จริงหรือไม่ครับที่ร่างพรบกู้เงินสองล้านล้านยังไม่มีเอกสารรายละเอียดโครงการ
#1
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 04:21
#2
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 05:04
ส.ส ข้างรัฐบาล อ่านหนังสือเกิน 8 บรรทัดด้วยเหรอคะ
#4
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 06:32
ผมเพิ่งอัดควายแดง ข้างบ้านไปเรื่องกู้เงินตอนกินข้าว มาครับ
ด้วยคำถามง่ายๆว่า หากเมิง จะสร้างบ้าน แล้วบริษัทบอกว่า เอาเงินมาสำหรับบ้าน แบบนี้ 3 ล้านบาท
เมิงจะให้เงินเค้าทันที เลย โดยไม่ต้องดู แบบ และสเปคของเลยใช่มั้ย
มันเงียบไปเลยครับ แต่มันก็ยัง หลงหัวปลักหัวปลำ เหมือนเดิม
- notcomeng, whiskypeak, แอบดูที่รูเดิม and 1 other like this
#5
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 06:45
ครั้งสุดท้ายที่ได้ยินเรื่องเอกสารประกอบการกู้ สัก3-4เดือนมาแล้ว
มีอยู่8-9หน้า ต่อการกู้ 2.2ล้านๆ
คาดว่า เอกสารที่สมบูรณ์ จะต้องขอดูจากบ. ที่ประมูลงานได้
เพราะนส.ปู มีหน้าที่เลือกบ.ที่จะมาทำ และจ่ายเงินให้ .....เท่านั้น (เท่านี้)
- จันทรา อุษาคเนย์ likes this
ประโยชน์สูงสุดของประชาชน คือกฏหมายสูงสุดของประเทศ ...วิชา มหาคุณ
#6
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 06:58
กู้เงินมหาศาล ยังขี้เกี่ยจทำการบ้าน มีเอกสาร 11 แผ่น แล้วมันจะเอารายละเอียดอะไรล่ะเพ่
http://thaipublica.o...-trillion-baht/
- จันทรา อุษาคเนย์ and พอล คุง like this
#7
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 07:34
เอกสารยังไม่ได้แนบอยู่ในกฏหมายเงินกู้เลย ยังแยกกันอยู่ ต้องแนบเป็นแผ่นในกฏหมาย ไม่ใช่แนบเป็นเล่ม ถ้าจะแนบเป็นเล่ม ต้องระบุในกฏหมายว่า เล่มนั้น เล่มนี้ มีกี่หน้า พร้อมเป็นส่วนหนึ่งของกฏหมาย เหมือนหนังสือสัญญา ไม่รู้ต้องเซ็นชื่อกำกับทุกแผ่นในเล่มหรือเปล่า
ถ้าไม่ระบุว่าเป็นส่วนหนึ่งของกฏหมาย เอกสารนี้ก็พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงได้ทุกเมื่อ เช่น เปลี่ยนรัฐบาลใหม่ ก็เปลี่ยนเอกสารใหม่ให้สอดคล้องกับกฏหมายที่เขียนไว้เท่านั้น เราอาจได้รถไฟฟ้าจากกทม.ไปกาญจนบุรีแทนก็ได้
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#8
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:38
ก็เหมือนอนุมัติเซ็นเช๊คเปล่า แล้วแต่ท่านจะเอาไปมั่วซองตามอัธยาศัย
- DarkSwan and ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่ like this
#9
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:49
กู้เงินมหาศาล ยังขี้เกี่ยจทำการบ้าน มีเอกสาร 11 แผ่น แล้วมันจะเอารายละเอียดอะไรล่ะเพ่
http://thaipublica.o...-trillion-baht/
ป๊าดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด
โครงการ 2.2 ล้านล้าน มีเอกสาร 11 แผ่น
ตอน ปชป กู้ทำไทยเข็มแข็ง เอกสารเป็นปึก ๆ แจกกันให้ควัก
พรรคเพื่อไทย ยังค้านแล้วค้านอีก
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
#10
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:56
หัวใจหลักของ พรบ. 2 ล้านล้านบาท คือการให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงิน 2 ล้านล้านบาท โดยมีกรอบการใช้เงิน 7 ปี
แต่ปัญหาคือ ตัวโครงการส่วนใหญ่ มีรายละเอียดแค่ว่า จะทำโครงการอะไร แต่รายละเอียดที่ชัดเจน ของแต่ละโครงการยังไม่มี
อีกทั้ง มันอยู่ในส่วนเอกสารแนบ ซึ่งเอกสารแนบนี้ มันไม่บังคับว่าจะต้องปฏิบัติจริงก็ได้ ทำให้แก้ไขรายละเอียดได้
เช่น บอกว่า จะสร้าง รถไฟฟ้าความเร็วสูง กรุงเทพ-เชียงใหม่ แต่จริงอาจจสร้าง กรุงเทพ-นครสวรรค์ ก็ทำได้
นอกจากนี้ ยังมีปัญหาอีกว่า ระยะเวลาแค่ 7 ปี จะสามารถใช้งบประมาณมหาศาลนั้นได้อย่างไร
ยกตัวอย่าง ง่ายๆ หน่วยราชการต่างๆ ปกติก็จะของงบไปทำโครงการ ก็จะเขียนโครงการมา พอได้เงินไปก็เอาเงินไปใช้ตามโครงการนั้นๆ
ซึ่ง ก็มีให้เห็นออกบ่อยว่า หน่วยราชการ เบิกจ่ายงบไปได้ไม่ได้ตามแผนงาน หรือนั้ใช้งบไม่หมด
นี่แค่ตัวอย่าง 1 ปี แล้ว 7 ปี มันจะมีเงินมหาศาลและจะใช้เงินเหล่านี้ได้อย่างไร
แทนที่จะเขียนเป็นแผนงาน แยกออกเป็นแต่ละโครงการ แล้วระบุว่าโครงการนี้จะใช้เงินเท่าไหร่ มีรายละเอียดที่ลงชัดเจนมากกว่านี้
ระบุงบผูกพันปีต่อปี ซึ่งยืดหยุ่นได้ ในกรณีที่แผนการทำไปแล้วมีปัญหา ต้องปรับเปลี่ยนแก้ไข ซึ่งจะแสดงเหตุและผลที่ต้องปรับแก้ไข
อีกทั้งยังตรวจสอบการใช้จ่ายได้ชัดเจนกว่าการออก พรบ. 2 ล้านล้านบาท ที่จะเหมาะรวมหลายโครงการ จะตรวจสอบการใช้จ่ายเงินยากกว่า
คิดว่ารัฐบาลนี้มีความโปร่งใส่ในการทำงานหรือเปล่า ?
ขนาดขายข้าว G to G ยังปกปิด ,สต๊อกข้าวในโกดัง หายไปหลายล้านตันยังตรวจสอบไม่ได้
แล้วโครงการที่มีเงินมหาศาลแบบนี้คิดหรือว่าจะไม่มีปัญหาการรั่วไหล
Edited by Majestic, 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 10:01.
- sunset, เรื่อยๆเอื่อยๆ and ธรรมรักษา like this
#11
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 10:12
กู้เงินมหาศาล ยังขี้เกี่ยจทำการบ้าน มีเอกสาร 11 แผ่น แล้วมันจะเอารายละเอียดอะไรล่ะเพ่
http://thaipublica.o...-trillion-baht/
ป๊าดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด
โครงการ 2.2 ล้านล้าน มีเอกสาร 11 แผ่น
ตอน ปชป กู้ทำไทยเข็มแข็ง เอกสารเป็นปึก ๆ แจกกันให้ควัก
พรรคเพื่อไทย ยังค้านแล้วค้านอีก
ผมไปกู้เงินแบ็งค์ไม่กี่ล้าน ยังทำเอกสารมากกว่ามันอีก..
มักง่ายชิ-บ หา-ย ไอ้พรรคชั่วนี่
- แอบดูที่รูเดิม likes this
#12
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 10:26
ผมก็ขอยืนยัน คำถามผมครับ ว่า
ฝ่ายค้าน ลดงบเหลือ สี่แสน ถ้ารัฐบาลทำไม่ได้ ก็ให้ฝ่ายค้านทำซะ
หลักแสน กับ หลักล้าน ดูง่ายๆว่าใครสามารถลดภาระหนี้สิ้นให้กับประเทศได้(ทั้งๆที่เป็นนโยบายของรัฐบาล)
- อย่าหลอกตัวเอง likes this
#13
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 10:41
ผมจะกู้เงินแบงค์ยังต้องทำรายละเอียดมากกว่านี้เลย
ตัวเลขห่างกันนับหลายล้านเท่า
#14
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 10:54
สงสัยจะรีบจัด กลัวงาบได้ไม่ทันเวลา เดี๋ยวจะอดซะก่อน
แดงกลายพันธุ์ แดงลอยคอกลางทะเล กำลังดิ้นเฮือกสุดท้าย อาการจะเป็นอย่างไร รอดูกันไปครับ
#15
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:13
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
#16
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:18
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
ถ้าเอาความเห็นนี้ไปต่อท้ายเอกสาร 11 แผ่น จะเพิ่มความความสมบูรณ์และความน่าเชื่อถือได้อีกเยอะเลย
- เรื่อยๆเอื่อยๆ likes this
#17
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:22
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
ถ้าเอาความเห็นนี้ไปต่อท้ายเอกสาร 11 แผ่น จะเพิ่มความความสมบูรณ์และความน่าเชื่อถือได้อีกเยอะเลย
คุ้มค่าการลงทุนเลยครับ... ว่าแต่วิธีแบบดอนยอว่านี่ เขาประเมินงบประมาณกันยังไงครับ แล้วไม่ต้องศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรอครับแบบนี้
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
#18
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:51
ไม่สนใจผลกระทบสิ่งแวดล้อม ความเห็นของคนในพื้นที่ เป็นโครงการเเบ่งกันรวยของไฮโซเเดง
รำคาญสลิ่มเที่ยมที่เข้ามาปล่อยสารพิษเรียกร้องความรุนเเรงเสดงออกถึงความคลั่งสงครามกลางเมืองยุเเยงสร้างภาพชั่วๆ
เอียนวะ เห็นคนเเถวนี้ไอคิวต่ำกว่า 90 หรือไง
#20
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 12:08
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
เห็นช่องว่างบานเลยล่ะครับนั่น
ประเด็นนี้เป็นเรื่องสำคัญมากๆนะครับ ถ้าหากจะเน้นความรวดเร็ว ทำไมไม่ให้เอกชนแข่งขันกันเอง
เมื่อเอกชนแข่งขันกัน ข้อมูลและรายละเอียด จะมีให้เห็นมากกว่านี้ ไม่ใช่เอกสารเจ็ดแปดแผ่น เหมือนที่รัฐบาลกำลังทำ
ผมฟังคุณ เกียรติ สิทธิอมร แปรญัตติแล้วเห็นปัญหาที่เกิดขึ้น ในการดันร่าง พรบ เงินกู้ชัดเจนนะครับ
ปัญหาเกิดจากนโยบายของรัฐบาลที่ไม่มีการวางแผนในโครงการ ไม่ได้เกิดจากต้องการความรวดเร็วครับ
และถ้างบประมาณไม่มีการตรวจสอบ ปัญหาที่ตามมามันจะบานปลายมากกว่านี้ครับ
#21
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 12:40
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
เห็นช่องว่างบานเลยล่ะครับนั่น
ประเด็นนี้เป็นเรื่องสำคัญมากๆนะครับ ถ้าหากจะเน้นความรวดเร็ว ทำไมไม่ให้เอกชนแข่งขันกันเอง
เมื่อเอกชนแข่งขันกัน ข้อมูลและรายละเอียด จะมีให้เห็นมากกว่านี้ ไม่ใช่เอกสารเจ็ดแปดแผ่น เหมือนที่รัฐบาลกำลังทำ
ผมฟังคุณ เกียรติ สิทธิอมร แปรญัตติแล้วเห็นปัญหาที่เกิดขึ้น ในการดันร่าง พรบ เงินกู้ชัดเจนนะครับ
ปัญหาเกิดจากนโยบายของรัฐบาลที่ไม่มีการวางแผนในโครงการ ไม่ได้เกิดจากต้องการความรวดเร็วครับ
และถ้างบประมาณไม่มีการตรวจสอบ ปัญหาที่ตามมามันจะบานปลายมากกว่านี้ครับ
การแข่งหรือการประมูลคงต้องมีอยู่แล้ว ตามระเบียบราชการ คงไม่ใช้วิธีจ้างพิเศษแน่นอนเพราะเป็นโครงการขนาดใหญ่
ตรงไหนมีปัญหาหรือช่องโหว่ ทุกฝ่ายน่าจะเข้าไป ช่วยกันตรวจสอบ ตรงนั้น อย่างเข็มงวด
มันน่าจะดีกว่าที่จะมาพยายามขัดขวางโครงการ เพราะหลายฝ่ายก็มองกันว่าโครงการนี้ก็มีประโยชน์ไม่น้อย
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
#22
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 12:47
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
เห็นช่องว่างบานเลยล่ะครับนั่น
ประเด็นนี้เป็นเรื่องสำคัญมากๆนะครับ ถ้าหากจะเน้นความรวดเร็ว ทำไมไม่ให้เอกชนแข่งขันกันเอง
เมื่อเอกชนแข่งขันกัน ข้อมูลและรายละเอียด จะมีให้เห็นมากกว่านี้ ไม่ใช่เอกสารเจ็ดแปดแผ่น เหมือนที่รัฐบาลกำลังทำ
ผมฟังคุณ เกียรติ สิทธิอมร แปรญัตติแล้วเห็นปัญหาที่เกิดขึ้น ในการดันร่าง พรบ เงินกู้ชัดเจนนะครับ
ปัญหาเกิดจากนโยบายของรัฐบาลที่ไม่มีการวางแผนในโครงการ ไม่ได้เกิดจากต้องการความรวดเร็วครับ
และถ้างบประมาณไม่มีการตรวจสอบ ปัญหาที่ตามมามันจะบานปลายมากกว่านี้ครับ
การแข่งหรือการประมูลคงต้องมีอยู่แล้ว ตามระเบียบราชการ คงไม่ใช้วิธีจ้างพิเศษแน่นอนเพราะเป็นโครงการขนาดใหญ่
ตรงไหนมีปัญหาหรือช่องโหว่ ทุกฝ่ายน่าจะเข้าไป ช่วยกันตรวจสอบ ตรงนั้น อย่างเข็มงวด
มันน่าจะดีกว่าที่จะมาพยายามขัดขวางโครงการ เพราะหลายฝ่ายก็มองกันว่าโครงการนี้ก็มีประโยชน์ไม่น้อย
กู้เงินลักษณะนี้ สามารถตรวจสอบได้อย่างเข้มงวดด้วยหรือครับ
#24
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 12:50
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
เห็นช่องว่างบานเลยล่ะครับนั่น
ประเด็นนี้เป็นเรื่องสำคัญมากๆนะครับ ถ้าหากจะเน้นความรวดเร็ว ทำไมไม่ให้เอกชนแข่งขันกันเอง
เมื่อเอกชนแข่งขันกัน ข้อมูลและรายละเอียด จะมีให้เห็นมากกว่านี้ ไม่ใช่เอกสารเจ็ดแปดแผ่น เหมือนที่รัฐบาลกำลังทำ
ผมฟังคุณ เกียรติ สิทธิอมร แปรญัตติแล้วเห็นปัญหาที่เกิดขึ้น ในการดันร่าง พรบ เงินกู้ชัดเจนนะครับ
ปัญหาเกิดจากนโยบายของรัฐบาลที่ไม่มีการวางแผนในโครงการ ไม่ได้เกิดจากต้องการความรวดเร็วครับ
และถ้างบประมาณไม่มีการตรวจสอบ ปัญหาที่ตามมามันจะบานปลายมากกว่านี้ครับ
การแข่งหรือการประมูลคงต้องมีอยู่แล้ว ตามระเบียบราชการ คงไม่ใช้วิธีจ้างพิเศษแน่นอนเพราะเป็นโครงการขนาดใหญ่
ตรงไหนมีปัญหาหรือช่องโหว่ ทุกฝ่ายน่าจะเข้าไป ช่วยกันตรวจสอบ ตรงนั้น อย่างเข็มงวด
มันน่าจะดีกว่าที่จะมาพยายามขัดขวางโครงการ เพราะหลายฝ่ายก็มองกันว่าโครงการนี้ก็มีประโยชน์ไม่น้อย
กู้เงินลักษณะนี้ สามารถตรวจสอบได้อย่างเข้มงวดด้วยหรือครับ
แค่เริ่มต้นก็ ห้ามถามเซ้าซี้ แล้วจะให้ยอมให้ตรวจสอบอย่างเข้ามงวดเหรอ
#25
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 12:54
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
เห็นช่องว่างบานเลยล่ะครับนั่น
ประเด็นนี้เป็นเรื่องสำคัญมากๆนะครับ ถ้าหากจะเน้นความรวดเร็ว ทำไมไม่ให้เอกชนแข่งขันกันเอง
เมื่อเอกชนแข่งขันกัน ข้อมูลและรายละเอียด จะมีให้เห็นมากกว่านี้ ไม่ใช่เอกสารเจ็ดแปดแผ่น เหมือนที่รัฐบาลกำลังทำ
ผมฟังคุณ เกียรติ สิทธิอมร แปรญัตติแล้วเห็นปัญหาที่เกิดขึ้น ในการดันร่าง พรบ เงินกู้ชัดเจนนะครับ
ปัญหาเกิดจากนโยบายของรัฐบาลที่ไม่มีการวางแผนในโครงการ ไม่ได้เกิดจากต้องการความรวดเร็วครับ
และถ้างบประมาณไม่มีการตรวจสอบ ปัญหาที่ตามมามันจะบานปลายมากกว่านี้ครับ
การแข่งหรือการประมูลคงต้องมีอยู่แล้ว ตามระเบียบราชการ คงไม่ใช้วิธีจ้างพิเศษแน่นอนเพราะเป็นโครงการขนาดใหญ่
ตรงไหนมีปัญหาหรือช่องโหว่ ทุกฝ่ายน่าจะเข้าไป ช่วยกันตรวจสอบ ตรงนั้น อย่างเข็มงวด
มันน่าจะดีกว่าที่จะมาพยายามขัดขวางโครงการ เพราะหลายฝ่ายก็มองกันว่าโครงการนี้ก็มีประโยชน์ไม่น้อย
ผมเห็นด้วยนะครับว่าเป็นโครงการที่มีประโยชน์ และผมก็ไม่ได้คัดค้านทั้งหมด
โดยความเห็นส่วนตัว ผมเห็นเป็นงบประมาณจำนวนมหาศาลที่ผูกพันนับเวลาเจ็ดปี
แต่กลับมีเนื้อหาสาระจากรัฐมนตรีเพื่ออธิบายความจำเป็นในโครงการ น้อยและไม่รอบคอบ ที่สุดเท่าที่เคยเห็น
และเท่าที่สดับทางฟากฝ่ายค้าน
เขาก็ไม่ได้ค้านหรือตัดนโยบายนี้ทิ้งโดยไม่ใยดีนะครับ เพียงแต่เขาเรียกร้องให้นโยบายนี้
กระทำด้วยความรอบคอบ โปร่งใส และ ขอให้เป็นโครงการที่มีแบบแผน มากกว่าสุกเอาเผากิน
เพราะเอกสารที่รัฐบาลแจกแจงมา เป็นเหมือนการปะหน้า มากกว่าที่จะเป็นโครงงานที่ผูกพันกับการก่อหนี้จำนวนมหาศาล
แก้ปัญหาเรื่องนี้ได้ ผมก็ว่าคงไม่ยากที่จะดันกันไปให้ถึงฝั่ง แต่เท่าที่รับฟังการถ่ายทอดทางสถานีรัฐสภา
ผมเรียนตรงๆว่ายังไม่มีเนื้อหาใดๆ ที่ชัดเจนในโครงการ มากกว่าจะดันทุรังกู้มาก่อน ซึ่งโดยหลักความเป็นจริง
มันไม่ใช่เช่นที่รัฐบาลกำลังทำ
นี่เราพูดกันตามหลักความเป็นจริง
#26
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:17
ที่จริงจะว่าไม่มีรายละเอียดของโครงการเลยก็ไม่น่าจะถูก มันมีข้อกำหนดในมาตรา 14
ของ พรบ. นี้ ระบุให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ จัดทำรายละเอียดของโครงการตามกฎหมายด้วย
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
#27
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:21
การทำความเข้าใจและแยกแยะ จะไม่เกิดขึ้นเด็ดขาดจากแดงๆๆทั้งหลาย แต่หากออกมาจากพรรคเพื่อไทยแล้วไซร้ ถึงแม้จะไม่ถูกต้องและก็ไม่ถูกใจ ทุกอย่างเหล่านั้นย่อมเป็นสิ่งดี และ ถูกต้องตามประชาธิปไตย
#28
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:30
,
เอกสารยังไม่ได้แนบอยู่ในกฏหมายเงินกู้เลย ยังแยกกันอยู่ ต้องแนบเป็นแผ่นในกฏหมาย ไม่ใช่แนบเป็นเล่ม ถ้าจะแนบเป็นเล่ม ต้องระบุในกฏหมายว่า เล่มนั้น เล่มนี้ มีกี่หน้า พร้อมเป็นส่วนหนึ่งของกฏหมาย เหมือนหนังสือสัญญา ไม่รู้ต้องเซ็นชื่อกำกับทุกแผ่นในเล่มหรือเปล่า
ถ้าไม่ระบุว่าเป็นส่วนหนึ่งของกฏหมาย เอกสารนี้ก็พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงได้ทุกเมื่อ เช่น เปลี่ยนรัฐบาลใหม่ ก็เปลี่ยนเอกสารใหม่ให้สอดคล้องกับกฏหมายที่เขียนไว้เท่านั้น เราอาจได้รถไฟฟ้าจากกทม.ไปกาญจนบุรีแทนก็ได้
ตราบใดที่ยังไม่ระบุชัดเจนให้เชื่อมโยงกันก็แก้ไขโครงการได้ เพราะไม่มีการกำหนดเวลาที่ชัดเจน เอกสารที่แนบที่รัฐบาลเอามาให้ดูก็เหมือนหนังตัวอย่าง ไม่รู้ของจริงจะเป็นอย่างไร แล้วเงินจะโยกไปมาอย่างไรก็ไม่รู้ จึงไม่มีการผูกพันกันเลย อย่างน้อยที่ทำได้ตอนนี้คือเอาเอกสารที่มาโชว์แนบไปกับกฏหมายและต้องระบุไปเลยว่าเอกสารแนบนี้เป็นส่วนหนึ่งของกฏหมาย ถ้าเป็นสัญญาโครงการใหญ่ๆแบบนี้ เจ้าของเงินกู้จะกล้าอนุมัติเงินกู้ให้หรือ มันเหมือน พ่อให้ลูกกู้เงินเลยนะ
Edited by Stargate-1, 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:41.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#29
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:41
#30
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:49
ที่จริงจะว่าไม่มีรายละเอียดของโครงการเลยก็ไม่น่าจะถูก มันมีข้อกำหนดในมาตรา 14
ของ พรบ. นี้ ระบุให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ จัดทำรายละเอียดของโครงการตามกฎหมายด้วย
มาตรา 14 ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดทำรายละเอียดการดำเนินโครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแผนงานท้ายพระราชบัญญัตินี้ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติการดำเนินโครงการและการจัดสรรเงินกู้เพื่อการดำเนินโครงการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมายที่จำเป็นต้องดำเนินการก่อนเริ่มโครงการให้ครบถ้วนด้วยก่อนที่จะมีการเสนอคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการโดยความเห็นชอบของกระทรวงเจ้าสังกัด เสนอโครงการต่อสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงบประมาณ และกระทรวงการคลัง เพื่อพิจารณากลั่นกรอง และเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับความพร้อมของโครงการ กรอบวงเงินดำเนินการ และแผนการดำเนินงานนอกจากนี้ ยังมี มาตรา 18 ที่ระบุให้ รายงานผลการดำเนินการ ต่อ สส. และ สว. ด้วยก็น่าจะชี้ให้เห็นว่า เงินกู้ก้อนนี้ สามารถ ตรวจสอบได้ มีความโปร่งใสระดับหนึ่งมาตรา 18 ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณให้คณะรัฐมนตรีรายงานการกู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้ที่กระทำในปีงบประมาณที่ล่วงมาแล้ว ผลการดำเนินงานและการประเมินผลการดำเนินการตามแผนงานในแต่ละยุทธศาสตร์ต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ
ยังหรอกครับ ถ้ามั่นใจว่ามาตรา 14 ,18 ใน พรบ นี้ จะสามารถรับมือการทุจริตได้เต็มกรอบ
ผมถามว่าทำไมรัฐบาลต้องออกเป็น พรบ งบลงทุนล่ะครับ ทำเป็นกฏหมายออกมาเลยสิครับ
เอาโครงการเข้าไปอยู่ในกรอบกฏหมายเลยจะได้มาตรฐานกว่านะครับ
แล้วที่ผมห่วงโครงการนี้ และ บอกได้แบบเต็มปากเลยว่าน่าเป็นห่วงจริงๆ คือ
มันเป็น พรบ เงินกู้ที่ขัดรัฐธรรมนูญชัดเจนครับ ลองอ่านจากหมวดแปดของรัฐธรรมนูญหรือมาตราหนึ่งหกเก้า
#31
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:26
ที่จริงจะว่าไม่มีรายละเอียดของโครงการเลยก็ไม่น่าจะถูก มันมีข้อกำหนดในมาตรา 14
ของ พรบ. นี้ ระบุให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ จัดทำรายละเอียดของโครงการตามกฎหมายด้วย
มาตรา 14 ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดทำรายละเอียดการดำเนินโครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแผนงานท้ายพระราชบัญญัตินี้ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติการดำเนินโครงการและการจัดสรรเงินกู้เพื่อการดำเนินโครงการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมายที่จำเป็นต้องดำเนินการก่อนเริ่มโครงการให้ครบถ้วนด้วย
ก่อนที่จะมีการเสนอคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการโดยความเห็นชอบของกระทรวงเจ้าสังกัด เสนอโครงการต่อสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงบประมาณ และกระทรวงการคลัง เพื่อพิจารณากลั่นกรอง และเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับความพร้อมของโครงการ กรอบวงเงินดำเนินการ และแผนการดำเนินงาน
นอกจากนี้ ยังมี มาตรา 18 ที่ระบุให้ รายงานผลการดำเนินการ ต่อ สส. และ สว. ด้วย
ก็น่าจะชี้ให้เห็นว่า เงินกู้ก้อนนี้ สามารถ ตรวจสอบได้ มีความโปร่งใสระดับหนึ่ง
มาตรา 18 ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณให้คณะรัฐมนตรีรายงานการกู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้ที่กระทำในปีงบประมาณที่ล่วงมาแล้ว ผลการดำเนินงานและการประเมินผลการดำเนินการตามแผนงานในแต่ละยุทธศาสตร์ต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ
ที่จริงจะว่าไม่มีรายละเอียดของโครงการเลยก็ไม่น่าจะถูก มันมีข้อกำหนดในมาตรา 14
ของ พรบ. นี้ ระบุให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ จัดทำรายละเอียดของโครงการตามกฎหมายด้วย
มาตรา 14 ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดทำรายละเอียดการดำเนินโครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแผนงานท้ายพระราชบัญญัตินี้ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติการดำเนินโครงการและการจัดสรรเงินกู้เพื่อการดำเนินโครงการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมายที่จำเป็นต้องดำเนินการก่อนเริ่มโครงการให้ครบถ้วนด้วย
ก่อนที่จะมีการเสนอคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการโดยความเห็นชอบของกระทรวงเจ้าสังกัด เสนอโครงการต่อสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงบประมาณ และกระทรวงการคลัง เพื่อพิจารณากลั่นกรอง และเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับความพร้อมของโครงการ กรอบวงเงินดำเนินการ และแผนการดำเนินงาน
นอกจากนี้ ยังมี มาตรา 18 ที่ระบุให้ รายงานผลการดำเนินการ ต่อ สส. และ สว. ด้วย
ก็น่าจะชี้ให้เห็นว่า เงินกู้ก้อนนี้ สามารถ ตรวจสอบได้ มีความโปร่งใสระดับหนึ่ง
มาตรา 18 ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณให้คณะรัฐมนตรีรายงานการกู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้ที่กระทำในปีงบประมาณที่ล่วงมาแล้ว ผลการดำเนินงานและการประเมินผลการดำเนินการตามแผนงานในแต่ละยุทธศาสตร์ต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ
มาตร 14 นี่คือขั้นตอนปกติที่ควรทำก่อนของบประมาณนะครับ ทำไมพรบนี้ต้องทำย้อนศร ขอเงินไปก่อนแล้วค่อยศึกษากับออกแบบศึกษาก่อนแล้วค่อยขอเงิน มันจะใช้เวลาต่างกันแค่ไหนครับ
ส่วนมาตรา 18 แน่ใจเหรอว่ารัฐบาลสนใจจะทำ ขนาดรธน ให้แถลงผลงานทุกปี ยังไม่คิดจะทำ รธน ใหญ่กว่า พรบ อีกนะ
#32
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:30
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
งบประมาณบานปลายแน่นอน และ ช่องทาง ใต้โต๊ะเพียบบบบบบบบ!!!
มั่นใจว่านี้คือวิธีของรัฐบาล
#33
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:32
ที่จริงจะว่าไม่มีรายละเอียดของโครงการเลยก็ไม่น่าจะถูก มันมีข้อกำหนดในมาตรา 14
ของ พรบ. นี้ ระบุให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ จัดทำรายละเอียดของโครงการตามกฎหมายด้วย
มาตรา 14 ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดทำรายละเอียดการดำเนินโครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแผนงานท้ายพระราชบัญญัตินี้ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติการดำเนินโครงการและการจัดสรรเงินกู้เพื่อการดำเนินโครงการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมายที่จำเป็นต้องดำเนินการก่อนเริ่มโครงการให้ครบถ้วนด้วยก่อนที่จะมีการเสนอคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการโดยความเห็นชอบของกระทรวงเจ้าสังกัด เสนอโครงการต่อสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงบประมาณ และกระทรวงการคลัง เพื่อพิจารณากลั่นกรอง และเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับความพร้อมของโครงการ กรอบวงเงินดำเนินการ และแผนการดำเนินงานนอกจากนี้ ยังมี มาตรา 18 ที่ระบุให้ รายงานผลการดำเนินการ ต่อ สส. และ สว. ด้วยก็น่าจะชี้ให้เห็นว่า เงินกู้ก้อนนี้ สามารถ ตรวจสอบได้ มีความโปร่งใสระดับหนึ่งมาตรา 18 ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณให้คณะรัฐมนตรีรายงานการกู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้ที่กระทำในปีงบประมาณที่ล่วงมาแล้ว ผลการดำเนินงานและการประเมินผลการดำเนินการตามแผนงานในแต่ละยุทธศาสตร์ต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ
มาตรา18 แล้วทำไม สว. ถึงจะต้อง มาจากการเลือกตั้ง ซึ่ง ก็ เห็นๆกันว่า ลึกๆแล้วมอะไรซ่อนอยู่ ทำไมไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามเป้นผู้ตรวจสอบ ถ้ามั่นใจว่า ไม่ได้ทำอะไรผิด
#34
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:32
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
งบประมาณบานปลายแน่นอน และ ช่องทาง ใต้โต๊ะเพียบบบบบบบบ!!!
มั่นใจว่านี้คือวิธีของรัฐบาล
เป็น คคห.ของผม
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
#35
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:33
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
เห็นช่องว่างบานเลยล่ะครับนั่น
ประเด็นนี้เป็นเรื่องสำคัญมากๆนะครับ ถ้าหากจะเน้นความรวดเร็ว ทำไมไม่ให้เอกชนแข่งขันกันเอง
เมื่อเอกชนแข่งขันกัน ข้อมูลและรายละเอียด จะมีให้เห็นมากกว่านี้ ไม่ใช่เอกสารเจ็ดแปดแผ่น เหมือนที่รัฐบาลกำลังทำ
ผมฟังคุณ เกียรติ สิทธิอมร แปรญัตติแล้วเห็นปัญหาที่เกิดขึ้น ในการดันร่าง พรบ เงินกู้ชัดเจนนะครับ
ปัญหาเกิดจากนโยบายของรัฐบาลที่ไม่มีการวางแผนในโครงการ ไม่ได้เกิดจากต้องการความรวดเร็วครับ
และถ้างบประมาณไม่มีการตรวจสอบ ปัญหาที่ตามมามันจะบานปลายมากกว่านี้ครับ
การแข่งหรือการประมูลคงต้องมีอยู่แล้ว ตามระเบียบราชการ คงไม่ใช้วิธีจ้างพิเศษแน่นอนเพราะเป็นโครงการขนาดใหญ่
ตรงไหนมีปัญหาหรือช่องโหว่ ทุกฝ่ายน่าจะเข้าไป ช่วยกันตรวจสอบ ตรงนั้น อย่างเข็มงวด
มันน่าจะดีกว่าที่จะมาพยายามขัดขวางโครงการ เพราะหลายฝ่ายก็มองกันว่าโครงการนี้ก็มีประโยชน์ไม่น้อย
และผู้เข้าประมูล ทำได้ยังไงในการประมูลให้ใกล้เคียงกับ เงินกู้ ทั้งๆที่ ก่อสร้างไปออกแบบไป !!!
#36
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:35
ที่จริงจะว่าไม่มีรายละเอียดของโครงการเลยก็ไม่น่าจะถูก มันมีข้อกำหนดในมาตรา 14
ของ พรบ. นี้ ระบุให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ จัดทำรายละเอียดของโครงการตามกฎหมายด้วย
มาตรา 14 ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดทำรายละเอียดการดำเนินโครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแผนงานท้ายพระราชบัญญัตินี้ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติการดำเนินโครงการและการจัดสรรเงินกู้เพื่อการดำเนินโครงการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมายที่จำเป็นต้องดำเนินการก่อนเริ่มโครงการให้ครบถ้วนด้วยก่อนที่จะมีการเสนอคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการโดยความเห็นชอบของกระทรวงเจ้าสังกัด เสนอโครงการต่อสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงบประมาณ และกระทรวงการคลัง เพื่อพิจารณากลั่นกรอง และเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับความพร้อมของโครงการ กรอบวงเงินดำเนินการ และแผนการดำเนินงานนอกจากนี้ ยังมี มาตรา 18 ที่ระบุให้ รายงานผลการดำเนินการ ต่อ สส. และ สว. ด้วยก็น่าจะชี้ให้เห็นว่า เงินกู้ก้อนนี้ สามารถ ตรวจสอบได้ มีความโปร่งใสระดับหนึ่งมาตรา 18 ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณให้คณะรัฐมนตรีรายงานการกู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้ที่กระทำในปีงบประมาณที่ล่วงมาแล้ว ผลการดำเนินงานและการประเมินผลการดำเนินการตามแผนงานในแต่ละยุทธศาสตร์ต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ
มาตรา18 แล้วทำไม สว. ถึงจะต้อง มาจากการเลือกตั้ง ซึ่ง ก็ เห็นๆกันว่า ลึกๆแล้วมอะไรซ่อนอยู่ ทำไมไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามเป้นผู้ตรวจสอบ ถ้ามั่นใจว่า ไม่ได้ทำอะไรผิด
คำว่ารายงานต่อ สส. และ สว. มันต้องรายงานในสภา สส. ฝ่ายค้านก็สามารถ อภิปราย
ตรวจสอบได้อยู่แล้วนี่ครับ
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
#37
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:36
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
งบประมาณบานปลายแน่นอน และ ช่องทาง ใต้โต๊ะเพียบบบบบบบบ!!!
มั่นใจว่านี้คือวิธีของรัฐบาล
เป็น คคห.ของผม
โอเคครับ งั้น ข้ามไป คงไม่ใช่แบบนี้แน่......... ท่านดอนยอก็เลิกคิดวิธีนี้ กับระบบราชการ ด้วยนะครับ แต่ ถ้าท่านจะสร้างบ้านเอง หรือ ต่อเติมบ้าน เชิญครับ ไม่ว่ากัน เงินของท่าน
#38
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:45
หนา 81 หน้าครับ
อันเก่ารู้สึกว่าเป็นเอกสารแนบท้าย ก็หนาเป็นร้อยหน้านะครับ
หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.
#39
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:49
http://library2.parl...apl015-2556.pdf
หนา 81 หน้าครับ
อันเก่ารู้สึกว่าเป็นเอกสารแนบท้าย ก็หนาเป็นร้อยหน้านะครับ
ผมมุ่งเป้าไปที่ เม็ดเงินลงทุนครับ ว่า ทำไม ฝ่ายค้าน ถึงบอกว่า สีแสน ทำได้ แต่ ฝ่ายรัฐ สองล้านล้าน ภาวะ เศรษฐกิจ ณ. ตอนนี้ คนค้าขายลำบาก ค่าครองชีพสูง อะไรต่างๆก็แพงขึ้น แต่ รายได้ที่ได้ จะต้องมาแบ่งไปชำระเงินกู้ ที่สูงขนาดนี้ นานขนาดไหน
ซึ่งข้อมูลของฝ่ายค้าน ก็น่าจะมาจาก ความหนา 81หน้านี้ มั๊งครับ
(ฝ่ายค้านไม่สามารถ คิดเอง เออเอง ออกแบบเอง นะครับ)
#40
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:52
จะส่งวัวควายมาแถกอย่างไรก็ตาม แต่บรรทัดสุดท้ายก็ไม่สามารถแสดงเอกสารรายละเอียดโครงการได้
#41
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 16:01
การที่ไม่มีรายละเอียดแบบนั้น น่าจะเป็นเพราะ วิธีการก่อสร้าง ซึ่งผมเข้าใจว่า
รบ. น่าจะใช้วิธีการก่อสร้างแบบ ออกแบบไป สร้างไป(Design and Build) เพื่อความวรวดเร็วในการก่อสร้าง
ซึ่งกำลังนิยมกันอยู่ตอนนี้ แทนวิธีการก่อสร้างแบบเก่าที่มีการ ออกแบบ ประมูล แล้วสร้าง
เราจึงยังไม่เห็นรายละเอียด จนกว่าจะมีการก่อสร้าง
ที่สุดเลยลูกพี่
ที่สุดเลย..
#42
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 17:00
http://library2.parl...apl015-2556.pdf
หนา 81 หน้าครับ
อันเก่ารู้สึกว่าเป็นเอกสารแนบท้าย ก็หนาเป็นร้อยหน้านะครับ
นั่นเป็นเอกสารประกอบให้สสอ่านครับ ไม่ใช่รายละเอียดโครงการที่จะบรรจุใส่ พรบ
ลองอ่านคำนำดูครับ แล้วลองดูตัวเงินของแผนการลงทุนสิครับ สายปาดังเก้าร้อยกิโลงบครึ่งเดียวของสายเชียงใหม่หกร้อยกิโล อีกหลายๆโครงการก็ไม่ใช่สิ่งที่จะทำได้ นั่นคือเอามาใส่เพื่อให้ตัวเลขถึงสองล้านล้านพอดีเป๊ะ แต่พอทำจริงไม่มีใครรู้ว่าเงินสองล้านล้านเราจะได้อะไรกลับมาบ้าง
#43
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 18:00
จะเอาอะไรกับเครือญาติของไอ้แก่ ที่เลี้ยงนักร้อง สองที ล้าน
#44
ตอบ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:01
จะแดร-กของแพง..เสรือ-กไม่ยอมลงทุนอีก
ฟลายเอ๊ยยย
ยามกูจนมรึ-งย่ำยี ยามกูมีมรึ-งอิจฉา
ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน