Jump to content


Photo
- - - - -

ประเทศไทยควรมีรถไฟความเร็วสูงหรือไม่>>>TDRI


  • Please log in to reply
94 ความเห็นในกระทู้นี้

#51 อิไซกูนิ

อิไซกูนิ

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,631 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 12:35

ตามกระทู้นะ  

 

ประเทศไทยควรมีรถไฟความเร็วสูงหรือไม่

 

 

ตอบว่า  *คุณ*ไปทำรางคู่ให้เสร็จก่อนดีมั้ย  555555

จริงๆ


Posted Image Posted Image Posted Image Posted Image Posted Image

เป็นเห็บเกาะไข่ระบบรัฐประหาร


#52 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 14:13

ลองยกตัวอย่างได้มั้ยครับ กรณีสายใต้ กับ อีสาน คนจะเดินทางจากไหน ไปไหน ถ้ามีการเชื่อมต่อกับต่างประเทศขึ้นมาจริงๆ

Edited by Gop, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:25.

หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#53 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 14:40

ลอลยกตัวอย่างได้มั้ยครับ กรณีสายใต้ กับ อีสาน คนจะเดินทางจากไหน ไปไหน ถ้ามีการเชื่อมต่อกับต่างประเทศขึ้นมาจริงๆ

ปัจจุบันนักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่ที่สุดกลุ่มหนึ่งของไทยคือมาเลย์ครับ ลองไปค้นตัวเลขได้ผมจำลำดับไม่ได้แต่จำนวนมาก

 

เนื่องจากมาเลย์ตอนเนือส่วนที่ติดประเทศไทยนั้นไม่มีสนามบินนานาชาติ เวลาเขาจะเข้า กทม ส่วนใหญ่จะแวะเข้ามาขึ้นที่สนามบินบริเวญชายแดนเราเช่น หาดใหญ่ บ้านทอน(นราธิวาส) แทนที่จะไปถึง KL ที่มีระยะทางไม่น้อยกว่า 400 กม

ปัจจุบันมีโครงการตัดทางพืเศษร่นระยะทางจากชายแดนไทยมาเลย์ส่วนนราธิวาส เข้าสนามบินและมีแผนทำนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ก่อนเข้าสนามบินด้วย

 

นอกจากนี้บริมาณคนที่ข้ามแดนจากไทยไปทำงานในมาเลย์ อินโด สิงคโปรก็ค่อนข้างสูง ผมหมายถึงคนนะไม่ใช่สินค้า เฉพาะนักเรียนศาสนา อินโด ไทยก็มหาศาลแล้วแล้ว(ปัจจุบันใช่ทางเรือ ซึ่งอันตรายมาก)

 

ผมมองการเดินทาง

กทม สิงคโปร

KL กทม

บาหลี ภูเก็ต หัวหิน เชื่อมโดยรถไฟ

 

ส่วนสายอีสานนั้นไม่แน่ใจครับ  เพราะเท่าที่เห็น สายของลาวที่จีนทำให้ก็สั้นมากๆ ทำเพื่อเข้าไทเป็นหลัก แต่ถ้าใครมีข้อมูลเชิงลึกเสนอมาด้วยก็ดี



#54 gears

gears

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,450 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 14:53

ส่วนตัวรู้ตอนนี้
คนมาเล สิงคโป นิยมขับ big bike เข้ามาเยอะมาก
ศุกร์ เสาร์ วิ่งเกือบพันคัน
ช่วงเทศกาล เป็นพันๆ หลายพัน เห็นหลายรุ่นมากกก เห็นจนเบื่อ เหอๆๆ

งาน Bigbike ที่ด่านนอกเดือนก่อน แทบไม่ต้องนอนเลย เสียงโคดดังงง

Edited by gears, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 14:54.


#55 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:15

คนไทยส่วนใหญ่มองกลุ่มนักท่องเที่ยวจากมาเลย์ อินโด และสิงคโปรไม่ออก อาจเพราะเขารูปร่างหน้าตาคล้ายคนไทย  แต่นี้คือนักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่กำลังซื้อน่าสนใจเพราะใช่จ่ายไม่มาก แต่มาแล้วมาอีก

 

ชนิดเดือนที่แล้วเจอเดือนนี้เจออีกแล้ว

 

ผมบอกเลยว่าผมเป็นหนึ่งในคนที่คิดว่ามีแล้วไม่คุ้ม จากการที่เรามีการขนส่งแนวใหม่ราคาถูกหลากหลายเช่นสายการบินต้นทุนต่ำ

 

แต่ผมมองเรื่องความจำเป็น ผมเห็นด้วยในการเชื่อมอาเซียนกับจีน ไทยจำเป็นต้องมีเพื่อการเชื่อมนี้  แม้การมีนี้จะยากต่อการตอบคำถามเรื่องความคุ้นมทุน

 

ส่วนเชียงใหม่  เรากำลังพูดถึงคนภายในประเทศไหม?ถ้าใช่ความคุ้มต้องคุย และโอกาศที่รถไฟจะแย่งคนจากสายการบินต้นทุนต่ำ  ต้องคิดให้มาก


Edited by sigree, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:17.


#56 ฮิตเด้อ

ฮิตเด้อ

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 145 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:25

ต้องถามว่าสร้างไปทำไม สร้างเพื่อการเดินทาง ผมบอกเลยถ้าราคาไม่ได้อยู่ในหลักร้อย และยังเป็นหลักพันเหมือนตามข่าวตอนนี้

ถือว่าไร้สาระครับ  การเดินทางตามจุดที่เขาว่ามาสายการบินโลวครอสบินถึงทั้งงั้น และราคาพอๆกันแถมบางช่วงถูกลงอีก ใครมันจะนั้งครับ

ต่างประเทศรถไฟฟ้าความเร็วสูง มันจะออกจากเมืองหลวงไปถึงจังหวัดที่ไม่มีเครื่องบินลงเท่านั้น เพราะบางประเทศเขาคำนึงถึงการท่องเที่ยวมาก เขาจะไม่ให้มีสนามบินในจังหวัดที่ท่องเที่ยวสำคัญ เพราะถ้าเมืองสวยๆ แต่มีเครื่องบินผ่านบนฟ้าบ่อยๆมันก็จะแปลกๆไง หรือถ้าจะมีเขาก็จะเอาไปอยู่นอกเมืองมากๆหรือเมืองใกล้ๆให้มันไกลจากแหล่งท่องเที่ยว แต่คนก็จะเดินทางไม่สะดวก บางที่เขาเลยใช้รถไฟความเร็วสูงเข้าจังหวัดนั้นแทน แล้วที่ผมรู้หลายๆที่ค่ารถไฟความเร็วสูง จะถูกกว่าเครื่องบินประมาณ 40-50% ครับ  ยกแบบ เกาหลีที่ผมเคยใช้บ่อยๆ การเดินทางประมาณ 1 พันโล ถ้าใช้เครื่องบิน ประมาณ 98000w ราวๆ 3 พัน  แต่ถ้านั้งรถไฟฟ้า ประมาณ 65000w หรือ ราวๆ 1.6 พัน เท่านั้นเอง ถ้าทำไปผมกลัวจะเหมือนแอร์พอทลิ้งอะ กลับไทยมืดหน่อย ลงสถานีย่อยๆไม่ได้เลย เปลี่ยวและมืดมากๆไม่มีรถผ่าน ต้องลากกระเป๋าไปตั้งไกลกว่าจะหารถ ลงได้แต่มักกะสันอย่างเดียวถึงจะกลับตอนกลางวันก็มีแต่รถแท็กซี่กดราคามาอยู่บ้าง บางจังหวะก็มีรถเหมามาอีก 

 

ผมว่าสร้างรถไฟรางคู่ไม่ต้องรอสับรางนานๆดีกว่า บางทีเพิ่มรถออกให้เยอะขึ้นด้วยก็ดี แล้วก็ปรับปรุงรถไฟที่มีหน่อยให้มันดีขึ้นหน่อย อาจจะแบบเพิ่มตู้แบบพวกที่ปั่นจักรยานเอารถขึ้นมาได้ หรือพวกขับ big bike ใหญ่ๆด้วยก็น่าจะดี

และเอาเงินที่เหลือไปส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวจะดีกว่าครับ ทำให้ันักท่องเที่ยวรู้จักหลายๆจังหวัด คนจะได้นั้งรถไฟกันมากขึ้่น 

แล้วถ้าจะำทำก็รอประเทศมีเงินค่อยเปลี่ยนๆไปทีละเส้นน่าจะดีกว่า คือตอนเนี้ยผมรู้สึกว่านักท่องเที่ยวที่เข้ามา เขาจะรู้จักแค่ไม่กี่จังหวัด เขาจะรู้จักเชียงใหม่ แล้วก็เมืองพวกริมทะเลเท่านั้นแหละ อ่อ หมอนวดแผนไทยด้วยสินะลืมอันนี้ไป แล้วเมืองพวกนี้มันไปรถไฟกันนักรึไงครับ ส่วนมากเขาก็นั้งเครื่องไม่ก็ รถตู้ รถทัวทั้งงั้นละ เพราะมันเร็วและสะดวกคือถ้าส่งเสริมการท่องเที่ยวดีๆนะ ประเทศไทยคงรวยขึ้นแหละ ตอนนี้หวังพึงแต่การส่องออก มากก็คงไม่ไหวแล้วมั้ง แต่ก็ต้องพัฒนาด้วย ไม่ใช่แค่ส่งเสริม เพราะผมเห็นคนในจังหวัดท่องเที่ยวดังๆ ต้องมารับกรรมกับพ่อค้าแม่ค้า ที่ดันราคาอาหารและบริการสูงเพื่อหวังฟันนักท่องเที่ยวด้วย แถมใหนจะมีพวกหากินง่ายๆไปหวังปล้นนักท่องเที่ยว พวกชาวบ้านเดิมๆก็ซวยไปด้วยอีก 


Edited by ฮิตเด้อ, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:26.


#57 Rxxxx

Rxxxx

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,486 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:10

500x335xnakorn02.jpg.pagespeed.ic.JIEXZs
 
สัมภาษณ์ : นคร จันทศร เมื่อไทยกระโดดขึ้นรถไฟความเร็วสูง ?
ที่ปรึกษาผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ

http://www.sarakadee...3/07/19/nakorn/

บทบรรยายพิเศษ เกี่ยวกับรถไฟความเร็วสูง : นคร จันทรศร

http://www.portal.ro...iewtopic&t=4324

  highspeedphotono1i.jpg

   สมควรที่รัฐบาลต้องรับฟังอย่างยิ่งครับ :o 


Edited by Rarm41, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:16.

  • Gop likes this

#58 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:18

ต้องถามว่าสร้างไปทำไม สร้างเพื่อการเดินทาง ผมบอกเลยถ้าราคาไม่ได้อยู่ในหลักร้อย และยังเป็นหลักพันเหมือนตามข่าวตอนนี้

ถือว่าไร้สาระครับ  การเดินทางตามจุดที่เขาว่ามาสายการบินโลวครอสบินถึงทั้งงั้น และราคาพอๆกันแถมบางช่วงถูกลงอีก ใครมันจะนั้งครับ

ต่างประเทศรถไฟฟ้าความเร็วสูง มันจะออกจากเมืองหลวงไปถึงจังหวัดที่ไม่มีเครื่องบินลงเท่านั้น เพราะบางประเทศเขาคำนึงถึงการท่องเที่ยวมาก เขาจะไม่ให้มีสนามบินในจังหวัดที่ท่องเที่ยวสำคัญ เพราะถ้าเมืองสวยๆ แต่มีเครื่องบินผ่านบนฟ้าบ่อยๆมันก็จะแปลกๆไง หรือถ้าจะมีเขาก็จะเอาไปอยู่นอกเมืองมากๆหรือเมืองใกล้ๆให้มันไกลจากแหล่งท่องเที่ยว แต่คนก็จะเดินทางไม่สะดวก บางที่เขาเลยใช้รถไฟความเร็วสูงเข้าจังหวัดนั้นแทน แล้วที่ผมรู้หลายๆที่ค่ารถไฟความเร็วสูง จะถูกกว่าเครื่องบินประมาณ 40-50% ครับ  ยกแบบ เกาหลีที่ผมเคยใช้บ่อยๆ การเดินทางประมาณ 1 พันโล ถ้าใช้เครื่องบิน ประมาณ 98000w ราวๆ 3 พัน  แต่ถ้านั้งรถไฟฟ้า ประมาณ 65000w หรือ ราวๆ 1.6 พัน เท่านั้นเอง ถ้าทำไปผมกลัวจะเหมือนแอร์พอทลิ้งอะ กลับไทยมืดหน่อย ลงสถานีย่อยๆไม่ได้เลย เปลี่ยวและมืดมากๆไม่มีรถผ่าน ต้องลากกระเป๋าไปตั้งไกลกว่าจะหารถ ลงได้แต่มักกะสันอย่างเดียวถึงจะกลับตอนกลางวันก็มีแต่รถแท็กซี่กดราคามาอยู่บ้าง บางจังหวะก็มีรถเหมามาอีก 

 

ผมว่าสร้างรถไฟรางคู่ไม่ต้องรอสับรางนานๆดีกว่า บางทีเพิ่มรถออกให้เยอะขึ้นด้วยก็ดี แล้วก็ปรับปรุงรถไฟที่มีหน่อยให้มันดีขึ้นหน่อย อาจจะแบบเพิ่มตู้แบบพวกที่ปั่นจักรยานเอารถขึ้นมาได้ หรือพวกขับ big bike ใหญ่ๆด้วยก็น่าจะดี

และเอาเงินที่เหลือไปส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวจะดีกว่าครับ ทำให้ันักท่องเที่ยวรู้จักหลายๆจังหวัด คนจะได้นั้งรถไฟกันมากขึ้่น 

แล้วถ้าจะำทำก็รอประเทศมีเงินค่อยเปลี่ยนๆไปทีละเส้นน่าจะดีกว่า คือตอนเนี้ยผมรู้สึกว่านักท่องเที่ยวที่เข้ามา เขาจะรู้จักแค่ไม่กี่จังหวัด เขาจะรู้จักเชียงใหม่ แล้วก็เมืองพวกริมทะเลเท่านั้นแหละ อ่อ หมอนวดแผนไทยด้วยสินะลืมอันนี้ไป แล้วเมืองพวกนี้มันไปรถไฟกันนักรึไงครับ ส่วนมากเขาก็นั้งเครื่องไม่ก็ รถตู้ รถทัวทั้งงั้นละ เพราะมันเร็วและสะดวกคือถ้าส่งเสริมการท่องเที่ยวดีๆนะ ประเทศไทยคงรวยขึ้นแหละ ตอนนี้หวังพึงแต่การส่องออก มากก็คงไม่ไหวแล้วมั้ง แต่ก็ต้องพัฒนาด้วย ไม่ใช่แค่ส่งเสริม เพราะผมเห็นคนในจังหวัดท่องเที่ยวดังๆ ต้องมารับกรรมกับพ่อค้าแม่ค้า ที่ดันราคาอาหารและบริการสูงเพื่อหวังฟันนักท่องเที่ยวด้วย แถมใหนจะมีพวกหากินง่ายๆไปหวังปล้นนักท่องเที่ยว พวกชาวบ้านเดิมๆก็ซวยไปด้วยอีก 

 

เห็นด้วยครับ

 

รถไฟรางคู่ น่าจะเหมาะมากกว่า เพราะคนไทยส่วนใหญ่ ยังไม่มีฐานะดี เท่าที่ควร 

 

รถไฟรางคู่ น่าจะมีประโยชน์มากกว่า ไม่มีต้องเสียเวลาสับราง ไม่ต้องเสียเวลารอขบวบที่สวนมา ประหยัดวเลาได้อีก แต่อาจจะไม่เท่า รถไฟความเร็วสูง

 

และรถไฟรางคู่ ราคาถูกกว่า รถไฟฟ้า ความเร็วสูง ตั๋วก้อแต่ไม่แพง  คนรากหญ้า ก้อสามารถใช้ได้ 

 

ถ้าพัฒนาดี ๆ อาจจะเอาไว้ขนส่งสิ่งของต่าง ๆ ได้ไวขึ้นกว่าเดิม


Edited by พอล คุง, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:19.

ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#59 eAT

eAT

    ผมเป็นเสื้อแดงฮับ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,589 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:37

ที่ให้ความเห็นกัน มีใครเคยใช้ "การรถไฟไทย" บ้าง ยกมือขึ้น

ผมเปิดไปดูยูทูป "กบนอกกระลา" แล้วกุมขมับ จะเอากันจริงหรือ?

 



#60 eAT

eAT

    ผมเป็นเสื้อแดงฮับ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,589 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:40



#61 Robin

Robin

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,097 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:50

เอาง่ายๆ ถึงมีได้ ผมก็คงไม่นั่งหรอกครับ ไปเครื่องบินโลว์คอสเร็วกว่า หาดใหญ่ กทม ช.ม เดียว ถึงแล้ว เผลอๆถูกกว่าอีกด้วย



#62 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:56

 

ลอลยกตัวอย่างได้มั้ยครับ กรณีสายใต้ กับ อีสาน คนจะเดินทางจากไหน ไปไหน ถ้ามีการเชื่อมต่อกับต่างประเทศขึ้นมาจริงๆ

ปัจจุบันนักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่ที่สุดกลุ่มหนึ่งของไทยคือมาเลย์ครับ ลองไปค้นตัวเลขได้ผมจำลำดับไม่ได้แต่จำนวนมาก

 

เนื่องจากมาเลย์ตอนเนือส่วนที่ติดประเทศไทยนั้นไม่มีสนามบินนานาชาติ เวลาเขาจะเข้า กทม ส่วนใหญ่จะแวะเข้ามาขึ้นที่สนามบินบริเวญชายแดนเราเช่น หาดใหญ่ บ้านทอน(นราธิวาส) แทนที่จะไปถึง KL ที่มีระยะทางไม่น้อยกว่า 400 กม

ปัจจุบันมีโครงการตัดทางพืเศษร่นระยะทางจากชายแดนไทยมาเลย์ส่วนนราธิวาส เข้าสนามบินและมีแผนทำนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ก่อนเข้าสนามบินด้วย

 

นอกจากนี้บริมาณคนที่ข้ามแดนจากไทยไปทำงานในมาเลย์ อินโด สิงคโปรก็ค่อนข้างสูง ผมหมายถึงคนนะไม่ใช่สินค้า เฉพาะนักเรียนศาสนา อินโด ไทยก็มหาศาลแล้วแล้ว(ปัจจุบันใช่ทางเรือ ซึ่งอันตรายมาก)

 

ผมมองการเดินทาง

กทม สิงคโปร

KL กทม

บาหลี ภูเก็ต หัวหิน เชื่อมโดยรถไฟ

 

ส่วนสายอีสานนั้นไม่แน่ใจครับ  เพราะเท่าที่เห็น สายของลาวที่จีนทำให้ก็สั้นมากๆ ทำเพื่อเข้าไทเป็นหลัก แต่ถ้าใครมีข้อมูลเชิงลึกเสนอมาด้วยก็ดี

 

 

๑ ถามต่ออีกหน่อยครับ

 

นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ ไม่ทราบว่าส่วนใหญ่เค้าเดินทางต่อไปกรุงเทพฯ หรือว่าแค่มาเที่ยวแถวจังหวัดชายแดนแล้วกลับมาเลย์ครับ?

 

๒ ผมย้ำอีกทีนะครับ ถ้าเกินพันกิโลเมตร รถไฟความเร็วสูงจะช้ากว่าเครื่องบินเกินไป คนส่วนใหญ่ไม่เดินทางแบบที่คุณ sigree คิดหรอกครับ


หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#63 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:19



คนไทยส่วนใหญ่มองกลุ่มนักท่องเที่ยวจากมาเลย์ อินโด และสิงคโปรไม่ออก อาจเพราะเขารูปร่างหน้าตาคล้ายคนไทย  แต่นี้คือนักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่กำลังซื้อน่าสนใจเพราะใช่จ่ายไม่มาก แต่มาแล้วมาอีก

 

ชนิดเดือนที่แล้วเจอเดือนนี้เจออีกแล้ว

 

ผมบอกเลยว่าผมเป็นหนึ่งในคนที่คิดว่ามีแล้วไม่คุ้ม จากการที่เรามีการขนส่งแนวใหม่ราคาถูกหลากหลายเช่นสายการบินต้นทุนต่ำ

 

แต่ผมมองเรื่องความจำเป็น ผมเห็นด้วยในการเชื่อมอาเซียนกับจีน ไทยจำเป็นต้องมีเพื่อการเชื่อมนี้  แม้การมีนี้จะยากต่อการตอบคำถามเรื่องความคุ้นมทุน

 

ส่วนเชียงใหม่  เรากำลังพูดถึงคนภายในประเทศไหม?ถ้าใช่ความคุ้มต้องคุย และโอกาศที่รถไฟจะแย่งคนจากสายการบินต้นทุนต่ำ  ต้องคิดให้มาก

 

เอามาให้ดูอีกทีแล้วกันนะครับ ผมเชื่อว่าแย่งได้แน่นอน เพราะที่ผ่านๆมา ล้วนบอกว่าเป็นเช่นนั้น

 

comparison.jpg

 

เส้นทางแรกเป็นชินคันเซนสาย โทไคโดะ-ซันโย ที่ผมเน้นสีแดงคือเส้นทางที่ใกลพอๆกับกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ คือ Tokyo-Okayama ( 732.9 กม. ) และ ใกลกว่านั้นคือ Tokyo-Hiroshima ( 894 กม. ) จะเห็นได้ว่า ถึงแม้การเดินทางด้วยเครื่องบินจะเร็วกว่า แต่คนยังเลือกใช้รถไฟความเร็วสูงในสัดส่วนที่มากกว่า ส่วนเส้นทางที่ใกล้ขึ้นมาอย่าง Tokyo-Osaka นั้นยิ่งไม่ต้องพูดถึง รถไฟความเร็วสูงกินขาด

 

ยังมีกรณีที่รถไฟความเร็วสูงชนะขาด ชนิดที่สายการบินต้องหยุดบินไปเลยด้วยนะครับ นี่เป็นเส้นทางชินคันเซนสายตะวันออก ดูสัดส่วนการเดินทางนะครับ

 

tohokushinkansencopetitionwithairlines.j

 

tohokushinkansencopetitionwithairlines.j

 

ดูเส้นทางที่เน้นสีแดงนะครับ สองเส้นทางสายการบินสูญพันธุ์ ส่วนอีกเส้นทางหนึ่ง เหลือคนใช้เครื่องบินแค่ 3%

 

ดังนั้นผมมองว่าเรื่องแข่งขันกับสายการบินต้นทุนต่ำ ไม่ใช่เรืองน่ากลัวเลย ถ้ามีการจัดการที่ดี ถ้ารถเดินทางตรงเวลา มีการบริการที่ดี ผมว่าคนขึ้นรถไฟแน่ๆครับ ที่นั่งก็สบายกว่า เวลาต่างกันไม่มาก ไม่อ่อนไหวกับสภาพอากาศมากเหมือนเครื่องบิน ฯลฯ


Edited by Gop, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:24.

หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#64 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:35

ต้องถามว่าสร้างไปทำไม สร้างเพื่อการเดินทาง ผมบอกเลยถ้าราคาไม่ได้อยู่ในหลักร้อย และยังเป็นหลักพันเหมือนตามข่าวตอนนี้

ถือว่าไร้สาระครับ  การเดินทางตามจุดที่เขาว่ามาสายการบินโลวครอสบินถึงทั้งงั้น และราคาพอๆกันแถมบางช่วงถูกลงอีก ใครมันจะนั้งครับ

ต่างประเทศรถไฟฟ้าความเร็วสูง มันจะออกจากเมืองหลวงไปถึงจังหวัดที่ไม่มีเครื่องบินลงเท่านั้น เพราะบางประเทศเขาคำนึงถึงการท่องเที่ยวมาก เขาจะไม่ให้มีสนามบินในจังหวัดที่ท่องเที่ยวสำคัญ เพราะถ้าเมืองสวยๆ แต่มีเครื่องบินผ่านบนฟ้าบ่อยๆมันก็จะแปลกๆไง หรือถ้าจะมีเขาก็จะเอาไปอยู่นอกเมืองมากๆหรือเมืองใกล้ๆให้มันไกลจากแหล่งท่องเที่ยว แต่คนก็จะเดินทางไม่สะดวก บางที่เขาเลยใช้รถไฟความเร็วสูงเข้าจังหวัดนั้นแทน แล้วที่ผมรู้หลายๆที่ค่ารถไฟความเร็วสูง จะถูกกว่าเครื่องบินประมาณ 40-50% ครับ  ยกแบบ เกาหลีที่ผมเคยใช้บ่อยๆ การเดินทางประมาณ 1 พันโล ถ้าใช้เครื่องบิน ประมาณ 98000w ราวๆ 3 พัน  แต่ถ้านั้งรถไฟฟ้า ประมาณ 65000w หรือ ราวๆ 1.6 พัน เท่านั้นเอง ถ้าทำไปผมกลัวจะเหมือนแอร์พอทลิ้งอะ กลับไทยมืดหน่อย ลงสถานีย่อยๆไม่ได้เลย เปลี่ยวและมืดมากๆไม่มีรถผ่าน ต้องลากกระเป๋าไปตั้งไกลกว่าจะหารถ ลงได้แต่มักกะสันอย่างเดียวถึงจะกลับตอนกลางวันก็มีแต่รถแท็กซี่กดราคามาอยู่บ้าง บางจังหวะก็มีรถเหมามาอีก 

 

 

ผมอ่านแล้วงงน่ะครับ ตกลงเค้าทำรถไฟไปเมืองที่ไม่มีสนามบินหรือครับ?? แล้วคุณแน่ใจนะครับ  ว่าเพราะสนามบินมันห่างเมือง เค้าเลยทำรถไฟความเร็วสุงเข้ามาแทน??

 

ที่ผมทราบคือ เค้าสร้าง่รถไฟความเร็วสูงเพื่อเชื่อมพื้นที่ ที่ประชากรหนาแน่น และมีความต้องการในการเดินทางเยอะไม่ใช่หรือครับ ประเด็นเรื่องท่องเที่ยวนั้นเป็นเรื่องรอง อย่างที่เกาหลี เค้าก็ทำเชื่อมโซล กับ ปูซาน ที่เป็นสองเมืองใหญ่ของประเทศ ทั้งสองเมืองนี้ก็มีสนามบินนานาชาติไม่ใช่หรือครับ ยิ่งที่ญี่ปุ่นยิ่งแล้วใหญ่ โตเกียว นาโงย่า โอซาก้า ฮิโรชิม่า ฟูกูโอกะ ล้วนมีสนามบินนานาชาติทั้งสิ้น

 

สนามบิน ปรกติก็ต้องสร้างห่างเมืองอยู่แล้วล่ะครับ ยิ่งเมืองใหญ่ สนามบินก็ยิ่งห่างเมือง ผมว่าในอนาคต เชียงใหม่อาจต้องย้ายสนามบินก็ได้ ผมว่ารถไฟความเร็วสูงนี่แหละครับ ที่เป็นทางเลือกที่เหมาะสม ความเร็วและราคาพอๆกัน แต่วิ่งจากตัวเมือง ไปถึงอีกในตัวเมืองหนึ่งได้เลย ไม่ต้องต่อรถจากนอกเมืองเข้ามาอีกที


หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#65 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 19:13

ผมอ่านบทสัมภาษณ์คุณนคร จันทศร แล้ว บอกได้เลยว่าสิ่งแรกที่ต้องทำคือปฏิรูปการรถไฟแห่งประเทศไทยอย่างเร่งด่วนครับ


หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#66 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 20:00

 

 

ลอลยกตัวอย่างได้มั้ยครับ กรณีสายใต้ กับ อีสาน คนจะเดินทางจากไหน ไปไหน ถ้ามีการเชื่อมต่อกับต่างประเทศขึ้นมาจริงๆ

ปัจจุบันนักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่ที่สุดกลุ่มหนึ่งของไทยคือมาเลย์ครับ ลองไปค้นตัวเลขได้ผมจำลำดับไม่ได้แต่จำนวนมาก

 

เนื่องจากมาเลย์ตอนเนือส่วนที่ติดประเทศไทยนั้นไม่มีสนามบินนานาชาติ เวลาเขาจะเข้า กทม ส่วนใหญ่จะแวะเข้ามาขึ้นที่สนามบินบริเวญชายแดนเราเช่น หาดใหญ่ บ้านทอน(นราธิวาส) แทนที่จะไปถึง KL ที่มีระยะทางไม่น้อยกว่า 400 กม

ปัจจุบันมีโครงการตัดทางพืเศษร่นระยะทางจากชายแดนไทยมาเลย์ส่วนนราธิวาส เข้าสนามบินและมีแผนทำนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ก่อนเข้าสนามบินด้วย

 

นอกจากนี้บริมาณคนที่ข้ามแดนจากไทยไปทำงานในมาเลย์ อินโด สิงคโปรก็ค่อนข้างสูง ผมหมายถึงคนนะไม่ใช่สินค้า เฉพาะนักเรียนศาสนา อินโด ไทยก็มหาศาลแล้วแล้ว(ปัจจุบันใช่ทางเรือ ซึ่งอันตรายมาก)

 

ผมมองการเดินทาง

กทม สิงคโปร

KL กทม

บาหลี ภูเก็ต หัวหิน เชื่อมโดยรถไฟ

 

ส่วนสายอีสานนั้นไม่แน่ใจครับ  เพราะเท่าที่เห็น สายของลาวที่จีนทำให้ก็สั้นมากๆ ทำเพื่อเข้าไทเป็นหลัก แต่ถ้าใครมีข้อมูลเชิงลึกเสนอมาด้วยก็ดี

 

 

๑ ถามต่ออีกหน่อยครับ

 

นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ ไม่ทราบว่าส่วนใหญ่เค้าเดินทางต่อไปกรุงเทพฯ หรือว่าแค่มาเที่ยวแถวจังหวัดชายแดนแล้วกลับมาเลย์ครับ?

 

๒ ผมย้ำอีกทีนะครับ ถ้าเกินพันกิโลเมตร รถไฟความเร็วสูงจะช้ากว่าเครื่องบินเกินไป คนส่วนใหญ่ไม่เดินทางแบบที่คุณ sigree คิดหรอกครับ

 

 

1 นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ใช่จังหวัดชายแดนเป็นฐานแล้วต่อไป กทม ภูเก็ต กระบี่ เชียงใหม่ พบว่านักท่องเที่ยวกลุ่มนี้พักคืนแรก และคืนสุดท้ายในพื้นที่ ครับ

เช่นวันแรกเข้าพักที่ปาดัง วีนที่ 3-5 ไปที่ภูเก็ต วันสุดท้ายกลับมาพักปาดังก่อนกลับมาเลย์

 

นี้วงจรพวกเขาที่การท่องเที่ยวเพิ่งจับได้และกำลังปรับแผนท่องเที่ยวชายแดนตอบรับ

 

2 หากคิดว่าเขาจะไปเครื่องก็ไปเครื่อง  แต่หากคุณวางให้เชื่อมกับหัวหิน ภูเก็ต และเมืองท่องเที่ยวอื่นๆ

เขาจะขึ้นเครื่องเพื่อไปแวะเข้ากทมก่อนแล้วเข้าหัวหินทำไม?

จุดเด่นของรถไฟคือแวะระหว่างทางได้ แต่เครื่องบินทำไม่ได้ต้องไปจุดใหญ่ๆ เราต้องยอมรับความจริงเรื่องว่าภาคใต้มีจุดท่องเที่ยว คน ไปตามรายทาง

 

อย่างไรก็ดีฐานของสายใต้เป็นเรื่องที่สัมพันธ์กับ สิงคโปรและอินโดด้วยนะครับ ซึ่งอินโดฯยังไม่มีใครประมาณ เพราะแผนการวางการท่องเที่ยวร่วม บาหลี ภูเก็ต เดินมันจะนำคนจำนวนมากแค่ไหนในเดินทางระหว่างกัน

 

สายใต้นั้นไม่ได้คุยเรื่องจำนวนในภาค แต่กำลังคุยเรื่องเพื่อนบ้านที่จะเชื่อมต่อใช่งาน



#67 ypk

ypk

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,173 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 20:08

เหอะ เหอะ  ผมว่าถ้างานวิจัย มันเป็นอย่างที่ น้า Gop ว่า มันน่าจะเป็นงานวิจัยที่รองรับ

เฉพาะการเดินทางของคนในประเทศใช่ไหมครับ อย่างของญี่ปุ่นนี่ ผมก็เข้าใจว่าเขาสร้าง

รถไฟความเร็วสูงเพื่อการเดินทางของคนในประเทศเป็นหลัก ไม่ได้สร้างเพื่อหวังให้นักท่องเที่ยว

ใช้เดินทาง แต่รถไฟความเร็วสูงของไทยนี่ ผมคิดว่าตัวเลข 4 - 5 ล้านคนนั้น น่าจะรวม

นักท่องเที่ยวต่างประเทศเข้าไปด้วย ซึ่งผมคิดว่าถ้ามาจากต่างประเทศลงเครื่องบินแล้วเดิน

ทางไปสถานีรถไฟความเร็วสูงเพื่อไปเชียงใหม่ น่าจะมีโอกาสน้อยที่เขาจะเลือกแบบนั้น

แล้วปัจจุบันสนามบินต่างจังหวัดบางแห่งมันมีบินตรงจากต่างประเทศแล้วไม่ใช่หรือครับ

ผมจึงมองว่า ถ้าเอาตัวเลขนักท่องเที่ยวต่างประเทศไปรวมด้วย คงมีสิทธิ์เจ๊งแน่ ๆ แต่ถ้าจะหวัง

ใช้บริการนักท่องเที่ยวด้วย ผมว่า เส้นจากอิสานที่เชื่อมกับลาวลงไปใต้นั้นน่าจะเวิร์คที่สุดแล้ว

เพราะมันเชื่อมต่อมาจาก จีน ซึ่งประชากรเขามากมาย และกำลังรวยวันรวยคืน หวังนักท่องเที่ยว

จากจีนน่าจะคุ้มค่ากับราคาก่อสร้าง และพัฒนาพื้นที่ได้ดีกว่าเยอะนะครับเพราะเส้นทางจาก

อิสานไปใต้ มันยาวมาก



#68 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 20:11

สมมุติว่าเมื่อร้อยปีก่อน  ร 5 ทรงให้ TDRI สมัยนั้นศึกษาความคุ้มทุนความน่าลงทุนในการสร้างรถไฟความเร็วต่ำที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

 

ป่านนี้เราคงยังไม่มีรถไฟให้ตกรางเลยมั๊งครับ



#69 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 20:14

 



คนไทยส่วนใหญ่มองกลุ่มนักท่องเที่ยวจากมาเลย์ อินโด และสิงคโปรไม่ออก อาจเพราะเขารูปร่างหน้าตาคล้ายคนไทย  แต่นี้คือนักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่กำลังซื้อน่าสนใจเพราะใช่จ่ายไม่มาก แต่มาแล้วมาอีก

 

ชนิดเดือนที่แล้วเจอเดือนนี้เจออีกแล้ว

 

ผมบอกเลยว่าผมเป็นหนึ่งในคนที่คิดว่ามีแล้วไม่คุ้ม จากการที่เรามีการขนส่งแนวใหม่ราคาถูกหลากหลายเช่นสายการบินต้นทุนต่ำ

 

แต่ผมมองเรื่องความจำเป็น ผมเห็นด้วยในการเชื่อมอาเซียนกับจีน ไทยจำเป็นต้องมีเพื่อการเชื่อมนี้  แม้การมีนี้จะยากต่อการตอบคำถามเรื่องความคุ้นมทุน

 

ส่วนเชียงใหม่  เรากำลังพูดถึงคนภายในประเทศไหม?ถ้าใช่ความคุ้มต้องคุย และโอกาศที่รถไฟจะแย่งคนจากสายการบินต้นทุนต่ำ  ต้องคิดให้มาก

 

เอามาให้ดูอีกทีแล้วกันนะครับ ผมเชื่อว่าแย่งได้แน่นอน เพราะที่ผ่านๆมา ล้วนบอกว่าเป็นเช่นนั้น

 

comparison.jpg

 

เส้นทางแรกเป็นชินคันเซนสาย โทไคโดะ-ซันโย ที่ผมเน้นสีแดงคือเส้นทางที่ใกลพอๆกับกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ คือ Tokyo-Okayama ( 732.9 กม. ) และ ใกลกว่านั้นคือ Tokyo-Hiroshima ( 894 กม. ) จะเห็นได้ว่า ถึงแม้การเดินทางด้วยเครื่องบินจะเร็วกว่า แต่คนยังเลือกใช้รถไฟความเร็วสูงในสัดส่วนที่มากกว่า ส่วนเส้นทางที่ใกล้ขึ้นมาอย่าง Tokyo-Osaka นั้นยิ่งไม่ต้องพูดถึง รถไฟความเร็วสูงกินขาด

 

ยังมีกรณีที่รถไฟความเร็วสูงชนะขาด ชนิดที่สายการบินต้องหยุดบินไปเลยด้วยนะครับ นี่เป็นเส้นทางชินคันเซนสายตะวันออก ดูสัดส่วนการเดินทางนะครับ

 

tohokushinkansencopetitionwithairlines.j

 

tohokushinkansencopetitionwithairlines.j

 

ดูเส้นทางที่เน้นสีแดงนะครับ สองเส้นทางสายการบินสูญพันธุ์ ส่วนอีกเส้นทางหนึ่ง เหลือคนใช้เครื่องบินแค่ 3%

 

ดังนั้นผมมองว่าเรื่องแข่งขันกับสายการบินต้นทุนต่ำ ไม่ใช่เรืองน่ากลัวเลย ถ้ามีการจัดการที่ดี ถ้ารถเดินทางตรงเวลา มีการบริการที่ดี ผมว่าคนขึ้นรถไฟแน่ๆครับ ที่นั่งก็สบายกว่า เวลาต่างกันไม่มาก ไม่อ่อนไหวกับสภาพอากาศมากเหมือนเครื่องบิน ฯลฯ

 

ผมอยากให้ลองนำข้อมูลของการขาดทุนของรถไฟความเร็วสูงในจีนมาวางด้วยครับ

 

และเหตุผลที่ระบบรถไฟความเร็วสูงไม่เกิดในหลายๆประเทศก็ต้องคิดด้วย  หากเอาโมเดลของประเทศที่ประสบความสำเร็จด้านรถไฟอย่าง ญี่ปุ่นและ ฝรั่งเศษมาวางจะมองไม่เห็นจุดอ่อนที่เกิดขึ้น

 

ปัจจุบันผมนั่งรถไฟ จาก สุไหงโกลก ไป หาดใหญ่ ทุกๆวันศุกร์เพื่อไปหาภรรยา ค่ารถไฟเพียง 92 บาท นั่งเพียง 3.30 ชม ในขณะที่รถตู้ราคา 170 บาท วิ่ง 4 ชม

 

แต่

 

คนนิยมรถตู้มากกว่า  แปลกไหม?

 

ทุกๆโมเดลการเดินทางมีจุดดี จุดเด่นในตัวมันเสมอ  เมื่อไปที่จุดหมายเดียวกันการเทียบเคียงข้อดีข้อเสียย่อมเกิดขึ้น



#70 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 20:17

สมมุติว่าเมื่อร้อยปีก่อน  ร 5 ทรงให้ TDRI สมัยนั้นศึกษาความคุ้มทุนความน่าลงทุนในการสร้างรถไฟความเร็วต่ำที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

 

ป่านนี้เราคงยังไม่มีรถไฟให้ตกรางเลยมั๊งครับ

แน่ใจว่าพระองค์ท่านไม่ศึกษาความคุ้ม?

 

เคยเห็นแผนแรกและเส้นทางปัจจุบันเทียบเคียงกันไหม  ถ้าไม่ศึกษาไม่มีข้อมูล  แผนที่การเดินรถไฟไม่ใช่แบบวันนี้

 

มีการประเมินแผนตลอด  ทั้งความคุ้มค่าและอื่น  ศึกษาก่อนพูดไหมนั้น



#71 ypk

ypk

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,173 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 20:22

เหอะ เหอะ  ผมว่าความคุ้มทุนมันอยู่ที่ว่า เราจะสร้างขึ้นมาเพื่อบริการใครนะครับ รถไฟ

ธรรมดามันบริการคนได้ทั้งประเทศ แต่รถไฟความเร็วสูงมันบริการได้เฉพาะคนที่พอมีฐานะ

เพราะฉะนั้น การให้บริการคนได้เท่าเทียมกันทั้งประเทศนั้นมันกำไรอยู่แล้ว โดยไม่ต้องไป

คิดกำไรเป็นตัวเงิน แต่ถ้าบริการแค่คนบางกลุ่ม มันก็ต้องคิดว่าคุ้มไหม ถ้าไม่คุ้มก็ไม่ควรทำ

เพราะทำไปแล้วต้องเอาภาษีของคนที่ไม่มีโอกาสได้ใช้ไปโปะขาดทุน มันจะไม่เป็นธรรมนะครับ



#72 G.Maniac

G.Maniac

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,440 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 20:25

คำถามนี้ ผมนึกถึงภาพ ครอบครัวชนชั้นกลาง ประชุมสมาชิกในครอบครัวว่า

 

"เราควรซื้อเฟอรารี่เหมือนเจ้าสัวทั้งหลายเค้ามีกัน เพื่อจะได้ใช้เวลาในการออกไปซื้อโจ๊กตอนเช้าวันเสาร์ลดลง-กลับมามันก็ยังร้อนอยู่"



#73 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 20:35

 

สมมุติว่าเมื่อร้อยปีก่อน  ร 5 ทรงให้ TDRI สมัยนั้นศึกษาความคุ้มทุนความน่าลงทุนในการสร้างรถไฟความเร็วต่ำที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

 

ป่านนี้เราคงยังไม่มีรถไฟให้ตกรางเลยมั๊งครับ

แน่ใจว่าพระองค์ท่านไม่ศึกษาความคุ้ม?

 

เคยเห็นแผนแรกและเส้นทางปัจจุบันเทียบเคียงกันไหม  ถ้าไม่ศึกษาไม่มีข้อมูล  แผนที่การเดินรถไฟไม่ใช่แบบวันนี้

 

มีการประเมินแผนตลอด  ทั้งความคุ้มค่าและอื่น  ศึกษาก่อนพูดไหมนั้น

 

 

 

ร 5 ท่านทรงมีวิสัยทัศน์ยาวไกลมากกว่าคุณ มากกว่า TDRI มากกว่าตัวเลขความคุ้มค่าโดยมองปัจจุบันเป็นหลักมากครับ

ไม่อย่างนั้น เมื่อร้อยปีก่อน เมืองไทยไม่มีทางได้สร้างทางรถไฟ เพราะคนยังเดินเท้า ขี่ช้างกันอยู่เลยครับ ไม่มีผู้โดยสารที่มีศักยภาพจำนวนมากพอที่จะทำให้การรถไฟไม่ขาดทุนได้


Edited by ไบกอนเหลือง, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 20:36.


#74 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 20:43

ก่อนจะมีเครื่องบินข้ามทวีป ไม่มีใครคิดถึงว่าจะมีธุรกิจส่งของด่วนข้ามทวีปได้แบบ Fedex DHL

ก่อนที่จะมีโทรศัพท์มือถือ ไม่มีใครที่คิดว่าจะมีคนเป็นล้านใช้ LINE ในการพิมพ์คุยกันผ่านมือถือ

ก่อนที่จะมี high speed train ก็ไม่มีใครคิดว่าจะมีธุรกิจ XXXX เกิดขึ้นได้ในอีก 20 ปีข้างหน้า

 

High speed train มันเป็น platform สำหรับธุรกิจสำหรับผู้ที่มองเห็นอนาคต 

แต่มันเป็นภาระสำหรับผู้มีสายตาสั้น



#75 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:08

 

ไอ้รถไฟความเร็วสูงมันไม่น่าเวิร์คหรอก เป็นตู ตู พัฒนาสนามบินตามจังหวัดต่างๆ แล้วให้สัมปทานรถวิ่งระหว่างจังหวัดเพิ่ม รัฐบาลของเฮียแม้วต้องมีผลประโยชน์แอบแฝงเสมอ แต่เอาละในเมื่อคิดทำไปแล้ว ก็จงทำต่อไป เพราะภาคเอกชน taking this state-owned project into accout as their backlogs ไปแล้ว ถ้ายกเลิกโครงการ หรือมีอุบัติเหตุขัดข้องตลาดหุ้นวิบัติแน่ๆ

 

ตำแหน่ง คอนโดมิเนียม โดย แสนสิริ

 

คอนโดแสนสิริ.JPG

 

 

High speed train มันเป็น platform สำหรับธุรกิจสำหรับผู้ที่มองเห็นอนาคต  :lol:  :lol:  :lol:  :lol:  :lol:


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#76 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:11

 

 

สมมุติว่าเมื่อร้อยปีก่อน  ร 5 ทรงให้ TDRI สมัยนั้นศึกษาความคุ้มทุนความน่าลงทุนในการสร้างรถไฟความเร็วต่ำที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

 

ป่านนี้เราคงยังไม่มีรถไฟให้ตกรางเลยมั๊งครับ

แน่ใจว่าพระองค์ท่านไม่ศึกษาความคุ้ม?

 

เคยเห็นแผนแรกและเส้นทางปัจจุบันเทียบเคียงกันไหม  ถ้าไม่ศึกษาไม่มีข้อมูล  แผนที่การเดินรถไฟไม่ใช่แบบวันนี้

 

มีการประเมินแผนตลอด  ทั้งความคุ้มค่าและอื่น  ศึกษาก่อนพูดไหมนั้น

 

 

 

ร 5 ท่านทรงมีวิสัยทัศน์ยาวไกลมากกว่าคุณ มากกว่า TDRI มากกว่าตัวเลขความคุ้มค่าโดยมองปัจจุบันเป็นหลักมากครับ

ไม่อย่างนั้น เมื่อร้อยปีก่อน เมืองไทยไม่มีทางได้สร้างทางรถไฟ เพราะคนยังเดินเท้า ขี่ช้างกันอยู่เลยครับ ไม่มีผู้โดยสารที่มีศักยภาพจำนวนมากพอที่จะทำให้การรถไฟไม่ขาดทุนได้

 

ถ้านั้นคุณก็เขลาสุดๆ ถามว่าศึกษาความเป็นไปไหมไม่ตอบ เลี่ยงไปยอพระเกียรติโดยไม่ทราบว่ามีการศึกษามากมายก่อนที่พระองค์ท่านจะตัดสินพระทัยในการวางระบบราง

 

ทั้งส่งคนไปดูในพม่าและอื่นๆอีกมาก เส้นทางรถไฟไม่ใช่นึกจะทำก็ทำ มีการปรับเปลี่ยนและปรับแบบตลอดโดยอิงความคุ้มค่าด้านเศรษฐกิจและการเมือง

 

อีกเรื่องคือ  รถไฟไม่ได้เสร็จในสมัยพระองค์ท่าน  หากไม่มีการศึกษาต่อเนื่องและเห็นภาพร่วมแล้วย่อมไม่มีการทำอย่างต่อเนื่องหลังสิ้นพระองค์ท่าน

 

นี้คือการคิดและให้เข้าใจร่วม

 

ไม่ใช่วิธีแบบเพื่อไทย ทักษิณทำตอนนี้  ทำห่าอะไรให้วางบนหลักความเชื่อล้วนๆหาเหตุหาผลอะไรไม่ได้ก็บอกกูเสียงข้างมากจะทำ  อย่ายกวิธีของพระองค์ท่านมาเทียบเมื่อคุณไม่ได้นำมาเป็นแนวทางสักกระพี้



#77 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:25

 

 

 

สมมุติว่าเมื่อร้อยปีก่อน  ร 5 ทรงให้ TDRI สมัยนั้นศึกษาความคุ้มทุนความน่าลงทุนในการสร้างรถไฟความเร็วต่ำที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

 

ป่านนี้เราคงยังไม่มีรถไฟให้ตกรางเลยมั๊งครับ

แน่ใจว่าพระองค์ท่านไม่ศึกษาความคุ้ม?

 

เคยเห็นแผนแรกและเส้นทางปัจจุบันเทียบเคียงกันไหม  ถ้าไม่ศึกษาไม่มีข้อมูล  แผนที่การเดินรถไฟไม่ใช่แบบวันนี้

 

มีการประเมินแผนตลอด  ทั้งความคุ้มค่าและอื่น  ศึกษาก่อนพูดไหมนั้น

 

 

 

ร 5 ท่านทรงมีวิสัยทัศน์ยาวไกลมากกว่าคุณ มากกว่า TDRI มากกว่าตัวเลขความคุ้มค่าโดยมองปัจจุบันเป็นหลักมากครับ

ไม่อย่างนั้น เมื่อร้อยปีก่อน เมืองไทยไม่มีทางได้สร้างทางรถไฟ เพราะคนยังเดินเท้า ขี่ช้างกันอยู่เลยครับ ไม่มีผู้โดยสารที่มีศักยภาพจำนวนมากพอที่จะทำให้การรถไฟไม่ขาดทุนได้

 

ถ้านั้นคุณก็เขลาสุดๆ ถามว่าศึกษาความเป็นไปไหมไม่ตอบ เลี่ยงไปยอพระเกียรติโดยไม่ทราบว่ามีการศึกษามากมายก่อนที่พระองค์ท่านจะตัดสินพระทัยในการวางระบบราง

 

ทั้งส่งคนไปดูในพม่าและอื่นๆอีกมาก เส้นทางรถไฟไม่ใช่นึกจะทำก็ทำ มีการปรับเปลี่ยนและปรับแบบตลอดโดยอิงความคุ้มค่าด้านเศรษฐกิจและการเมือง

 

อีกเรื่องคือ  รถไฟไม่ได้เสร็จในสมัยพระองค์ท่าน  หากไม่มีการศึกษาต่อเนื่องและเห็นภาพร่วมแล้วย่อมไม่มีการทำอย่างต่อเนื่องหลังสิ้นพระองค์ท่าน

 

นี้คือการคิดและให้เข้าใจร่วม

 

ไม่ใช่วิธีแบบเพื่อไทย ทักษิณทำตอนนี้  ทำห่าอะไรให้วางบนหลักความเชื่อล้วนๆหาเหตุหาผลอะไรไม่ได้ก็บอกกูเสียงข้างมากจะทำ  อย่ายกวิธีของพระองค์ท่านมาเทียบเมื่อคุณไม่ได้นำมาเป็นแนวทางสักกระพี้

 

 

 

พระองค์ส่งคนไปดูว่าจะสร้างแบบไหนจึงจะดีที่สุด ไม่ใช่ดูว่าจะสร้างหรือไม่สร้างนะครับ อย่ามามั่ว

คุณคิดว่าตัวเลขความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจในการสร้างทางรถไฟ คำนวนในสมัย ร 5 มันจะมีความคุ้มค่าเหรอครับ?

มันยังขาดทุนมาจนถึงปัจจุบันอยู่เลย

แต่มันทำให้คุณ ให้ผม สามารถเดินทางเข้ามาในกรุงเทพ มาเรียนหนังสือได้

มันนำความเจริญกลับไปสู่จังหวัดต่างๆ ที่รถไฟมันวิ่งผ่านได้ ผู้คนจากต่างจังหวัดเมื่อหลายทศวรรษก่อน สามารถเข้ามาติดต่อธุรกิจในกรุงเทพ เอาของลงไปขายได้

 

อเมริกาสร้างทางรถไฟข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่งผ่านกลางทะเลทราย ทุ่งหญ้าเวิ้งว้าง

ไม่ใช่ว่าเขาเห็นว่าคนในขณะนั้นมีความต้องการเดินทางข้ามทวีปกันมากนะครับ

แต่เพราะเขาเห็นอนาคตที่รถไฟมันจะสร้างขึ้นมาต่างหาก

ทางรถไฟทำให้เกิดเมืองต่างๆ ขึ้นมามากมายตามเส้นทาง

 

ปัจจุบันรถไฟธรรมดา มันหมดประสิทธิภาพในการรองรับความต้องการของโลกยุคใหม่แล้วครับ

มันต้องการรถไฟที่มีความเร็วสูง เพื่อก่อให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ (ที่คนอย่างคุณไม่มีวันคิดออก) 

มันไม่ใช่ความโก้เก๋ หรือเป็นสัญลักษณ์ของความเจริญ แต่มันเป็นความจำเป็นในการเดินไปข้างหน้าของประเทศครับ ทั้งในแง่ต้นทุนทางโลจินติกส์ ทั้งในแง่ของธุรกิจที่จะเกิดมาใหม่จากโลกที่เล็กลง



#78 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:30

คุณ Sigree

ผมถามคุณนะ หากย้อนกลับไป 30 ปีที่แล้ว ช่วงที่ยังไม่มีโทรศัพท์มือถือในเมืองไทย

ตอนนั้นสมมุติว่าคุณมีเงินพอจะลงทุน

ให้คุณลงทุนวางโครงข่ายโทรศัพท์มือถือโดยที่ไม่รู้อนาคต คุณจะทำหรือเปล่า?

ผมพนันกันก็ได้ว่าคนอย่างคุณไม่กล้าลงทุน เพราะคุณมองไม่เห็นอนาคต

เพราะคุณมองไม่เห็นว่าจะมีใครเอาท่อนกระดูกอันเป็นแสนมาโทรหากัน

วันนี้ของคุณจึงต่างจากของเจ้าของธุรกิจมือถือที่เขามองเห็นอนาคตไงครับ



#79 ฮิตเด้อ

ฮิตเด้อ

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 145 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:36

 

ต้องถามว่าสร้างไปทำไม สร้างเพื่อการเดินทาง ผมบอกเลยถ้าราคาไม่ได้อยู่ในหลักร้อย และยังเป็นหลักพันเหมือนตามข่าวตอนนี้

ถือว่าไร้สาระครับ  การเดินทางตามจุดที่เขาว่ามาสายการบินโลวครอสบินถึงทั้งงั้น และราคาพอๆกันแถมบางช่วงถูกลงอีก ใครมันจะนั้งครับ

ต่างประเทศรถไฟฟ้าความเร็วสูง มันจะออกจากเมืองหลวงไปถึงจังหวัดที่ไม่มีเครื่องบินลงเท่านั้น เพราะบางประเทศเขาคำนึงถึงการท่องเที่ยวมาก เขาจะไม่ให้มีสนามบินในจังหวัดที่ท่องเที่ยวสำคัญ เพราะถ้าเมืองสวยๆ แต่มีเครื่องบินผ่านบนฟ้าบ่อยๆมันก็จะแปลกๆไง หรือถ้าจะมีเขาก็จะเอาไปอยู่นอกเมืองมากๆหรือเมืองใกล้ๆให้มันไกลจากแหล่งท่องเที่ยว แต่คนก็จะเดินทางไม่สะดวก บางที่เขาเลยใช้รถไฟความเร็วสูงเข้าจังหวัดนั้นแทน แล้วที่ผมรู้หลายๆที่ค่ารถไฟความเร็วสูง จะถูกกว่าเครื่องบินประมาณ 40-50% ครับ  ยกแบบ เกาหลีที่ผมเคยใช้บ่อยๆ การเดินทางประมาณ 1 พันโล ถ้าใช้เครื่องบิน ประมาณ 98000w ราวๆ 3 พัน  แต่ถ้านั้งรถไฟฟ้า ประมาณ 65000w หรือ ราวๆ 1.6 พัน เท่านั้นเอง ถ้าทำไปผมกลัวจะเหมือนแอร์พอทลิ้งอะ กลับไทยมืดหน่อย ลงสถานีย่อยๆไม่ได้เลย เปลี่ยวและมืดมากๆไม่มีรถผ่าน ต้องลากกระเป๋าไปตั้งไกลกว่าจะหารถ ลงได้แต่มักกะสันอย่างเดียวถึงจะกลับตอนกลางวันก็มีแต่รถแท็กซี่กดราคามาอยู่บ้าง บางจังหวะก็มีรถเหมามาอีก 

 

 

ผมอ่านแล้วงงน่ะครับ ตกลงเค้าทำรถไฟไปเมืองที่ไม่มีสนามบินหรือครับ?? แล้วคุณแน่ใจนะครับ  ว่าเพราะสนามบินมันห่างเมือง เค้าเลยทำรถไฟความเร็วสุงเข้ามาแทน??

 

ที่ผมทราบคือ เค้าสร้าง่รถไฟความเร็วสูงเพื่อเชื่อมพื้นที่ ที่ประชากรหนาแน่น และมีความต้องการในการเดินทางเยอะไม่ใช่หรือครับ ประเด็นเรื่องท่องเที่ยวนั้นเป็นเรื่องรอง อย่างที่เกาหลี เค้าก็ทำเชื่อมโซล กับ ปูซาน ที่เป็นสองเมืองใหญ่ของประเทศ ทั้งสองเมืองนี้ก็มีสนามบินนานาชาติไม่ใช่หรือครับ ยิ่งที่ญี่ปุ่นยิ่งแล้วใหญ่ โตเกียว นาโงย่า โอซาก้า ฮิโรชิม่า ฟูกูโอกะ ล้วนมีสนามบินนานาชาติทั้งสิ้น

 

สนามบิน ปรกติก็ต้องสร้างห่างเมืองอยู่แล้วล่ะครับ ยิ่งเมืองใหญ่ สนามบินก็ยิ่งห่างเมือง ผมว่าในอนาคต เชียงใหม่อาจต้องย้ายสนามบินก็ได้ ผมว่ารถไฟความเร็วสูงนี่แหละครับ ที่เป็นทางเลือกที่เหมาะสม ความเร็วและราคาพอๆกัน แต่วิ่งจากตัวเมือง ไปถึงอีกในตัวเมืองหนึ่งได้เลย ไม่ต้องต่อรถจากนอกเมืองเข้ามาอีกที

 

คือผมอาจจะสื่อผิดไปครับ แต่ผมไม่แก้มันคงยาวละ เอาเป็นว่าสิ่งที่ผมอยากจะสื่อมันก้คือจะสร้างต้องคิดถึงการใช้งานประมาณนี้อะครับ

 

โซลกับปูซานเขาใช้รถไฟฟ้าเชื่อมต่อกันจริงครับ และมีสนามบินนานาชาติจริง ที่โซลยังมีกิมโปด้วยครับคล้ายๆดอนเมือง แต่เขาไว้บินในประเทศซะมากกว่า

แต่สนามบินของเขามันไกลมาก มันไม่ได้ใกล้ๆแบบมักกะสันไปสุวรรณภูมินะครับ เขาต้องนั้งรถไฟฟ้ากันเป็นชั่วโมงกว่าจะถึงในเมือง 

ซึ่งปกติคนปูซานเองเขาจะไปโซลเขาจะไม่นั้งเครื่องบินกันมากครับ เพราะมันแพงกว่าแต่เวลารวมๆก็ห่างกันไม่มา รถไฟความเร็วสูง [ย่อๆคือ ktx] ktx มันวิ่งจากปูซานไปโซลใช้เวลาราวๆ 2 ชั่วโมงครึ่ง และถูกและตรงเวลาเป้ะ วิ่งเข้าใจกลางเมืองเลย แล้วเครื่องจากโซลไปปูซาน

ประมาณ 40 นาที เท่านั้นแต่แพงกว่าพอสมควร แต่ถ้ามาเครื่องบินก็จะเข้าเมืองต้องนั้งรถไฟฟ้าต่ออีกเป็นชั่วโมง เวลาเลยไม่ต่างกันมากนัก แต่นักท่องเที่ยวซึ่งอาจจะไปเที่ยวปูซานแล้วจะกลับประเทศที่อินชอน เขาก็จำเป็นต้องมานั้งเครื่องจากปูซานไปลงอินชอนเพื่อจะต่อเครื่องกลับประเทศมันจะสะดวกกว่า ซึ่งจะเห็นได้ว่า การใช้งานสนามบินมันคนละอย่าง อาจจะเทียบได้กับ การต่อเครื่องกับไม่ต่อเครื่อง แบบถ้านั้งแอร์เอเซียไปเกาหลี ก็จะไปลงมาเลก่อนแล้วถึงจะไปอินชอน

คือถ้าสมมุติว่า ถ้าคนเกาหลีมีมีเงิน เขาคงไม่นั้งไปลงมาเล แต่ไปลองอินชอนเลยไม่ดีกว่าเหรอ อะไรแบบนี้

 

แล้วที่ผมบอกไม่เบียดการท่องเที่ยวแน่นอนครับไม่ใช่เดินๆอยู่แล้วเครื่องบินผ่านบนหัวแบบบ้านเรา แต่มันไปถึงเรื่องการเดินทางไงครับที่บางทีอาจจะมุ่งไปสนามบินกันมากการจราจรอาจจะไม่ค่อยดี เพราะเขาไม่ได้ทำทางยกระดับเข้าสนามบินได้แบบเรา เขาก็เลยจะจับสนามบินออกไปไกลๆและไปในเขตที่จะไม่มีผลกระทบและใช้ระบบรถไฟฟ้าหรือรถไฟฟ้าใต้ดินเข้ามาเชื่อมจากใจกลางเมืองไปสนามบินคุณแทบจะไม่ต้องออกไปโดนแดดอีกเลย 

 

แล้วกลับกัน ถ้ามีรถไฟความเร็วสูงไปเชี่ยงใหม่ ทั้งที่เชียงใหม่ สนามบินมันอยู่เมืองที่ไม่ได้ไกลจากตัวเมือง แต่เครื่องบินถูกกว่า การสร้างจะคุ้มค่าใหมครับ ? 

ยกตัวอย่างจากญาติผมเขาอยู่ถนนห้วยแก้ว ผมบินไปเยี่ยมผมนั้งรถไม่ถึง 10 นาที ถึงบ้านเขาแล้วแบบเนี่ย แล้วแบบ กรุงเทพ ไปพัทยา ระยอง หัวหิน มันจำเป็นมากหรอครับ 

ทุกๆวันนี้ ผมเห็นนักท่องเที่ยวส่วนมากก็นั้งรถตู้ หรือ รถทัวออกจากสนามบินเลย โอเค ถ้าคุณจะยกถึงความปลอดภัยเข้ามาผมก็โอเคครับ รถไฟอาจจะปลอดภัยกว่า แต่ความคุ้มค่ามันถึงสมควรขนาดต้องสร้างหรือไม่ สู้เอาเงินไปปรับปรุงรถไฟแบบที่คุณว่าน่าจะดีกว่าครับ   เอาจริงๆผมก็เห็นนักท่องเที่ยวพวกนี้นั้งรถไฟกันพอสมควรนะแต่เขาจะไปนั้งกันตรงห้องแอร์กันซะมากกว่า

 

อะไรประมาณนี้แหละที่ผมคิด


Edited by ฮิตเด้อ, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 22:19.

  • Gop likes this

#80 tonythebest

tonythebest

    สมาชิกขั้นสูง 178 เซนติเมตร

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,595 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:39

ก่อนจะมีเครื่องบินข้ามทวีป ไม่มีใครคิดถึงว่าจะมีธุรกิจส่งของด่วนข้ามทวีปได้แบบ Fedex DHL

ก่อนที่จะมีโทรศัพท์มือถือ ไม่มีใครที่คิดว่าจะมีคนเป็นล้านใช้ LINE ในการพิมพ์คุยกันผ่านมือถือ

ก่อนที่จะมี high speed train ก็ไม่มีใครคิดว่าจะมีธุรกิจ XXXX เกิดขึ้นได้ในอีก 20 ปีข้างหน้า

 

High speed train มันเป็น platform สำหรับธุรกิจสำหรับผู้ที่มองเห็นอนาคต 

แต่มันเป็นภาระสำหรับผู้มีสายตาสั้น

 

 

ตัวอย่างที่คุณยกมา มันเป็นสิ่งที่ดีกว่านี่ครับ

line นอกจากค่า net ก็ไม่มีค่าใช้จ่าย จะจ่ายค่าโทรทางไกลทำไม

รถไฟเป็นของใหม่ ที่ทำให้การเดินทางสะดวกกว่าเกวียน

แต่ถ้าเทียบรถไฟความเร็วสูงกับเครื่องบิน low cost ล่ะครับ

ในเมื่อมี low cost ราคาแสนถูก

ใครจะอยากขึ้นรถไฟ

 

คิดรึปล่าว ในยุคของการแข่งขันกันในด้านราคาของ low cost

รถไฟความเร็วสูงมันเป็นเพียงความฝันเฟื่องของคนสายตาสั้น


ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ

 

 

 

เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน

จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน


#81 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:42

 

 

 

 

สมมุติว่าเมื่อร้อยปีก่อน  ร 5 ทรงให้ TDRI สมัยนั้นศึกษาความคุ้มทุนความน่าลงทุนในการสร้างรถไฟความเร็วต่ำที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

 

ป่านนี้เราคงยังไม่มีรถไฟให้ตกรางเลยมั๊งครับ

แน่ใจว่าพระองค์ท่านไม่ศึกษาความคุ้ม?

 

เคยเห็นแผนแรกและเส้นทางปัจจุบันเทียบเคียงกันไหม  ถ้าไม่ศึกษาไม่มีข้อมูล  แผนที่การเดินรถไฟไม่ใช่แบบวันนี้

 

มีการประเมินแผนตลอด  ทั้งความคุ้มค่าและอื่น  ศึกษาก่อนพูดไหมนั้น

 

 

 

ร 5 ท่านทรงมีวิสัยทัศน์ยาวไกลมากกว่าคุณ มากกว่า TDRI มากกว่าตัวเลขความคุ้มค่าโดยมองปัจจุบันเป็นหลักมากครับ

ไม่อย่างนั้น เมื่อร้อยปีก่อน เมืองไทยไม่มีทางได้สร้างทางรถไฟ เพราะคนยังเดินเท้า ขี่ช้างกันอยู่เลยครับ ไม่มีผู้โดยสารที่มีศักยภาพจำนวนมากพอที่จะทำให้การรถไฟไม่ขาดทุนได้

 

ถ้านั้นคุณก็เขลาสุดๆ ถามว่าศึกษาความเป็นไปไหมไม่ตอบ เลี่ยงไปยอพระเกียรติโดยไม่ทราบว่ามีการศึกษามากมายก่อนที่พระองค์ท่านจะตัดสินพระทัยในการวางระบบราง

 

ทั้งส่งคนไปดูในพม่าและอื่นๆอีกมาก เส้นทางรถไฟไม่ใช่นึกจะทำก็ทำ มีการปรับเปลี่ยนและปรับแบบตลอดโดยอิงความคุ้มค่าด้านเศรษฐกิจและการเมือง

 

อีกเรื่องคือ  รถไฟไม่ได้เสร็จในสมัยพระองค์ท่าน  หากไม่มีการศึกษาต่อเนื่องและเห็นภาพร่วมแล้วย่อมไม่มีการทำอย่างต่อเนื่องหลังสิ้นพระองค์ท่าน

 

นี้คือการคิดและให้เข้าใจร่วม

 

ไม่ใช่วิธีแบบเพื่อไทย ทักษิณทำตอนนี้  ทำห่าอะไรให้วางบนหลักความเชื่อล้วนๆหาเหตุหาผลอะไรไม่ได้ก็บอกกูเสียงข้างมากจะทำ  อย่ายกวิธีของพระองค์ท่านมาเทียบเมื่อคุณไม่ได้นำมาเป็นแนวทางสักกระพี้

 

 

 

พระองค์ส่งคนไปดูว่าจะสร้างแบบไหนจึงจะดีที่สุด ไม่ใช่ดูว่าจะสร้างหรือไม่สร้างนะครับ อย่ามามั่ว

คุณคิดว่าตัวเลขความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจในการสร้างทางรถไฟ คำนวนในสมัย ร 5 มันจะมีความคุ้มค่าเหรอครับ?

มันยังขาดทุนมาจนถึงปัจจุบันอยู่เลย

แต่มันทำให้คุณ ให้ผม สามารถเดินทางเข้ามาในกรุงเทพ มาเรียนหนังสือได้

มันนำความเจริญกลับไปสู่จังหวัดต่างๆ ที่รถไฟมันวิ่งผ่านได้ ผู้คนจากต่างจังหวัดเมื่อหลายทศวรรษก่อน สามารถเข้ามาติดต่อธุรกิจในกรุงเทพ เอาของลงไปขายได้

 

อเมริกาสร้างทางรถไฟข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่งผ่านกลางทะเลทราย ทุ่งหญ้าเวิ้งว้าง

ไม่ใช่ว่าเขาเห็นว่าคนในขณะนั้นมีความต้องการเดินทางข้ามทวีปกันมากนะครับ

แต่เพราะเขาเห็นอนาคตที่รถไฟมันจะสร้างขึ้นมาต่างหาก

ทางรถไฟทำให้เกิดเมืองต่างๆ ขึ้นมามากมายตามเส้นทาง

 

ปัจจุบันรถไฟธรรมดา มันหมดประสิทธิภาพในการรองรับความต้องการของโลกยุคใหม่แล้วครับ

มันต้องการรถไฟที่มีความเร็วสูง เพื่อก่อให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ (ที่คนอย่างคุณไม่มีวันคิดออก) 

มันไม่ใช่ความโก้เก๋ หรือเป็นสัญลักษณ์ของความเจริญ แต่มันเป็นความจำเป็นในการเดินไปข้างหน้าของประเทศครับ ทั้งในแง่ต้นทุนทางโลจินติกส์ ทั้งในแง่ของธุรกิจที่จะเกิดมาใหม่จากโลกที่เล็กลง

 

อย่าไปอเมริกา เมืองไทยคุณยังไม่รู้เลย  แล้วอย่าเลยไปมือถือคุยตรงนี้มั่วมากแค่รถไฟยังไม่รู้จะไปหาอะไนเรื่องมือถือ  หากอยากคุยไปเปิดอีกกระทู้  มีคนจะเล่นเรื่องทักษิณกัก 3G และ CDMA เยอะ วิสัยทัศน์กักคนอื่นส่งต่อไม่ได้

 

ร ๕ ท่านจะสร้างรถไฟทานคิดเยอะกว่าที่คุณรู้มาก มากจนคาดไม่ถึง  วิสัยทัศน์ท่านตอนนั้นซับซ้อนมองไกล

 

คุณบอกเองนะไม่คุ้ม  แล้วทำไมหลังท่านสิ้นรุ่นต่อๆมายังทำต่อจนทางรถไฟไปสุดสายในภาคใต้  การส่งต่อวิสัยทัศน์นั้นคือการสร้างความเข้าใจร่วม

 

การสร้างวัสัยทัศน์ร่วมเรื่องรถไฟนั้นซับซ้อนมาก มีคาต่อเชื่อมถึง 3 ชาติร่วมในตอนนั้น น่าเสียดายปัจจุบันไปไม่ถึง

 

ในสมัย ร ๕ นั้นทางรถไฟยังไม่ทั่วประเทศ ผมจำไม่ได้ว่าไปถึงไหนยังไง แต่ไม่ถึงสุไหงโกลก สายอีสานก็ไม่เสร็จ  ได้มีการทำต่อในรัชกาลถัดมาและทำต่อเนื่องจนเสร็จในสมัย ร๗ วิสัยทัศน์ร่วมกี่รัชกาล

 

สิ่งนี้จะเกิดขึ้นได้คือความเข้าใจร่วม ไม่ใช่กูคิดเอง รู้เอง เสร็จพวกเองรู้  ไม่ใช่

 

เข้าใจเรื่องการสร้างความเข้าใจร่วมไหม? มันไม่ใช่ความเชื่อ มันคือการสร้างความคิดร่วมกันทั้งชาติ

 

งานหลายๆอย่างไม่สามารถเสร็จในช่วงชีวิตคนหนึ่งคน อำนาจหนึ่งสมัย การวางวิสัยทัศน์ร่วมสำคัญ  สำคัญมาก

 

ซึ่งเพื่อไทยไม่เคยทำ  จะแก้ปัญหาน้ำไม่มีรายละเอียด  จะทำรถไฟความเร็วสูงไม่มีแผนไม่มีแนวไม่มีใครคิดร่วม

 

เมื่อสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกับคนในช่าติไม่ได้ ริไปเทียบเคียงว่าเอาอย่างเหรอ?



#82 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:48

 

 

 

 

 

สมมุติว่าเมื่อร้อยปีก่อน  ร 5 ทรงให้ TDRI สมัยนั้นศึกษาความคุ้มทุนความน่าลงทุนในการสร้างรถไฟความเร็วต่ำที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

 

ป่านนี้เราคงยังไม่มีรถไฟให้ตกรางเลยมั๊งครับ

แน่ใจว่าพระองค์ท่านไม่ศึกษาความคุ้ม?

 

เคยเห็นแผนแรกและเส้นทางปัจจุบันเทียบเคียงกันไหม  ถ้าไม่ศึกษาไม่มีข้อมูล  แผนที่การเดินรถไฟไม่ใช่แบบวันนี้

 

มีการประเมินแผนตลอด  ทั้งความคุ้มค่าและอื่น  ศึกษาก่อนพูดไหมนั้น

 

 

 

ร 5 ท่านทรงมีวิสัยทัศน์ยาวไกลมากกว่าคุณ มากกว่า TDRI มากกว่าตัวเลขความคุ้มค่าโดยมองปัจจุบันเป็นหลักมากครับ

ไม่อย่างนั้น เมื่อร้อยปีก่อน เมืองไทยไม่มีทางได้สร้างทางรถไฟ เพราะคนยังเดินเท้า ขี่ช้างกันอยู่เลยครับ ไม่มีผู้โดยสารที่มีศักยภาพจำนวนมากพอที่จะทำให้การรถไฟไม่ขาดทุนได้

 

ถ้านั้นคุณก็เขลาสุดๆ ถามว่าศึกษาความเป็นไปไหมไม่ตอบ เลี่ยงไปยอพระเกียรติโดยไม่ทราบว่ามีการศึกษามากมายก่อนที่พระองค์ท่านจะตัดสินพระทัยในการวางระบบราง

 

ทั้งส่งคนไปดูในพม่าและอื่นๆอีกมาก เส้นทางรถไฟไม่ใช่นึกจะทำก็ทำ มีการปรับเปลี่ยนและปรับแบบตลอดโดยอิงความคุ้มค่าด้านเศรษฐกิจและการเมือง

 

อีกเรื่องคือ  รถไฟไม่ได้เสร็จในสมัยพระองค์ท่าน  หากไม่มีการศึกษาต่อเนื่องและเห็นภาพร่วมแล้วย่อมไม่มีการทำอย่างต่อเนื่องหลังสิ้นพระองค์ท่าน

 

นี้คือการคิดและให้เข้าใจร่วม

 

ไม่ใช่วิธีแบบเพื่อไทย ทักษิณทำตอนนี้  ทำห่าอะไรให้วางบนหลักความเชื่อล้วนๆหาเหตุหาผลอะไรไม่ได้ก็บอกกูเสียงข้างมากจะทำ  อย่ายกวิธีของพระองค์ท่านมาเทียบเมื่อคุณไม่ได้นำมาเป็นแนวทางสักกระพี้

 

 

 

พระองค์ส่งคนไปดูว่าจะสร้างแบบไหนจึงจะดีที่สุด ไม่ใช่ดูว่าจะสร้างหรือไม่สร้างนะครับ อย่ามามั่ว

คุณคิดว่าตัวเลขความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจในการสร้างทางรถไฟ คำนวนในสมัย ร 5 มันจะมีความคุ้มค่าเหรอครับ?

มันยังขาดทุนมาจนถึงปัจจุบันอยู่เลย

แต่มันทำให้คุณ ให้ผม สามารถเดินทางเข้ามาในกรุงเทพ มาเรียนหนังสือได้

มันนำความเจริญกลับไปสู่จังหวัดต่างๆ ที่รถไฟมันวิ่งผ่านได้ ผู้คนจากต่างจังหวัดเมื่อหลายทศวรรษก่อน สามารถเข้ามาติดต่อธุรกิจในกรุงเทพ เอาของลงไปขายได้

 

อเมริกาสร้างทางรถไฟข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่งผ่านกลางทะเลทราย ทุ่งหญ้าเวิ้งว้าง

ไม่ใช่ว่าเขาเห็นว่าคนในขณะนั้นมีความต้องการเดินทางข้ามทวีปกันมากนะครับ

แต่เพราะเขาเห็นอนาคตที่รถไฟมันจะสร้างขึ้นมาต่างหาก

ทางรถไฟทำให้เกิดเมืองต่างๆ ขึ้นมามากมายตามเส้นทาง

 

ปัจจุบันรถไฟธรรมดา มันหมดประสิทธิภาพในการรองรับความต้องการของโลกยุคใหม่แล้วครับ

มันต้องการรถไฟที่มีความเร็วสูง เพื่อก่อให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ (ที่คนอย่างคุณไม่มีวันคิดออก) 

มันไม่ใช่ความโก้เก๋ หรือเป็นสัญลักษณ์ของความเจริญ แต่มันเป็นความจำเป็นในการเดินไปข้างหน้าของประเทศครับ ทั้งในแง่ต้นทุนทางโลจินติกส์ ทั้งในแง่ของธุรกิจที่จะเกิดมาใหม่จากโลกที่เล็กลง

 

อย่าไปอเมริกา เมืองไทยคุณยังไม่รู้เลย  แล้วอย่าเลยไปมือถือคุยตรงนี้มั่วมากแค่รถไฟยังไม่รู้จะไปหาอะไนเรื่องมือถือ  หากอยากคุยไปเปิดอีกกระทู้  มีคนจะเล่นเรื่องทักษิณกัก 3G และ CDMA เยอะ วิสัยทัศน์กักคนอื่นส่งต่อไม่ได้

 

ร ๕ ท่านจะสร้างรถไฟทานคิดเยอะกว่าที่คุณรู้มาก มากจนคาดไม่ถึง  วิสัยทัศน์ท่านตอนนั้นซับซ้อนมองไกล

 

คุณบอกเองนะไม่คุ้ม  แล้วทำไมหลังท่านสิ้นรุ่นต่อๆมายังทำต่อจนทางรถไฟไปสุดสายในภาคใต้  การส่งต่อวิสัยทัศน์นั้นคือการสร้างความเข้าใจร่วม

 

การสร้างวัสัยทัศน์ร่วมเรื่องรถไฟนั้นซับซ้อนมาก มีคาต่อเชื่อมถึง 3 ชาติร่วมในตอนนั้น น่าเสียดายปัจจุบันไปไม่ถึง

 

ในสมัย ร ๕ นั้นทางรถไฟยังไม่ทั่วประเทศ ผมจำไม่ได้ว่าไปถึงไหนยังไง แต่ไม่ถึงสุไหงโกลก สายอีสานก็ไม่เสร็จ  ได้มีการทำต่อในรัชกาลถัดมาและทำต่อเนื่องจนเสร็จในสมัย ร๗ วิสัยทัศน์ร่วมกี่รัชกาล

 

สิ่งนี้จะเกิดขึ้นได้คือความเข้าใจร่วม ไม่ใช่กูคิดเอง รู้เอง เสร็จพวกเองรู้  ไม่ใช่

 

เข้าใจเรื่องการสร้างความเข้าใจร่วมไหม? มันไม่ใช่ความเชื่อ มันคือการสร้างความคิดร่วมกันทั้งชาติ

 

งานหลายๆอย่างไม่สามารถเสร็จในช่วงชีวิตคนหนึ่งคน อำนาจหนึ่งสมัย การวางวิสัยทัศน์ร่วมสำคัญ  สำคัญมาก

 

ซึ่งเพื่อไทยไม่เคยทำ  จะแก้ปัญหาน้ำไม่มีรายละเอียด  จะทำรถไฟความเร็วสูงไม่มีแผนไม่มีแนวไม่มีใครคิดร่วม

 

เมื่อสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกับคนในช่าติไม่ได้ ริไปเทียบเคียงว่าเอาอย่างเหรอ?

 

 

 

คุณมั่วไปเรื่อยแล้วคุณ Sigree

สมัย ร 5 มันไม่มีวิสัยท้งวิสัยทัศน์ร่วมของคนทั้งชาติหรอก 

มีแค่คนกลุ่มเล็กๆ รอบล้อม ร 5 เท่านั้นที่เห็นอนาคต โดยที่ไม่ได้มองสั้นๆ ว่าค่าโดยสารจะคุ้มทุนหรือเปล่า

ก็ผมบอกแล้วไงว่าหากมองแค่นั้น ป่านนี้เรายังขี่ช้างอยู่เลย

 

วิสัยทัศน์ที่เปลี่ยนโลก เปลี่ยนอนาคต มันเกิดจากคนไม่กี่คน หรือเกิดจากคนเพียงคนเดียวเท่านั้นแหล่ะครับ

มันไม่ได้เกิดจากวิสัยทัศน์ร่วมของคนทั้งชาติบ้าบออย่างที่คุณว่า

 

มั่วไปเรื่อย


Edited by ไบกอนเหลือง, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:48.


#83 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:50

 

ก่อนจะมีเครื่องบินข้ามทวีป ไม่มีใครคิดถึงว่าจะมีธุรกิจส่งของด่วนข้ามทวีปได้แบบ Fedex DHL

ก่อนที่จะมีโทรศัพท์มือถือ ไม่มีใครที่คิดว่าจะมีคนเป็นล้านใช้ LINE ในการพิมพ์คุยกันผ่านมือถือ

ก่อนที่จะมี high speed train ก็ไม่มีใครคิดว่าจะมีธุรกิจ XXXX เกิดขึ้นได้ในอีก 20 ปีข้างหน้า

 

High speed train มันเป็น platform สำหรับธุรกิจสำหรับผู้ที่มองเห็นอนาคต 

แต่มันเป็นภาระสำหรับผู้มีสายตาสั้น

 

 

ตัวอย่างที่คุณยกมา มันเป็นสิ่งที่ดีกว่านี่ครับ

line นอกจากค่า net ก็ไม่มีค่าใช้จ่าย จะจ่ายค่าโทรทางไกลทำไม

รถไฟเป็นของใหม่ ที่ทำให้การเดินทางสะดวกกว่าเกวียน

แต่ถ้าเทียบรถไฟความเร็วสูงกับเครื่องบิน low cost ล่ะครับ

ในเมื่อมี low cost ราคาแสนถูก

ใครจะอยากขึ้นรถไฟ

 

คิดรึปล่าว ในยุคของการแข่งขันกันในด้านราคาของ low cost

รถไฟความเร็วสูงมันเป็นเพียงความฝันเฟื่องของคนสายตาสั้น

 

 

 

มีเครื่องบิน low cost มากมายหลายสายแล้ว เมืองจีนเขาจะทุ่มลงทุนสร้าง high speed rail ทำซากอะไรหล่ะครับ?



#84 ควันหลง

ควันหลง

    I am Royalist

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,696 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 21:53

 

 

ก่อนจะมีเครื่องบินข้ามทวีป ไม่มีใครคิดถึงว่าจะมีธุรกิจส่งของด่วนข้ามทวีปได้แบบ Fedex DHL

ก่อนที่จะมีโทรศัพท์มือถือ ไม่มีใครที่คิดว่าจะมีคนเป็นล้านใช้ LINE ในการพิมพ์คุยกันผ่านมือถือ

ก่อนที่จะมี high speed train ก็ไม่มีใครคิดว่าจะมีธุรกิจ XXXX เกิดขึ้นได้ในอีก 20 ปีข้างหน้า

 

High speed train มันเป็น platform สำหรับธุรกิจสำหรับผู้ที่มองเห็นอนาคต 

แต่มันเป็นภาระสำหรับผู้มีสายตาสั้น

 

 

ตัวอย่างที่คุณยกมา มันเป็นสิ่งที่ดีกว่านี่ครับ

line นอกจากค่า net ก็ไม่มีค่าใช้จ่าย จะจ่ายค่าโทรทางไกลทำไม

รถไฟเป็นของใหม่ ที่ทำให้การเดินทางสะดวกกว่าเกวียน

แต่ถ้าเทียบรถไฟความเร็วสูงกับเครื่องบิน low cost ล่ะครับ

ในเมื่อมี low cost ราคาแสนถูก

ใครจะอยากขึ้นรถไฟ

 

คิดรึปล่าว ในยุคของการแข่งขันกันในด้านราคาของ low cost

รถไฟความเร็วสูงมันเป็นเพียงความฝันเฟื่องของคนสายตาสั้น

 

 

 

มีเครื่องบิน low cost มากมายหลายสายแล้ว เมืองจีนเขาจะทุ่มลงทุนสร้าง high speed rail ทำซากอะไรหล่ะครับ?

 

 

แล้วเขามีคนใช้บริการกี่คนหล่ะครับ 



#85 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 22:01

 

 

 

 

 

 

สมมุติว่าเมื่อร้อยปีก่อน  ร 5 ทรงให้ TDRI สมัยนั้นศึกษาความคุ้มทุนความน่าลงทุนในการสร้างรถไฟความเร็วต่ำที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

 

ป่านนี้เราคงยังไม่มีรถไฟให้ตกรางเลยมั๊งครับ

แน่ใจว่าพระองค์ท่านไม่ศึกษาความคุ้ม?

 

เคยเห็นแผนแรกและเส้นทางปัจจุบันเทียบเคียงกันไหม  ถ้าไม่ศึกษาไม่มีข้อมูล  แผนที่การเดินรถไฟไม่ใช่แบบวันนี้

 

มีการประเมินแผนตลอด  ทั้งความคุ้มค่าและอื่น  ศึกษาก่อนพูดไหมนั้น

 

 

 

ร 5 ท่านทรงมีวิสัยทัศน์ยาวไกลมากกว่าคุณ มากกว่า TDRI มากกว่าตัวเลขความคุ้มค่าโดยมองปัจจุบันเป็นหลักมากครับ

ไม่อย่างนั้น เมื่อร้อยปีก่อน เมืองไทยไม่มีทางได้สร้างทางรถไฟ เพราะคนยังเดินเท้า ขี่ช้างกันอยู่เลยครับ ไม่มีผู้โดยสารที่มีศักยภาพจำนวนมากพอที่จะทำให้การรถไฟไม่ขาดทุนได้

 

ถ้านั้นคุณก็เขลาสุดๆ ถามว่าศึกษาความเป็นไปไหมไม่ตอบ เลี่ยงไปยอพระเกียรติโดยไม่ทราบว่ามีการศึกษามากมายก่อนที่พระองค์ท่านจะตัดสินพระทัยในการวางระบบราง

 

ทั้งส่งคนไปดูในพม่าและอื่นๆอีกมาก เส้นทางรถไฟไม่ใช่นึกจะทำก็ทำ มีการปรับเปลี่ยนและปรับแบบตลอดโดยอิงความคุ้มค่าด้านเศรษฐกิจและการเมือง

 

อีกเรื่องคือ  รถไฟไม่ได้เสร็จในสมัยพระองค์ท่าน  หากไม่มีการศึกษาต่อเนื่องและเห็นภาพร่วมแล้วย่อมไม่มีการทำอย่างต่อเนื่องหลังสิ้นพระองค์ท่าน

 

นี้คือการคิดและให้เข้าใจร่วม

 

ไม่ใช่วิธีแบบเพื่อไทย ทักษิณทำตอนนี้  ทำห่าอะไรให้วางบนหลักความเชื่อล้วนๆหาเหตุหาผลอะไรไม่ได้ก็บอกกูเสียงข้างมากจะทำ  อย่ายกวิธีของพระองค์ท่านมาเทียบเมื่อคุณไม่ได้นำมาเป็นแนวทางสักกระพี้

 

 

 

พระองค์ส่งคนไปดูว่าจะสร้างแบบไหนจึงจะดีที่สุด ไม่ใช่ดูว่าจะสร้างหรือไม่สร้างนะครับ อย่ามามั่ว

คุณคิดว่าตัวเลขความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจในการสร้างทางรถไฟ คำนวนในสมัย ร 5 มันจะมีความคุ้มค่าเหรอครับ?

มันยังขาดทุนมาจนถึงปัจจุบันอยู่เลย

แต่มันทำให้คุณ ให้ผม สามารถเดินทางเข้ามาในกรุงเทพ มาเรียนหนังสือได้

มันนำความเจริญกลับไปสู่จังหวัดต่างๆ ที่รถไฟมันวิ่งผ่านได้ ผู้คนจากต่างจังหวัดเมื่อหลายทศวรรษก่อน สามารถเข้ามาติดต่อธุรกิจในกรุงเทพ เอาของลงไปขายได้

 

อเมริกาสร้างทางรถไฟข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่งผ่านกลางทะเลทราย ทุ่งหญ้าเวิ้งว้าง

ไม่ใช่ว่าเขาเห็นว่าคนในขณะนั้นมีความต้องการเดินทางข้ามทวีปกันมากนะครับ

แต่เพราะเขาเห็นอนาคตที่รถไฟมันจะสร้างขึ้นมาต่างหาก

ทางรถไฟทำให้เกิดเมืองต่างๆ ขึ้นมามากมายตามเส้นทาง

 

ปัจจุบันรถไฟธรรมดา มันหมดประสิทธิภาพในการรองรับความต้องการของโลกยุคใหม่แล้วครับ

มันต้องการรถไฟที่มีความเร็วสูง เพื่อก่อให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ (ที่คนอย่างคุณไม่มีวันคิดออก) 

มันไม่ใช่ความโก้เก๋ หรือเป็นสัญลักษณ์ของความเจริญ แต่มันเป็นความจำเป็นในการเดินไปข้างหน้าของประเทศครับ ทั้งในแง่ต้นทุนทางโลจินติกส์ ทั้งในแง่ของธุรกิจที่จะเกิดมาใหม่จากโลกที่เล็กลง

 

อย่าไปอเมริกา เมืองไทยคุณยังไม่รู้เลย  แล้วอย่าเลยไปมือถือคุยตรงนี้มั่วมากแค่รถไฟยังไม่รู้จะไปหาอะไนเรื่องมือถือ  หากอยากคุยไปเปิดอีกกระทู้  มีคนจะเล่นเรื่องทักษิณกัก 3G และ CDMA เยอะ วิสัยทัศน์กักคนอื่นส่งต่อไม่ได้

 

ร ๕ ท่านจะสร้างรถไฟทานคิดเยอะกว่าที่คุณรู้มาก มากจนคาดไม่ถึง  วิสัยทัศน์ท่านตอนนั้นซับซ้อนมองไกล

 

คุณบอกเองนะไม่คุ้ม  แล้วทำไมหลังท่านสิ้นรุ่นต่อๆมายังทำต่อจนทางรถไฟไปสุดสายในภาคใต้  การส่งต่อวิสัยทัศน์นั้นคือการสร้างความเข้าใจร่วม

 

การสร้างวัสัยทัศน์ร่วมเรื่องรถไฟนั้นซับซ้อนมาก มีคาต่อเชื่อมถึง 3 ชาติร่วมในตอนนั้น น่าเสียดายปัจจุบันไปไม่ถึง

 

ในสมัย ร ๕ นั้นทางรถไฟยังไม่ทั่วประเทศ ผมจำไม่ได้ว่าไปถึงไหนยังไง แต่ไม่ถึงสุไหงโกลก สายอีสานก็ไม่เสร็จ  ได้มีการทำต่อในรัชกาลถัดมาและทำต่อเนื่องจนเสร็จในสมัย ร๗ วิสัยทัศน์ร่วมกี่รัชกาล

 

สิ่งนี้จะเกิดขึ้นได้คือความเข้าใจร่วม ไม่ใช่กูคิดเอง รู้เอง เสร็จพวกเองรู้  ไม่ใช่

 

เข้าใจเรื่องการสร้างความเข้าใจร่วมไหม? มันไม่ใช่ความเชื่อ มันคือการสร้างความคิดร่วมกันทั้งชาติ

 

งานหลายๆอย่างไม่สามารถเสร็จในช่วงชีวิตคนหนึ่งคน อำนาจหนึ่งสมัย การวางวิสัยทัศน์ร่วมสำคัญ  สำคัญมาก

 

ซึ่งเพื่อไทยไม่เคยทำ  จะแก้ปัญหาน้ำไม่มีรายละเอียด  จะทำรถไฟความเร็วสูงไม่มีแผนไม่มีแนวไม่มีใครคิดร่วม

 

เมื่อสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกับคนในช่าติไม่ได้ ริไปเทียบเคียงว่าเอาอย่างเหรอ?

 

 

 

คุณมั่วไปเรื่อยแล้วคุณ Sigree

สมัย ร 5 มันไม่มีวิสัยท้งวิสัยทัศน์ร่วมของคนทั้งชาติหรอก 

มีแค่คนกลุ่มเล็กๆ รอบล้อม ร 5 เท่านั้นที่เห็นอนาคต โดยที่ไม่ได้มองสั้นๆ ว่าค่าโดยสารจะคุ้มทุนหรือเปล่า

ก็ผมบอกแล้วไงว่าหากมองแค่นั้น ป่านนี้เรายังขี่ช้างอยู่เลย

 

วิสัยทัศน์ที่เปลี่ยนโลก เปลี่ยนอนาคต มันเกิดจากคนไม่กี่คน หรือเกิดจากคนเพียงคนเดียวเท่านั้นแหล่ะครับ

มันไม่ได้เกิดจากวิสัยทัศน์ร่วมของคนทั้งชาติบ้าบออย่างที่คุณว่า

 

มั่วไปเรื่อย

 

อ้าว

 

ผมขำนะ  แรกบอกมีวิสัยทัศน์ ตอนนี้บอกไม่มี

 

แล้วยิ่งขำเมื่อบอกวิสัยทัศน์มาจากคนคนเดียว  คนไม่กี่คน

 

แสดงว่าอยู่แต่ในโลกที่มีแต่เผด็จการละสิพ่อเลยคิดไปว่าคนคนเดียวเปลี่ยนโลก

 

ผมไม่แปลกใจนะถ้าคุณไม่เคยทำงานทางสังคมที่ต้องทำงานร่วมกับคนจำนวนมาก  เพราะมันไม่อยู่ในรากคิดของคุณเลย

 

หากร ๕ คิดเพียงพระองคืเดียว พระที่นั่งจักรีฯจะเป็นยังไง

 

คุณยกประวัติศาสตร์โดยไม่เข้าใจสักพี้  หากคิดว่าอดีตไม่มีก็ไม่ต้องยก

 

ร๔ ร ๕ ร๖ มีความคิดที่ต่อเนื่องวิสัยทัศน์ร่วมอย่างมหาศาล  คุณแค่มองยอดไม่มองความต่อเนื่อง  เลยเห็นแค่การสร้าง ไม่มองแนวคิดที่ถูกถ่ายทอดต่อเนื่อง

 

เรื่องรถไฟนั้นซับซ้อน การวางนั้นมีการวางแผนทั้งประเทศ แต่มีการคิดว่าจะชะลอเป็นช่วงๆเพราะการล่าอาณานิคม การทำทางรถไฟอาจเป็นเหตุให้อังกฤษยึดเราเพื่อเอาทางรถไฟต่อจากสิงคโปรไปพม่าเข้าอินเดีย

 

การวางจึงเรื่องของคน เศรษฐกิจ การเมือง ต่างประเทศ และวิศวกรรม  ไม่ใช่คนคนเดียวที่ทำได้หรอกนะ มันต้องร่วมกันและต่อเนื่องไปหลายสิบปี 3 รัชกาล

 

หากไม่รู้เรื่องวิสัยทัศน์ร่วมแบบของนักการปกครอง(ไม่ใช่นักธุรกิจ)ก็อย่ามายกเรื่องการเมือง  มันบื้อไป



#86 tonythebest

tonythebest

    สมาชิกขั้นสูง 178 เซนติเมตร

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,595 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 22:11

 

 

ก่อนจะมีเครื่องบินข้ามทวีป ไม่มีใครคิดถึงว่าจะมีธุรกิจส่งของด่วนข้ามทวีปได้แบบ Fedex DHL

ก่อนที่จะมีโทรศัพท์มือถือ ไม่มีใครที่คิดว่าจะมีคนเป็นล้านใช้ LINE ในการพิมพ์คุยกันผ่านมือถือ

ก่อนที่จะมี high speed train ก็ไม่มีใครคิดว่าจะมีธุรกิจ XXXX เกิดขึ้นได้ในอีก 20 ปีข้างหน้า

 

High speed train มันเป็น platform สำหรับธุรกิจสำหรับผู้ที่มองเห็นอนาคต 

แต่มันเป็นภาระสำหรับผู้มีสายตาสั้น

 

 

ตัวอย่างที่คุณยกมา มันเป็นสิ่งที่ดีกว่านี่ครับ

line นอกจากค่า net ก็ไม่มีค่าใช้จ่าย จะจ่ายค่าโทรทางไกลทำไม

รถไฟเป็นของใหม่ ที่ทำให้การเดินทางสะดวกกว่าเกวียน

แต่ถ้าเทียบรถไฟความเร็วสูงกับเครื่องบิน low cost ล่ะครับ

ในเมื่อมี low cost ราคาแสนถูก

ใครจะอยากขึ้นรถไฟ

 

คิดรึปล่าว ในยุคของการแข่งขันกันในด้านราคาของ low cost

รถไฟความเร็วสูงมันเป็นเพียงความฝันเฟื่องของคนสายตาสั้น

 

 

 

มีเครื่องบิน low cost มากมายหลายสายแล้ว เมืองจีนเขาจะทุ่มลงทุนสร้าง high speed rail ทำซากอะไรหล่ะครับ?

 

 

 

low cost ราคาหลักร้อย ใช้เวลาบินชั่วโมงเดียว

hispeed ราคาหลักพัน นั่งอยู่หลายชั่วโมง ??

 

ลองหาของเมืองจีนมาเปรียบเทียบกันดูมั๊ย


ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ

 

 

 

เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน

จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน


#87 ypk

ypk

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,173 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 22:20

เหอะ เหอะ  ผมว่ามันคนละเรื่องนะ การลงทุนของภาครัฐมันเป็นงบประมาณที่มาจาก

ภาษีของคนทั้งประเทศ แต่การลงทุนของเอกชนมันเป็นเงินของเขาเอง ถ้าเอกชนลงทุนเจ๊ง

ก็เงินของเขา แต่ถ้ารัฐลงทุนเจ๊งมันไม่ใช่เงินของรัฐบาล ถ้าจะบอกว่ามีวิสัยทัศน์ มองเห็นอนาคต

แล้วแบกการขาดทุนไป 10 ปี 20 ปี หรือตลอดไป จนรัฐบาลล้มหายตายจากไปแล้ว ประชาชน

ต้องรับกรรมในอนาคตนะครับ



#88 tabbar

tabbar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 399 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 22:32

 

พระองค์ส่งคนไปดูว่าจะสร้างแบบไหนจึงจะดีที่สุด ไม่ใช่ดูว่าจะสร้างหรือไม่สร้างนะครับ อย่ามามั่ว

คุณคิดว่าตัวเลขความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจในการสร้างทางรถไฟ คำนวนในสมัย ร 5 มันจะมีความคุ้มค่าเหรอครับ?

มันยังขาดทุนมาจนถึงปัจจุบันอยู่เลย

แต่มันทำให้คุณ ให้ผม สามารถเดินทางเข้ามาในกรุงเทพ มาเรียนหนังสือได้

มันนำความเจริญกลับไปสู่จังหวัดต่างๆ ที่รถไฟมันวิ่งผ่านได้ ผู้คนจากต่างจังหวัดเมื่อหลายทศวรรษก่อน สามารถเข้ามาติดต่อธุรกิจในกรุงเทพ เอาของลงไปขายได้

 

อเมริกาสร้างทางรถไฟข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่งผ่านกลางทะเลทราย ทุ่งหญ้าเวิ้งว้าง

ไม่ใช่ว่าเขาเห็นว่าคนในขณะนั้นมีความต้องการเดินทางข้ามทวีปกันมากนะครับ

แต่เพราะเขาเห็นอนาคตที่รถไฟมันจะสร้างขึ้นมาต่างหาก

ทางรถไฟทำให้เกิดเมืองต่างๆ ขึ้นมามากมายตามเส้นทาง

 

ปัจจุบันรถไฟธรรมดา มันหมดประสิทธิภาพในการรองรับความต้องการของโลกยุคใหม่แล้วครับ

มันต้องการรถไฟที่มีความเร็วสูง เพื่อก่อให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ (ที่คนอย่างคุณไม่มีวันคิดออก) 

มันไม่ใช่ความโก้เก๋ หรือเป็นสัญลักษณ์ของความเจริญ แต่มันเป็นความจำเป็นในการเดินไปข้างหน้าของประเทศครับ ทั้งในแง่ต้นทุนทางโลจินติกส์ ทั้งในแง่ของธุรกิจที่จะเกิดมาใหม่จากโลกที่เล็กลง

 

นั่นซิ รถไฟธรรมดายังขาดทุนเลย  :lol:

 

จึงไม่ควรจะลงทุนใหม่ด้วย ด้วยต้นทุนที่สูงลิบขนาดนี้

 

ไหนๆ รถไฟธรรมดาก็ขาดทุนอยู่แล้ว

ถ้าอยากให้ ปชช.ส่วนใหญ่ได้ประโยชน์ทั่วถึง 

ก็น่าจะพัฒนาปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึ้นตามกาลเวลา 

แบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่ต้องรีบร้อนเป็นหนี้สินยันรุ่นหลาน


Edited by Fah&Sai, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 22:42.

 '' Nobody Perfect ''


#89 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 22:51



เหอะ เหอะ  ผมว่าถ้างานวิจัย มันเป็นอย่างที่ น้า Gop ว่า มันน่าจะเป็นงานวิจัยที่รองรับ

เฉพาะการเดินทางของคนในประเทศใช่ไหมครับ อย่างของญี่ปุ่นนี่ ผมก็เข้าใจว่าเขาสร้าง

รถไฟความเร็วสูงเพื่อการเดินทางของคนในประเทศเป็นหลัก ไม่ได้สร้างเพื่อหวังให้นักท่องเที่ยว

ใช้เดินทาง แต่รถไฟความเร็วสูงของไทยนี่ ผมคิดว่าตัวเลข 4 - 5 ล้านคนนั้น น่าจะรวม

นักท่องเที่ยวต่างประเทศเข้าไปด้วย ซึ่งผมคิดว่าถ้ามาจากต่างประเทศลงเครื่องบินแล้วเดิน

ทางไปสถานีรถไฟความเร็วสูงเพื่อไปเชียงใหม่ น่าจะมีโอกาสน้อยที่เขาจะเลือกแบบนั้น

แล้วปัจจุบันสนามบินต่างจังหวัดบางแห่งมันมีบินตรงจากต่างประเทศแล้วไม่ใช่หรือครับ

ผมจึงมองว่า ถ้าเอาตัวเลขนักท่องเที่ยวต่างประเทศไปรวมด้วย คงมีสิทธิ์เจ๊งแน่ ๆ แต่ถ้าจะหวัง

ใช้บริการนักท่องเที่ยวด้วย ผมว่า เส้นจากอิสานที่เชื่อมกับลาวลงไปใต้นั้นน่าจะเวิร์คที่สุดแล้ว

เพราะมันเชื่อมต่อมาจาก จีน ซึ่งประชากรเขามากมาย และกำลังรวยวันรวยคืน หวังนักท่องเที่ยว

จากจีนน่าจะคุ้มค่ากับราคาก่อสร้าง และพัฒนาพื้นที่ได้ดีกว่าเยอะนะครับเพราะเส้นทางจาก

อิสานไปใต้ มันยาวมาก

 

๑ ตัวเลขอย่างเป็นทางการที่ผมพอจะหาได้นะครับ เฉพาะเที่ยวบินภายในประเทศอย่างเดียว ที่ใช้สนามบินเชียงใหม่ ในปีงบประมาณ 2012 มีผู้โดยสารเข้า ออก อยู่ที่สามล้านแปดแสนคน( ในกรอบสีแดง) เกือบทั้งหมดนั้นเป็นเส้นทางกรุงเทพฯ-เชียงใหม่  และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น  ( ตัวเลขเปรียบเทียบในกรอบสีส้ม )

 

130725103402.jpg

 

ส่วนเรื่องนักท่องเที่ยว ผมว่าถ้ามีรถไฟความเร็วสูง เค้าคงเที่ยวกรุงเทพฯก่อน แล้วค่อยขึ้นรถไฟไปเที่ยวเชียงใหม่ก็ได้นะครับ ผมว่าการมีรถไฟความเร็วสูง จะเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบ เที่ยวไป แวะไป อย่างคนไทยเวลาไปเที่ยวญี่ปุ่นก็ใช้วิธีนี้ นักท่องเที่ยวนี่แหละครับ ตัวใช้รถไฟความเร็วสูงเลย เพราะ ใช้เวลาเดินทางระหว่างเมืองไม่มาก ประมาณชั่วโมงถึงสองชั่วโมง ผมคิดเล่นๆนะครับ เช่นขึ้นเครื่องมาลงกรุงเทพฯ เที่ยวกรุงเทพฯกับอยุธยา นั่งรถไฟประมาณชั่วโมงเศษๆ ไปพิษณุโลก ต่อรถไฟไปสุโขทัย( สมมุติว่าไปเที่ยวงานลอยกระทง ตรงนี้ต้องทำระบบขนส่งระหว่างพิษณุโลก-สุโขทัยด้วย ) กลับมาขึ้นรถไฟไปเที่ยวเชียงใหม่ แล้วก็ขึ้นเครืองบินกลับต่างประเทศ ใช้เวลาประมาณหนึ่งสัปดาห์เที่ยวได้เยอะเลยครับ

 

๒ เส้นทางเชื่อมไปใต้นั้น ต้องดูให้ดีครับ ว่าเดินทางจากไหนไปไหน ถ้าใกลเกินไป ผมว่ายากครับ เพราะระยะทางมันไม่ค่อยเอื้อเท่าไหร่ ผมไม่แน่ใจด้วยซ้ำว่า ทางจีนตอนใต้ที่เราหวังว่าจะเข้ามานั้น จะเป็นคนจากเมืองไหนหรือครับ ย้ำนะครับ ว่าถ้าเดินทางเกินพันกิโลเมตร มันไม่น่าใช้แล้วครับ นั่งเครื่องบินจะสะดวกกว่าเยอะ แล้วอีกอย่าง  เส้นทางนี้  ผมมองว่ารอให้ทางจีนและลาวมีความชัดเจนในการก่อสร้างก่อนดีกว่าครับ แล้วเราค่อยทำก็ได้ เพราะถ้าสร้างรอเค้า แล้วเค้ายังไม่ทำเนี่ย หายนะเลยนะครับ เพราะตัวเลขผู้โดยสารทางเครื่องบินในภาคอีสานมีน้อยกว่าสายเหนือมากเลยครับ


หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#90 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 23:15

 

 

 

ลอลยกตัวอย่างได้มั้ยครับ กรณีสายใต้ กับ อีสาน คนจะเดินทางจากไหน ไปไหน ถ้ามีการเชื่อมต่อกับต่างประเทศขึ้นมาจริงๆ

ปัจจุบันนักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่ที่สุดกลุ่มหนึ่งของไทยคือมาเลย์ครับ ลองไปค้นตัวเลขได้ผมจำลำดับไม่ได้แต่จำนวนมาก

 

เนื่องจากมาเลย์ตอนเนือส่วนที่ติดประเทศไทยนั้นไม่มีสนามบินนานาชาติ เวลาเขาจะเข้า กทม ส่วนใหญ่จะแวะเข้ามาขึ้นที่สนามบินบริเวญชายแดนเราเช่น หาดใหญ่ บ้านทอน(นราธิวาส) แทนที่จะไปถึง KL ที่มีระยะทางไม่น้อยกว่า 400 กม

ปัจจุบันมีโครงการตัดทางพืเศษร่นระยะทางจากชายแดนไทยมาเลย์ส่วนนราธิวาส เข้าสนามบินและมีแผนทำนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ก่อนเข้าสนามบินด้วย

 

นอกจากนี้บริมาณคนที่ข้ามแดนจากไทยไปทำงานในมาเลย์ อินโด สิงคโปรก็ค่อนข้างสูง ผมหมายถึงคนนะไม่ใช่สินค้า เฉพาะนักเรียนศาสนา อินโด ไทยก็มหาศาลแล้วแล้ว(ปัจจุบันใช่ทางเรือ ซึ่งอันตรายมาก)

 

ผมมองการเดินทาง

กทม สิงคโปร

KL กทม

บาหลี ภูเก็ต หัวหิน เชื่อมโดยรถไฟ

 

ส่วนสายอีสานนั้นไม่แน่ใจครับ  เพราะเท่าที่เห็น สายของลาวที่จีนทำให้ก็สั้นมากๆ ทำเพื่อเข้าไทเป็นหลัก แต่ถ้าใครมีข้อมูลเชิงลึกเสนอมาด้วยก็ดี

 

 

๑ ถามต่ออีกหน่อยครับ

 

นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ ไม่ทราบว่าส่วนใหญ่เค้าเดินทางต่อไปกรุงเทพฯ หรือว่าแค่มาเที่ยวแถวจังหวัดชายแดนแล้วกลับมาเลย์ครับ?

 

๒ ผมย้ำอีกทีนะครับ ถ้าเกินพันกิโลเมตร รถไฟความเร็วสูงจะช้ากว่าเครื่องบินเกินไป คนส่วนใหญ่ไม่เดินทางแบบที่คุณ sigree คิดหรอกครับ

 

 

1 นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ใช่จังหวัดชายแดนเป็นฐานแล้วต่อไป กทม ภูเก็ต กระบี่ เชียงใหม่ พบว่านักท่องเที่ยวกลุ่มนี้พักคืนแรก และคืนสุดท้ายในพื้นที่ ครับ

เช่นวันแรกเข้าพักที่ปาดัง วีนที่ 3-5 ไปที่ภูเก็ต วันสุดท้ายกลับมาพักปาดังก่อนกลับมาเลย์

 

นี้วงจรพวกเขาที่การท่องเที่ยวเพิ่งจับได้และกำลังปรับแผนท่องเที่ยวชายแดนตอบรับ

 

2 หากคิดว่าเขาจะไปเครื่องก็ไปเครื่อง  แต่หากคุณวางให้เชื่อมกับหัวหิน ภูเก็ต และเมืองท่องเที่ยวอื่นๆ

เขาจะขึ้นเครื่องเพื่อไปแวะเข้ากทมก่อนแล้วเข้าหัวหินทำไม?

จุดเด่นของรถไฟคือแวะระหว่างทางได้ แต่เครื่องบินทำไม่ได้ต้องไปจุดใหญ่ๆ เราต้องยอมรับความจริงเรื่องว่าภาคใต้มีจุดท่องเที่ยว คน ไปตามรายทาง

 

อย่างไรก็ดีฐานของสายใต้เป็นเรื่องที่สัมพันธ์กับ สิงคโปรและอินโดด้วยนะครับ ซึ่งอินโดฯยังไม่มีใครประมาณ เพราะแผนการวางการท่องเที่ยวร่วม บาหลี ภูเก็ต เดินมันจะนำคนจำนวนมากแค่ไหนในเดินทางระหว่างกัน

 

สายใต้นั้นไม่ได้คุยเรื่องจำนวนในภาค แต่กำลังคุยเรื่องเพื่อนบ้านที่จะเชื่อมต่อใช่งาน

 

 

ผมคิดว่าเส้นทางที่คุณ sigree บอกนั้นน่าสนใจครับ แต่ปัญหาคือเรื่องปริมาณผู้โดยสารที่แน่นอนนั้น สามารถประเมินได้หรือไม่? อย่างเช่นสถิติปี 2012 นั่งท่องเทียวชาวมาเลย์เซียมาเที่ยวเมืองไทยประมาณสองล้านห้าแสนคน คนเหล่านี้ท่องเที่ยวอย่างไร มีสัดส่วนเท่าไหร่? ข้ามแดนมาเที่ยวหาดใหญ่แบบไปเช้าเย็นกลับ หรือไปเที่ยวต่อที่เมืองท่องเที่ยวอย่างที่คุณ sigree บอก แล้วปริมาณเหล่านี้มากพอหรือไม่? สอดคล้องกับแนวทางการวางรางรถไฟหรือไม่ ( ข้อนี้ผมเชื่อว่าเป็นไปได้ ถ้าจัดระบบขนส่ง หรือทำทางรถไฟเพิ่มให้ครอบคลุม ) ถ้าเรามั่นใจว่าปริมาณผู้โดยสารทั้งในประเทศและต่างประเทศเพียงพอ ก็น่าส่งเสริมครับ

 

ความจริงแล้ว ที่ผมสนใจมากๆคือ หาดใหญ่-กัวลาลัมเปอร์ เพราะระยะทางมันพอเหมาะกับรถไฟความเร็วสูงเป็นอย่างมาก ใช้วเลาเดินทางประมาณสองชั่วโมง และเป็นการเชือมเมืองใหญ่สองเมืองเข้าด้วยกัน แต่ก็ไม่ทราบว่าทางมาเลย์เค้าจริงจังแค่ไหนกับการสร้างทางรถไฟ เรื่องการลำดับความสำคัญ ผมมองเรื่องความแน่นอนก่อนครับ ถ้าทางเพื่อนบ้านไม่มีการก่อสร้างที่เป็นแผนการอย่างชัดเจน ผมว่าเราควรทำทีหลังครับ เพราะเราจะเจ็บตัวเอาได้ ถ้าสร้างรอเก้อ

 

ส่วนอินโดนีเซียนั้น ผมว่ายากครับ ต้องทำอุโมงค์ลอดใต้ทะเล แล้วตรงที่ติดกับสิงโปร์ ก็ห่างจาร์กาต้ามากเลย ผมว่าอย่าเพิ่งคิดเรื่องนี้เลยครับ


หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#91 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 23:40

 

 

ต้องถามว่าสร้างไปทำไม สร้างเพื่อการเดินทาง ผมบอกเลยถ้าราคาไม่ได้อยู่ในหลักร้อย และยังเป็นหลักพันเหมือนตามข่าวตอนนี้

ถือว่าไร้สาระครับ  การเดินทางตามจุดที่เขาว่ามาสายการบินโลวครอสบินถึงทั้งงั้น และราคาพอๆกันแถมบางช่วงถูกลงอีก ใครมันจะนั้งครับ

ต่างประเทศรถไฟฟ้าความเร็วสูง มันจะออกจากเมืองหลวงไปถึงจังหวัดที่ไม่มีเครื่องบินลงเท่านั้น เพราะบางประเทศเขาคำนึงถึงการท่องเที่ยวมาก เขาจะไม่ให้มีสนามบินในจังหวัดที่ท่องเที่ยวสำคัญ เพราะถ้าเมืองสวยๆ แต่มีเครื่องบินผ่านบนฟ้าบ่อยๆมันก็จะแปลกๆไง หรือถ้าจะมีเขาก็จะเอาไปอยู่นอกเมืองมากๆหรือเมืองใกล้ๆให้มันไกลจากแหล่งท่องเที่ยว แต่คนก็จะเดินทางไม่สะดวก บางที่เขาเลยใช้รถไฟความเร็วสูงเข้าจังหวัดนั้นแทน แล้วที่ผมรู้หลายๆที่ค่ารถไฟความเร็วสูง จะถูกกว่าเครื่องบินประมาณ 40-50% ครับ  ยกแบบ เกาหลีที่ผมเคยใช้บ่อยๆ การเดินทางประมาณ 1 พันโล ถ้าใช้เครื่องบิน ประมาณ 98000w ราวๆ 3 พัน  แต่ถ้านั้งรถไฟฟ้า ประมาณ 65000w หรือ ราวๆ 1.6 พัน เท่านั้นเอง ถ้าทำไปผมกลัวจะเหมือนแอร์พอทลิ้งอะ กลับไทยมืดหน่อย ลงสถานีย่อยๆไม่ได้เลย เปลี่ยวและมืดมากๆไม่มีรถผ่าน ต้องลากกระเป๋าไปตั้งไกลกว่าจะหารถ ลงได้แต่มักกะสันอย่างเดียวถึงจะกลับตอนกลางวันก็มีแต่รถแท็กซี่กดราคามาอยู่บ้าง บางจังหวะก็มีรถเหมามาอีก 

 

 

ผมอ่านแล้วงงน่ะครับ ตกลงเค้าทำรถไฟไปเมืองที่ไม่มีสนามบินหรือครับ?? แล้วคุณแน่ใจนะครับ  ว่าเพราะสนามบินมันห่างเมือง เค้าเลยทำรถไฟความเร็วสุงเข้ามาแทน??

 

ที่ผมทราบคือ เค้าสร้าง่รถไฟความเร็วสูงเพื่อเชื่อมพื้นที่ ที่ประชากรหนาแน่น และมีความต้องการในการเดินทางเยอะไม่ใช่หรือครับ ประเด็นเรื่องท่องเที่ยวนั้นเป็นเรื่องรอง อย่างที่เกาหลี เค้าก็ทำเชื่อมโซล กับ ปูซาน ที่เป็นสองเมืองใหญ่ของประเทศ ทั้งสองเมืองนี้ก็มีสนามบินนานาชาติไม่ใช่หรือครับ ยิ่งที่ญี่ปุ่นยิ่งแล้วใหญ่ โตเกียว นาโงย่า โอซาก้า ฮิโรชิม่า ฟูกูโอกะ ล้วนมีสนามบินนานาชาติทั้งสิ้น

 

สนามบิน ปรกติก็ต้องสร้างห่างเมืองอยู่แล้วล่ะครับ ยิ่งเมืองใหญ่ สนามบินก็ยิ่งห่างเมือง ผมว่าในอนาคต เชียงใหม่อาจต้องย้ายสนามบินก็ได้ ผมว่ารถไฟความเร็วสูงนี่แหละครับ ที่เป็นทางเลือกที่เหมาะสม ความเร็วและราคาพอๆกัน แต่วิ่งจากตัวเมือง ไปถึงอีกในตัวเมืองหนึ่งได้เลย ไม่ต้องต่อรถจากนอกเมืองเข้ามาอีกที

 

คือผมอาจจะสื่อผิดไปครับ แต่ผมไม่แก้มันคงยาวละ เอาเป็นว่าสิ่งที่ผมอยากจะสื่อมันก้คือจะสร้างต้องคิดถึงการใช้งานประมาณนี้อะครับ

 

โซลกับปูซานเขาใช้รถไฟฟ้าเชื่อมต่อกันจริงครับ และมีสนามบินนานาชาติจริง ที่โซลยังมีกิมโปด้วยครับคล้ายๆดอนเมือง แต่เขาไว้บินในประเทศซะมากกว่า

แต่สนามบินของเขามันไกลมาก มันไม่ได้ใกล้ๆแบบมักกะสันไปสุวรรณภูมินะครับ เขาต้องนั้งรถไฟฟ้ากันเป็นชั่วโมงกว่าจะถึงในเมือง 

ซึ่งปกติคนปูซานเองเขาจะไปโซลเขาจะไม่นั้งเครื่องบินกันมากครับ เพราะมันแพงกว่าแต่เวลารวมๆก็ห่างกันไม่มา รถไฟความเร็วสูง [ย่อๆคือ ktx] ktx มันวิ่งจากปูซานไปโซลใช้เวลาราวๆ 2 ชั่วโมงครึ่ง และถูกและตรงเวลาเป้ะ วิ่งเข้าใจกลางเมืองเลย แล้วเครื่องจากโซลไปปูซาน

ประมาณ 40 นาที เท่านั้นแต่แพงกว่าพอสมควร แต่ถ้ามาเครื่องบินก็จะเข้าเมืองต้องนั้งรถไฟฟ้าต่ออีกเป็นชั่วโมง เวลาเลยไม่ต่างกันมากนัก แต่นักท่องเที่ยวซึ่งอาจจะไปเที่ยวปูซานแล้วจะกลับประเทศที่อินชอน เขาก็จำเป็นต้องมานั้งเครื่องจากปูซานไปลงอินชอนเพื่อจะต่อเครื่องกลับประเทศมันจะสะดวกกว่า ซึ่งจะเห็นได้ว่า การใช้งานสนามบินมันคนละอย่าง อาจจะเทียบได้กับ การต่อเครื่องกับไม่ต่อเครื่อง แบบถ้านั้งแอร์เอเซียไปเกาหลี ก็จะไปลงมาเลก่อนแล้วถึงจะไปอินชอน

คือถ้าสมมุติว่า ถ้าคนเกาหลีมีมีเงิน เขาคงไม่นั้งไปลงมาเล แต่ไปลองอินชอนเลยไม่ดีกว่าเหรอ อะไรแบบนี้

 

แล้วที่ผมบอกไม่เบียดการท่องเที่ยวแน่นอนครับไม่ใช่เดินๆอยู่แล้วเครื่องบินผ่านบนหัวแบบบ้านเรา แต่มันไปถึงเรื่องการเดินทางไงครับที่บางทีอาจจะมุ่งไปสนามบินกันมากการจราจรอาจจะไม่ค่อยดี เพราะเขาไม่ได้ทำทางยกระดับเข้าสนามบินได้แบบเรา เขาก็เลยจะจับสนามบินออกไปไกลๆและไปในเขตที่จะไม่มีผลกระทบและใช้ระบบรถไฟฟ้าหรือรถไฟฟ้าใต้ดินเข้ามาเชื่อมจากใจกลางเมืองไปสนามบินคุณแทบจะไม่ต้องออกไปโดนแดดอีกเลย 

 

แล้วกลับกัน ถ้ามีรถไฟความเร็วสูงไปเชี่ยงใหม่ ทั้งที่เชียงใหม่ สนามบินมันอยู่เมืองที่ไม่ได้ไกลจากตัวเมือง แต่เครื่องบินถูกกว่า การสร้างจะคุ้มค่าใหมครับ ? 

ยกตัวอย่างจากญาติผมเขาอยู่ถนนห้วยแก้ว ผมบินไปเยี่ยมผมนั้งรถไม่ถึง 10 นาที ถึงบ้านเขาแล้วแบบเนี่ย แล้วแบบ กรุงเทพ ไปพัทยา ระยอง หัวหิน มันจำเป็นมากหรอครับ 

ทุกๆวันนี้ ผมเห็นนักท่องเที่ยวส่วนมากก็นั้งรถตู้ หรือ รถทัวออกจากสนามบินเลย โอเค ถ้าคุณจะยกถึงความปลอดภัยเข้ามาผมก็โอเคครับ รถไฟอาจจะปลอดภัยกว่า แต่ความคุ้มค่ามันถึงสมควรขนาดต้องสร้างหรือไม่ สู้เอาเงินไปปรับปรุงรถไฟแบบที่คุณว่าน่าจะดีกว่าครับ   เอาจริงๆผมก็เห็นนักท่องเที่ยวพวกนี้นั้งรถไฟกันพอสมควรนะแต่เขาจะไปนั้งกันตรงห้องแอร์กันซะมากกว่า

 

อะไรประมาณนี้แหละที่ผมคิด

 

 

ได้มุมมองจากคนในพื้นที่แบบนี้ ยินดีรับฟังอย่างยิ่ง ผมได้ยินแว่วๆว่า เค้าจะขยายเส้นทาง ให้รถไฟความเร็วสูง วิ่งเไปถึงอินชอน เรื่องนี้พอจะทราบบ้างมั้ยครับ?

 

ส่วนเรื่องเชียงใหม่ ผมยอมรับว่าสนามบินนั้นใกล้เมืองมาก ตอนผมไป ผมยังงงเลย ว่ามันใกล้ขนาดนี้เลยเหรอ? แต่ผมเชื่อว่าในอนาคต( ที่ไม่ทราบเหมือนกันว่านานแค่ไหน ) ผมว่าน่าจะย้ายครับ เพราะเมืองมันยิ่งขยายไปเรื่อยๆแบบนี้ ถ้าเที่ยวบินเพิ่มขึ้นๆ อีก ผมว่ามันสร้างมลภาวะทางเสียงนะครับ

 

อย่างไรก็ตาม ลองคิดดูว่าถ้าทั้งสองระบบ คือเครื่องบินและรถไฟความเร็วสูง ใช้เวลาไม่ต่างกันมาก สมมุติครึ่งชั่วโมง ผมว่าคนใช้บริการก็ต้องคิดให้ดีล่ะครับ เพราะผมมองว่าเครื่องบินเวลานั่งนั้นไม่สบายเลย ความตรงต่อเวลาก็สู้รถไฟไม่ได้( โดยเฉพาะพวกโลว์คอสต์ ) แล้วแน่ใจหรือครับ ว่าราคาเครื่องบินจะถูกกว่า??


หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#92 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 23:49

 

 

 

 

ลอลยกตัวอย่างได้มั้ยครับ กรณีสายใต้ กับ อีสาน คนจะเดินทางจากไหน ไปไหน ถ้ามีการเชื่อมต่อกับต่างประเทศขึ้นมาจริงๆ

ปัจจุบันนักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่ที่สุดกลุ่มหนึ่งของไทยคือมาเลย์ครับ ลองไปค้นตัวเลขได้ผมจำลำดับไม่ได้แต่จำนวนมาก

 

เนื่องจากมาเลย์ตอนเนือส่วนที่ติดประเทศไทยนั้นไม่มีสนามบินนานาชาติ เวลาเขาจะเข้า กทม ส่วนใหญ่จะแวะเข้ามาขึ้นที่สนามบินบริเวญชายแดนเราเช่น หาดใหญ่ บ้านทอน(นราธิวาส) แทนที่จะไปถึง KL ที่มีระยะทางไม่น้อยกว่า 400 กม

ปัจจุบันมีโครงการตัดทางพืเศษร่นระยะทางจากชายแดนไทยมาเลย์ส่วนนราธิวาส เข้าสนามบินและมีแผนทำนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ก่อนเข้าสนามบินด้วย

 

นอกจากนี้บริมาณคนที่ข้ามแดนจากไทยไปทำงานในมาเลย์ อินโด สิงคโปรก็ค่อนข้างสูง ผมหมายถึงคนนะไม่ใช่สินค้า เฉพาะนักเรียนศาสนา อินโด ไทยก็มหาศาลแล้วแล้ว(ปัจจุบันใช่ทางเรือ ซึ่งอันตรายมาก)

 

ผมมองการเดินทาง

กทม สิงคโปร

KL กทม

บาหลี ภูเก็ต หัวหิน เชื่อมโดยรถไฟ

 

ส่วนสายอีสานนั้นไม่แน่ใจครับ  เพราะเท่าที่เห็น สายของลาวที่จีนทำให้ก็สั้นมากๆ ทำเพื่อเข้าไทเป็นหลัก แต่ถ้าใครมีข้อมูลเชิงลึกเสนอมาด้วยก็ดี

 

 

๑ ถามต่ออีกหน่อยครับ

 

นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ ไม่ทราบว่าส่วนใหญ่เค้าเดินทางต่อไปกรุงเทพฯ หรือว่าแค่มาเที่ยวแถวจังหวัดชายแดนแล้วกลับมาเลย์ครับ?

 

๒ ผมย้ำอีกทีนะครับ ถ้าเกินพันกิโลเมตร รถไฟความเร็วสูงจะช้ากว่าเครื่องบินเกินไป คนส่วนใหญ่ไม่เดินทางแบบที่คุณ sigree คิดหรอกครับ

 

 

1 นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ใช่จังหวัดชายแดนเป็นฐานแล้วต่อไป กทม ภูเก็ต กระบี่ เชียงใหม่ พบว่านักท่องเที่ยวกลุ่มนี้พักคืนแรก และคืนสุดท้ายในพื้นที่ ครับ

เช่นวันแรกเข้าพักที่ปาดัง วีนที่ 3-5 ไปที่ภูเก็ต วันสุดท้ายกลับมาพักปาดังก่อนกลับมาเลย์

 

นี้วงจรพวกเขาที่การท่องเที่ยวเพิ่งจับได้และกำลังปรับแผนท่องเที่ยวชายแดนตอบรับ

 

2 หากคิดว่าเขาจะไปเครื่องก็ไปเครื่อง  แต่หากคุณวางให้เชื่อมกับหัวหิน ภูเก็ต และเมืองท่องเที่ยวอื่นๆ

เขาจะขึ้นเครื่องเพื่อไปแวะเข้ากทมก่อนแล้วเข้าหัวหินทำไม?

จุดเด่นของรถไฟคือแวะระหว่างทางได้ แต่เครื่องบินทำไม่ได้ต้องไปจุดใหญ่ๆ เราต้องยอมรับความจริงเรื่องว่าภาคใต้มีจุดท่องเที่ยว คน ไปตามรายทาง

 

อย่างไรก็ดีฐานของสายใต้เป็นเรื่องที่สัมพันธ์กับ สิงคโปรและอินโดด้วยนะครับ ซึ่งอินโดฯยังไม่มีใครประมาณ เพราะแผนการวางการท่องเที่ยวร่วม บาหลี ภูเก็ต เดินมันจะนำคนจำนวนมากแค่ไหนในเดินทางระหว่างกัน

 

สายใต้นั้นไม่ได้คุยเรื่องจำนวนในภาค แต่กำลังคุยเรื่องเพื่อนบ้านที่จะเชื่อมต่อใช่งาน

 

 

ผมคิดว่าเส้นทางที่คุณ sigree บอกนั้นน่าสนใจครับ แต่ปัญหาคือเรื่องปริมาณผู้โดยสารที่แน่นอนนั้น สามารถประเมินได้หรือไม่? อย่างเช่นสถิติปี 2012 นั่งท่องเทียวชาวมาเลย์เซียมาเที่ยวเมืองไทยประมาณสองล้านห้าแสนคน คนเหล่านี้ท่องเที่ยวอย่างไร มีสัดส่วนเท่าไหร่? ข้ามแดนมาเที่ยวหาดใหญ่แบบไปเช้าเย็นกลับ หรือไปเที่ยวต่อที่เมืองท่องเที่ยวอย่างที่คุณ sigree บอก แล้วปริมาณเหล่านี้มากพอหรือไม่? สอดคล้องกับแนวทางการวางรางรถไฟหรือไม่ ( ข้อนี้ผมเชื่อว่าเป็นไปได้ ถ้าจัดระบบขนส่ง หรือทำทางรถไฟเพิ่มให้ครอบคลุม ) ถ้าเรามั่นใจว่าปริมาณผู้โดยสารทั้งในประเทศและต่างประเทศเพียงพอ ก็น่าส่งเสริมครับ

 

ความจริงแล้ว ที่ผมสนใจมากๆคือ หาดใหญ่-กัวลาลัมเปอร์ เพราะระยะทางมันพอเหมาะกับรถไฟความเร็วสูงเป็นอย่างมาก ใช้วเลาเดินทางประมาณสองชั่วโมง และเป็นการเชือมเมืองใหญ่สองเมืองเข้าด้วยกัน แต่ก็ไม่ทราบว่าทางมาเลย์เค้าจริงจังแค่ไหนกับการสร้างทางรถไฟ เรื่องการลำดับความสำคัญ ผมมองเรื่องความแน่นอนก่อนครับ ถ้าทางเพื่อนบ้านไม่มีการก่อสร้างที่เป็นแผนการอย่างชัดเจน ผมว่าเราควรทำทีหลังครับ เพราะเราจะเจ็บตัวเอาได้ ถ้าสร้างรอเก้อ

 

ส่วนอินโดนีเซียนั้น ผมว่ายากครับ ต้องทำอุโมงค์ลอดใต้ทะเล แล้วตรงที่ติดกับสิงโปร์ ก็ห่างจาร์กาต้ามากเลย ผมว่าอย่าเพิ่งคิดเรื่องนี้เลยครับ

 

ถามเรื่องมาเลย์จริงจังไหม ผมว่าเขาจริงจังกว่าเรามาก

 

https://en.wikipedia...High_Speed_Rail

 

วิสัยทัศน์เขา

http://www.thejakart...-eyed-for-2013/

 

แต่ต้องรอเราในสายอีสานและอื่นๆ

 

ส่วนเชื่อมอินโดฯนั้นมี 2 เส้นคือผ่านและไม่ต้องผ่านสิงคโปร  จำได้ว่าเห็นข้อมูลทางเทคนิคออกมาบ้างแล้วด้วย

 

แต่เท่าที่ฟังๆบ้านเราแผนทางใต้นี้อาจจะหลังสุด


Edited by sigree, 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 23:56.


#93 ypk

ypk

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,173 posts

ตอบ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 23:59

เหอะ เหอะ  ขอบคุณน้า Gop อุตส่าห์ไปหาตัวเลขมาให้ดู ความจริงผมไม่ได้ซีเรียส

อะไรครับ แค่อยากรู้อยากเข้าใจเท่านั้น

 

ที่น้า Gop บอก เที่ยวไปแวะไปนั้นผมก็คิดว่าน่าจะเป็นอย่างนั้นแหละ แต่ยังมองไม่เห็น

กำไรเท่าไรนัก คือผมเคยมีธุรด่วนไปลำปาง นั่งเครื่องจากกรุงเทพ ปรากฎว่าทีนั่งมันเต็ม

ผมต้องไปนั่งลุ้นว่ามีใครสละสิทธิ์ไหม บังเอิญโชคดีมีคนสละสิทธิ์เลยได้ไปทำธุระ แต่

ปรากฏว่าเครื่องไปแวะพิษณุโลก ผมตกใจเลยเพราะคนโดยสารลงที่พิษณุโลกเกือบหมด

เหลือไปลำปางไม่ถึง 10 คนมั้ง ผมนั่งนึกในใจว่า มันไม่เจ๊งเหรอเนี่ยะ และทำให้มานึกถึง

เที่ยวไปแวะไปนี่แหละ เพราะคนขึ้นไปลงระยะใกล้เยอะ ที่นั่งเต็ม พอไปถึงปลายทางเหลือ

อยู่ไม่กี่คน เพราะถ้าคนขึ้นระยะใกล้เยอะ คนที่จะไปถึงปลายทางมันก็ไปไม่ได้ ค่าโดยสาร

ที่ได้มันจะคุ้มกันหรือเปล่า

 

ส่วนเรื่องสายอิสานไปใต้นั้น ผมแค่เสียดายน่ะครับ เพราะเห็นว่ามันผ่านประเทศไทยเยอะ

ส่วนการลงทุนนั้น ระหว่างลาวกับไทย ผมว่าต่างก็มองกันแหละครับเพราะถ้าเราไม่ทำเขา

ก็ไม่รู้ว่าจะทำไปทำไมเพราะมันจะไปสั้นจุ๊ดจู๋อยู่ที่ลาวคงไม่คุ้มค่าที่จะลงทุน อันนี้ผมหมายถึง

จีนเขาเป็นผู้ลงทุนนะครับ ถ้ารัฐบาลทำเองคงต้องอย่างน้า Gop ว่านั่นแหละ



#94 Robin

Robin

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,097 posts

ตอบ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 05:57

ณ วันนี้บ้านเรายังไม่"ค่อย"มีสายบินเชื่อมตรงระหว่างภาคโดยเฉพาะเมืองใหญ่อย่างภูเก็ต หาดใหญ่ สุราษ เชียงใหม่ โคราช ขอนแก่น อุดร ถ้ามีครบเมื่อไหร่ อาจจะสัปดาห์ละวัน สองวัน ผมเชื่อว่าการเดินทางอย่างอื่นไม่ว่ารถไฟ หรือรถทัวร์ปรับอากาศ ต้องคิดหนักขึ้น 



#95 nastyfunky

nastyfunky

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 395 posts

ตอบ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 06:03

ถ้ามันมีใน Hot Spot มันก็โอเคอยู่ แต่ว่า ค่าโดยสารมันเท่าไหร่ครับ ถ้าจะบอกว่าคนยังนั่งเครื่องบินได้ ทำไมจะนั่งรถไฟราคาพอกันไม่ได้ แล้วไอ้ส่วนที่ไม่เคยนั่งเครื่องบินเพราะประหยัดเลยจะมีไหม คื่ออยากให้มีการวิเคราะห์ตรงนี้ก่อนว่ามีคนขึ้นไหม เอาแค่รถเมล์ร้อน ทำไมยังมีถึงปัจจุบันได้ เพราะราคามันต่างกันใช่ไหมครับ? ทำไมบางคนถึงนั่ง รถทัวร์ รถไฟช้าโคตรไปเชียงใหม่ ไม่นั่งเครื่องบิน ก็เพราะมันมีคอสต์ที่ต่างกันหรือเปล่า บางที แพงกว่ากันไม่กี่ร้อย  แต่ไม่กี่ร้อยของบางคน กลัยทีหลายคน เขาไม่ได้รีบร้อนก็เยอะ คือมันมีก็โอเค แต่มันต้องคิดไปถึงโปรโมชั่น การแข่งขันทางบก ทางอากาศอื่นๆ แต่ถ้ามองในระยาววววววววววโคตร ค่าน้ำมันอีกหน่อยมันต้องแพงกว่าการใช้ระบบไฟฟ้าแน่นอน เพราะสามารถพัฒนาในรูปแบบพลังงานนิวเคลียร์ (กว้างๆ นะครับ ซึ่งมันคงอีกไกลสมควร) แต่เราก็ตอบไม่ได้ว่า อีกหน่อยเครื่องบินมันก็ต้องมีการพัฒนากลไกแข่งขันโดยใช้ระบบ Hybrid จนไปถึงพลังงานอื่นเช่นกัน เพราะบริษัทโบอิ้งเอย หรือ แอร์บัสเลย โตโยต้า ฮอนด้า พวกนี้มันทำได้อยู่แล้ว จะยอมหรือที่จะไม่หยุดพัฒนา เพราะเงินทั้งนั้น แต่ที่อาจจะกั๊กไว้ น่าจะเพราะน้ำมันบนโลกยังจำเป็นต้องขาย ระบบ ศก. บนโลก มันซับซ้อนนะครับผมว่า แถม แอร์เอเชีย หุ้นใหญ่ของใคร มันไม่เห็นจะกลัวสะเทือนเลย แสดงว่ากำไรได้อยู่...

 

แต่ผมไม่เข้าใจว่า เส้นทางเสล่อแบบ พัทยา ระยอง หัวหีนเนี่ย เพื่อ? ถ้าจะเอาไปเปรียบกับจีน แต่ละสายมันก็ไกลปืนเที่ยงนะครับ วิ่งข้ามเหนือใต้ แล้วก็มีสถานนีจอด ซึ่งพิจารณาแล้ว ยังไงก็คุ่มกว่าที่ลงทุนสร้างสนามบินหรือให้สายการบินมาเปิดเที่ยวบินใหม่แน่นอน ไหนจะประชากรอีกกี่พันล้าน มันก็สมควรจะมีในเชิงสาธารณูปโภคอยู่แล้ว คนมีเงินไม่น้อยนะครับ ซึ่งคนที่ขึ้นก็คงมีเงิน เพราะราคาที่ดูก็พอๆ กะเครื่องบิน แต่อาศัยคงสะดวกกว่า + จำนวนประชากร เพราะเครื่องบินในประเทศนี่จริงก็คนเยอะแน่นอน กำไรไม่หาย... แล้วเงินคงคลังมีมหาศาลขนาดไหม สร้างไปไม่สะเทือนรากหญ้าเขาหรอกครับ ไม่ได้กู้ใครมาหนิครับ มีแต่เราจะไปกู้เขา (พอเขามาเสนอจะสร้าง ลงทุนให้ก็ปัดตอบ ซึ่งไม่เห็นจะมีผลเสียผลดีแสดงออกแบบจะไปกู้มาสร้างเลย ซึ่งอ้างออกแนวดีเริดประเสริฐหนักหนาว่าคุ้ม ทำไมละครับ ไม่ได้แดร๊กหรือครับ)  ถ้าจะสูสีน่าจะเปรียบกับญี่ปุ่น ฝรั่งเศส อังกฤษนะครับ เพราะขนาดประเทศ เส้นทาง ประชากรก็ยังโอเค แต่ทางฝรั่งเศสเขาจะได้พวกเส้นทาง TGV ไปลอนดอนหรือสวิสส่วนเยอะ ส่วนทางลอนดอนก็กำไรพอไหว คือทรงตัวได้ (อ่านจากแหล่งขาวในกูเกิลนะครับ) แต่ก็ต้องมองถึงพฤติกรรมของผู้ใช้งานนะครับ เพราะพวกนี้ไม่ชอบขับรถอยู่แล้ว การนั่งรถไฟจึงเป็นทางเลือกที่เขาชอบ อีกอย่างราคาเครื่องบินก็สูสี แต่ก็สะดวกกว่าเพราะสถานีเดินทางลิ้งค์กับรถไฟในเมืองได้ทันที แล้วก็มีแผนจะสร้างอีกเพราะคนเขามีปัญญานั่งนะครับ

 

ส่วนญี่ปุ่น เอกชนทั้งนั้น รถไฟเร็วกี่สายๆ ก็เอกชนลงทุน อีกอย่าง รายได้ต่อกบาลเขาเยอะนะครับ เราว่าแพง แต่เขาไม่สะเทือนหรอกครับ คิดดูสิว่า Pass เขา ตอนนี้ราคา 7 พันกว่า 7 วัน คนไทยทีชมแล้วชมอีกว่าอยากมีบ้าง แต่ถามว่า ให้เองมาจ่ายที่ราคาแบบที่ไทยเอาไหว? แล้วประเทศเขาก็เล็กขนาดนั้น คนก็โคตรเยอะ มันก็คุ้มสิครับ การกระตุ้น ศก. เขาอลังการขนาดไหม เดี๋ยวหน้านู้นไปนี่ หน้านั้นไปนู้น แต่นโยบายการท่องเที่ยวเขาก็ไปไหนต่อไหนแล้ว คนไทยหยุดทีสงกรานต์ เขาชอบแบบไหน เหมาขนรถไปสนุก (เมาตาย) ใช่ไหม นี่ช๊อบชอบ แต่ที่อื่นมีไหม ไปมาหลายที่ก็ไม่มีนะครับ ใครมันทั้งนั้น...แล้วถ้าเรามีเราจะเอาพาสแบบเขาจะเอาเท่าไหร่ดีครับ แล้วจะคุ้มแบบเขาไหม? ทั้งนี้ ศึกษาพฤติกรรมคนมาเที่ยวด้วยสิครับ ว่าเป็นแบบไหน คนมาไทยปีละกี่สิบๆ ล้าน แบ่งออกเป็นกี่ระดับ คนมหารวยนี่ยังไงก็นั่งส่วนตัว เครื่องบินแน่นอน ส่วนเราเห็นๆ พวกแบกเป้เยอะนะครับ  เห็นมันมาทีไรก็ชิลด์ มาจากประเทศโคตรเจริญ อย่างญี่ปุ่น เมกา ยุโรป แต่ทำไมอยากจะนั่งรถไฟถูก ห่วยแตกเพราะอะไร ทำไมบางคนยอมนั่งรถทัวร์ไปเชียงใหม่ทั้งที่ค่าเครื่องบินที่ลงมาปุ๊บไปต่อก็ ๆ กัน เพราะอะไร? ทัวร์จีนส่วนมา มาเป็นกรุ๊ป มันนั่งรถเหมาของทัวร์จะคุ้มกว่าไหม จัดการง่ายกว่าไหม หรือตรงนี้ก็ควรไปสำรวจต่อไปด้วย จะจัดทัวร์นั่งรถไฟไปเชียงใหม่ก็อาจจะเก๋ไม่หยอก...ส่วน ไอ้ AEC นี่...คนที่จะเข้าประเทศ ที่เห็นจะจ้องเป็นแรงงานทั้งนั้น ฟิลิปปินส์เงี้ย อินโดเงี้ย พม่า ลาว ขแมร์ ที่ตั้งใจจะมาทำงาน เขาจะนั่งไหม ถ้ามันคอนเนคแบบ EURO สิครับ ค่อยมาว่ากัน เรื่องคนเที่ยวกันเองใน AEC หยุดดราม่าก่อน เพราะวันนี้คนพวกนี้บินมาเขาไม่มีวีซ่ากันอยู่แล้ว ไม่เห็นมันจะมาอะไรมากมายเลย แล้วถ้าเปิด AEC อย่างเก่งก็ได้วีซ่าทำงานระยะยาวง่ายขึ้น แล้วเรื่องระบบ ศก. AEC จะรอดไหม หรือไปได้แค่รวมหัวกันสร้างข้อต่อรอง แต่เดี๋ยวอย่าเพิ่งดีใจ ดูกันยาวแบบ EURO วันนี้เป็นไงครับ แทบจะถีบหัวส่งกันแล้ว...เพราะเอาจริงๆ ใครมันก็มุ่งแต่จะเอาตัวรอด สุมหัวไปแล้วต้องไปรับภาระคนอื่น ไหวหรอ? แล้วโลจิสติกส์จะได้อะไรครับกับ AEC เขมรจะส่งข้าวได้เร็จขึ้น มันจะมีประโยชน์อะไรถ้าไม่คอนเนคกับจีน  แล้วคนที่ได้จริงก็จีน ไทยก็เก็บค่าด่านไป ซึ่งเป็นการกีดกันด่านทางเรือของสิงคโปร์ แต่ถ้าจะส่งไปออสเตรเลีย อินโด บรูไร ทำไงครับ สิงค์โปร์ หรือ พม่า (ในอนาคต) ก็ได้ไปต่อจากนั้น เพราะความเร็วสูงมันไปถึงหนิครับ แล้วทำไมเอาสุวรรณภูมิมาเทียบกับ AEC ครับ งงมาก เราเป็นฮับการบินของ ASEAN นะครับ เหมือนที่ ดูไบ การ์ต้าเป็นของทางตะวันออกกลาง หรือลอนดอนเป็นของยุโรป หมายถึงมีเครื่องมาลงเยอะเพราะ 1. คนมาเที่ยวเยอะทางอากาศยาน เพราะมันต้องบินมา นั่งรถไฟมาไม่ได้ 2. มาต่อเครื่องไปปลายทางอื่น เรื่องส่งสินค้าทาง HUB อากาศเนี่ย ผมเข้าใจผิดไหมว่าเรือคุ้มสุดและสร้างกำไรเยอะสุด ดังนั้นไอ้สนามบินที่มันเยอะ เพราะการใช้เครื่องบินเยอะนะครับ ไม่ได้เกี่ยวว่า สร้างความเลวสูงซะหน่อย เพราะปรกติเราก็ไม่ได้ส่งของเป็นพันตันทางเครื่องบินหนิครับ หรือคิดจะเอามาขนผักหญ้าจริงๆ หรือในยุโรปเขาสร้างไว้ขนของครับ? หรือเขาใช้รางคู่ขนเพื่อนประหยัด? วิชาโลจิสติกก็มี บางทีมันก็เอามาใช้ได้นะครับไม่ต้องโหมงบมากมาย แล้วที่บอกอะไรนะ เชียงใหม่เป็นล้านเที่ยวต่อปี นั่นมันก็ส่วนเชียงใหม่- ดอนเมือง หรือไปคิดเป็นค่าความคุ้มค่าของรถไฟความเลวสูง เพราะจะอ้างว่าปัญหาเที่ยวบินเชียงใหม่เยอะเพราะมีฝรั่งมาลงที่สุวรรณภูมิเยอะด้วย รถไฟจึงน่าจะคุ้ม แต่คนที่ต่อจากสนามบินไปเชียงใหม่ต่อวันนี่ขนาดไหนครับ? แล้วมันลงปุ๊บไปต่อเชียงใหม่ทันทีไหม? มันจะมีสายสุวรรณภูมิไปถึงเชียงใหม่เลยใหม่ ก็ว่ากันนะครับ อันนี้มันก็น่าคิด แต่ไม่ได้หมายความความแออัดของสนามบินทั้งหมด จะต้องไปเปิดความเลวสูง

 

แล้วก่อนที่จะสร้างเนี่ย ผมไม่เข้าใจว่า รัฐบวมมันจะเสล่อออกนโยบายสร้างหนี้มากมายทำไมครับ เช่นรถคันแรก คือคุณเมริงปากก็บอกอยากจะสร้างรถไฟความเร็วสูงให้ใช้เพราะประหยัด กำไร ลดการใช้พลังงาน แต่มันสอดคล้องกันไหม หลายอย่างนะครับ การพัฒนาอะไรก็ตาม ความจริงใจและจริงจังก็ต้องแสดงให้เห็นด้วย ประชานิยมง่อยๆ ไม่ต้องเอามาใช้เยอะครับ มันก็สะท้อนเงาตัวเอง ว่าจริงใจหรือไม่ นโยบายบางอย่างไม่สอดคล้องกัยเลย คิดทีละครั้งหรือครับ หรือจดใส่กระดาษเอาก็ทำเลยเลยเล่นเกมซิม

 

ทำไมครับ  "รางคู่" เนี่ย ถูกกว่า ประหยัดกว่า ทำเป็นไฟฟ้าก็ได้ มันไม่พอหรือครับ จะรีบไปไหน สมมติว่าปรกติไอ้ความเลวสูงไปบ้านนายกสัก 1 ชม. สร้างรางคู่ช้า นานไปหน่อยเป็น 2 ชม นี่มันเสียน้อยกว่า แล้วไม่คุ้มหรอครับ แถมรากหญ้าของคุณก็ได้ใช้ด้วย นี่ก็โอเคแล้วนะครับ ถ้าจะขนผัก อีก 1 ชม. ที่เลยมาก็ไม่น่าจะเน่าหนิครับ ห้องเย็นความเร็วสูงราวคู่เราก็ทำได้ คุณสร้างเราดีใจ แล้วเป็นหนี้เราปวดใจนะครับ...

 

ไม่เอานะครับ สร้างมาแล้ว รถไฟฟรีเพื่อประชาชน....


Savoir…
Savoir parler…
Savoir parler pour ne rien dire…





ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน