมีราคาตลาด (หากขายได้) เป็นเงินไร่ละ 168 ล้าน รวม 240 ไร่ ก็จะเป็นเงินถึง 40,320 ล้านบาทเข้าไปแล้ว
โดยนัยนี้ ประชาชนไทยโดยรวม จะยอมยกที่ดินที่มีมูลค่าสูงเท่านี้ประเคนให้คนกรุงเทพมหานครไปใช้เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ โดยที่ตนเองอาจได้มีโอกาสไปนั่งเล่นบ้างชาตินี้สักหนสองหน หรือในอีกทางหนึ่ง คนกรุงเทพมหานครจะ "กลืน" ที่ดินแปลงนี้ซึ่งเป็นของคนไทยทั้งชาติได้ลงคอเชียวหรือ หรือแม้หากกรุงเทพมหานครจะเจียดเอางบประมาณแผ่นดินที่เก็บจากภาษีของคนกรุงเทพมหานครมาซื้อ คนในกรุงเทพมหานครที่อยู่ในเขตที่ห่างไกลออกไปก็อาจไม่ยินยอมพร้อมใจให้ซื้อก็ได้ เพราะตนก็จะได้ประโยชน์ไม่คุ้มค่าไปด้วย
ในที่นี้ ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานกรรมการบริหาร ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก. เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จึงเสนอทางออกให้มาที่ดินแปลงนี้มาพัฒนาในเชิงพาณิชย์ ไม่ว่าจะเป็นอาคารสำนักงาน ศูนย์การค้า หอประชุม-สัมมนา โรงแรม ที่พักอาศัยให้เช่าระยะยาว ฯลฯ โดยใช้พื้นที่เพียง 60% ของที่ดินทั้งหมด (240 ไร่จากประมาณ 400 ไร่)
พื้นที่ส่วนที่เหลือ นอกจากเป็นถนนและสาธารณูปโภคต่าง ๆ แล้ว ยังอาจเป็นสวนสาธารณะรอบ ๆ พื้นที่ก่อสร้างอาคาร เพื่อเพิ่มมูลค่าของที่ดิน และควรประสานกับการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และรถไฟฟ้าทั้งสองสายเพื่อเชื่อมสถานี ตลอดจนการจัดทำรถไฟฟ้ามวลเบา (Light Rail / Monorial) วิ่งอยู่ภายในโครงการเพื่อลดปัญหามลพิษอีกด้วย หากจัดการให้ดี ราคาที่ดินที่คาดว่าจะได้รับเป็นเงินไร่ละ 168 ล้านบาท หรือ 70% ของราคาตลาด ก็อาจได้รับรู้มูลค่าสูงกว่านี้ ทำให้โครงการมีความเป็นไปได้ทางการเงินมากกว่านี้เสียอีก
โครงการนี้ไม่พึงให้เอกชนรายใดรายหนึ่งประมูลไปทำแบบเหมาเข่ง ควรจัดสรรแปลงที่ดินตามแผนแม่บทให้เรียบร้อยแล้วแยกประมูลเป็นแปลงย่อยไป และควรทำสัญญาให้รัดกุม หากเอกชนรายใดไม่สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จตามกำหนด ก็สามารถเปลี่ยนรายใหม่ได้ โดยไม่กลายเป็นปัญหาเช่นที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกรณีโครงการโฮปเวลล์ เป็นต้น
และโดยที่การรถไฟแห่งประเทศไทย ไม่มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาที่ดิน หรือแม้แต่หน่วยราชการหรือรัฐวิสาหกิจอื่นใดที่ครอบครองที่ดินอยู่แล้วไม่ได้ใช้ประโยชน์ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็ควรคืนหลวง ให้กรมธนารักษ์ โดยบริษัทธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์เป็นผู้ดำเนินการ โดยยกระดับหน่วยงานนี้ให้เป็นหน่วยงานที่ชำนาญการพัฒนาที่ดิน เช่นเดียวกับ Urban Redevelopment Authority ของประเทศสิงคโปร์
รัฐบาลพึงนำรายได้ที่ได้จากการนี้มาพัฒนาประเทศโดยรวม จึงจะเหมาะสมกับที่ดินแปลงนี้เป็นสมบัติของประชาชนทั้งประเทศ อย่างไรก็ตาม บางท่านอาจเกรงว่ารัฐบาลที่ขึ้นมาบริหารประเทศ (ไม่ว่าจะมาจากพรรคการเมืองใดก็ตาม) จะโกง กรณีการโกง หน่วยงานที่ตรวจสอบหรือคณะบุคคลที่อาสาตรวจสอบ ก็ต้องตรวจสอบเป็นเรื่อง ๆ ไป แบบ "กัดไม่ปล่อย" จะอ้างเอาการทุจริตขึ้นมาเพื่อจะได้ไม่ต้องทำอะไร ประเทศก็ไม่พัฒนา แล้วปล่อยให้เกิดการ "มือใครยาวสาวได้สาวเอา" จากทรัพยากรของประเทศโดยรวม ก็ย่อมไม่ได้
การจัดการที่ดินของรัฐเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมจริง ๆ ต้องมองให้ไกลกว่าปลายจมูก
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
Posted 28 June 2013 - 15:29
บางคนบอก กทม. ควรมีสวนสาธารณะมากขึ้นเพื่อฟอกปอด คนกรุงเป็นมะเร็งจะตายกันหมดแล้ว เท็จครับ คนสิงคโปร์ ออสเตรเลียเป็นมะเร็งมากกว่าไทยเสียอีก** อย่าอ้างมาปล้นที่รถไฟ (ของคนไทยทั้งประเทศ) ไปทำสวนสาธารณะเพื่อคนกรุง (บางส่วน) โปรดอ่าน: www.area.co.th/thai/area_announce/area_anpg.php?strquey=area_announcement518.htm
สถิติมะเร็งโลก: www.worldlifeexpectancy.com/cause-of-death/all-cancers/by-country/
Posted 28 June 2013 - 15:30
ผมก็เหนด้วยกับท่านหมดเลยครับ
ยกเว้นการเอาสมบัติของคนทั้งประเทศ
มาประเคนให้คน กทม บางส่วน
อย่าอ้างนักท่องเที่ยวเลยครับ
ขนาด central park ก็ไม่ใช่จุดท่องเที่ยวหลักนะครับ
แล้วท่านเห็นด้วยกับการสร้างสวนสัตว์เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีรึเปล่าครับ ???
สวนสัตว์ยังเกบตังค์ได้ และกระจายความเจริญออกนอกครับ
ถูกต้องครับ เพราะสวนสัตว์เชียงใหม่ มันไม่ใช่สวน"สาธารณะ" ... ท่านเข้าใจคำว่า "สาธารณะ" ว่าคือแบบไหนหรือครับ ???
ไอ้สวนสาธารณะนี่ทำเงินได้หรือเปล่าครับ
ถ้าทำเงินไม่ได้ ก็อย่าเอามาคุยกับด็อกหน้าเงินดีกว่าครับ
ย้ำ ตกลงคุณเข้าใจหรือยัง ระหว่างสวนสาธารณะ กับ สวนสัตว์น่ะครับ
ที่ NY Park ที่ ท่าน ด๊อก เดินทุกตารางนิ้วแล้ว ก้มีทั้ง 2 อย่างเลยนะครับ
Posted 28 June 2013 - 15:30
ผมก็เหนด้วยกับท่านหมดเลยครับ
ยกเว้นการเอาสมบัติของคนทั้งประเทศ
มาประเคนให้คน กทม บางส่วน
อย่าอ้างนักท่องเที่ยวเลยครับ
ขนาด central park ก็ไม่ใช่จุดท่องเที่ยวหลักนะครับ
แล้วท่านเห็นด้วยกับการสร้างสวนสัตว์เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีรึเปล่าครับ ???
สวนสัตว์ยังเกบตังค์ได้ และกระจายความเจริญออกนอกครับ
ถูกต้องครับ เพราะสวนสัตว์เชียงใหม่ มันไม่ใช่สวน"สาธารณะ" ... ท่านเข้าใจคำว่า "สาธารณะ" ว่าคือแบบไหนหรือครับ ???
ไอ้สวนสาธารณะนี่ทำเงินได้หรือเปล่าครับ
ถ้าทำเงินไม่ได้ ก็อย่าเอามาคุยกับด็อกหน้าเงินดีกว่าครับ
ย้ำ ตกลงคุณเข้าใจหรือยัง ระหว่างสวนสาธารณะ กับ สวนสัตว์น่ะครับ
คุณโสภณสรุปว่าคุณมันเป็นตัวสร้างภาพอ้างกำจัดพระคนอื่นที่คุณหาว่าเป็นมารศาสนาเพื่อธำรงพุทธศาสนา แต่จริงๆคุณมันก็เป็นคนโลภที่เห็นแก่เงิน แล้วแบบนี้คุณจะแยกแยะว่าคนอิ่นชั่วคนอื่นดีได้ยังไงกันคะ ตัวคุณยังแยกแยะดีชั่วไม่ได้เลย
สวนธารณะมันเป็นพื้นที่สำหรับคนทุกคนค่ะ ไม่ใช่ที่สำหรับอยู่อาศัยสัตว์เพื่อให้คนที่ไมีมีเงินเข้าไปไม่ได้นะคะ
Edited by แดงประจำเดือน, 28 June 2013 - 15:30.
Posted 28 June 2013 - 15:31
ยิ่งกว่านั้นกรุงเทพมหานครในฐานะผู้ควบคุมอาคาร ควรกำหนดผังเมืองให้สามารถสร้างอาคารขนาดใหญ่ใจกลางเมือง โดยให้สร้างได้ 15-20 เท่าของขนาดที่ดิน ให้ขึ้นอาคารสูง ๆ แต่ให้เว้นพื้นที่โดยรอบให้มาก ก็จะทำให้เกิดพื้นที่สีเขียวใจกลางเมืองได้อีกมาก กลายเป็น Garden City เช่น สิงคโปร์ ที่ออกแบบเมืองให้มีความหนาแน่นสูง (High Density) แต่ไม่แออัด (Overcrowdedness) แต่กรุงเทพมหานครของไทยเรากลับเป็นแบบตรงกันข้ามคือแออัดแต่ไม่หนาแน่น มีจำนวนประชากร 3,600 คนต่อตารางกิโลเมตร ขณะที่สิงคโปร์มีสูงถึง 7,000 คน และนครนิวยอร์คมีสูงถึง 10,000 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นต้น
การจะให้ กทม กำหนดผังเมืองตามที่คุณว่า
ให้ กทม เอาอำนาจจากไหนมาบังคับให้เอกชนทำพื้นที่สีเขียวตามฝันของคุณครับ
ถ้าไม่ใช่ที่ดินของหน่วยงานราชการ
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
Posted 28 June 2013 - 15:37
บางคนบอก กทม. ควรมีสวนสาธารณะมากขึ้นเพื่อฟอกปอด คนกรุงเป็นมะเร็งจะตายกันหมดแล้ว เท็จครับ คนสิงคโปร์ ออสเตรเลียเป็นมะเร็งมากกว่าไทยเสียอีก** อย่าอ้างมาปล้นที่รถไฟ (ของคนไทยทั้งประเทศ) ไปทำสวนสาธารณะเพื่อคนกรุง (บางส่วน) โปรดอ่าน: www.area.co.th/thai/area_announce/area_anpg.php?strquey=area_announcement518.htm
สถิติมะเร็งโลก: www.worldlifeexpectancy.com/cause-of-death/all-cancers/by-country/
v
v
v
pornchokchai, on 01 Mar 2013 - 15:27, said:
สวนลุมมีมูลค่า 37,800 ล้านบาท ต้องเร่งสร้างเพิ่ม
หาเสียงส่งท้าย ตีค่าสวนลุมพินี เร่งสร้างเพิ่ม
ศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2556
ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 4
http://www.sopon4.ho...?p=pages_46.php
หาเสียงส่งท้ายที่สวนลุมพินี มุ่งสร้างสวนสาธารณะเพิ่มเพื่อประชาชน
เช้าวันศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2556 ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หมายเลข 4 ได้ออกหาเสียงภาคสนามในส่วนของตนเองในครั้งสุดท้าย ณ สวนลุมพินี ได้พบปะกับพี่น้องประชาชน รวมทั้งเยาวชนและผู้สูงวัยในสวนลุมพินี พร้อมพาผู้สื่อข่าวสัมภาษณ์ผู้สูงวัยในสวนลุมพินีอีกด้วย
ในการนี้ ดร.โสภณ ได้ประมาณการมูลค่าของสวนลุมพินีไว้คร่าว ๆ 37,800 ล้านบาท หรือตกเป็นเงินตารางวาละ 262,000 บาท ซึ่งแม้จะถูกกว่าราคาที่ดินที่สีลมที่ประเมินไว้ที่ 1,200,000 บาทต่อตารางวา แต่ก็นับว่าเป็นมูลค่าที่สูงมาก และยังเอื้อให้มูลค่าที่ดินโดยรอบเพิ่มสูงขึ้นด้วยเพราะการดำรงอยู่ของสวนลุมพินี ดังนั้นจึงควรที่จะหาทางพัฒนาสวนสาธารณะโดยเฉพาะในเขตเมืองเพิ่มขึ้น เพื่อลดความตึงเครียดและเพิ่มความสุขแก่ประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร
รายละเอียดการคำนวณเป็นดังนี้:
1. เริ่มต้นที่การประมาณการจำนวนผู้ใช้สวนลุมพินีวันละประมาณ 12,000 คน (ปกติ 8,000 - 10,000 คน และวันเสาร์อาทิตย์ประมาณ 12,000 - 15,000 คน ทั้งนี้สอบถามจากสำนักงานสวนลุมพินี
2. ถ้าไม่มีสวนลุมพินี ประชาชนอาจต้องไปใช้บริการที่อื่น โดยเฉพาะภาคเอกชน ทั้งนี้ประมาณการค่าใช้จ่ายตกเป็นเงินวันละ 200 บาทต่อวัน แต่สวนลุมพินีเปิดให้ใช้ฟรี
3. ดังนั้นวันหนึ่ง ๆ การใช้สวนลุมพินีมีมูลค่ารวม 2.4 ล้านบาท (12,000 คน ๆ ละ 200 บาท) หรือปีละเป็นเงิน 876 ล้านบาท
4. หากคิดจากอัตราผลตอบแทนที่ 3.5% เพราะแทบไม่มีความเสี่ยงใด ๆ ในการดำเนินการสวนลุมพินีนี้ มูลค่าการใช้สวนลุมพินีจะเป็นเงิน 25,028.57 ล้านบาท (โดยคิดจากสูตรว่า มูลค่าเท่ากับรายได้หารด้วยอัตราผลตอบแทน หรือ 876 ล้าน หารด้วย 3.5%)
5. ยิ่งกว่านั้นการมีสวนลุมพินี ยังก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มเติมแก่อสังหาริมทรัพย์โดยรอบ โดยประมาณการว่าโดยรอบสวนลุมมีระยะทาง 3,040 เมตร แม้ในความเป็นจริงจะมีโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ตั้งอยู่ แต่หากสมมติให้สามารถพัฒนาพื้นที่โดยรอบให้เป็นเชิงพาณิชย์ได้ อสังหาริมทรัพย์ที่หันหน้าเข้าทางวิวสวนลุมพินีก็ย่อมมีมูลค่ามากกว่า
6. หากพื้นที่ 70% ของระยะโดยรอบ 3,040 เมตร หรือ 2,128 เมตรสามารถสร้างอาคารได้ และสร้างอาคารประมาณว่าลึก 100 เมตร ก็จะสามารถสร้างอาคารได้ 212,800 ตารางเมตร
7. หากการก่อสร้างสามารถสร้างได้ 10 เท่าของพื้นที่ก่อสร้าง ก็เท่ากับจะสามารถสร้างไดถึง 2,128,000 ตารางเมตร
8. หากประมาณการว่า 60% ของพื้นที่ดังกล่าวสามารถนำไปใช้เพื่อการพาณิชย์ได้ ก็จะมีพื้นที่ขายหรือให้เช่าได้ 1,276,800 ตารางเมตร ส่วนที่เหลือใช้เพื่อเป็นพื้นที่ส่วนกลาง โถงลิฟท์ และอื่น ๆ
9. ค่าเช่าพื้นที่สำนักงานในพื้นที่นี้ควรเป็นเงินประมาณตารางเมตรละ 100,000 บาท หากประมาณการคร่าว ๆ ว่า การได้อยู่ใกล้หรือมีวิวสวนลุมพินี น่าจะมีมูลค่าล้ำกว่ากัน 10% ก็เท่ากับว่าค่าการอยู่ใกล้หรือการมีวิวเป็นเงินตารางเมตรละ 10,000 บาท
10. ดังนั้นด้วยพื้นที่ 1,276,800 ตารางเมตร ณ ตารางเมตรละ 10,000 บาทที่เป็นส่วนล้ำของการอยู่ใกล้หรือได้วิวสวนลุมพินี ก็จะเป็นเงิน 12,768 ล้านบาท
11. มูลค่าของสวนลุมพินี จึงเป็นเงินเบื้องต้นประมาณ 37,796.57 ล้านบาท (ข้อ 4 + ข้อ 10) และโดยที่สวนลุมพินีมีขนาด 360 ไร่ จึงตกเป็นเงินตารางวาละ 262,476 บาท
นอกจากนี้ยังมีรายได้จากการให้เช่าต่าง ๆ อีกเป็นจำนวนมาก แต่ไม่ได้คิดไว้ในรายละเอียดในที่นี้ จึงจะเห็นได้ว่า สวนลุมพินีนั้นมีมูลค่ามหาศาล แม้จะต่ำกว่ามูลค่าของราคาที่ดินเพื่อการพาณิชย์ทั่วไปก็ตาม การดำรงอยู่ของสวนลุมพินี ยังช่วยเพิ่มพูนมูลค่าแก่อสังหาริมทรัพย์ใกล้เคียงอีกเป็นจำนวนมาก หากไม่มีสวนลุมพินี มูลค่าทรัพย์สินโดยรอบอาจจะลดลงไประดับหนึ่ง
จากมูลค่าเบื้องต้นที่ 262,000 ล้านบาทนี้ ชี้ว่า หากทางราชการนำสถานที่ราชการใจกลางเมืองมาพัฒนาเป็นสวนสาธารณะเพิ่มเติม ก็จะคุ้มค่าเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะหากพิจารณาถึงสุขภาพอนามัยของประชาชนที่หากเจ็บป่วยเพราะไม่ได้ออกกำลังกายเพียงพอ จะเกิดความสูญเสียกว่านี้มากนัก สวนลุมพินีสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 ควรมีเพิ่มขึ้นอีกหลายแห่งในใจกลางเมือง
ยิ่งกว่านั้นกรุงเทพมหานครในฐานะผู้ควบคุมอาคาร ควรกำหนดผังเมืองให้สามารถสร้างอาคารขนาดใหญ่ใจกลางเมือง โดยให้สร้างได้ 15-20 เท่าของขนาดที่ดิน ให้ขึ้นอาคารสูง ๆ แต่ให้เว้นพื้นที่โดยรอบให้มาก ก็จะทำให้เกิดพื้นที่สีเขียวใจกลางเมืองได้อีกมาก กลายเป็น Garden City เช่น สิงคโปร์ ที่ออกแบบเมืองให้มีความหนาแน่นสูง (High Density) แต่ไม่แออัด (Overcrowdedness) แต่กรุงเทพมหานครของไทยเรากลับเป็นแบบตรงกันข้ามคือแออัดแต่ไม่หนาแน่น มีจำนวนประชากร 3,600 คนต่อตารางกิโลเมตร ขณะที่สิงคโปร์มีสูงถึง 7,000 คน และนครนิวยอร์คมีสูงถึง 10,000 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นต้น
เราต้องคิดวางแผนและสร้างบ้านแปงเมืองอย่างมืออาชีพเสียที
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
0 members, 0 guests, 0 anonymous users