Souce: กรุงเทพธุรกิจ 9/9/2556
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:34
ไหนลองสรุปหน่อยดิ๊๋ จะสื่ออะไร
แปะลิ้งค์ด้วย...
ถ้ากลัวคนตามไปอ่าน ก็อย่าเอามาลง
Edited by 55555, 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:35.
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:36
รอดูคนเก่งสรุปกันหน่อย
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:37
สมองสั่งการให้แปะอย่างเดียว?
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:39
เดี๋ยวก็แบบ subsidy อีก เขียนส่งเดช...
ตั้งทู้ถามหน่อย วิ่งหางจุกตูด ทั้งไทย ทั้งกระเหรี่ยงเลย
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:40
ไหนลองสรุปหน่อยดิ๊๋ จะสื่ออะไร
แปะลิ้งค์ด้วย...
ถ้ากลัวคนตามไปอ่าน ก็อย่าเอามาลง
เป็นข้อมูลดิบครับ
เอามาลงให้วิพากษ์วิจารณ์กันครับ
infographix เขาผิดถูกยังไงว่ากันมาครับ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:42
ไหนลองสรุปหน่อยดิ๊๋ จะสื่ออะไร
แปะลิ้งค์ด้วย...
ถ้ากลัวคนตามไปอ่าน ก็อย่าเอามาลง
เป็นข้อมูลดิบครับ
เอามาลงให้วิพากษ์วิจารณ์กันครับ
infographix เขาผิดถูกยังไงว่ากันมาครับ
แปะโดยคิดว่าจะวิพากษ์เอง ลิ้งค์ ก็ไม่ให้...กลัวคนไปอ่านรึ
หรือว่าแปะไปมั่ว ๆ แบบ ใครใช้ให้ทำก็ทำ ว่างั้น..
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:42
แล้วคิดว่าเฟอรารี่ต้องราคาเท่าฮอนด้าป่าว
ปัญญาอ่อนสุดๆ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:49
ไหนลองสรุปหน่อยดิ๊๋ จะสื่ออะไร
แปะลิ้งค์ด้วย...
ถ้ากลัวคนตามไปอ่าน ก็อย่าเอามาลง
เป็นข้อมูลดิบครับ
เอามาลงให้วิพากษ์วิจารณ์กันครับ
infographix เขาผิดถูกยังไงว่ากันมาครับ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:50
Souce: กรุงเทพธุรกิจ 9/9/2556
ข้อมูลนี้ไม่ใช่ของกรุงเทพธุรกิจ แต่เป็นของไอ้วราเทพ ลงอะไรลงให้ครบด้วย
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:50
แก้ปัญหาไม่ได้ก็โยงไปเรื่อยๆ แบบนี้ละครับ ชาวสวนเค้าคงคิดวาทกรรมมาสู้ไม่ได้หรอกครับ
สรุปประเด็นคือ รัฐท่านอยากให้ชาวสวนยางพาราทำยางแบบการกุศล ......ใช่ไหมครับ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:51
ไหนลองสรุปหน่อยดิ๊๋ จะสื่ออะไร
แปะลิ้งค์ด้วย...
ถ้ากลัวคนตามไปอ่าน ก็อย่าเอามาลง
เป็นข้อมูลดิบครับ
เอามาลงให้วิพากษ์วิจารณ์กันครับ
infographix เขาผิดถูกยังไงว่ากันมาครับ
แปะโดยคิดว่าจะวิพากษ์เอง ลิ้งค์ ก็ไม่ให้...กลัวคนไปอ่านรึ
หรือว่าแปะไปมั่ว ๆ แบบ ใครใช้ให้ทำก็ทำ ว่างั้น..
เห็นเถียงกันมาหลายวันแล้วเรื่องต้นทุน/กำไร ข้าวกับยาง
ก็เลยเอาตัวเลขจากสื่อที่คิดว่าน่าจะอยู่ตรงข้ามรัฐบาลอย่างกรุงเทพธุรกิจมาให้ดูไงครับ
เขาอุตส่าห์ทำเป็นกราฟฟิกมาให้เห็นชัดๆ
น่าจะเป็นประโยชน์มากกว่ากระทู้ด่านายก "แรด" นะผมว่า
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:52
Souce: กรุงเทพธุรกิจ 9/9/2556
ข้อมูลนี้ไม่ใช่ของกรุงเทพธุรกิจ แต่เป็นของไอ้วราเทพ ลงอะไรลงให้ครบด้วย
มันไม่ตรงกับความจริงตรงไหนก็ว่ามาเลยครับ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:53
เห็นเถียงกันมาหลายวันแล้วเรื่องต้นทุน/กำไร ข้าวกับยาง
ก็เลยเอาตัวเลขจากสื่อที่คิดว่าน่าจะอยู่ตรงข้ามรัฐบาลอย่างกรุงเทพธุรกิจมาให้ดูไงครับ
เขาอุตส่าห์ทำเป็นกราฟฟิกมาให้เห็นชัดๆ
น่าจะเป็นประโยชน์มากกว่ากระทู้ด่านายก "แรด" นะผมว่า
ให้ท่านนายกประกาศสิครับ ว่าอยากให้ชาวสวนทำยางเพื่อการกุศลเท่านั้น รับรองไม่มีม็อปมากวนใจแล้วครับ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:53
ไหนลองสรุปหน่อยดิ๊๋ จะสื่ออะไร
แปะลิ้งค์ด้วย...
ถ้ากลัวคนตามไปอ่าน ก็อย่าเอามาลง
เป็นข้อมูลดิบครับ
เอามาลงให้วิพากษ์วิจารณ์กันครับ
infographix เขาผิดถูกยังไงว่ากันมาครับ
แปะโดยคิดว่าจะวิพากษ์เอง ลิ้งค์ ก็ไม่ให้...กลัวคนไปอ่านรึ
หรือว่าแปะไปมั่ว ๆ แบบ ใครใช้ให้ทำก็ทำ ว่างั้น..
เห็นเถียงกันมาหลายวันแล้วเรื่องต้นทุน/กำไร ข้าวกับยาง
ก็เลยเอาตัวเลขจากสื่อที่คิดว่าน่าจะอยู่ตรงข้ามรัฐบาลอย่างกรุงเทพธุรกิจมาให้ดูไงครับ
เขาอุตส่าห์ทำเป็นกราฟฟิกมาให้เห็นชัดๆ
น่าจะเป็นประโยชน์มากกว่ากระทู้ด่านายก "แรด" นะผมว่า
แล้วคุณรู้ได้ไงว่าคนทำคำนวนถูก
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:54
Souce: กรุงเทพธุรกิจ 9/9/2556
ข้อมูลนี้ไม่ใช่ของกรุงเทพธุรกิจ แต่เป็นของไอ้วราเทพ ลงอะไรลงให้ครบด้วย
มันไม่ตรงกับความจริงตรงไหนก็ว่ามาเลยครับ
แค่เครดิตก็ไม่ถูกต้องแระ มันจะน่าเชื่อถือเหรอ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:56
ไหนลองสรุปหน่อยดิ๊๋ จะสื่ออะไร
แปะลิ้งค์ด้วย...
ถ้ากลัวคนตามไปอ่าน ก็อย่าเอามาลง
เป็นข้อมูลดิบครับ
เอามาลงให้วิพากษ์วิจารณ์กันครับ
infographix เขาผิดถูกยังไงว่ากันมาครับ
แปะโดยคิดว่าจะวิพากษ์เอง ลิ้งค์ ก็ไม่ให้...กลัวคนไปอ่านรึ
หรือว่าแปะไปมั่ว ๆ แบบ ใครใช้ให้ทำก็ทำ ว่างั้น..
เห็นเถียงกันมาหลายวันแล้วเรื่องต้นทุน/กำไร ข้าวกับยาง
ก็เลยเอาตัวเลขจากสื่อที่คิดว่าน่าจะอยู่ตรงข้ามรัฐบาลอย่างกรุงเทพธุรกิจมาให้ดูไงครับ
เขาอุตส่าห์ทำเป็นกราฟฟิกมาให้เห็นชัดๆ
น่าจะเป็นประโยชน์มากกว่ากระทู้ด่านายก "แรด" นะผมว่า
แล้วคุณรู้ได้ไงว่าคนทำคำนวนถูก
เพราะในกรุงเทพธุรกิจเขาอ้างที่มาว่ามาจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรอ่ะครับ
คุณมีตัวเลขที่ถูกต้องกว่าเขาเหรอ?
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:57
Souce: กรุงเทพธุรกิจ 9/9/2556
ข้อมูลนี้ไม่ใช่ของกรุงเทพธุรกิจ แต่เป็นของไอ้วราเทพ ลงอะไรลงให้ครบด้วย
มันไม่ตรงกับความจริงตรงไหนก็ว่ามาเลยครับ
แค่เครดิตก็ไม่ถูกต้องแระ มันจะน่าเชื่อถือเหรอ
ไม่ถูกต้องตรงไหนครับ ผมเอากราฟฟิกมาจาก กรุงเทพธุรกิจ
ส่วน กรุงเทพธุรกิิจเขาเอาข้อมูลที่มาทำกราฟฟิกมาจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:58
Souce: กรุงเทพธุรกิจ 9/9/2556
ข้อมูลนี้ไม่ใช่ของกรุงเทพธุรกิจ แต่เป็นของไอ้วราเทพ ลงอะไรลงให้ครบด้วย
มันไม่ตรงกับความจริงตรงไหนก็ว่ามาเลยครับ
เหอๆ สักแต่ก๊อปจากฝั่งควายแดงมา ไม่ได้ตามอ่านข่าวของเค้าจริงๆ ล่ะสิเนี่ย มีข้อมูลตรงไหนที่ยืนยันไ้ด้ว่ามันเป็นจริง ตอนแรกกะจะอ้างว่า กรุงเทพธุรกิจเอามาทำเป็นกราฟเองสินะ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:59
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
คัดลอก URL นี้เเบบย่อhelp
"วราเทพ"ไขข้อข้องใจ"ยาง"กับ"ข้าว"รัฐใช้งบช่วยเหลือต่าง โชว์ตัวเลขรายได้สุทธิต่อครัวเรือน หลังหักปัจจัยการผลิต ชาวนารายได้ต่ำกว่าชาวสวนยาง
กลายเป็นข้อถกเถียงทั้งในและนอกสภาผู้แทนราษฎร เกี่ยวกับการใช้งบประมาณในการแทรกแซงผลผลิตทางการเกษตร 2 ชนิด ระหว่างข้าวกับยางพารา ในการใช้งบประมาณของพืชทั้งสองชนิด ที่มีความแตกต่างกันมาก ทำให้มีข้อครหาว่ารัฐบาลเลือกปฏิบัติ และมีสองมาตรฐาน ในการดูแลเกษตรกรผู้ปลูกพืชทั้งสองชนิดที่แตกต่างกัน กลายเป็นหนึ่งในปมปัญหาที่แกนนำเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในพื้นที่ภาคใต้ ยกมาเป็นเหตุผลในการชุมนุมประท้วงปิดเส้นทางคมนาคมหลายจุดช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา
เกี่ยวกับเรื่องนี้ นายวราเทพ รัตนากร รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า รัฐบาลไม่ได้มีแนวคิด ในการเลือกปฏิบัติกับเกษตรกรที่ปลูกพืชต่างชนิดกัน หรือปลูกพืชชนิดเดียวแต่อยู่คนละภูมิภาคกัน ต้องแก้ปัญหาให้เท่าเทียมกัน
อย่างไรก็ตาม ไทยมีการปลูกพืชหลายชนิด พืชแต่ละชนิดมีลักษณะที่แตกต่างกัน มีกลไกราคาและกลไกตลาดที่แตกต่างกัน ดังนั้นวิธีการแก้ปัญหาพืชผลราคาตกต่ำ หรือแก้ไขปัญหาเรื่องใดก็ตาม มีวิธีการแก้ไขที่แตกต่างกัน มีการใช้งบประมาณที่แตกต่างกัน การแก้ปัญหาของพืชชนิดต่างๆ รัฐบาลได้จัดการผ่านการปรึกษาและทำงานร่วมกับคณะกรรมการที่ตั้งขึ้นมาดูแลพืชต่างๆ เช่น ข้าว มีคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ส่วนยางก็มีคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.)
นโยบายจำนำข้าววัตถุประสงค์ คือ ช่วยชาวนาที่ส่วนใหญ่รายได้ต่ำ รัฐบาลช่วยโดยรับจำนำข้าวราคา 15,000 บาทต่อตัน เป็นการช่วยเหลือใน 2 ปีแรกให้ชาวนามีรายได้เพิ่มขึ้น เมื่อชาวนามีฐานะมั่นคง รัฐบาลก็เริ่มปรับราคาลดจำนำลง ตั้งแต่รอบนาปรังฤดูกาลผลิต 2556 /2557 นอกจากนั้นวงเงินที่ใช้ในโครงการรับจำนำข้าวก็ปรับลดลง เนื่องจากการลดราคารับจำนำทำควบคู่กับการจำกัดปริมาณรับจำนำต่อครัวเรือน จะเห็นว่าใช้วงเงินที่ 2.7 แสนล้านบาท ส่วนการรับจำนำข้าวในปีการผลิต 2556/2557 ได้ปรับลดลงหลายหมื่นล้าน จากก่อนหน้านี้ ที่ใช้เงินไปมากกว่า 3 แสนล้านบาท
"ผมไม่อยากให้สังคม เอาเรื่องยางและข้าวมาเปรียบเทียบกัน หากดูข้อมูลเฉพาะงบที่ใช้กับพืชแต่ละชนิดอย่างเดียว จะไม่เข้าใจเหตุผลของการใช้เงินที่ต่างกัน ที่จริงแล้วต้องดูข้อมูลว่ารายได้ระหว่างชาวนา และชาวสวนยาง อยู่ที่เท่าไร" นายวราเทพ กล่าว
ยันรายได้ชาวสวนยางสูงกว่าชาวนา
ในข้อเท็จจริงรายได้ของชาวนาต่ำกว่าชาวสวนยางครึ่งต่อครึ่ง ชาวนากว่า 60% ปลูกข้าวได้ครั้งเดียว คือ ปลูกได้เฉพาะข้าวนาปี รายได้สุทธิซึ่งเป็นรายได้ที่หักปัจจัยการผลิตต่างๆ ออกแล้ว รายได้ในการผลิตข้าวนาปี ปี 2555/2556 ต่อครัวเรือนอยู่ที่เพียง 12,382 บาท ขณะที่รายได้สุทธิของชาวสวนยางปี 2555 อยู่ที่ 53,120 บาทต่อครัวเรือน การคิดรายได้สุทธิของเกษตรกรผู้ปลูกยางเป็นการคิดทั้งระบบ ซึ่งรวมทั้งครัวเรือนของผู้มีรายได้จากการกรีดยางด้วย
"การให้เงินอุดหนุนต้องดูโครงสร้างรายได้ของเกษตรกรที่ปลูกพืชแต่ละชนิดด้วย เมื่อดูตัวเลขรายได้สุทธิแล้ว ก็จะเห็นว่าชาวนาเป็นเกษตรกรในกลุ่มที่มีรายได้น้อย ขณะที่เกษตรกรที่ปลูกยางพาราถือว่ามีรายได้ในระดับปานกลาง หรือพูดง่ายๆ คือรายได้ดีกว่าชาวนา" นายวราเทพ กล่าว
สำหรับการช่วยเหลือของรัฐบาล หากดูที่วงเงินที่ใช้แน่นอนว่า เงินที่ใช้ไปกับข้าวสูงกว่า แต่หากดูความช่วยเหลือต่อไร่ยางพารารัฐบาลให้ความช่วยเหลือสูงกว่าข้าว หากเปรียบเทียบตัวเลขปีต่อปีในฤดูกาลผลิตข้าวนาปีฤดูกาลผลิต 2554/2555 รัฐบาลให้เงินช่วยเหลือต่อไร่แก่ชาวนา 9,981 บาทต่อไร่ ขณะที่ข้าวนาปรังอยู่ที่ 9,947 บาทต่อไร่ ส่วนพื้นที่ปลูกยางพารา รัฐบาลให้เงินช่วยเหลือต่อไร่อยู่ที่ 27,149 บาท
"การเปรียบเทียบพืชเกษตรที่มีลักษณะแตกต่างกัน ทั้งจำนวนเกษตรกร จำนวนผลผลิต และลักษณะตลาด คงไม่สะท้อนข้อเท็จจริง ดังนั้นต้องดูว่าผลลัพธ์ของการแก้ปัญหาเป็นที่น่าพอใจหรือไม่ การแก้ปัญหายางพาราขณะนี้ มองว่าได้ผล แม้จะยังไม่ถูกใจทุกกลุ่ม แต่อย่างน้อยเกษตรกรส่วนใหญ่ก็น่าจะพอใจ เมื่อ กนย. ขยายพื้นที่ช่วยเหลือจาก 10 ไร่ เป็น 25 ไร่"
เขาอธิบายว่า ได้เคยดำเนินการมาเมื่อเดือนม.ค. - มี.ค. 2556 รับซื้อยางไป 2.08 แสนตัน ใช้เงินกว่า 2.2 หมื่นล้านบาท แต่ราคายางไม่ได้ขยับขึ้น ยางที่เก็บไว้ในสต็อกยังขายไม่ได้ เพราะจะทำให้ราคายางในตลาดต่ำลง กนย.จึงไม่แก้ปัญหาด้วยการแทรกแซงราคาอีก
อุตฯจับเข่าเอกชนร่วมซื้อยางพรุ่งนี้
ส่วนแนวทางการระบายยางพารา วันที่ 10 ก.ย. นี้ นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ได้นัดผู้ประกอบการผลิตยางรถยนต์ 30 ราย และกลุ่มอุตสาหกรรมถุงมือยาง ยางยืด อีก 30 ราย มาหารือ ว่าผู้ประกอบการจะให้ความร่วมมืออย่างไรได้บ้าง แม้ว่าช่วงนี้ความต้องการสินค้าในตลาดชะลอลงจากภาวะเศรษฐกิจที่ไม่ดี แต่ในส่วนของเอกชนหากต้องการให้รัฐช่วยเหลืออะไร ก็จะมีการเสนอเข้ามาได้ โดยเฉพาะมาตรการจูงใจในการแปรรูปยางพารา
"นายกฯ"กำชับ"ประชา"ดูแลม็อบสวนยาง
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม ให้สัมภาษณ์ก่อนเดินทางเยือนสมาพันธรัฐสวิส สาธารณรัฐอิตาลี นครรัฐวาติกัน และ สาธารณรัฐมอนเตเนโกร ระหว่างวันที่ 8-15 ก.ย. นี้ ว่าได้กำชับรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องดูผู้ชุมนุมชาวสวนยางโดยเฉพาะ พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก รองนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่รักษาการนายกฯ ขณะที่เดินทางไปต่างประเทศ ตนก็จะติดตามสถานการณ์ว่าเป็นอย่างไรบ้าง ด้วยความเป็นห่วงทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้องซึ่งทราบภารกิจอยู่แล้ว เชื่อว่าทุกส่วนจะช่วยกันดูแลได้
ถามว่า รัฐบาลจะทำตามข้อเรียกร้อง 4 ข้อ ของเกษตรกรได้ทันเวลา 7 วันหรือไม่ นายกฯ กล่าวว่า ต้องยืนยันตามที่คณะกรรมการแก้ไขปัญหายางพารา ที่ได้ไปประชุมร่วมกับเกษตรกรตัวจริง
แกนนำยางย้ำจุดยืนชุมนุม 14 ก.ย. ขอ 95 บาท
ขณะที่ความเคลื่อนไหวของเครือข่ายชาวสวนยางและปาล์มน้ำมัน 4 จังหวัดภาคใต้ตอนบน วานนี้ (8 ก.ย.) นายสันทัด เดชเกิด แกนนำชาวสวนยาง อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ตัวแทนเครือข่ายชาวสวนยางและปาล์มน้ำมัน 4 จังหวัดภาคใต้ตอนบน กล่าวว่า เครือข่ายชาวสวนยาง 16 จังหวัดภาคใต้ จะชุมนุมใหญ่วันที่ 14 ก.ย. นี้ คาดว่าจะได้ข้อยุติในข้อเรียกร้อง หลังจากเครือข่ายฯ ได้ประชุมล่าสุดที่ อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช และยื่นขอประกันราคายางที่กิโลกรัมละ 95 บาท จากเดิมราคา 90 บาท
สมาคมสหพันธ์ชาวสวนยางจี้รัฐจ่ายส่วนต่าง
ด้าน นายบุญส่ง นับทอง นายกสมาคมสหพันธ์ชาวสวนยางแห่งประเทศไทย กล่าวว่า หลังจากที่รัฐบาลรับประกันราคาที่ 90 บาทต่อกิโลกรัม จากการสอบถามสมาคมชาวสวนยาง 24 จังหวัดทั่วประเทศเห็นตรงกัน คือ รับได้ที่ 90 บาท แม้จะต่ำกว่าราคาที่สมาคมฯ เสนอไป แต่สิ่งที่รัฐบาลต้องดำเนินการคือเร่งช่วยเหลือ ว่าจะดำเนินการอย่างไร และให้เร็วที่สุด เนื่องจากเกษตรกรรอการช่วยเหลืออยู่
สำหรับข้อเสนอของสมาคมฯ คือ การจ่ายชดเชยส่วนต่าง ให้ถึงมือเกษตรกรรายย่อยจริงๆ โดยให้เกษตรกรขายผ่านตลาดกลางยางพารา ทั้ง 7 แห่งทั่วประเทศ และตลาดสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง 180 จุด โดยใช้รายชื่อการขึ้นทะเบียนของเกษตรกรรายย่อย ที่มีสวนยางตั้งแต่ 1 ไร่ แต่ไม่เกิน 25 ไร่ต่อครอบครัว
"จากการคำนวณจากราคายางที่ 78 บาทต่อกิโลกรัม ณ วันนี้ รัฐบาลต้องชดเชยกิโลกรัมละ 12 บาท หากคำนวณผลผลิตที่ 270 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี คูณด้วยเงินชดเชย 12 บาทต่อกิโลกรัม คูณด้วย 25 ไร่ หารด้วย 12 เดือน เกษตรกรจะได้เงินชดเชยที่ 6,750 บาทต่อรายต่อเดือน เป็นเวลา 7 เดือน"
การประเมินผลผลิตยางช่วง 7 เดือน ที่ผลผลิตยาง 1 ล้านตัน ใช้เงิน 12,000 ล้านบาท
อ้างอิง http://www.bangkokbi...มนุม14ก.ย..html
ไอ้ป๊อดเอ๊ย เริ่มต้นก็เสียเครดิตแล้วว่ะ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:00
Souce: กรุงเทพธุรกิจ 9/9/2556
ข้อมูลนี้ไม่ใช่ของกรุงเทพธุรกิจ แต่เป็นของไอ้วราเทพ ลงอะไรลงให้ครบด้วย
มันไม่ตรงกับความจริงตรงไหนก็ว่ามาเลยครับ
แค่เครดิตก็ไม่ถูกต้องแระ มันจะน่าเชื่อถือเหรอ
ไม่ถูกต้องตรงไหนครับ ผมเอากราฟฟิกมาจาก กรุงเทพธุรกิจ
ส่วน กรุงเทพธุรกิิจเขาเอาข้อมูลที่มาทำกราฟฟิกมาจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
แสดงว่าดูแต่ภาพ ไม่อ่านบทความเลยสินะ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:01
ชาวสวนยางทางใต้ เขาต้องได้เยอะครับ เพราะเขากินเยอะ กินหลากหลาย (ประชด)
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:01
รัฐไขข้อข้องใจ'ข้าว-ยาง' ม็อบชุมนุม14ก.ย.
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
TOOLS4124
คัดลอก URL นี้เเบบย่อhelp
คัดลอก- ขนาดตัวอักษร
- พิมพ์ข่าวนี้
- ข้าวมาเปรียบเทียบกัน หากดูข้อมูลเฉพาะงบที่ใช้กับพืชแต่ละชนิดอย่างเดียว จะไม่เข้าใจเหตุผลของการใช้เงินที่ต่างกัน ที่จริงแล้วต้องดูข้อมูลว่ารายได้ระหว่างชาวนา และชาวสวนยาง อยู่ที่เท่าไร" นายวราเทพ กล่าว
ยันรายได้ชาวสวนยางสูงกว่าชาวนา
ในข้อเท็จจริงรายได้ของชาวนาต่ำกว่าชาวสวนยางครึ่งต่อครึ่ง ชาวนากว่า 60% ปลูกข้าวได้ครั้งเดียว คือ ปลูกได้เฉพาะข้าวนาปี รายได้สุทธิซึ่งเป็นรายได้ที่หักปัจจัยการผลิตต่างๆ ออกแล้ว รายได้ในการผลิตข้าวนาปี ปี 2555/2556 ต่อครัวเรือนอยู่ที่เพียง 12,382 บาท ขณะที่รายได้สุทธิของชาวสวนยางปี 2555 อยู่ที่ 53,120 บาทต่อครัวเรือน การคิดรายได้สุทธิของเกษตรกรผู้ปลูกยางเป็นการคิดทั้งระบบ ซึ่งรวมทั้งครัวเรือนของผู้มีรายได้จากการกรีดยางด้วย
"การให้เงินอุดหนุนต้องดูโครงสร้างรายได้ของเกษตรกรที่ปลูกพืชแต่ละชนิดด้วย เมื่อดูตัวเลขรายได้สุทธิแล้ว ก็จะเห็นว่าชาวนาเป็นเกษตรกรในกลุ่มที่มีรายได้น้อย ขณะที่เกษตรกรที่ปลูกยางพาราถือว่ามีรายได้ในระดับปานกลาง หรือพูดง่ายๆ คือรายได้ดีกว่าชาวนา" นายวราเทพ กล่าว
สำหรับการช่วยเหลือของรัฐบาล หากดูที่วงเงินที่ใช้แน่นอนว่า เงินที่ใช้ไปกับข้าวสูงกว่า แต่หากดูความช่วยเหลือต่อไร่ยางพารารัฐบาลให้ความช่วยเหลือสูงกว่าข้าว หากเปรียบเทียบตัวเลขปีต่อปีในฤดูกาลผลิตข้าวนาปีฤดูกาลผลิต 2554/2555 รัฐบาลให้เงินช่วยเหลือต่อไร่แก่ชาวนา 9,981 บาทต่อไร่ ขณะที่ข้าวนาปรังอยู่ที่ 9,947 บาทต่อไร่ ส่วนพื้นที่ปลูกยางพารา รัฐบาลให้เงินช่วยเหลือต่อไร่อยู่ที่ 27,149 บาท
"การเปรียบเทียบพืชเกษตรที่มีลักษณะแตกต่างกัน ทั้งจำนวนเกษตรกร จำนวนผลผลิต และลักษณะตลาด คงไม่สะท้อนข้อเท็จจริง ดังนั้นต้องดูว่าผลลัพธ์ของการแก้ปัญหาเป็นที่น่าพอใจหรือไม่ การแก้ปัญหายางพาราขณะนี้ มองว่าได้ผล แม้จะยังไม่ถูกใจทุกกลุ่ม แต่อย่างน้อยเกษตรกรส่วนใหญ่ก็น่าจะพอใจ เมื่อ กนย. ขยายพื้นที่ช่วยเหลือจาก 10 ไร่ เป็น 25 ไร่"
เขาอธิบายว่า ได้เคยดำเนินการมาเมื่อเดือนม.ค. - มี.ค. 2556 รับซื้อยางไป 2.08 แสนตัน ใช้เงินกว่า 2.2 หมื่นล้านบาท แต่ราคายางไม่ได้ขยับขึ้น ยางที่เก็บไว้ในสต็อกยังขายไม่ได้ เพราะจะทำให้ราคายางในตลาดต่ำลง กนย.จึงไม่แก้ปัญหาด้วยการแทรกแซงราคาอีก
อุตฯจับเข่าเอกชนร่วมซื้อยางพรุ่งนี้
ส่วนแนวทางการระบายยางพารา วันที่ 10 ก.ย. นี้ นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ได้นัดผู้ประกอบการผลิตยางรถยนต์ 30 ราย และกลุ่มอุตสาหกรรมถุงมือยาง ยางยืด อีก 30 ราย มาหารือ ว่าผู้ประกอบการจะให้ความร่วมมืออย่างไรได้บ้าง แม้ว่าช่วงนี้ความต้องการสินค้าในตลาดชะลอลงจากภาวะเศรษฐกิจที่ไม่ดี แต่ในส่วนของเอกชนหากต้องการให้รัฐช่วยเหลืออะไร ก็จะมีการเสนอเข้ามาได้ โดยเฉพาะมาตรการจูงใจในการแปรรูปยางพารา
"นายกฯ"กำชับ"ประชา"ดูแลม็อบสวนยาง
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม ให้สัมภาษณ์ก่อนเดินทางเยือนสมาพันธรัฐสวิส สาธารณรัฐอิตาลี นครรัฐวาติกัน และ สาธารณรัฐมอนเตเนโกร ระหว่างวันที่ 8-15 ก.ย. นี้ ว่าได้กำชับรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องดูผู้ชุมนุมชาวสวนยางโดยเฉพาะ พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก รองนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่รักษาการนายกฯ ขณะที่เดินทางไปต่างประเทศ ตนก็จะติดตามสถานการณ์ว่าเป็นอย่างไรบ้าง ด้วยความเป็นห่วงทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้องซึ่งทราบภารกิจอยู่แล้ว เชื่อว่าทุกส่วนจะช่วยกันดูแลได้
ถามว่า รัฐบาลจะทำตามข้อเรียกร้อง 4 ข้อ ของเกษตรกรได้ทันเวลา 7 วันหรือไม่ นายกฯ กล่าวว่า ต้องยืนยันตามที่คณะกรรมการแก้ไขปัญหายางพารา ที่ได้ไปประชุมร่วมกับเกษตรกรตัวจริง
แกนนำยางย้ำจุดยืนชุมนุม 14 ก.ย. ขอ 95 บาท
ขณะที่ความเคลื่อนไหวของเครือข่ายชาวสวนยางและปาล์มน้ำมัน 4 จังหวัดภาคใต้ตอนบน วานนี้ (8 ก.ย.) นายสันทัด เดชเกิด แกนนำชาวสวนยาง อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ตัวแทนเครือข่ายชาวสวนยางและปาล์มน้ำมัน 4 จังหวัดภาคใต้ตอนบน กล่าวว่า เครือข่ายชาวสวนยาง 16 จังหวัดภาคใต้ จะชุมนุมใหญ่วันที่ 14 ก.ย. นี้ คาดว่าจะได้ข้อยุติในข้อเรียกร้อง หลังจากเครือข่ายฯ ได้ประชุมล่าสุดที่ อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช และยื่นขอประกันราคายางที่กิโลกรัมละ 95 บาท จากเดิมราคา 90 บาท
สมาคมสหพันธ์ชาวสวนยางจี้รัฐจ่ายส่วนต่าง
ด้าน นายบุญส่ง นับทอง นายกสมาคมสหพันธ์ชาวสวนยางแห่งประเทศไทย กล่าวว่า หลังจากที่รัฐบาลรับประกันราคาที่ 90 บาทต่อกิโลกรัม จากการสอบถามสมาคมชาวสวนยาง 24 จังหวัดทั่วประเทศเห็นตรงกัน คือ รับได้ที่ 90 บาท แม้จะต่ำกว่าราคาที่สมาคมฯ เสนอไป แต่สิ่งที่รัฐบาลต้องดำเนินการคือเร่งช่วยเหลือ ว่าจะดำเนินการอย่างไร และให้เร็วที่สุด เนื่องจากเกษตรกรรอการช่วยเหลืออยู่
สำหรับข้อเสนอของสมาคมฯ คือ การจ่ายชดเชยส่วนต่าง ให้ถึงมือเกษตรกรรายย่อยจริงๆ โดยให้เกษตรกรขายผ่านตลาดกลางยางพารา ทั้ง 7 แห่งทั่วประเทศ และตลาดสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง 180 จุด โดยใช้รายชื่อการขึ้นทะเบียนของเกษตรกรรายย่อย ที่มีสวนยางตั้งแต่ 1 ไร่ แต่ไม่เกิน 25 ไร่ต่อครอบครัว
"จากการคำนวณจากราคายางที่ 78 บาทต่อกิโลกรัม ณ วันนี้ รัฐบาลต้องชดเชยกิโลกรัมละ 12 บาท หากคำนวณผลผลิตที่ 270 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี คูณด้วยเงินชดเชย 12 บาทต่อกิโลกรัม คูณด้วย 25 ไร่ หารด้วย 12 เดือน เกษตรกรจะได้เงินชดเชยที่ 6,750 บาทต่อรายต่อเดือน เป็นเวลา 7 เดือน"
การประเมินผลผลิตยางช่วง 7 เดือน ที่ผลผลิตยาง 1 ล้านตัน ใช้เงิน 12,000 ล้านบาท
อ้างอิง http://www.bangkokbi...มนุม14ก.ย..html
ไอ้ป๊อดเอ๊ย เริ่มต้นก็เสียเครดิตแล้วว่ะ
ไปเปิดหนังสือพิมพ์ฉบับกระดาษดูครับว่า souce มันมาจาก สศก หรือเปล่า
สงสัยวันๆ ไม่เคยอ่านหนังสือพิมพ์ เป็นแต่ google
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:04
แสดงว่าดูแต่ภาพ ไม่อ่านบทความเลยสินะ
วันนึงวันนึง ผมอ่านหนังสือพิมพ์มากกว่าคุณเยอะหล่ะครับ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:06
ไปเปิดหนังสือพิมพ์ฉบับกระดาษดูครับว่า souce มันมาจาก สศก หรือเปล่า
สงสัยวันๆ ไม่เคยอ่านหนังสือพิมพ์ เป็นแต่ google
ก็ไม่ว่างขนาดเปิดหนังสือพิมพ์นี่หว่า แต่ก็สามารถหาได้แล้วกัน ว่าแต่แปะเฉย ๆ จะสื่อว่าข้อมูลนี้เท็จหรือเปล่า ใช่ไหม
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:06
แสดงว่าดูแต่ภาพ ไม่อ่านบทความเลยสินะ
วันนึงวันนึง ผมอ่านหนังสือพิมพ์มากกว่าคุณเยอะหล่ะครับ
จินตนาการน้ำแตกได้อีก ไปรู้ได้ไงว่าเค้าอ่านหนังสือพิมพ์วันละกี่ฉบับ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:07
แสดงว่าดูแต่ภาพ ไม่อ่านบทความเลยสินะ
วันนึงวันนึง ผมอ่านหนังสือพิมพ์มากกว่าคุณเยอะหล่ะครับ
อ๋อ... อาชีพอ่านหนังสือพิมพ์ อ่านยี่ห้ออะไรบ้างล่ะ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:08
แสดงว่าดูแต่ภาพ ไม่อ่านบทความเลยสินะ
วันนึงวันนึง ผมอ่านหนังสือพิมพ์มากกว่าคุณเยอะหล่ะครับ
อ่านมาก ก็ไม่ได้หมายความว่า จะฉลาดนะ ดูคุณเป็นตัวอย่างแล้ว คงบอกได้ว่า ยิ่งอ่านยิ่งโง่ เพราะเหตุและผลห่วยมากทีเดียว
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:09
แสดงว่าดูแต่ภาพ ไม่อ่านบทความเลยสินะ
วันนึงวันนึง ผมอ่านหนังสือพิมพ์มากกว่าคุณเยอะหล่ะครับ
จินตนาการน้ำแตกได้อีก ไปรู้ได้ไงว่าเค้าอ่านหนังสือพิมพ์วันละกี่ฉบับ
ผมฟังก็รู้แล้วครับว่าเขาปกติเขาไม่ได้อ่านหนังสือพิมพ์วันละหลายๆ ฉบับเหมือนผม
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:13
แสดงว่าดูแต่ภาพ ไม่อ่านบทความเลยสินะ
วันนึงวันนึง ผมอ่านหนังสือพิมพ์มากกว่าคุณเยอะหล่ะครับ
จินตนาการน้ำแตกได้อีก ไปรู้ได้ไงว่าเค้าอ่านหนังสือพิมพ์วันละกี่ฉบับ
ผมฟังก็รู้แล้วครับว่าเขาปกติเขาไม่ได้อ่านหนังสือพิมพ์วันละหลายๆ ฉบับเหมือนผม
แล้วตกลง จะวิพากษ์ได้ยังว่าไอ้ข้อมูลที่เอามาแปะ มันบอกอะไรมั่ง
หรือแปะ มั่ว ๆ ไปงั้น ลิ้งค์ก็ไม่มี หรือ ไปเอาของคนอื่นมาอีกที
เค้าอ้างยังไง ก็อ้าง ๆ ตามเค้าไป
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:14
แสดงว่าดูแต่ภาพ ไม่อ่านบทความเลยสินะ
วันนึงวันนึง ผมอ่านหนังสือพิมพ์มากกว่าคุณเยอะหล่ะครับ
จินตนาการน้ำแตกได้อีก ไปรู้ได้ไงว่าเค้าอ่านหนังสือพิมพ์วันละกี่ฉบับ
ผมฟังก็รู้แล้วครับว่าเขาปกติเขาไม่ได้อ่านหนังสือพิมพ์วันละหลายๆ ฉบับเหมือนผม
อ่านพวกความจริงวันนี้สินะ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:20
แล้วตกลง จะวิพากษ์ได้ยังว่าไอ้ข้อมูลที่เอามาแปะ มันบอกอะไรมั่ง
หรือแปะ มั่ว ๆ ไปงั้น ลิ้งค์ก็ไม่มี หรือ ไปเอาของคนอื่นมาอีกที
เค้าอ้างยังไง ก็อ้าง ๆ ตามเค้าไป
กราฟฟิกเขาทำมา self-explained อยู่แล้วนี่ครับ
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:20
ขออภัย ที่ผม ไม่เชื่อ ข้อมูล ของ เจ้าของกระทู้
ต้นทุนการผลิต บาท/ตัน ของข้าว 10,685
สูงเกินจริง
และ ต้นทุนการผลิต บาท/ตัน ของยาง 64,190
ต่ำ เกินจริง
ผมว่า วันนั้น ถ้าคุณเจ้าของกระทู้ ยังเป็นคนเดิม
คงจำได้ว่า ผมเคย นำข้อมูลค่าแรง มาแย้งแล้ว
ตอนที่ท่าน บอกว่า ต้นทุน ยาง ต่อ กก. เป็น 50.57
ในปี 2550 แล้ว มีค่าแรง อยู่ 60.45% ผมได้เทียบ ตารางค่าแรง
ในปี 2550 ให้ดูแล้วว่า ค่าแรง พุ่งสูงขึ้น ใน ปัจจุบัน เป็น ประมาณ 180-190%
ซึ่งทำให้ ต้นทุน สูงขึ้น เป็น ( (50.57 x 60.45/100 x 185/100) + 50.57 x 39.55/100) = 76.55 โดยประมาณ
ซึ่ง เมื่อเทียบต่อตัน ต้องประมาณ 76,550 ไม่ใช่ 64,190
และต้นทุน ทำนา ผมเคยลงให้ดู แล้วว่า
4,000- 8,000 เขาก็ทำกันมาได้
http://www.oknation....t.php?id=828773
http://www.chiangrai...?topic=308470.0
ผมถามว่า ถ้า ต้นทุน เป็นตัน ละ 10,685 ในสมัย อภิสิทธิ์
ทำไม ราคาตลาดเฉลี่ย ถึงเป็น 8-9000 บาท ได้
นอกเสียจากว่า ทุกขั้นตอน ของการทำนา เป็นการ จ้างทำ ทั้งหมด
Edited by ทรงธรรม, 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:22.
ขอให้พวกเรา ชาวหลากสี และพันธมิตร จงมีชีวิตรอด จากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ฝีมือปูนา ไปตลอดรอดฝั่งด้วยครับ
PEMDAS ย่อมาจาก ลำดับการคำนวณ Parentheses , Exponentials , Multiply , Divide , Add , Subtract
FWGHSO ย่อมาจาก ลำดับการประเมินผลของ query FROM, WHERE, GROUP BY, HAVING, SELECT, ORDER BY
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:21
แล้วตกลง จะวิพากษ์ได้ยังว่าไอ้ข้อมูลที่เอามาแปะ มันบอกอะไรมั่ง
หรือแปะ มั่ว ๆ ไปงั้น ลิ้งค์ก็ไม่มี หรือ ไปเอาของคนอื่นมาอีกที
เค้าอ้างยังไง ก็อ้าง ๆ ตามเค้าไป
กราฟฟิกเขาทำมา self-explained อยู่แล้วนี่ครับ
ตกลงว่าลอกเค้ามาอีกทีใช่ม่ะ...
ถึงไม่ยอมให้ลิ้งค์มา..
เห็นเค้าอ้างกรุงเทพฯ ธุรกิจ เลยอ้าง ๆ ตามเค้าไปมั่ง
กราฟฟิค มันเป็นตัวเลขรวม ๆ ...ก็ใช้คำว่า self-explained แล้วรึ
รายละเอียดในนั้นมันมีที่มาที่ไปตั้งแยะ
มิน่า ถึงได้เขียนไรส่งเดชไปเรือย
Edited by 55555, 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:23.
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:28
"นโยบายจำนำข้าวที่สูงเกินจริง สร้างบรรทัดฐานใหม่ให้คนไทย"
ประมูลข้าวเปลือกทำข้าวนึ่งราคาถูก กดราคาในตลาดเหลือ 8,300 บาทต่อตัน โรงสีมั่นใจโกดังพอ
แหล่งข่าวจากสมาคมโรงสีข้าวไทย เปิดเผยว่า การที่กระทรวงพาณิชย์เปิดประมูลข้าวเปลือกเจ้าเพื่อนำไปทำเป็นข้าวนึ่งส่งออกนั้น ราคาที่เอกชนประมูลได้อยู่ที่ 8,450-8,500 บาทต่อตัน จากราคาตลาดที่ข้าวเปลือกในตลาดที่อยู่ที่ 1 หมื่นบาทต่อตัน ส่งผลให้ข้าวเปลือกในท้องตลาดลดลงเหลือ 8,300-8,400 บาทต่อตัน
“เอกชนที่ประมูลซื้อข้าวเปลือกได้ เขาบอกว่าเสนอราคาไปที่ 8,450 บาทต่อตัน เมื่อรัฐบาลขายข้าวเปลือกไป ก็กลายเป็นว่าราคาข้าวที่ขายไปนั้นเป็นราคาชี้นำตลาดไป ทำให้ราคาข้าวเปลือกตกลงทั้งตลาด”แหล่งข่าวเปิดเผย
แหล่งข่าวยังเปิดเผยว่า เชื่อว่าขณะนี้รัฐบาลน่าจะเหลือข้าวสารในสต๊อกไม่ถึง 15-17 ล้านตัน เพราะล่าสุดรองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ ระบุว่า รัฐบาลมีข้าวสารต่ำกว่า 10 ล้านตัน แต่หากกระทรวงพาณิชย์ระบายข้าวออกไปจำนวนมากจริง แต่ส่งเงินคืนเพียง 1.4 แสนล้านบาท เท่ากับว่ารัฐบาลขาดทุนจากการขายข้าวในวงเงินที่สูง
นายมานัส กิจประเสริฐ นายกสมาคมโรงสีข้าวไทย กล่าวว่า การส่งข้าวสารเข้าโกดังกลางไม่มีปัญหาเหมือนเมื่อช่วงต้นปีที่แล้ว เห็นได้จากเมื่อรถขนส่งข้าวสารไปถึงโกดังจะลงข้าวได้ในเวลาไม่กี่ชั่วโมง ส่วนข้าวสารในฤดูกาลใหม่ที่จะเข้าโครงการตั้งแต่เดือน ต.ค.นั้น ไม่น่าจะมีปัญหาเช่นกัน เพราะมีการจำกัดปริมาณรับจำนำต่อราย
ทั้งนี้ โครงการรับจำนำข้าวที่ผ่านมากำหนดปริมาณรับจำนำข้าวไม่เกิน 5 แสนบาทต่อครัวเรือน คิดเป็นปริมาณข้าวเปลือก 31-32 ตัน แต่เมื่อกระทรวงพาณิชย์ลดปริมาณเหลือไม่เกิน 3.5 แสนบาทต่อครัวเรือน จะคิดข้าวเปลือกที่เข้าโครงการจะเหลือ 23.3 ตันต่อราย เมื่อข้าวเปลือกไม่ได้เข้าโครงการทั้งหมด เชื่อว่ารัฐบาลจะมีที่เก็บข้าวเพียงพอ
จำนำมาเท่าไหร่ ขายเท่าไหร่ จำนำสูงเกินจริงหรือเปล่า
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:33
แค่เอาราคายางเกษตรกรที่ได้ไปคูณกับผลผลิตที่ได้ก้ะผิดแระคับ ราคาผลผลิตที่ได้มันมีหลายประเภท ขี้ยางก้ะครึ่งของราคายางเอง จะไปนับรวมราคาเท่ากันได้ไง นาปีนาปรังแยกชัดเจน แล้วยางไม่แยกแต่ละชนิดมา ข้อมูลเลยเชื่อถือไม่ได้
Edited by เซงกี่ เออเดะ, 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:48.
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:37
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:37
พื้นที่เพาะปลูก กับผลผลิต ของข้าวนาปี กับข้าวนาปรัง มันดูแย้งกันเหมือนคนทำรูปใส่ข้อมูลผิด ตามหลักน่าจะเป็น
ข้าวนาปี พื้นที่เพาะปลูก 57.4 ล้านไร่ ได้ผลผลิต 27 ล้านตัน เท่ากับปลูกข้าวได้ 0.47 ตันต่อไร่
ข้าวนาปรัง พื้นที่เพาะปลูก 18 ล้านไร่ ได้ผลผลิต 9.9 ล้านตัน เท่ากับปลูกข้าวได้ 0.55 ตันต่อไร่
ปกติข้าวเจ้า 1 ไร่ ปลูกได้ผลผลิตประมาณ 550-750 กิโลกรัมต่อไร่ เฉลี่ยๆ ก็ ราวๆ 600 เศษ
แต่ถ้าเป็นข้าวเหนียว หรือข้าวหอมมะลิก็จะปลูกได้ประมาณ 350-450 กิโลกรัม
รวมข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวหอมมะลิ ก็น่าจะได้ ผลเฉลี่ยๆ ราวๆ 550 กิโลกรัมต่อไร่
ซึ่งก็จะได้ผลใกล้เคียงกับสิ่งที่ผมเสนอ
ราคาที่เกษตรขายได้ รัฐบอกจำนำ 15,000 บาท แต่นี่ได้น้อยกว่าเห็นๆ แถมนาปรังยิ่งน้อยเวอร์
ผมเข้าใจว่ามีการหัก % ความชื้่นก็น่าจะได้ประมาณ 13,000 บาท
ส่วนยาง 87,150 บาทต่อตัน ผมไม่รู้เค้าคิดที่ราคายางอะไร แต่คิดว่าน่าจะเป็นยางแผ่นดิบ ก็เท่ากับ 87.15 บาทต่อกิโลกรัม
ซึ่งเกษตกร หลายรายก็ไมได้ขายยางแผ่นดิบได้ราคานี้แน่ๆ และบางรายก็ยังขายเป็นน้ำยางสดด้วย
ลองเอา ราคาเกษตรกรที่ขายได้ x ผลผลิต มันไม่เท่ากับ มูลค่าที่เค้าแสดง แต่ก็ใกล้เคียง แต่ของยาง ต่างกันเยอะหน่อย
พื้นที่เพราะปลูก ต่อจำนวนครัวเรือน
ข้าวนาปี 57.4 ล้านไร่ หาร 3,728,542 ครัวเรือน มีพื้นที่ 15.39 ไร่ต่อครัวเรือน
ข้าวนาปรัง 18 ล้านไร่ หาร 637,825 ครัวเรือน มีพื้นที่ 28.22 ไร่ต่อครัวเรือน
ยางพารา 16 ล้านไร่ หาร ครัวเรือน มีพื้นที่ 10.19 ไร่ต่อครัวเรือน
ต้นทุนการผลิต ต่อตัน ผมว่ามันน่าจะไม่ถูกต้อง
เท่าที่ผมรู้ ปลูกข้าว 1 ไร่ใช้เงินลงทุนประมาณ 3,500-4,500 บาท ผมตีว่า 4,000 บาทต่อไร่
ถ้าต่อไร่ผลผลิต 500 กิโลกรัม (จริงๆ ผมคิดว่าน่าจะได้ปริมาณมากกว่านี้ แต่เอาเพื่อคิดเลขง่าย)
ก็เท่ากับว่าข้าว 1 ตัน มีต้นทุนประมาณ 8,000 บาท แต่ในรูป 10,685 บาท ส่วนต่าง 2,685 บาท
คำนวณต่อ รายได้สุทธิ 4,398 บาท ต่อตัน
รายได้สุทธิต่อครัวเรือน 7.2 x 4,398 = 31,665 บาท
ปัญหาวิธีคิดแบบนี้คือมันดันลืมไปว่า
ปลูกข้าว 1 รอบใช้เวลาประมาณ 4 เดือนเศษ
แต่ปลูกยาง ต้องรอ 7 ปีก่อน แล้วผลผลิตที่แสดงมันเป็นผลผลิต 1 ปี
แล้วพื้นที่เพาะปลูกยาง มันมีแค่ 10.19 ไร่ต่อครัวเรือนมันน้อยกว่าข้าวอีก
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:39
แล้วตกลง จะวิพากษ์ได้ยังว่าไอ้ข้อมูลที่เอามาแปะ มันบอกอะไรมั่ง
หรือแปะ มั่ว ๆ ไปงั้น ลิ้งค์ก็ไม่มี หรือ ไปเอาของคนอื่นมาอีกที
เค้าอ้างยังไง ก็อ้าง ๆ ตามเค้าไป
กราฟฟิกเขาทำมา self-explained อยู่แล้วนี่ครับ
ตกลงว่าลอกเค้ามาอีกทีใช่ม่ะ...
ถึงไม่ยอมให้ลิ้งค์มา..
เห็นเค้าอ้างกรุงเทพฯ ธุรกิจ เลยอ้าง ๆ ตามเค้าไปมั่ง
กราฟฟิค มันเป็นตัวเลขรวม ๆ ...ก็ใช้คำว่า self-explained แล้วรึ
รายละเอียดในนั้นมันมีที่มาที่ไปตั้งแยะ
มิน่า ถึงได้เขียนไรส่งเดชไปเรือย
ลอกใครเหรอครับ?
ก็ผมกำลังอ่านหนังสือพิมพ์อยู่ ถ่ายมาให้ดูเสียเลย
Edited by ฉันคือคนดี, 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:39.
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:41
พื้นที่เพาะปลูก กับผลผลิต ของข้าวนาปี กับข้าวนาปรัง มันดูแย้งกันเหมือนคนทำรูปใส่ข้อมูลผิด ตามหลักน่าจะเป็น
ข้าวนาปี พื้นที่เพาะปลูก 57.4 ล้านไร่ ได้ผลผลิต 27 ล้านตัน เท่ากับปลูกข้าวได้ 0.47 ตันต่อไร่
ข้าวนาปรัง พื้นที่เพาะปลูก 18 ล้านไร่ ได้ผลผลิต 9.9 ล้านตัน เท่ากับปลูกข้าวได้ 0.55 ตันต่อไร่
ปกติข้าวเจ้า 1 ไร่ ปลูกได้ผลผลิตประมาณ 550-750 กิโลกรัมต่อไร่ เฉลี่ยๆ ก็ ราวๆ 600 เศษ
แต่ถ้าเป็นข้าวเหนียว หรือข้าวหอมมะลิก็จะปลูกได้ประมาณ 350-450 กิโลกรัม
รวมข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวหอมมะลิ ก็น่าจะได้ ผลเฉลี่ยๆ ราวๆ 550 กิโลกรัมต่อไร่
ซึ่งก็จะได้ผลใกล้เคียงกับสิ่งที่ผมเสนอ
ราคาที่เกษตรขายได้ รัฐบอกจำนำ 15,000 บาท แต่นี่ได้น้อยกว่าเห็นๆ แถมนาปรังยิ่งน้อยเวอร์
ผมเข้าใจว่ามีการหัก % ความชื้่นก็น่าจะได้ประมาณ 13,000 บาท
ส่วนยาง 87,150 บาทต่อตัน ผมไม่รู้เค้าคิดที่ราคายางอะไร แต่คิดว่าน่าจะเป็นยางแผ่นดิบ ก็เท่ากับ 87.15 บาทต่อกิโลกรัม
ซึ่งเกษตกร หลายรายก็ไมได้ขายยางแผ่นดิบได้ราคานี้แน่ๆ และบางรายก็ยังขายเป็นน้ำยางสดด้วย
ลองเอา ราคาเกษตรกรที่ขายได้ x ผลผลิต มันไม่เท่ากับ มูลค่าที่เค้าแสดง แต่ก็ใกล้เคียง แต่ของยาง ต่างกันเยอะหน่อย
พื้นที่เพราะปลูก ต่อจำนวนครัวเรือน
ข้าวนาปี 57.4 ล้านไร่ หาร 3,728,542 ครัวเรือน มีพื้นที่ 15.39 ไร่ต่อครัวเรือน
ข้าวนาปรัง 18 ล้านไร่ หาร 637,825 ครัวเรือน มีพื้นที่ 28.22 ไร่ต่อครัวเรือน
ยางพารา 16 ล้านไร่ หาร ครัวเรือน มีพื้นที่ 10.19 ไร่ต่อครัวเรือน
ต้นทุนการผลิต ต่อตัน ผมว่ามันน่าจะไม่ถูกต้อง
เท่าที่ผมรู้ ปลูกข้าว 1 ไร่ใช้เงินลงทุนประมาณ 3,500-4,500 บาท ผมตีว่า 4,000 บาทต่อไร่
ถ้าต่อไร่ผลผลิต 500 กิโลกรัม (จริงๆ ผมคิดว่าน่าจะได้ปริมาณมากกว่านี้ แต่เอาเพื่อคิดเลขง่าย)
ก็เท่ากับว่าข้าว 1 ตัน มีต้นทุนประมาณ 8,000 บาท แต่ในรูป 10,685 บาท ส่วนต่าง 2,685 บาท
คำนวณต่อ รายได้สุทธิ 4,398 บาท ต่อตัน
รายได้สุทธิต่อครัวเรือน 7.2 x 4,398 = 31,665 บาท
ปัญหาวิธีคิดแบบนี้คือมันดันลืมไปว่า
ปลูกข้าว 1 รอบใช้เวลาประมาณ 4 เดือนเศษ
แต่ปลูกยาง ต้องรอ 7 ปีก่อน แล้วผลผลิตที่แสดงมันเป็นผลผลิต 1 ปี
แล้วพื้นที่เพาะปลูกยาง มันมีแค่ 10.19 ไร่ต่อครัวเรือนมันน้อยกว่าข้าวอีก
แล้วพวกที่ออกมาประท้วงเขาเพิ่งปลูกยางเมื่อวานเหรอครับ?
หลายปีที่ผ่านมาเขากำไรไปอื้อซ่าไม่รู้เท่าไหร่แล้ว ดันพยายามไปลากเอามาเป็นต้นทุนเขาอีก
Edited by ฉันคือคนดี, 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:41.
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:43
รวยแล้วเลยไม่ต้องช่วย
โธ่ ไอ้หัว___ คิดมาได้ยังไง?
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:43
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:50
เอาแค่พื้นที่เพาะปลูกก่อน... ว่าตรงหรือเปล่า
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 16:02
พื้นที่เพาะปลูก กับผลผลิต ของข้าวนาปี กับข้าวนาปรัง มันดูแย้งกันเหมือนคนทำรูปใส่ข้อมูลผิด ตามหลักน่าจะเป็น
ข้าวนาปี พื้นที่เพาะปลูก 57.4 ล้านไร่ ได้ผลผลิต 27 ล้านตัน เท่ากับปลูกข้าวได้ 0.47 ตันต่อไร่
ข้าวนาปรัง พื้นที่เพาะปลูก 18 ล้านไร่ ได้ผลผลิต 9.9 ล้านตัน เท่ากับปลูกข้าวได้ 0.55 ตันต่อไร่
ปกติข้าวเจ้า 1 ไร่ ปลูกได้ผลผลิตประมาณ 550-750 กิโลกรัมต่อไร่ เฉลี่ยๆ ก็ ราวๆ 600 เศษ
แต่ถ้าเป็นข้าวเหนียว หรือข้าวหอมมะลิก็จะปลูกได้ประมาณ 350-450 กิโลกรัม
รวมข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวหอมมะลิ ก็น่าจะได้ ผลเฉลี่ยๆ ราวๆ 550 กิโลกรัมต่อไร่
ซึ่งก็จะได้ผลใกล้เคียงกับสิ่งที่ผมเสนอ
ราคาที่เกษตรขายได้ รัฐบอกจำนำ 15,000 บาท แต่นี่ได้น้อยกว่าเห็นๆ แถมนาปรังยิ่งน้อยเวอร์
ผมเข้าใจว่ามีการหัก % ความชื้่นก็น่าจะได้ประมาณ 13,000 บาท
ส่วนยาง 87,150 บาทต่อตัน ผมไม่รู้เค้าคิดที่ราคายางอะไร แต่คิดว่าน่าจะเป็นยางแผ่นดิบ ก็เท่ากับ 87.15 บาทต่อกิโลกรัม
ซึ่งเกษตกร หลายรายก็ไมได้ขายยางแผ่นดิบได้ราคานี้แน่ๆ และบางรายก็ยังขายเป็นน้ำยางสดด้วย
ลองเอา ราคาเกษตรกรที่ขายได้ x ผลผลิต มันไม่เท่ากับ มูลค่าที่เค้าแสดง แต่ก็ใกล้เคียง แต่ของยาง ต่างกันเยอะหน่อย
พื้นที่เพราะปลูก ต่อจำนวนครัวเรือน
ข้าวนาปี 57.4 ล้านไร่ หาร 3,728,542 ครัวเรือน มีพื้นที่ 15.39 ไร่ต่อครัวเรือน
ข้าวนาปรัง 18 ล้านไร่ หาร 637,825 ครัวเรือน มีพื้นที่ 28.22 ไร่ต่อครัวเรือน
ยางพารา 16 ล้านไร่ หาร ครัวเรือน มีพื้นที่ 10.19 ไร่ต่อครัวเรือน
ต้นทุนการผลิต ต่อตัน ผมว่ามันน่าจะไม่ถูกต้อง
เท่าที่ผมรู้ ปลูกข้าว 1 ไร่ใช้เงินลงทุนประมาณ 3,500-4,500 บาท ผมตีว่า 4,000 บาทต่อไร่
ถ้าต่อไร่ผลผลิต 500 กิโลกรัม (จริงๆ ผมคิดว่าน่าจะได้ปริมาณมากกว่านี้ แต่เอาเพื่อคิดเลขง่าย)
ก็เท่ากับว่าข้าว 1 ตัน มีต้นทุนประมาณ 8,000 บาท แต่ในรูป 10,685 บาท ส่วนต่าง 2,685 บาท
คำนวณต่อ รายได้สุทธิ 4,398 บาท ต่อตัน
รายได้สุทธิต่อครัวเรือน 7.2 x 4,398 = 31,665 บาท
ปัญหาวิธีคิดแบบนี้คือมันดันลืมไปว่า
ปลูกข้าว 1 รอบใช้เวลาประมาณ 4 เดือนเศษ
แต่ปลูกยาง ต้องรอ 7 ปีก่อน แล้วผลผลิตที่แสดงมันเป็นผลผลิต 1 ปี
แล้วพื้นที่เพาะปลูกยาง มันมีแค่ 10.19 ไร่ต่อครัวเรือนมันน้อยกว่าข้าวอีก
แล้วพวกที่ออกมาประท้วงเขาเพิ่งปลูกยางเมื่อวานเหรอครับ?
หลายปีที่ผ่านมาเขากำไรไปอื้อซ่าไม่รู้เท่าไหร่แล้ว ดันพยายามไปลากเอามาเป็นต้นทุนเขาอีก
ผมต้องการแย้งว่า ข้อมูลที่แสดงมา มันมีจุดผิด โดยเน้นที่ราคาข้าวเป็นหลัก
ส่วนยางก็แย้งเรื่องราคาที่แสดงกับราคาขายจริง
ทุกคนลงทุนแล้วก็ต้องการกำไร
แต่ยางพารากำไรอื้อซ่าจริงๆ ก็แค่ 2 ปีตอนสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ เค้าเรียกว่าฝีมือการบริหาร
แต่ตอนนี้สมัยรัฐบาลปู มันเป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่จะต้องช่วยเหลือประชาชน
โดยไม่เลือกว่าเป็นฝ่ายไหน โดยมีอยู่บนหลักของความเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพคุ้มค่ากับการลงทุน
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 16:03
เอาแค่พื้นที่เพาะปลูกก่อน... ว่าตรงหรือเปล่า
Good catch. However that number is not relevant. The later calculation does not depend on that number. Don't you agree?
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 16:08
Souce: กรุงเทพธุรกิจ 9/9/2556
เป็นข้อมูลเชิงเดียวหรือเชิงซ้อน ชาวนามีอาชีพเดียวเหมือนสมัยก่อนหรือเปล่า ชาวสวนยาง(ไม่ใช่เจ้าของสวนนะ)ประกอบอาชีพเดียวหรือเปล่า
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 16:08
เอาแค่พื้นที่เพาะปลูกก่อน... ว่าตรงหรือเปล่า
Good catch. However that number is not relevant. The later calculation does not depend on that number. Don't you agree?
อันอื่นยังไม่ได้ดู... แต่ก็ไปทำกราฟฟิกให้ถูกต้องก่อนดีกว่ามั้ง ไม่รู้ที่เหลือจะมีสับขาหลอกอีกป่าว... รัฐบาลนี้ยิ่งปั้นเก่งอยู่ด้วย
Edited by HiddenMan, 9 กันยายน พ.ศ. 2556 - 16:08.
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน