Jump to content


Photo
- - - - -

ขอวิจารณ์การศึกษาไทยอย่างไม่เกรงใจใคร "หลักคิดที่ผิด นำพาวิกฤตสู่การศึกษาไทย"


  • Please log in to reply
35 ความเห็นในกระทู้นี้

#1 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 12:22

*
POPULAR

ไปเจอมาแล้วชอบมากเลยเอามาแบ่งปันกันครับ

หลักคิดที่ผิด นำพาวิกฤตสู่การศึกษาไทย

Posted by ตัวจุ้น 

 

 

โดย อ.วิชัย กอสงวนมิตร  คณะวิทยาการจัดการ ม.ราชภัฏเชียงใหม่

ผู้เขียนพ็อกเก็ตบุ๊คส์ชื่อ "การจัดการที่ดี ต้องเหมือนการทำฝนหลวง" 

 

                เป็นข่าวที่ทำให้คนไทยตกใจไปทั้งประเทศ  เมื่อมีการสำรวจพบว่าคุณภาพการศึกษาของไทยอยู่ในลำดับสุดท้ายของกลุ่มประเทศอาเซี่ยน  แต่ไม่เป็นที่แปลกใจของครูอาจารย์อย่างพวกเราเลยสักนิด  ผมเชื่อว่าหากกระทรวงศึกษาธิการของไทยยังดื้อรั้นวางกรอบและกำหนดนโยบายการศึกษาของชาติอย่างนี้ต่อไป   อย่าแต่ว่าลำดับสุดท้ายของกลุ่มประเทศอาเซี่ยนเลย  ลำดับสุดท้ายของโลกก็อาจเป็นจริงสักวัน

 

                ไม่ใช่เป็นเพียงเพราะผลตอบแทนต่ำ (ซึ่งก็คือเงินเดือน สวัสดิการ และความมั่นคงในอาชีพครูอาจารย์) เท่านั้น  ที่ทำให้คนเก่ง คนดี ในปัจจุบันมีน้อยมากที่ยอมจะมาทำงานสอนหนังสือ  จนทำให้วงการศึกษาไทยขาดแคลนคนเก่ง  ครูเก่งๆ เริ่มทยอยเกษียณอายุราชการไป  ส่วนครูรุ่นใหม่ พอเข้ามาสู่วงการศึกษาไทย  นอกจากต้องจำทนกับเงินเดือนและสวัสดิการอันน้อยนิดแล้ว  จำนวนมากถูกจ้างเป็นแค่ครูอัตราจ้างหรือลูกจ้างชั่วคราว   ยังต้องเผชิญกับปัญหาในการทำงานมากมาย  ไม่ว่าคุณภาพของเด็กและสังคมที่เหลวแหลก  พ่อแม่ที่ไม่มีเวลาสั่งสอนลูก  แถมต้องมาพบกับนโยบายการศึกษาของชาติ  ที่ถูกกำหนดโดยคนที่ไม่ได้มีความเข้าใจลึกซึ้งปรัชญาการศึกษาอย่างแท้จริง  หรือไปจำผิดๆ จากต่างประเทศ  แล้วนำมาบังคับใช้กับการศึกษาของไทย  หลักคิดที่แปลกประหลาดเหล่านี้มีมากมาย เช่น

  1. 1.       คิดว่าความรู้ที่ดี คือความรู้จากต่างประเทศ  ทำให้มีการสอนโดยอาศัยการแปลตำราและตัวอย่างจากอเมริกาและยุโรปเป็นหลัก ทั้งที่มีความรู้ความคิดตามหลักพุทธศาสนา และสังคมเอเซียที่ดีมากมาย  มองข้ามภูมิปัญญาท้องถิ่นและปราชญ์ชาวบ้าน
  2. 2.       คิดว่าหลักสูตรที่ดี คือหลักสูตรที่ยากๆ  ทำให้มีการยัดเยียดให้เรียนในสิ่งที่ไม่มีโอกาสใช้ในชีวิตมากมาย จนทำให้เกิดความน่าเบื่อและเคร่งเครียดในการเรียน  หารู้ไม่ว่าเรื่องที่ยากๆ คนที่สนใจแม้เรียนจบแล้ว เขาก็จะไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเองได้ในภายหลัง
  3. 3.       คิดว่าการปรับหลักสูตรและวิธีการเรียนบ่อยๆ คือการพัฒนาการศึกษาให้ก้าวกระโดด ทำให้ผู้สอนก็ปรับตัวเตรียมการสอนให้ดีไม่ได้  พี่สอนน้องก็ไม่ได้  แถมบางครั้งเกิดความผิดพลาดในหลักสูตรและการทดสอบ
  4. 4.       คิดว่าการเรียนหนัก เป็นการทำให้ผู้เรียนพัฒนา  ทำให้นักเรียนนักศึกษาไม่มีเวลาให้กับครอบครัวและสังคม  เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอารมณ์และบุคลิกภาพ  มีใครรู้บ้างไหมว่าโรงเรียนประถมศึกษาในยุโรปเขาห้ามให้การบ้านเด็กนักเรียน  เพราะเจ็ดแปดชั่วโมงในโรงเรียนนั้นเพียงพอแล้วสำหรับเด็ก
  5. 5.       คิดว่าวิชาบางวิชา เป็นวิชาที้ล้าสมัยและไม่จำเป็น  การยกเลิกบางวิชา เช่น ศีลธรรม วรรณคดีไทย ฯลฯ  โดยอ้างว่าได้นำไปใส่ไว้ในวิชาใหม่แล้ว  ทำให้สำนึกทางด้านภาษาและวัฒนธรรมของนักเรียนนักศึกษาไทยลดลงไปอย่างมาก
  6. 6.       คิดว่าครูดี คือครูที่เรียนสูงๆ  ทำให้คนที่เรียนจบต่างประเทศมีโอกาสเป็นครูอาจารย์สูงกว่าคนที่มีวิญญาณของความเป็นครู  และยังทำให้ครูอาจารย์ลาไปศึกษาต่อกันอย่างมาก  ซึ่งมีผลการวิจัยออกมาบ้างแล้วว่า การลาไปศึกษาต่อของครูอาจารย์ทำให้ประสิทธิภาพการสอนลดลง
  7. 7.       คิดว่านักเรียนที่ดี คือนักเรียนที่เชื่อตามครูสอน  ทำให้นักเรียนนักศึกษาไทยขาดความมั่นใจในการแสดงความคิดเห็นของตนเอง  และความรู้ในรุ่นต่อรุ่นจะลงลงไปเรื่อยๆ  หากผู้เรียนไม่สามารถเก่งกว่าผู้สอนได้ในวันข้างหน้า
  8. 8.       คิดว่าการสร้างวินัยนักเรียนที่ดี  คือบังคับเด็กมากๆ  ทำให้นักเรียนไทยมีความรู้สึกที่ไม่ดีกับโรงเรียน  แทนที่จะให้นักเรียนมีวินัยด้วยการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน
  9. 9.       คิดว่าสถานบันการศึกษาที่ดี คือต้องมีสถานที่กว้างขวางและอุปกรณ์ทันสมัยมาก่อน  โดยลืมไปว่าในอดีตสถาบันการศึกษามากมายที่มีชื่อเสียง  ก็มีพื้นที่และสิ่งอำนวยความสะดวกจำกัด  เพียงแต่การมีครูอาจารย์ที่ดี  ก็สามารถจัด  การศึกษาที่ดีได้  ในทางตรงกันข้ามแม้มีสถานที่โอ่โถง เครื่องมือครบครัน  หากครูไม่เก่งก็ไม่สามรถสอนให้ดีได้
  10. 10.   คิดว่ามาตรฐานการศึกษา คือทำให้ทุกสถาบันเหมือนกัน  โดยลืมไปว่าการที่พื้นที่ นักเรียน ครูอาจารย์ ปัจจัยอื่นๆ  ที่แตกต่างกันของแต่ละสถาบัน  ไม่มีทางจะทำให้การศึกษาเป็นมาตรฐานเดียวกันได้  และจะต้องหาทางช่วยเหลือให้แต่ละแห่งมีจุดเด่นและได้มาตรฐานที่เหมาะสมของสถาบันมากกว่า
  11. 11.   คิดว่าครูเป็นเพียงลูกจ้าง ไม่คิดว่าครูอาจารย์ต้องการความมั่นคงในชีวิตการทำงาน  จึงทำการจ้างครูอาจารย์เป็นเพียงพนักงานชั่วคราว  หรือครูอัตราจ้าง  และไม่บรรจุให้เป็นข้าราชการประจำเช่นในอดีต
  12. 12.   คิดว่าสถาบันการศึกษาควรเลี้ยงตัวเองให้ได้ทุกแห่ง  โดยไม่คำนึงว่า บางสาขาวิชาชีพที่จำเป็น  อาจไม่สามารถคุ้มทุนได้  แต่ก็จำเป็นในการพัฒนาประเทศ  นอกจากนี้สถาบันการศึกษายังต้องช่วยเหลือให้โอกาสแก่ผู้ยากไร้ได้เรียนในระดับสูงด้วย
  13. 13.   คิดว่าการเรียกเงินแปะเจี๊ยะเป็นเรื่องผิดไม่ร้ายแรง  จึงปล่อยให้มีการให้เงินอุดหนุนสถาบันการศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนกับโควต้าการเข้าเรียน  ทั้งที่มีนโยบายห้ามเรียก  แต่ก็เป็นเหมือนการเขียนเสือให้วัวกลัว
  14. 14.   คิดว่าจำเป็นต้องตรวจสอบทุกสถาบันการศึกษา แทนที่เข้าไปช่วยเหลือสนับสนุน หน่วยงานไม่ว่า สมศ. สกอ. ฯลฯ สร้างตัวชี้วัดและตั้งคณะกรรมการตรวจสอบสถาบันการศึกษามากมาย  จนครูอาจารย์ทุกวันนี้กลายเป็นทำงานเพื่อคะแนน เช่นเดียวกับนักเรียนนักศึกษา  แทนที่จะทำเพื่อความก้าวหน้าของลูกศิษย์
  15. 15.   คิดว่าปริญญาคือสิ่งจำเป็น  และละเลยอาชีวศึกษา  ทำให้ทุกคนพยายามหันไปเรียนในระดับมหาวิทยาลัย  ซึ่งใช้เวลาเรียนมากกว่า  และขาดแรงงานในระดับวิชาชีพอย่างมากในปัจจุบัน
  16. 16.   คิดว่าครูอนุบาลและประถมไม่สำคัญ  ทำให้คนที่เรียนเก่งพยายามไปเป็นครูอุดมศึกษา  โดยลืมไปว่า  หากนักเรียนไม่ชอบเรียนตั้งแต่ก่อนและประถมศึกษาแล้ว  พื้นฐานการศึกษาที่ไม่ดี จะทำให้ไปต่อได้ยาก
  17. คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ  จึงกำหนดให้ทำงานเอกสาร ทำงานวิจัย เขียนบทความตำรา จัดกิจกรรมต่างๆ  แม้กระทั่งงานฝากจากหน่วยงานราชการอื่นๆ อย่างมากมาย  ต้องไปประชุม อบรม ฯลฯ  จนแทบไม่มีเวลาเตรียมการสอน
  18.  คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา                   ทั้งที่สถาบันการศึกษาไม่ใช่สถาบันวิจัย  การทำวิจัยควรยกให้เจ้าหน้าที่วิจัย  เพราะเขามีเวลาว่างและชำนาญการกว่าครูอาจารย์  แล้วให้ครูอาจารย์ไปศึกษาและนำผลวิจัยมาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน  แต่ไม่ใช่ไปทำเอง  คนจับปลาสองมือจะทำได้จริงหรือ ?
  19. คิดว่ากิจกรรมนักเรียนนักศึกษาเป็นงานที่ผู้เรียนต้องทำประจำ  ทั้งที่วัตถุประสงค์ที่แท้จริงนั้น  ควรเป็นเพื่อความบันเทิง หรือสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน  จึงไม่ควรอย่างยิ่งที่จะต้องไปกะเกณฑ์ให้สถาบันการศึกษาต้องทำ  และเขาจะหาโอกาสทำเองหากเห็นว่าสมควรและมีเวลาว่างพอ  แต่ไม่ใช่ทำกิจกรรมกันจนแทบไม่เป็นอันเรียนแบบในปัจจุบัน
  20. คิดว่าใครๆ ก็มาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการได้  เดี๋ยวนี้กระทรวงศึกษาธิการกลายเป็นกระทรวงเกรด A ไปแล้ว  เพราะได้รับงบประมาณสูงสุด  ประเทศเราแทบไม่เคยมีรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการที่รู้จริงปัญหาการศึกษาเลย  มีเพียงบางคนที่เคยเป็นครูอาจารย์มาก่อน   แต่ก็ไม่ใช่ผู้ที่รู้ลึกปัญหาการศึกษาของชาติ                       

               ตัวอย่างหลักคิดที่ผิดเพี้ยนเหล่านี้  ส่งผลกระทบร้ายแรงต่อการจัดการศึกษาของไทย  แถมยังบั่นทอนกำลังใจของครูอาจารย์ทั่วประเทศ  โดยที่ผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการไม่เคยยอมรับผิดและแก้ไขวิธีการทำงานเลย  จึงไม่ต้องแปลกใจเลยว่า  ทำไมนักเรียนนักศึกษาไทย  จึงมีแต่สมองที่มีแต่ความรู้ แต่ขาดความคิด (แถมไม่ค่อยรู้จริงด้วย) มิหนำซ้ำการเรียนยังเต็มไปด้วยความเคร่งเครียด  เพราะให้เรียนมากและยากเกินความจำเป็น   ประโยคทองของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ที่ว่า "จินตนาการสำคัญกว่าความรู้"  จึงไม่อาจบังเกิดขึ้นได้ในหมู่นักเรียนนักศึกษาไทย  เพราะท่านคิดเองมาตลอดว่าคนในกระทรวงฯ รู้ดีและเก่งกว่าครูบ้านนอก  ดังนั้น  จึงถึงเวลาแล้วที่จะต้องปฏิวัติแนวคิดการจัดการศึกษาของไทย  เพราะหากถ้าหลักคิดผิด  ก็ย่อมไม่มีทางจะจัดการศึกษาให้ดีได้ !

 

 

 

หมายเหตุ  บทความนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน  จึงไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับสถาบันการศึกษาที่ผู้เขียนทำงานอยู่  และหากท่านผู้อ่านเห็นด้วยหรือไม่ และมีข้อคิดเห็นเพิ่มเติม  กรุณาโพสต์ได้ในเฟสบุ๊คส์ผู้เขียน www.facebook.com/vichai.kosanguanmitr

 

บทความที่ผมแนบมานี้ชื่อ "หลักคิดที่ผิด นำพาวิกฤตสู่การศึกษาไทย" ได้เผยแพร่ในเวปไซต์หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๖ ผมจึงขอส่งมาให้ทางอ่านทางอีเมล์  หากท่านเห็นว่าเป็นบทความที่มีประโยชน์ รบกวนช่วยส่งต่อให้มากๆ ด้วยครับ

 

gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#2 Kunnaimong

Kunnaimong

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 701 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 12:49

บทความนี้ หากคนในกระทรวงศึกษาธิการได้อ่านแล้ว  เชื่อว่าทุกอย่างเหมือนเดิม  ไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น  ทั้งๆที่บางข้อตรงกับความเป็นจริงที่ควรแก้ไขอย่างเร่งด่วนก็ตาม   ตราบใดนายใหญ่ในกระทรวงฯยังเป็นคนที่ไม่ลึกซึ้งทางการศึกษา แต่หน้าด้านอยากเป็นรัฐมนตรี   การศึกษาของประเทศก็จะหัวทิ่มลงเหวต่อไป



#3 CockRoachKiller

CockRoachKiller

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 442 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:46

Disagree

 

คิดว่าความรู้ที่ดี คือความรู้จากต่างประเทศ    :   Please don't go abroad to seek out new technology.  Be proud with your cart and wheel. 

 

คิดว่าหลักสูตรที่ดี คือหลักสูตรที่ยากๆ,คิดว่าการเรียนหนัก เป็นการทำให้ผู้เรียนพัฒนา :    One of the strength of Thai student in US is science and math.  Now, you want us to be the same level as normal American student. 

 

คิดว่าวิชาบางวิชา เป็นวิชาที้ล้าสมัยและไม่จำเป็น:     Do you ever ask student what they want to learn, dictator?

 

คิดว่าครูดี คือครูที่เรียนสูงๆ:    Yeah, I have physics Ph.d from Caltech to teach my kid, is that wrong?   Sound like the grapes are sour for me.  

 

คิดว่าจำเป็นต้องตรวจสอบทุกสถาบันการศึกษา แทนที่เข้าไปช่วยเหลือสนับสนุน   You hate audit right?

 

คิดว่าการเรียกเงินแปะเจี๊ยะเป็นเรื่องผิดไม่ร้ายแรง:   And it's ok if you can put your child in right?

 

คิดว่าปริญญาคือสิ่งจำเป็น  และละเลยอาชีวศึกษา:   In your next life, please don't seek for degree.

 

คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ:  That is the fact.

 

คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา:   No research means you have no gut.  Are you one of them?

 

คิดว่าใครๆ ก็มาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการได้    You want to reserve this position to "your kind" right?

 

Agree

คิดว่านักเรียนที่ดี คือนักเรียนที่เชื่อตามครูสอน:    That why we have Marc99 good boy as PM.

คิดว่าการสร้างวินัยนักเรียนที่ดี  คือบังคับเด็กมากๆ :    Uniform, hair style.  Is that necessary?

คิดว่าครูอนุบาลและประถมไม่สำคัญ

คิดว่ากิจกรรมนักเรียนนักศึกษาเป็นงานที่ผู้เรียนต้องทำประจำ

 

 

That is the lecture from someone who spent 7-8 years on TU.  And this is his vision. 

 

หตุผลในการสร้างศูนย์รังสิต  ผมได้ยินจากผู้บริหารมหาวิทยาลัยเวลานั้นว่า  เพราะสถานที่ที่ท่าพระจันทร์คับแคบ  และทางมหาวิทยาลัยมีที่ดินเป็นของตนเองแล้วหลายพันไร่  จึงวางแผนขยายวิทยาเขตแห่งใหม่   และจะได้มีคณะที่สอนด้านวิทยาศาสตร์ด้วย  ไม่ว่าแพทย์, วิศวะ ฯลฯ   ในเวลานั้นถึงแม้ว่าอาจจะมีหลายคนไม่เห็นด้วย  ในการเปิดสาขาด้านวิทยาศาสตร์  แต่คงไม่มีใครกล้าคัดค้านออกนอกหน้า  เพราะจะกลายเป็นผู้ขัดขวางความเจริญด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย    ผมไม่เคยเห็นด้วยกับแนวคิดนี้เลย  เพราะผมคิดว่าปรัชญาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง   ของท่านปรีดี  พนมยงค์  ก็เพราะต้องการจะเผยแพร่วิชาด้านการเมืองการปกครอง  แก่ประชาชนคนไทย  เพื่อสนับสนุนวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย  หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475  ผมจึงไม่ค่อยจะเห็นด้วยแต่ก็ไม่ถึงกับคัดค้านกับการเพิ่มสาขาด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งต้องใช้งบประมาณสูงมาก  แต่สิ่งที่ผมรู้สึกแย้งในใจมาตลอดคือ  ทำไมไม่ให้มหาวิทยาลัยอื่นที่มีความดีเลิศทางสายวิทยาศาสตร์อยู่แล้ว  ขยายการเรียนการสอนออกสู่ภูมิภาคแทน  เพราะน่าจะทำได้ดีกว่าและใช้งบประมาณน้อยกว่า   หากเราคิดว่าเงินทุกบาทในการลงทุนก็คือภาษีจากประชาชนคนไทย

 

 

 

Get back to your cave.


Edited by CockRoachKiller, 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:12.

Please know your place by do not comment my post that you can not comprehend.

#4 Shariff

Shariff

    สมาชิกหน้าตาดี

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,802 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:57

*
POPULAR

Disagree

 

คิดว่าความรู้ที่ดี คือความรู้จากต่างประเทศ    :   Please don't go abroad to seek out new technology.  Be proud with your cart and wheel. 

 

คิดว่าหลักสูตรที่ดี คือหลักสูตรที่ยากๆ,คิดว่าการเรียนหนัก เป็นการทำให้ผู้เรียนพัฒนา :    One of the strength of Thai student in US in science and math.  Now, you want us to be the same level as normal american student. 

 

คิดว่าวิชาบางวิชา เป็นวิชาที้ล้าสมัยและไม่จำเป็น:     Do you ever ask student what they want to learn, dictator?

 

คิดว่าครูดี คือครูที่เรียนสูงๆ:    Yeah, I have physics Ph.d from Caltech teach my kid, is that wrong?   Sound like the grapes are sour for me.  

 

คิดว่าจำเป็นต้องตรวจสอบทุกสถาบันการศึกษา แทนที่เข้าไปช่วยเหลือสนับสนุน   You hate audit right?

 

คิดว่าการเรียกเงินแปะเจี๊ยะเป็นเรื่องผิดไม่ร้ายแรง:   And it's ok if you can put your child in right?

 

คิดว่าปริญญาคือสิ่งจำเป็น  และละเลยอาชีวศึกษา:   In your next life, please don't seek for degree.

 

คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ:  That is the fact.

 

คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา:   No research means you have no gut.  Are you one of them?

 

คิดว่าใครๆ ก็มาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการได้    You want to reserve this position to "your kind" right?

 

Agree

คิดว่านักเรียนที่ดี คือนักเรียนที่เชื่อตามครูสอน:    That why we have Marc99 good boy as PM.

คิดว่าการสร้างวินัยนักเรียนที่ดี  คือบังคับเด็กมากๆ :    Uniform, hair style.  Is that necessary?

คิดว่าครูอนุบาลและประถมไม่สำคัญ

คิดว่ากิจกรรมนักเรียนนักศึกษาเป็นงานที่ผู้เรียนต้องทำประจำ

 

 

That is the lecture from someone who spent 7-8 years on TU.  And this is his vision. 

 

หตุผลในการสร้างศูนย์รังสิต  ผมได้ยินจากผู้บริหารมหาวิทยาลัยเวลานั้นว่า  เพราะสถานที่ที่ท่าพระจันทร์คับแคบ  และทางมหาวิทยาลัยมีที่ดินเป็นของตนเองแล้วหลายพันไร่  จึงวางแผนขยายวิทยาเขตแห่งใหม่   และจะได้มีคณะที่สอนด้านวิทยาศาสตร์ด้วย  ไม่ว่าแพทย์, วิศวะ ฯลฯ   ในเวลานั้นถึงแม้ว่าอาจจะมีหลายคนไม่เห็นด้วย  ในการเปิดสาขาด้านวิทยาศาสตร์  แต่คงไม่มีใครกล้าคัดค้านออกนอกหน้า  เพราะจะกลายเป็นผู้ขัดขวางความเจริญด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย    ผมไม่เคยเห็นด้วยกับแนวคิดนี้เลย  เพราะผมคิดว่าปรัชญาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง   ของท่านปรีดี  พนมยงค์  ก็เพราะต้องการจะเผยแพร่วิชาด้านการเมืองการปกครอง  แก่ประชาชนคนไทย  เพื่อสนับสนุนวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย  หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475  ผมจึงไม่ค่อยจะเห็นด้วยแต่ก็ไม่ถึงกับคัดค้านกับการเพิ่มสาขาด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งต้องใช้งบประมาณสูงมาก  แต่สิ่งที่ผมรู้สึกแย้งในใจมาตลอดคือ  ทำไมไม่ให้มหาวิทยาลัยอื่นที่มีความดีเลิศทางสายวิทยาศาสตร์อยู่แล้ว  ขยายการเรียนการสอนออกสู่ภูมิภาคแทน  เพราะน่าจะทำได้ดีกว่าและใช้งบประมาณน้อยกว่า   หากเราคิดว่าเงินทุกบาทในการลงทุนก็คือภาษีจากประชาชนคนไทย

 

 

 

Get back to your cave.

 

 

ตัวอย่างห่วยๆ

 

คนไทยแท้ๆ ดัดจริตอวดภูมิ

 

ด้วยการใช้ภาษาฝรั่งคุยในบอร์ดภาษาไทย


"การปลดปล่อยตัวเองออกจากความเป็นทาสทางความคิดมิใช่ใครอื่น, มีแต่เราเท่านั้นที่จะต้องกระทำ "จากเพลง Redemption song.

#5 DarkSwan

DarkSwan

    Reporter Activated

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,689 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:15

ในฐานะลูกครู ผมเห็นด้วยนะกับบทความข้างบน โดยเฉพาะไอ้นโยบายเรื่อง "ประกันการศึกษา" กับ "โรงเรียนในฝัน" น่ะ ผมว่าเลิกเหอะ

ไม่มีประโยชน์ กรุณาอย่างเอาความสวยหรูของโครงการ วิสัยทัศน์เลิศเลอมาอ้างเลยนะ เพราะในความเป็นจริงมันไม่ใช่อย่างนั้นเลย

 

โรงเรียนในฝัน นี่มีแต่ขายผ้าเอาหน้ารอด ปลูกผักชี เน้นกิจกรรม แบบที่เรียกว่า จะให้เรียนให้สอนกันตอนไหนเลย และมันก็ไม่มีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนจริงๆ สักนิด เป็นแค่กลุ่มเล็กๆ ที่ทำสร้างภาพเพื่อรอการมาตรวจประเมินเท่านั้นเอง

 

ส่วนเรื่องประกันคุณภาพการศึกษานี่ก็เหมือนกัน ห้ามเด็กตก เด็กทุกคนต้องผ่าน มันจะเป็นไปได้ยังไง? ในเมื่อประเทศนี้คนโง่มันเยอะ แทนที่จะได้พัฒนาคุณภาพกันจริงๆ ก็กลายเป็นว่า ไม่ต้องพกสมองไปเรียน ก็ผ่านตลอด เพราะถ้าเด้กตก อาจารย์จะต้องถูกประเมิน มีผลกับเงินเดือนและหน้าที่การงาน

 

มันปัญญาอ่อนจริงๆ

 

ปล. อ้อ แล้วไอ้แทบเล็ต มันช่วยให้เด็กเก่งขึ้นแค่ไหน ผลวิจัยไม่มีเลย เสียเงินเปล่าๆ เรื่องโง่ๆ แดกเก่งๆ นี่ขยันกันนัก


Edited by DarkSwan, 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:16.

ถ้าอยากได้ความเท่าเทียม

ก็ปีนป่ายขึ้นไปให้อยู่เทียบเท่ากับคนอื่นเค้า

อย่าได้กระชากฉุดให้คนอื่นเขาลงมาตกต่ำเท่ากับตน


#6 Shariff

Shariff

    สมาชิกหน้าตาดี

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,802 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:54

*
POPULAR

ตัวอย่างที่ดีที่สุดของระบบการศึกษา

 

คือการสอนว่ายน้ำ

 

ห่วยสุดในชั้น    = ว่ายน้ำเป็น

 

เก่งขึ้นมาหน่อย = ว่ายน้ำแข็ง

 

หัวกะทิ             = ไปเป็นนักกีฬาว่ายน้ำ

 

 

ความห่วยแตกของระบบการศึกษาตอนนี้คือ 

 

โรงเรียนดีๆ คัดแต่หัวกะทิมาเรียน ผู้สอนเก่งหรือเปล่าที่สอนหัวกะทิเหล่านี้ให้เก่ง(เพราะความจริงเค้าเก่งอยู่แล้ว)

 

 

โรงเรียนบ้านนอก ที่สามารถสอนไอ้ห่วยสุดในห้องให้เอาตัวรอดได้ เหมือนที่โรงเรียนสอนว่ายน้ำสอนห่วยสุดให้ว่ายน้ำเป็น

 

นี่คือความสำเร็จของระบบการศึกษาที่แท้จริง

 

 

ไอ้โรงเรียนชั้นดีสอนหัวกะทิให้เป็นด็อกเตอร์มันไม่ใช่ความสำเร็จแท้จริงหรอก


"การปลดปล่อยตัวเองออกจากความเป็นทาสทางความคิดมิใช่ใครอื่น, มีแต่เราเท่านั้นที่จะต้องกระทำ "จากเพลง Redemption song.

#7 CockRoachKiller

CockRoachKiller

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 442 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:10

 

Disagree

 

คิดว่าความรู้ที่ดี คือความรู้จากต่างประเทศ    :   Please don't go abroad to seek out new technology.  Be proud with your cart and wheel. 

 

คิดว่าหลักสูตรที่ดี คือหลักสูตรที่ยากๆ,คิดว่าการเรียนหนัก เป็นการทำให้ผู้เรียนพัฒนา :    One of the strength of Thai student in US in science and math.  Now, you want us to be the same level as normal american student. 

 

คิดว่าวิชาบางวิชา เป็นวิชาที้ล้าสมัยและไม่จำเป็น:     Do you ever ask student what they want to learn, dictator?

 

คิดว่าครูดี คือครูที่เรียนสูงๆ:    Yeah, I have physics Ph.d from Caltech teach my kid, is that wrong?   Sound like the grapes are sour for me.  

 

คิดว่าจำเป็นต้องตรวจสอบทุกสถาบันการศึกษา แทนที่เข้าไปช่วยเหลือสนับสนุน   You hate audit right?

 

คิดว่าการเรียกเงินแปะเจี๊ยะเป็นเรื่องผิดไม่ร้ายแรง:   And it's ok if you can put your child in right?

 

คิดว่าปริญญาคือสิ่งจำเป็น  และละเลยอาชีวศึกษา:   In your next life, please don't seek for degree.

 

คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ:  That is the fact.

 

คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา:   No research means you have no gut.  Are you one of them?

 

คิดว่าใครๆ ก็มาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการได้    You want to reserve this position to "your kind" right?

 

Agree

คิดว่านักเรียนที่ดี คือนักเรียนที่เชื่อตามครูสอน:    That why we have Marc99 good boy as PM.

คิดว่าการสร้างวินัยนักเรียนที่ดี  คือบังคับเด็กมากๆ :    Uniform, hair style.  Is that necessary?

คิดว่าครูอนุบาลและประถมไม่สำคัญ

คิดว่ากิจกรรมนักเรียนนักศึกษาเป็นงานที่ผู้เรียนต้องทำประจำ

 

 

That is the lecture from someone who spent 7-8 years on TU.  And this is his vision. 

 

หตุผลในการสร้างศูนย์รังสิต  ผมได้ยินจากผู้บริหารมหาวิทยาลัยเวลานั้นว่า  เพราะสถานที่ที่ท่าพระจันทร์คับแคบ  และทางมหาวิทยาลัยมีที่ดินเป็นของตนเองแล้วหลายพันไร่  จึงวางแผนขยายวิทยาเขตแห่งใหม่   และจะได้มีคณะที่สอนด้านวิทยาศาสตร์ด้วย  ไม่ว่าแพทย์, วิศวะ ฯลฯ   ในเวลานั้นถึงแม้ว่าอาจจะมีหลายคนไม่เห็นด้วย  ในการเปิดสาขาด้านวิทยาศาสตร์  แต่คงไม่มีใครกล้าคัดค้านออกนอกหน้า  เพราะจะกลายเป็นผู้ขัดขวางความเจริญด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย    ผมไม่เคยเห็นด้วยกับแนวคิดนี้เลย  เพราะผมคิดว่าปรัชญาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง   ของท่านปรีดี  พนมยงค์  ก็เพราะต้องการจะเผยแพร่วิชาด้านการเมืองการปกครอง  แก่ประชาชนคนไทย  เพื่อสนับสนุนวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย  หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475  ผมจึงไม่ค่อยจะเห็นด้วยแต่ก็ไม่ถึงกับคัดค้านกับการเพิ่มสาขาด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งต้องใช้งบประมาณสูงมาก  แต่สิ่งที่ผมรู้สึกแย้งในใจมาตลอดคือ  ทำไมไม่ให้มหาวิทยาลัยอื่นที่มีความดีเลิศทางสายวิทยาศาสตร์อยู่แล้ว  ขยายการเรียนการสอนออกสู่ภูมิภาคแทน  เพราะน่าจะทำได้ดีกว่าและใช้งบประมาณน้อยกว่า   หากเราคิดว่าเงินทุกบาทในการลงทุนก็คือภาษีจากประชาชนคนไทย

 

 

 

Get back to your cave.

 

 

ตัวอย่างห่วยๆ

 

คนไทยแท้ๆ ดัดจริตอวดภูมิ

 

ด้วยการใช้ภาษาฝรั่งคุยในบอร์ดภาษาไทย

 

 

This father in doubling standard did know the member called "no more" and never did say anything about his English comment.


Please know your place by do not comment my post that you can not comprehend.

#8 farmers.

farmers.

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 130 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:12

จะให้ไม่แย่ได้ยังไง  คนไทยส่วนส่วนใหญ่เป็นอย่างไร ดูเอาได้จากผู้นำตอนนี้



#9 Shariff

Shariff

    สมาชิกหน้าตาดี

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,802 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:18

 

 

Disagree

 

คิดว่าความรู้ที่ดี คือความรู้จากต่างประเทศ    :   Please don't go abroad to seek out new technology.  Be proud with your cart and wheel. 

 

คิดว่าหลักสูตรที่ดี คือหลักสูตรที่ยากๆ,คิดว่าการเรียนหนัก เป็นการทำให้ผู้เรียนพัฒนา :    One of the strength of Thai student in US in science and math.  Now, you want us to be the same level as normal american student. 

 

คิดว่าวิชาบางวิชา เป็นวิชาที้ล้าสมัยและไม่จำเป็น:     Do you ever ask student what they want to learn, dictator?

 

คิดว่าครูดี คือครูที่เรียนสูงๆ:    Yeah, I have physics Ph.d from Caltech teach my kid, is that wrong?   Sound like the grapes are sour for me.  

 

คิดว่าจำเป็นต้องตรวจสอบทุกสถาบันการศึกษา แทนที่เข้าไปช่วยเหลือสนับสนุน   You hate audit right?

 

คิดว่าการเรียกเงินแปะเจี๊ยะเป็นเรื่องผิดไม่ร้ายแรง:   And it's ok if you can put your child in right?

 

คิดว่าปริญญาคือสิ่งจำเป็น  และละเลยอาชีวศึกษา:   In your next life, please don't seek for degree.

 

คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ:  That is the fact.

 

คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา:   No research means you have no gut.  Are you one of them?

 

คิดว่าใครๆ ก็มาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการได้    You want to reserve this position to "your kind" right?

 

Agree

คิดว่านักเรียนที่ดี คือนักเรียนที่เชื่อตามครูสอน:    That why we have Marc99 good boy as PM.

คิดว่าการสร้างวินัยนักเรียนที่ดี  คือบังคับเด็กมากๆ :    Uniform, hair style.  Is that necessary?

คิดว่าครูอนุบาลและประถมไม่สำคัญ

คิดว่ากิจกรรมนักเรียนนักศึกษาเป็นงานที่ผู้เรียนต้องทำประจำ

 

 

That is the lecture from someone who spent 7-8 years on TU.  And this is his vision. 

 

หตุผลในการสร้างศูนย์รังสิต  ผมได้ยินจากผู้บริหารมหาวิทยาลัยเวลานั้นว่า  เพราะสถานที่ที่ท่าพระจันทร์คับแคบ  และทางมหาวิทยาลัยมีที่ดินเป็นของตนเองแล้วหลายพันไร่  จึงวางแผนขยายวิทยาเขตแห่งใหม่   และจะได้มีคณะที่สอนด้านวิทยาศาสตร์ด้วย  ไม่ว่าแพทย์, วิศวะ ฯลฯ   ในเวลานั้นถึงแม้ว่าอาจจะมีหลายคนไม่เห็นด้วย  ในการเปิดสาขาด้านวิทยาศาสตร์  แต่คงไม่มีใครกล้าคัดค้านออกนอกหน้า  เพราะจะกลายเป็นผู้ขัดขวางความเจริญด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย    ผมไม่เคยเห็นด้วยกับแนวคิดนี้เลย  เพราะผมคิดว่าปรัชญาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง   ของท่านปรีดี  พนมยงค์  ก็เพราะต้องการจะเผยแพร่วิชาด้านการเมืองการปกครอง  แก่ประชาชนคนไทย  เพื่อสนับสนุนวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย  หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475  ผมจึงไม่ค่อยจะเห็นด้วยแต่ก็ไม่ถึงกับคัดค้านกับการเพิ่มสาขาด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งต้องใช้งบประมาณสูงมาก  แต่สิ่งที่ผมรู้สึกแย้งในใจมาตลอดคือ  ทำไมไม่ให้มหาวิทยาลัยอื่นที่มีความดีเลิศทางสายวิทยาศาสตร์อยู่แล้ว  ขยายการเรียนการสอนออกสู่ภูมิภาคแทน  เพราะน่าจะทำได้ดีกว่าและใช้งบประมาณน้อยกว่า   หากเราคิดว่าเงินทุกบาทในการลงทุนก็คือภาษีจากประชาชนคนไทย

 

 

 

Get back to your cave.

 

 

ตัวอย่างห่วยๆ

 

คนไทยแท้ๆ ดัดจริตอวดภูมิ

 

ด้วยการใช้ภาษาฝรั่งคุยในบอร์ดภาษาไทย

 

 

This father in doubling standard did know the member called "no more" and never did say anything about his English comment.

 

 

 

ยอมครับ

 

เฮนไตไปสู่สุขติแล้ว ไม่อยากจะคุยกับคนแนวๆเฮนไต  :D


"การปลดปล่อยตัวเองออกจากความเป็นทาสทางความคิดมิใช่ใครอื่น, มีแต่เราเท่านั้นที่จะต้องกระทำ "จากเพลง Redemption song.

#10 CockRoachKiller

CockRoachKiller

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 442 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:24

 

 

 

Disagree

 

คิดว่าความรู้ที่ดี คือความรู้จากต่างประเทศ    :   Please don't go abroad to seek out new technology.  Be proud with your cart and wheel. 

 

คิดว่าหลักสูตรที่ดี คือหลักสูตรที่ยากๆ,คิดว่าการเรียนหนัก เป็นการทำให้ผู้เรียนพัฒนา :    One of the strength of Thai student in US in science and math.  Now, you want us to be the same level as normal american student. 

 

คิดว่าวิชาบางวิชา เป็นวิชาที้ล้าสมัยและไม่จำเป็น:     Do you ever ask student what they want to learn, dictator?

 

คิดว่าครูดี คือครูที่เรียนสูงๆ:    Yeah, I have physics Ph.d from Caltech teach my kid, is that wrong?   Sound like the grapes are sour for me.  

 

คิดว่าจำเป็นต้องตรวจสอบทุกสถาบันการศึกษา แทนที่เข้าไปช่วยเหลือสนับสนุน   You hate audit right?

 

คิดว่าการเรียกเงินแปะเจี๊ยะเป็นเรื่องผิดไม่ร้ายแรง:   And it's ok if you can put your child in right?

 

คิดว่าปริญญาคือสิ่งจำเป็น  และละเลยอาชีวศึกษา:   In your next life, please don't seek for degree.

 

คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ:  That is the fact.

 

คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา:   No research means you have no gut.  Are you one of them?

 

คิดว่าใครๆ ก็มาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการได้    You want to reserve this position to "your kind" right?

 

Agree

คิดว่านักเรียนที่ดี คือนักเรียนที่เชื่อตามครูสอน:    That why we have Marc99 good boy as PM.

คิดว่าการสร้างวินัยนักเรียนที่ดี  คือบังคับเด็กมากๆ :    Uniform, hair style.  Is that necessary?

คิดว่าครูอนุบาลและประถมไม่สำคัญ

คิดว่ากิจกรรมนักเรียนนักศึกษาเป็นงานที่ผู้เรียนต้องทำประจำ

 

 

That is the lecture from someone who spent 7-8 years on TU.  And this is his vision. 

 

หตุผลในการสร้างศูนย์รังสิต  ผมได้ยินจากผู้บริหารมหาวิทยาลัยเวลานั้นว่า  เพราะสถานที่ที่ท่าพระจันทร์คับแคบ  และทางมหาวิทยาลัยมีที่ดินเป็นของตนเองแล้วหลายพันไร่  จึงวางแผนขยายวิทยาเขตแห่งใหม่   และจะได้มีคณะที่สอนด้านวิทยาศาสตร์ด้วย  ไม่ว่าแพทย์, วิศวะ ฯลฯ   ในเวลานั้นถึงแม้ว่าอาจจะมีหลายคนไม่เห็นด้วย  ในการเปิดสาขาด้านวิทยาศาสตร์  แต่คงไม่มีใครกล้าคัดค้านออกนอกหน้า  เพราะจะกลายเป็นผู้ขัดขวางความเจริญด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย    ผมไม่เคยเห็นด้วยกับแนวคิดนี้เลย  เพราะผมคิดว่าปรัชญาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง   ของท่านปรีดี  พนมยงค์  ก็เพราะต้องการจะเผยแพร่วิชาด้านการเมืองการปกครอง  แก่ประชาชนคนไทย  เพื่อสนับสนุนวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย  หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475  ผมจึงไม่ค่อยจะเห็นด้วยแต่ก็ไม่ถึงกับคัดค้านกับการเพิ่มสาขาด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งต้องใช้งบประมาณสูงมาก  แต่สิ่งที่ผมรู้สึกแย้งในใจมาตลอดคือ  ทำไมไม่ให้มหาวิทยาลัยอื่นที่มีความดีเลิศทางสายวิทยาศาสตร์อยู่แล้ว  ขยายการเรียนการสอนออกสู่ภูมิภาคแทน  เพราะน่าจะทำได้ดีกว่าและใช้งบประมาณน้อยกว่า   หากเราคิดว่าเงินทุกบาทในการลงทุนก็คือภาษีจากประชาชนคนไทย

 

 

 

Get back to your cave.

 

 

ตัวอย่างห่วยๆ

 

คนไทยแท้ๆ ดัดจริตอวดภูมิ

 

ด้วยการใช้ภาษาฝรั่งคุยในบอร์ดภาษาไทย

 

 

This father in doubling standard did know the member called "no more" and never did say anything about his English comment.

 

 

 

ยอมครับ

 

เฮนไตไปสู่สุขติแล้ว ไม่อยากจะคุยกับคนแนวๆเฮนไต  :D

 

 

Another trick from cockroach in order to get rid of me by flaming the opponent with banned member. 

Now, I am "เฮนไต". Last week I was "Lee".  Before that, I was "no more".  Next week, who will has this honor? 


Please know your place by do not comment my post that you can not comprehend.

#11 คนใต้

คนใต้

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 270 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:32

 

 

 

 

Disagree

 

คิดว่าความรู้ที่ดี คือความรู้จากต่างประเทศ    :   Please don't go abroad to seek out new technology.  Be proud with your cart and wheel. 

 

คิดว่าหลักสูตรที่ดี คือหลักสูตรที่ยากๆ,คิดว่าการเรียนหนัก เป็นการทำให้ผู้เรียนพัฒนา :    One of the strength of Thai student in US in science and math.  Now, you want us to be the same level as normal american student. 

 

คิดว่าวิชาบางวิชา เป็นวิชาที้ล้าสมัยและไม่จำเป็น:     Do you ever ask student what they want to learn, dictator?

 

คิดว่าครูดี คือครูที่เรียนสูงๆ:    Yeah, I have physics Ph.d from Caltech teach my kid, is that wrong?   Sound like the grapes are sour for me.  

 

คิดว่าจำเป็นต้องตรวจสอบทุกสถาบันการศึกษา แทนที่เข้าไปช่วยเหลือสนับสนุน   You hate audit right?

 

คิดว่าการเรียกเงินแปะเจี๊ยะเป็นเรื่องผิดไม่ร้ายแรง:   And it's ok if you can put your child in right?

 

คิดว่าปริญญาคือสิ่งจำเป็น  และละเลยอาชีวศึกษา:   In your next life, please don't seek for degree.

 

คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ:  That is the fact.

 

คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา:   No research means you have no gut.  Are you one of them?

 

คิดว่าใครๆ ก็มาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการได้    You want to reserve this position to "your kind" right?

 

Agree

คิดว่านักเรียนที่ดี คือนักเรียนที่เชื่อตามครูสอน:    That why we have Marc99 good boy as PM.

คิดว่าการสร้างวินัยนักเรียนที่ดี  คือบังคับเด็กมากๆ :    Uniform, hair style.  Is that necessary?

คิดว่าครูอนุบาลและประถมไม่สำคัญ

คิดว่ากิจกรรมนักเรียนนักศึกษาเป็นงานที่ผู้เรียนต้องทำประจำ

 

 

That is the lecture from someone who spent 7-8 years on TU.  And this is his vision. 

 

หตุผลในการสร้างศูนย์รังสิต  ผมได้ยินจากผู้บริหารมหาวิทยาลัยเวลานั้นว่า  เพราะสถานที่ที่ท่าพระจันทร์คับแคบ  และทางมหาวิทยาลัยมีที่ดินเป็นของตนเองแล้วหลายพันไร่  จึงวางแผนขยายวิทยาเขตแห่งใหม่   และจะได้มีคณะที่สอนด้านวิทยาศาสตร์ด้วย  ไม่ว่าแพทย์, วิศวะ ฯลฯ   ในเวลานั้นถึงแม้ว่าอาจจะมีหลายคนไม่เห็นด้วย  ในการเปิดสาขาด้านวิทยาศาสตร์  แต่คงไม่มีใครกล้าคัดค้านออกนอกหน้า  เพราะจะกลายเป็นผู้ขัดขวางความเจริญด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย    ผมไม่เคยเห็นด้วยกับแนวคิดนี้เลย  เพราะผมคิดว่าปรัชญาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง   ของท่านปรีดี  พนมยงค์  ก็เพราะต้องการจะเผยแพร่วิชาด้านการเมืองการปกครอง  แก่ประชาชนคนไทย  เพื่อสนับสนุนวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย  หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475  ผมจึงไม่ค่อยจะเห็นด้วยแต่ก็ไม่ถึงกับคัดค้านกับการเพิ่มสาขาด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งต้องใช้งบประมาณสูงมาก  แต่สิ่งที่ผมรู้สึกแย้งในใจมาตลอดคือ  ทำไมไม่ให้มหาวิทยาลัยอื่นที่มีความดีเลิศทางสายวิทยาศาสตร์อยู่แล้ว  ขยายการเรียนการสอนออกสู่ภูมิภาคแทน  เพราะน่าจะทำได้ดีกว่าและใช้งบประมาณน้อยกว่า   หากเราคิดว่าเงินทุกบาทในการลงทุนก็คือภาษีจากประชาชนคนไทย

 

 

 

Get back to your cave.

 

 

ตัวอย่างห่วยๆ

 

คนไทยแท้ๆ ดัดจริตอวดภูมิ

 

ด้วยการใช้ภาษาฝรั่งคุยในบอร์ดภาษาไทย

 

 

This father in doubling standard did know the member called "no more" and never did say anything about his English comment.

 

 

 

ยอมครับ

 

เฮนไตไปสู่สุขติแล้ว ไม่อยากจะคุยกับคนแนวๆเฮนไต  :D

 

 

Another trick from cockroach in order to get rid of me by flaming the opponent with banned member. 

Now, I am "เฮนไต". Last week I was "Lee".  Before that, I was "no more".  Next week, who will has this honor? 

 

RED Buff



#12 butadad

butadad

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,119 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:35

 

Disagree

 

คิดว่าความรู้ที่ดี คือความรู้จากต่างประเทศ    :   Please don't go abroad to seek out new technology.  Be proud with your cart and wheel. 

 

คิดว่าหลักสูตรที่ดี คือหลักสูตรที่ยากๆ,คิดว่าการเรียนหนัก เป็นการทำให้ผู้เรียนพัฒนา :    One of the strength of Thai student in US in science and math.  Now, you want us to be the same level as normal american student. 

 

คิดว่าวิชาบางวิชา เป็นวิชาที้ล้าสมัยและไม่จำเป็น:     Do you ever ask student what they want to learn, dictator?

 

คิดว่าครูดี คือครูที่เรียนสูงๆ:    Yeah, I have physics Ph.d from Caltech teach my kid, is that wrong?   Sound like the grapes are sour for me.  

 

คิดว่าจำเป็นต้องตรวจสอบทุกสถาบันการศึกษา แทนที่เข้าไปช่วยเหลือสนับสนุน   You hate audit right?

 

คิดว่าการเรียกเงินแปะเจี๊ยะเป็นเรื่องผิดไม่ร้ายแรง:   And it's ok if you can put your child in right?

 

คิดว่าปริญญาคือสิ่งจำเป็น  และละเลยอาชีวศึกษา:   In your next life, please don't seek for degree.

 

คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ:  That is the fact.

 

คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา:   No research means you have no gut.  Are you one of them?

 

คิดว่าใครๆ ก็มาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการได้    You want to reserve this position to "your kind" right?

 

Agree

คิดว่านักเรียนที่ดี คือนักเรียนที่เชื่อตามครูสอน:    That why we have Marc99 good boy as PM.

คิดว่าการสร้างวินัยนักเรียนที่ดี  คือบังคับเด็กมากๆ :    Uniform, hair style.  Is that necessary?

คิดว่าครูอนุบาลและประถมไม่สำคัญ

คิดว่ากิจกรรมนักเรียนนักศึกษาเป็นงานที่ผู้เรียนต้องทำประจำ

 

 

That is the lecture from someone who spent 7-8 years on TU.  And this is his vision. 

 

หตุผลในการสร้างศูนย์รังสิต  ผมได้ยินจากผู้บริหารมหาวิทยาลัยเวลานั้นว่า  เพราะสถานที่ที่ท่าพระจันทร์คับแคบ  และทางมหาวิทยาลัยมีที่ดินเป็นของตนเองแล้วหลายพันไร่  จึงวางแผนขยายวิทยาเขตแห่งใหม่   และจะได้มีคณะที่สอนด้านวิทยาศาสตร์ด้วย  ไม่ว่าแพทย์, วิศวะ ฯลฯ   ในเวลานั้นถึงแม้ว่าอาจจะมีหลายคนไม่เห็นด้วย  ในการเปิดสาขาด้านวิทยาศาสตร์  แต่คงไม่มีใครกล้าคัดค้านออกนอกหน้า  เพราะจะกลายเป็นผู้ขัดขวางความเจริญด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย    ผมไม่เคยเห็นด้วยกับแนวคิดนี้เลย  เพราะผมคิดว่าปรัชญาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง   ของท่านปรีดี  พนมยงค์  ก็เพราะต้องการจะเผยแพร่วิชาด้านการเมืองการปกครอง  แก่ประชาชนคนไทย  เพื่อสนับสนุนวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย  หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475  ผมจึงไม่ค่อยจะเห็นด้วยแต่ก็ไม่ถึงกับคัดค้านกับการเพิ่มสาขาด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งต้องใช้งบประมาณสูงมาก  แต่สิ่งที่ผมรู้สึกแย้งในใจมาตลอดคือ  ทำไมไม่ให้มหาวิทยาลัยอื่นที่มีความดีเลิศทางสายวิทยาศาสตร์อยู่แล้ว  ขยายการเรียนการสอนออกสู่ภูมิภาคแทน  เพราะน่าจะทำได้ดีกว่าและใช้งบประมาณน้อยกว่า   หากเราคิดว่าเงินทุกบาทในการลงทุนก็คือภาษีจากประชาชนคนไทย

 

 

 

Get back to your cave.

 

 

ตัวอย่างห่วยๆ

 

คนไทยแท้ๆ ดัดจริตอวดภูมิ

 

ด้วยการใช้ภาษาฝรั่งคุยในบอร์ดภาษาไทย

 

อัยย่ะ คิดเหมือนกันเลย



#13 Bourne

Bourne

    สายลับ ๆ ล่อ ๆ หัดเกรียน

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,471 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 16:06

ผมคิดว่า นิสัยพื้นฐานของคนไทยส่วนใหญ่ เป็นคนรักสบาย และไม่ชอบเรียนรู้ครับ

อาจเป็นเพราะพื้นที่ ๆ เราอยู่มีทรัพยากรธรรมชาติมากมายเหลือเฟือ คนไทยจึงชอบเล่น ชอบสนุก ชอบพักผ่อนมากกว่า

สังเกตได้จาก คนไทยไม่ชอบสังเกต ไม่ชอบเก็บข้อมูลเชิงสถิติ ไม่ชอบคิดอะไรซับซ้อน ไม่ชอบไขว่คว้าเอง

แต่นิสัยที่ดีของคนไทยก็มีเยอะครับ เช่นใจดี ชอบความเรียบง่าย รวม ๆ แล้วก็เลยออกมาอย่างที่เห็นทุกวันนี้ คือ ดีเป็นเรื่อง ๆ เลวเป็นเรื่อง ๆ


ภาระกิจหลักของผมบนบอร์ดเสรีไทย คือ ด่าควายครับ เรื่องคิดต่างผมรับได้ แต่เรื่องคิดชั่วผมรับไม่ไหวครัช

#14 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 16:37

*
POPULAR

สิ่งที่ี้งี้เง่าที่สุดคือการเอาความรู้จากต่างประเทศมาใช่  โดยเฉพาะเรื่องภาษาไทย

 

ผมมองว่า ควาย  ควายเท่านั้นที่ เอาหลักการเรียน ภาษา หนึ่ง มาสอนอีก ภาษา

 

การเรียน ภาษาไทย  ของไทยหลังยุค มานะ มานี ชูใจ ได้ใช่หลักสูตรใหม่ที่มาของ แบบเรียน รถไฟ  และนั้นคือมหากาพย์ที่มาของเด็กไทยอ่านหนังสือไม่ออก

 

แบบเรียนไทยในยุคนั้นได้นำหลักคิดมาจากการเรียนภาษาของ ออสเตรเลีย ซึ่งได้รับการยอมรับว่าทั่วโลกว่า ดีที่สุด

 

แต่  ภาษาไทย คือ ภาษาไทย  ไม่ได้มีรากศัพท์ทางภาษาจาก ภาษาลาตินแบบตะวันตก  การเอาวิธีเรียนจากภาษาที่มีทั้งรากศัพท์ ไวยากรณ์ต่างกันมาใช่คือความล้มเหลว

 

ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่ต้องมีการจำ  พอๆกับการสะกด  เอาง่ายๆ

 

To อ่านว่า  ทู  ท + เสียง อู

 

Go อ่านว่า  โก  ก + เสียง โอ

 

หรือ คำว่า ทู  เขียนได้หลายแบบ To Too Two

 

เมื่อนำหลักการจำคำมา  แทนที่ระบบ สะกดคำ  ทำให้แบบเรียนเราเพี้ยนไปมาก  เช่นประโยคแรกของบทเรียนภาษาไทยตามหลักสูตรปัจจุบันคือ

 

hqdefault.jpg

 

มา มา มาดู

มาดู  ใบโบก

มาดู ใบบัว

 

สังเกตที่ผมทำตัวเข้ม สังเกตในหนังสือก็สีต่างออกไป

 

คำว่า ใบโบก  มีเสียงแม่ กก

 

แล้วแม่กก  สอนแล้วหรือ?  นี้บทแรกนะ

 

คนทำก็รู้ว่าเด็กอ่านไม่ได้  ให้จำรูปแบบแทน  โดนให้เด็กจำคำผสมกับการสะกด  ประมาณพอถึง ป 3 เด็กจะได้เอง

 

แล้วผลคือ  ล้มเหลวจนจตุรงค์ออกมาแก้.............ยังแก้ไม่ได้นะ

 

ระบบการจำรูปแบบก่อนอ่านไม่มีในภาษาไทย  ภาษาไทยคือภาษาแห่งการสะกด

 

ลองดูแบบเรียนที่ได้ผลแต่ถูกยกเลิกไปแล้ว

 

มานี

 

มานี มี ตา

 

กา

 

กามีตา

 

อา

 

อามีตา

 

สังเกตว่าไม่มีการใส่คำที่ควบกล้ำ ความยากเหมาะสม  หลายโรงเรียนในปัจจุบันนำแบบเรียนนี้มาสอนเสริม  ทำให้เด็กๆอ่านหนังสือออก.........

 

ของต่างประเทศใช่จะดีทั้งหมด  ต้องเลือกให้ได้ใช้ให้เป็น  ไม่ใช่เอามาหมดจนทำลายตัวเองแบบเห็นได้ชัด



#15 lagrangian

lagrangian

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 229 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 17:15

ตัวอย่างที่ดีที่สุดของระบบการศึกษา

 

คือการสอนว่ายน้ำ

 

ห่วยสุดในชั้น    = ว่ายน้ำเป็น

 

เก่งขึ้นมาหน่อย = ว่ายน้ำแข็ง

 

หัวกะทิ             = ไปเป็นนักกีฬาว่ายน้ำ

 

 

ความห่วยแตกของระบบการศึกษาตอนนี้คือ 

 

โรงเรียนดีๆ คัดแต่หัวกะทิมาเรียน ผู้สอนเก่งหรือเปล่าที่สอนหัวกะทิเหล่านี้ให้เก่ง(เพราะความจริงเค้าเก่งอยู่แล้ว)

 

 

โรงเรียนบ้านนอก ที่สามารถสอนไอ้ห่วยสุดในห้องให้เอาตัวรอดได้ เหมือนที่โรงเรียนสอนว่ายน้ำสอนห่วยสุดให้ว่ายน้ำเป็น

 

นี่คือความสำเร็จของระบบการศึกษาที่แท้จริง

 

 

ไอ้โรงเรียนชั้นดีสอนหัวกะทิให้เป็นด็อกเตอร์มันไม่ใช่ความสำเร็จแท้จริงหรอก

ด้วยความเคารพ ผมไม่เห็นว่าการแบ่งเกรดเป็นโรงเรียนดี กับ โรงเรียนบ้านนอกจะเป็นความห่วยแตกของระบบการศึกษาแต่ประการใด  แต่เป็นการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่างหาก



#16 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:36

 

ตัวอย่างที่ดีที่สุดของระบบการศึกษา

 

คือการสอนว่ายน้ำ

 

ห่วยสุดในชั้น    = ว่ายน้ำเป็น

 

เก่งขึ้นมาหน่อย = ว่ายน้ำแข็ง

 

หัวกะทิ             = ไปเป็นนักกีฬาว่ายน้ำ

 

 

ความห่วยแตกของระบบการศึกษาตอนนี้คือ 

 

โรงเรียนดีๆ คัดแต่หัวกะทิมาเรียน ผู้สอนเก่งหรือเปล่าที่สอนหัวกะทิเหล่านี้ให้เก่ง(เพราะความจริงเค้าเก่งอยู่แล้ว)

 

 

โรงเรียนบ้านนอก ที่สามารถสอนไอ้ห่วยสุดในห้องให้เอาตัวรอดได้ เหมือนที่โรงเรียนสอนว่ายน้ำสอนห่วยสุดให้ว่ายน้ำเป็น

 

นี่คือความสำเร็จของระบบการศึกษาที่แท้จริง

 

 

ไอ้โรงเรียนชั้นดีสอนหัวกะทิให้เป็นด็อกเตอร์มันไม่ใช่ความสำเร็จแท้จริงหรอก

ด้วยความเคารพ ผมไม่เห็นว่าการแบ่งเกรดเป็นโรงเรียนดี กับ โรงเรียนบ้านนอกจะเป็นความห่วยแตกของระบบการศึกษาแต่ประการใด  แต่เป็นการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่างหาก

 

 

ผมคิดว่าคุณ Shariff เค้าหมายถึงการวัดความสำเร็จของระบบการศึกษา เราควรดูที่โรงเรียนเล็กๆ ทรัพยากรน้อยๆ สามารถสอนให้เด็กมีความรู้ตามสมควรได้หรือเปล่า ไม่ใช่ดูที่โรงเรียนใหญ่ๆ สามารถส่งเด็กเรียนคณะตังๆ หรือได้รางวัลบ่อยๆ เพราะโรงเรียนเหล่านี้ มักได้เด็กเก่งเป็นต้นทุนที่ได้เปรียบอยู่แล้วครับ


หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#17 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:44

ผมไม่แน่ใจว่า ข้อสอบ admission ยังรวมวิชาวิทยาศาสต์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา เอาไว้ในฉบับเดียวกันแบบเดิมหรือเปล่า??

 

บอกตรงๆว่า ตอนรู้ว่ามีสิ่งนี้ครั้งแรก ผมรู้สึกทันที ว่าเด็กไทยกำลังถูกวัดผลด้วยคนโง่ๆ ในกระทรวง ที่คิดได้แบบอับปัญญาที่สุด โง่แล้วเสร่อมาคัดเลือกคนฉลาดเข้ามหาวิทยาลัย และเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว ที่มหาวิทยาลัยเปิดรับสมัครตรงเป็นการใหญ่ เพราะไม่เช่นนั้น เราจะได้เด็กที่ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าถนัดด้านได ความรู้แต่ละวิชาเพียงพอไหม เข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัย สถาบันไหน เค้าจะอยากวัดดวงด้วยข้อสอบกากๆ ที่คนโง่ๆ ในกระทรวงใช้

 

ผมไม่รู้ว่าคุณจาตุรนท์ ทราบตรงนี้หรือไม่? ด้านหนึ่งมันก็จริงอยู่ ที่การรับตรงทำให้เด็กต่างจังหวัดลำบาก เพราะต้องเสียตังค์ เทียวมาสอบหลายๆครั้ง ซึ่งแทบเป็นไปไม่ได้เลย ที่ครอบครัวคนทั่วๆ ไปจะรับตรงนี้ไหว แต่กรุณาดูด้วย ว่าข้อสอบส่วนกลางที่ใช้นั้น มันมีปัญหาจริงๆ จะแก้ปัญหา มันต้องดูทั้งสองฝ่าย จะโทษมหาวิทยาลัยอย่างเดียวไม่ได้


หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#18 annykun

annykun

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,567 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 23:13

บ่นว่าสอบตรงลำบาก  เสียเงิน  แ้ล้วเสรือกโง่มาสอบตรงทำมะเขือเผาอะไร?  แอดมิดชั่นไปดิ

บ่นว่าข้อสอบตรงมันยาก   แลวจะมาลำบากลำบนกับสอบตรงทำไม  ไปทำข้อสอบแอดมินชั่นอันสุดแสน  ประเทืองปัญญาต่อไปดิ


คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม  คือ   ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง

คุณธรรมที่พร้ำสอน  ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา   ส่วน  ประชาธิปไตยน่ะรึ  เอาเข้าจริงๆ  สำคัญอันใด?? 

 


#19 Garfield

Garfield

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,107 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 23:26

สิ่งที่ี้งี้เง่าที่สุดคือการเอาความรู้จากต่างประเทศมาใช่  โดยเฉพาะเรื่องภาษาไทย

 

ผมมองว่า ควาย  ควายเท่านั้นที่ เอาหลักการเรียน ภาษา หนึ่ง มาสอนอีก ภาษา

 

การเรียน ภาษาไทย  ของไทยหลังยุค มานะ มานี ชูใจ ได้ใช่หลักสูตรใหม่ที่มาของ แบบเรียน รถไฟ  และนั้นคือมหากาพย์ที่มาของเด็กไทยอ่านหนังสือไม่ออก

 

แบบเรียนไทยในยุคนั้นได้นำหลักคิดมาจากการเรียนภาษาของ ออสเตรเลีย ซึ่งได้รับการยอมรับว่าทั่วโลกว่า ดีที่สุด

 

แต่  ภาษาไทย คือ ภาษาไทย  ไม่ได้มีรากศัพท์ทางภาษาจาก ภาษาลาตินแบบตะวันตก  การเอาวิธีเรียนจากภาษาที่มีทั้งรากศัพท์ ไวยากรณ์ต่างกันมาใช่คือความล้มเหลว

 

ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่ต้องมีการจำ  พอๆกับการสะกด  เอาง่ายๆ

 

To อ่านว่า  ทู  ท + เสียง อู

 

Go อ่านว่า  โก  ก + เสียง โอ

 

หรือ คำว่า ทู  เขียนได้หลายแบบ To Too Two

 

เมื่อนำหลักการจำคำมา  แทนที่ระบบ สะกดคำ  ทำให้แบบเรียนเราเพี้ยนไปมาก  เช่นประโยคแรกของบทเรียนภาษาไทยตามหลักสูตรปัจจุบันคือ

 

hqdefault.jpg

 

มา มา มาดู

มาดู  ใบโบก

มาดู ใบบัว

 

สังเกตที่ผมทำตัวเข้ม สังเกตในหนังสือก็สีต่างออกไป

 

คำว่า ใบโบก  มีเสียงแม่ กก

 

แล้วแม่กก  สอนแล้วหรือ?  นี้บทแรกนะ

 

คนทำก็รู้ว่าเด็กอ่านไม่ได้  ให้จำรูปแบบแทน  โดนให้เด็กจำคำผสมกับการสะกด  ประมาณพอถึง ป 3 เด็กจะได้เอง

 

แล้วผลคือ  ล้มเหลวจนจตุรงค์ออกมาแก้.............ยังแก้ไม่ได้นะ

 

ระบบการจำรูปแบบก่อนอ่านไม่มีในภาษาไทย  ภาษาไทยคือภาษาแห่งการสะกด

 

ลองดูแบบเรียนที่ได้ผลแต่ถูกยกเลิกไปแล้ว

 

มานี

 

มานี มี ตา

 

กา

 

กามีตา

 

อา

 

อามีตา

 

สังเกตว่าไม่มีการใส่คำที่ควบกล้ำ ความยากเหมาะสม  หลายโรงเรียนในปัจจุบันนำแบบเรียนนี้มาสอนเสริม  ทำให้เด็กๆอ่านหนังสือออก.........

 

ของต่างประเทศใช่จะดีทั้งหมด  ต้องเลือกให้ได้ใช้ให้เป็น  ไม่ใช่เอามาหมดจนทำลายตัวเองแบบเห็นได้ชัด

สุดยอดมากครับ อธิบายได้ชัดเจนมาก ผมเพิ่งรู้นี่แหละว่ามีปัญหาแบบนี้ด้วย เพราะตอนเรียนก็ใช้มานะ มานี แล้วไม่เคยรู้เลยว่าปัจจุบันมันเปลี่ยนเป็นแบบนี้

 

แล้วถึงจะรู้ ถ้าไม่ได้อ่านที่คุณ sigree อธิบายผมก็คงไม่เข้าใจอยู่ดีว่าปัญหาเกิดจากอะไร นับถือจริงๆ



#20 lagrangian

lagrangian

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 229 posts

ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 - 23:44

ผมไม่แน่ใจว่า ข้อสอบ admission ยังรวมวิชาวิทยาศาสต์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา เอาไว้ในฉบับเดียวกันแบบเดิมหรือเปล่า??

 

บอกตรงๆว่า ตอนรู้ว่ามีสิ่งนี้ครั้งแรก ผมรู้สึกทันที ว่าเด็กไทยกำลังถูกวัดผลด้วยคนโง่ๆ ในกระทรวง ที่คิดได้แบบอับปัญญาที่สุด โง่แล้วเสร่อมาคัดเลือกคนฉลาดเข้ามหาวิทยาลัย และเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว ที่มหาวิทยาลัยเปิดรับสมัครตรงเป็นการใหญ่ เพราะไม่เช่นนั้น เราจะได้เด็กที่ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าถนัดด้านได ความรู้แต่ละวิชาเพียงพอไหม เข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัย สถาบันไหน เค้าจะอยากวัดดวงด้วยข้อสอบกากๆ ที่คนโง่ๆ ในกระทรวงใช้

 

ผมไม่รู้ว่าคุณจาตุรนท์ ทราบตรงนี้หรือไม่? ด้านหนึ่งมันก็จริงอยู่ ที่การรับตรงทำให้เด็กต่างจังหวัดลำบาก เพราะต้องเสียตังค์ เทียวมาสอบหลายๆครั้ง ซึ่งแทบเป็นไปไม่ได้เลย ที่ครอบครัวคนทั่วๆ ไปจะรับตรงนี้ไหว แต่กรุณาดูด้วย ว่าข้อสอบส่วนกลางที่ใช้นั้น มันมีปัญหาจริงๆ จะแก้ปัญหา มันต้องดูทั้งสองฝ่าย จะโทษมหาวิทยาลัยอย่างเดียวไม่ได้

ยังรวมอยู่เช่นเดิมครับ วิชาวิทยาศาสตร์ในการ admission  จะประกอบไปด้วย ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และ ดาราศาสตร์  



#21 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กันยายน พ.ศ. 2556 - 07:47

 

สิ่งที่ี้งี้เง่าที่สุดคือการเอาความรู้จากต่างประเทศมาใช่  โดยเฉพาะเรื่องภาษาไทย

 

ผมมองว่า ควาย  ควายเท่านั้นที่ เอาหลักการเรียน ภาษา หนึ่ง มาสอนอีก ภาษา

 

การเรียน ภาษาไทย  ของไทยหลังยุค มานะ มานี ชูใจ ได้ใช่หลักสูตรใหม่ที่มาของ แบบเรียน รถไฟ  และนั้นคือมหากาพย์ที่มาของเด็กไทยอ่านหนังสือไม่ออก

 

แบบเรียนไทยในยุคนั้นได้นำหลักคิดมาจากการเรียนภาษาของ ออสเตรเลีย ซึ่งได้รับการยอมรับว่าทั่วโลกว่า ดีที่สุด

 

แต่  ภาษาไทย คือ ภาษาไทย  ไม่ได้มีรากศัพท์ทางภาษาจาก ภาษาลาตินแบบตะวันตก  การเอาวิธีเรียนจากภาษาที่มีทั้งรากศัพท์ ไวยากรณ์ต่างกันมาใช่คือความล้มเหลว

 

ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่ต้องมีการจำ  พอๆกับการสะกด  เอาง่ายๆ

 

To อ่านว่า  ทู  ท + เสียง อู

 

Go อ่านว่า  โก  ก + เสียง โอ

 

หรือ คำว่า ทู  เขียนได้หลายแบบ To Too Two

 

เมื่อนำหลักการจำคำมา  แทนที่ระบบ สะกดคำ  ทำให้แบบเรียนเราเพี้ยนไปมาก  เช่นประโยคแรกของบทเรียนภาษาไทยตามหลักสูตรปัจจุบันคือ

 

hqdefault.jpg

 

มา มา มาดู

มาดู  ใบโบก

มาดู ใบบัว

 

สังเกตที่ผมทำตัวเข้ม สังเกตในหนังสือก็สีต่างออกไป

 

คำว่า ใบโบก  มีเสียงแม่ กก

 

แล้วแม่กก  สอนแล้วหรือ?  นี้บทแรกนะ

 

คนทำก็รู้ว่าเด็กอ่านไม่ได้  ให้จำรูปแบบแทน  โดนให้เด็กจำคำผสมกับการสะกด  ประมาณพอถึง ป 3 เด็กจะได้เอง

 

แล้วผลคือ  ล้มเหลวจนจตุรงค์ออกมาแก้.............ยังแก้ไม่ได้นะ

 

ระบบการจำรูปแบบก่อนอ่านไม่มีในภาษาไทย  ภาษาไทยคือภาษาแห่งการสะกด

 

ลองดูแบบเรียนที่ได้ผลแต่ถูกยกเลิกไปแล้ว

 

มานี

 

มานี มี ตา

 

กา

 

กามีตา

 

อา

 

อามีตา

 

สังเกตว่าไม่มีการใส่คำที่ควบกล้ำ ความยากเหมาะสม  หลายโรงเรียนในปัจจุบันนำแบบเรียนนี้มาสอนเสริม  ทำให้เด็กๆอ่านหนังสือออก.........

 

ของต่างประเทศใช่จะดีทั้งหมด  ต้องเลือกให้ได้ใช้ให้เป็น  ไม่ใช่เอามาหมดจนทำลายตัวเองแบบเห็นได้ชัด

สุดยอดมากครับ อธิบายได้ชัดเจนมาก ผมเพิ่งรู้นี่แหละว่ามีปัญหาแบบนี้ด้วย เพราะตอนเรียนก็ใช้มานะ มานี แล้วไม่เคยรู้เลยว่าปัจจุบันมันเปลี่ยนเป็นแบบนี้

 

แล้วถึงจะรู้ ถ้าไม่ได้อ่านที่คุณ sigree อธิบายผมก็คงไม่เข้าใจอยู่ดีว่าปัญหาเกิดจากอะไร นับถือจริงๆ

 

ปัญหาภาษาไทยเป็นปัญหาใหญ่มาก และลามไปทั่ววิชาอื่น

 

เพราะพอเด็กอ่านไม่ได้  สอนคณิตศาสตร์  ยังไงเมื่อเด็กยังอ่านโจทย์ไม่เข้าใจ  สอนวิทยาศาสตร์ยังไงเมื่อเด็กอ่านหนังสือไม่ได้

 

CockRoachKiller เขียนนั้นผมมองว่าเขาอาจไม่ได้อยู่เมืองไทย  ไม่รู้ว่าปัญหาคืออะไรและจิตนาการอย่างไม่เข้าใจด้วยว่าปัญหาไปทางไหนยังไง

 

คิดไปเองในหลายๆข้อความที่เขียนว่าฝรั่งมันดี  มันเลิศ

 

ปัญหาการศึกษาไทยเยอะครับ 

 

ภาษาไทยเป็นปัญหาใหญ่สุดทำให้การศึกษาไทยล้าหลัง  มีการสำรวจพบว่าเด็กไทยอ่านไม่ออกราว 20 %

 

แต่  วงในจริงๆเราคุยกันที่ 30 %

 

จริงๆเรื่องนี้คุยกันมานานแล้ว  ถาม กระทรวงรู้ปัญหาไหม  รู้  แต่การเปลี่ยนรูปแบบคือการตบหน้าเลยไม่เปลี่ยน  หากจำไม่ผิดหลักสูตรใหม่  หลังโดนด่าเรื่องการจำคำเปลี่ยนใหม่

อย่างจะเขียนว่า   มานะ ไปโรงเรียน  ตัวเข้มคือที่เด็กๆยังอ่านไม่ได้นะครับ  แทนจำคำเขียนเป็น

 

มานะ  ไป  (รูปโรงเรียน)

 

ดูเองครับ  ไม่รู้จะวิจารณ์ ยังไงแล้ว  มันเหนื่อย  นี้เป็นยุคแรกที่เราต้องมีการเรียนพิเศษเพื่อให้เด็กๆอ่านออก  เพราะเด็กๆอ่านไม่ออกจริงๆ

 

 

รองลงมาคือระบบคิด  ซึ่งนักวิชาการ คนที่คิด  แต่ไม่ได้อยู่ในวงเช่น

 

Disagree

 

คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ:  That is the fact.

 

คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา:   No research means you have no gut.  Are you one of them?

 

หารู้ไม่ว่าปัจจุบันหากไปนั่งนับสิ่งที่ครูสอนนั้น  น้อยกว่าการทำงานอื่นๆ

 

ครูบางคนเลื่อนขั้นโดยไม่ได้สอนเด็กเกิน 40 % ของเวลาสอนเสียด้วยซ้ำ  มีงานวิจัยมาก  มีเวลาทำงานงานวิจัย เอางานวิจัยมาอบรม ฯลฯ

 

ลองไปเช็คดูได้  เวลาเรียน 1 เทอม คือ 5 เดือน  เวลาเรียนราวๆ 100 วัน  บางโรงสอนจริงๆไม่ถึง 80 วัน เพราะครูไปสำมนา ส่งรายงานงานวิจัย ไปทำประเมินการศึกษา ฯลฯ

 

มาหักกิจกรรมพิเศษอีก 

ทราบไหม บางโรงมีทัศนศึกษา เทอมและ 3 ครั้ง  1 ปี 6 ครั้งมากไปไหม?

กิจกรรมกีฬาสีอีก 3 วัน

ครูต้องไปต่างประเทศเพื่อไปอบรม

 

ฯลฯ

 

ทั้งหมดเกิดในวัน เวลาสอนนะครับ  ไม่ใช่ปิดเทรม

 

นี้แหละการศึกษาไทยปัจจุบัน  ครูที่โตในสายอาชีพไม่ได้สอน ไม่มีเวลาสอน

 

แล้วเด็กๆละ?

 

ผมไม่ได้พูดเรื่องปัจจัยทางการเงิน  การอยู่รอดของโรงเรียนและครูนะ  เพราะนั้นเป็นส่วนเล็ก  แน่ละสำคัญแต่ครูในอดีตก็ได้เงินน้อยแต่สอนเด็กๆจนโตเป็นคนดีคนเก่ง  เราต้องช่วยครู และ รร

 

แต้มันไม่ใช่ปัจจัยหลักของความตกต่ำในการศึกษาไทย


Edited by sigree, 25 กันยายน พ.ศ. 2556 - 07:49.


#22 Shariff

Shariff

    สมาชิกหน้าตาดี

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,802 posts

ตอบ 25 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:07

 

 

ตัวอย่างที่ดีที่สุดของระบบการศึกษา

 

คือการสอนว่ายน้ำ

 

ห่วยสุดในชั้น    = ว่ายน้ำเป็น

 

เก่งขึ้นมาหน่อย = ว่ายน้ำแข็ง

 

หัวกะทิ             = ไปเป็นนักกีฬาว่ายน้ำ

 

 

ความห่วยแตกของระบบการศึกษาตอนนี้คือ 

 

โรงเรียนดีๆ คัดแต่หัวกะทิมาเรียน ผู้สอนเก่งหรือเปล่าที่สอนหัวกะทิเหล่านี้ให้เก่ง(เพราะความจริงเค้าเก่งอยู่แล้ว)

 

 

โรงเรียนบ้านนอก ที่สามารถสอนไอ้ห่วยสุดในห้องให้เอาตัวรอดได้ เหมือนที่โรงเรียนสอนว่ายน้ำสอนห่วยสุดให้ว่ายน้ำเป็น

 

นี่คือความสำเร็จของระบบการศึกษาที่แท้จริง

 

 

ไอ้โรงเรียนชั้นดีสอนหัวกะทิให้เป็นด็อกเตอร์มันไม่ใช่ความสำเร็จแท้จริงหรอก

ด้วยความเคารพ ผมไม่เห็นว่าการแบ่งเกรดเป็นโรงเรียนดี กับ โรงเรียนบ้านนอกจะเป็นความห่วยแตกของระบบการศึกษาแต่ประการใด  แต่เป็นการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่างหาก

 

 

ผมคิดว่าคุณ Shariff เค้าหมายถึงการวัดความสำเร็จของระบบการศึกษา เราควรดูที่โรงเรียนเล็กๆ ทรัพยากรน้อยๆ สามารถสอนให้เด็กมีความรู้ตามสมควรได้หรือเปล่า ไม่ใช่ดูที่โรงเรียนใหญ่ๆ สามารถส่งเด็กเรียนคณะตังๆ หรือได้รางวัลบ่อยๆ เพราะโรงเรียนเหล่านี้ มักได้เด็กเก่งเป็นต้นทุนที่ได้เปรียบอยู่แล้วครับ

 

 

ถูกต้องครับ

 

ทุกวันนี้เราพุ่งเป้าไปที่ การสร้างเด็กเก่งให้เป็นด็อกเตอร์

 

เอางบประมาณไปลงตรงนั้นหมด

 

จนหลงลืมไปว่าการพัฒนาประเทศ เราต้องทำให้เด็กที่เกิดมาไม่เก่งเอาตัวรอดให้ได้


"การปลดปล่อยตัวเองออกจากความเป็นทาสทางความคิดมิใช่ใครอื่น, มีแต่เราเท่านั้นที่จะต้องกระทำ "จากเพลง Redemption song.

#23 DarkSwan

DarkSwan

    Reporter Activated

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,689 posts

ตอบ 25 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:27

 

 

สิ่งที่ี้งี้เง่าที่สุดคือการเอาความรู้จากต่างประเทศมาใช่  โดยเฉพาะเรื่องภาษาไทย

 

ผมมองว่า ควาย  ควายเท่านั้นที่ เอาหลักการเรียน ภาษา หนึ่ง มาสอนอีก ภาษา

 

การเรียน ภาษาไทย  ของไทยหลังยุค มานะ มานี ชูใจ ได้ใช่หลักสูตรใหม่ที่มาของ แบบเรียน รถไฟ  และนั้นคือมหากาพย์ที่มาของเด็กไทยอ่านหนังสือไม่ออก

 

แบบเรียนไทยในยุคนั้นได้นำหลักคิดมาจากการเรียนภาษาของ ออสเตรเลีย ซึ่งได้รับการยอมรับว่าทั่วโลกว่า ดีที่สุด

 

แต่  ภาษาไทย คือ ภาษาไทย  ไม่ได้มีรากศัพท์ทางภาษาจาก ภาษาลาตินแบบตะวันตก  การเอาวิธีเรียนจากภาษาที่มีทั้งรากศัพท์ ไวยากรณ์ต่างกันมาใช่คือความล้มเหลว

 

ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่ต้องมีการจำ  พอๆกับการสะกด  เอาง่ายๆ

 

To อ่านว่า  ทู  ท + เสียง อู

 

Go อ่านว่า  โก  ก + เสียง โอ

 

หรือ คำว่า ทู  เขียนได้หลายแบบ To Too Two

 

เมื่อนำหลักการจำคำมา  แทนที่ระบบ สะกดคำ  ทำให้แบบเรียนเราเพี้ยนไปมาก  เช่นประโยคแรกของบทเรียนภาษาไทยตามหลักสูตรปัจจุบันคือ

 

hqdefault.jpg

 

มา มา มาดู

มาดู  ใบโบก

มาดู ใบบัว

 

สังเกตที่ผมทำตัวเข้ม สังเกตในหนังสือก็สีต่างออกไป

 

คำว่า ใบโบก  มีเสียงแม่ กก

 

แล้วแม่กก  สอนแล้วหรือ?  นี้บทแรกนะ

 

คนทำก็รู้ว่าเด็กอ่านไม่ได้  ให้จำรูปแบบแทน  โดนให้เด็กจำคำผสมกับการสะกด  ประมาณพอถึง ป 3 เด็กจะได้เอง

 

แล้วผลคือ  ล้มเหลวจนจตุรงค์ออกมาแก้.............ยังแก้ไม่ได้นะ

 

ระบบการจำรูปแบบก่อนอ่านไม่มีในภาษาไทย  ภาษาไทยคือภาษาแห่งการสะกด

 

ลองดูแบบเรียนที่ได้ผลแต่ถูกยกเลิกไปแล้ว

 

มานี

 

มานี มี ตา

 

กา

 

กามีตา

 

อา

 

อามีตา

 

สังเกตว่าไม่มีการใส่คำที่ควบกล้ำ ความยากเหมาะสม  หลายโรงเรียนในปัจจุบันนำแบบเรียนนี้มาสอนเสริม  ทำให้เด็กๆอ่านหนังสือออก.........

 

ของต่างประเทศใช่จะดีทั้งหมด  ต้องเลือกให้ได้ใช้ให้เป็น  ไม่ใช่เอามาหมดจนทำลายตัวเองแบบเห็นได้ชัด

สุดยอดมากครับ อธิบายได้ชัดเจนมาก ผมเพิ่งรู้นี่แหละว่ามีปัญหาแบบนี้ด้วย เพราะตอนเรียนก็ใช้มานะ มานี แล้วไม่เคยรู้เลยว่าปัจจุบันมันเปลี่ยนเป็นแบบนี้

 

แล้วถึงจะรู้ ถ้าไม่ได้อ่านที่คุณ sigree อธิบายผมก็คงไม่เข้าใจอยู่ดีว่าปัญหาเกิดจากอะไร นับถือจริงๆ

 

ปัญหาภาษาไทยเป็นปัญหาใหญ่มาก และลามไปทั่ววิชาอื่น

 

เพราะพอเด็กอ่านไม่ได้  สอนคณิตศาสตร์  ยังไงเมื่อเด็กยังอ่านโจทย์ไม่เข้าใจ  สอนวิทยาศาสตร์ยังไงเมื่อเด็กอ่านหนังสือไม่ได้

 

CockRoachKiller เขียนนั้นผมมองว่าเขาอาจไม่ได้อยู่เมืองไทย  ไม่รู้ว่าปัญหาคืออะไรและจิตนาการอย่างไม่เข้าใจด้วยว่าปัญหาไปทางไหนยังไง

 

คิดไปเองในหลายๆข้อความที่เขียนว่าฝรั่งมันดี  มันเลิศ

 

ปัญหาการศึกษาไทยเยอะครับ 

 

ภาษาไทยเป็นปัญหาใหญ่สุดทำให้การศึกษาไทยล้าหลัง  มีการสำรวจพบว่าเด็กไทยอ่านไม่ออกราว 20 %

 

แต่  วงในจริงๆเราคุยกันที่ 30 %

 

จริงๆเรื่องนี้คุยกันมานานแล้ว  ถาม กระทรวงรู้ปัญหาไหม  รู้  แต่การเปลี่ยนรูปแบบคือการตบหน้าเลยไม่เปลี่ยน  หากจำไม่ผิดหลักสูตรใหม่  หลังโดนด่าเรื่องการจำคำเปลี่ยนใหม่

อย่างจะเขียนว่า   มานะ ไปโรงเรียน  ตัวเข้มคือที่เด็กๆยังอ่านไม่ได้นะครับ  แทนจำคำเขียนเป็น

 

มานะ  ไป  (รูปโรงเรียน)

 

ดูเองครับ  ไม่รู้จะวิจารณ์ ยังไงแล้ว  มันเหนื่อย  นี้เป็นยุคแรกที่เราต้องมีการเรียนพิเศษเพื่อให้เด็กๆอ่านออก  เพราะเด็กๆอ่านไม่ออกจริงๆ

 

 

รองลงมาคือระบบคิด  ซึ่งนักวิชาการ คนที่คิด  แต่ไม่ได้อยู่ในวงเช่น

 

Disagree

 

คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ:  That is the fact.

 

คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา:   No research means you have no gut.  Are you one of them?

 

หารู้ไม่ว่าปัจจุบันหากไปนั่งนับสิ่งที่ครูสอนนั้น  น้อยกว่าการทำงานอื่นๆ

 

ครูบางคนเลื่อนขั้นโดยไม่ได้สอนเด็กเกิน 40 % ของเวลาสอนเสียด้วยซ้ำ  มีงานวิจัยมาก  มีเวลาทำงานงานวิจัย เอางานวิจัยมาอบรม ฯลฯ

 

ลองไปเช็คดูได้  เวลาเรียน 1 เทอม คือ 5 เดือน  เวลาเรียนราวๆ 100 วัน  บางโรงสอนจริงๆไม่ถึง 80 วัน เพราะครูไปสำมนา ส่งรายงานงานวิจัย ไปทำประเมินการศึกษา ฯลฯ

 

มาหักกิจกรรมพิเศษอีก 

ทราบไหม บางโรงมีทัศนศึกษา เทอมและ 3 ครั้ง  1 ปี 6 ครั้งมากไปไหม?

กิจกรรมกีฬาสีอีก 3 วัน

ครูต้องไปต่างประเทศเพื่อไปอบรม

 

ฯลฯ

 

ทั้งหมดเกิดในวัน เวลาสอนนะครับ  ไม่ใช่ปิดเทรม

 

นี้แหละการศึกษาไทยปัจจุบัน  ครูที่โตในสายอาชีพไม่ได้สอน ไม่มีเวลาสอน

 

แล้วเด็กๆละ?

 

ผมไม่ได้พูดเรื่องปัจจัยทางการเงิน  การอยู่รอดของโรงเรียนและครูนะ  เพราะนั้นเป็นส่วนเล็ก  แน่ละสำคัญแต่ครูในอดีตก็ได้เงินน้อยแต่สอนเด็กๆจนโตเป็นคนดีคนเก่ง  เราต้องช่วยครู และ รร

 

แต้มันไม่ใช่ปัจจัยหลักของความตกต่ำในการศึกษาไทย

 

 

 

 

 

สิ่งที่ี้งี้เง่าที่สุดคือการเอาความรู้จากต่างประเทศมาใช่  โดยเฉพาะเรื่องภาษาไทย

 

ผมมองว่า ควาย  ควายเท่านั้นที่ เอาหลักการเรียน ภาษา หนึ่ง มาสอนอีก ภาษา

 

การเรียน ภาษาไทย  ของไทยหลังยุค มานะ มานี ชูใจ ได้ใช่หลักสูตรใหม่ที่มาของ แบบเรียน รถไฟ  และนั้นคือมหากาพย์ที่มาของเด็กไทยอ่านหนังสือไม่ออก

 

แบบเรียนไทยในยุคนั้นได้นำหลักคิดมาจากการเรียนภาษาของ ออสเตรเลีย ซึ่งได้รับการยอมรับว่าทั่วโลกว่า ดีที่สุด

 

แต่  ภาษาไทย คือ ภาษาไทย  ไม่ได้มีรากศัพท์ทางภาษาจาก ภาษาลาตินแบบตะวันตก  การเอาวิธีเรียนจากภาษาที่มีทั้งรากศัพท์ ไวยากรณ์ต่างกันมาใช่คือความล้มเหลว

 

ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่ต้องมีการจำ  พอๆกับการสะกด  เอาง่ายๆ

 

To อ่านว่า  ทู  ท + เสียง อู

 

Go อ่านว่า  โก  ก + เสียง โอ

 

หรือ คำว่า ทู  เขียนได้หลายแบบ To Too Two

 

เมื่อนำหลักการจำคำมา  แทนที่ระบบ สะกดคำ  ทำให้แบบเรียนเราเพี้ยนไปมาก  เช่นประโยคแรกของบทเรียนภาษาไทยตามหลักสูตรปัจจุบันคือ

 

hqdefault.jpg

 

มา มา มาดู

มาดู  ใบโบก

มาดู ใบบัว

 

สังเกตที่ผมทำตัวเข้ม สังเกตในหนังสือก็สีต่างออกไป

 

คำว่า ใบโบก  มีเสียงแม่ กก

 

แล้วแม่กก  สอนแล้วหรือ?  นี้บทแรกนะ

 

คนทำก็รู้ว่าเด็กอ่านไม่ได้  ให้จำรูปแบบแทน  โดนให้เด็กจำคำผสมกับการสะกด  ประมาณพอถึง ป 3 เด็กจะได้เอง

 

แล้วผลคือ  ล้มเหลวจนจตุรงค์ออกมาแก้.............ยังแก้ไม่ได้นะ

 

ระบบการจำรูปแบบก่อนอ่านไม่มีในภาษาไทย  ภาษาไทยคือภาษาแห่งการสะกด

 

ลองดูแบบเรียนที่ได้ผลแต่ถูกยกเลิกไปแล้ว

 

มานี

 

มานี มี ตา

 

กา

 

กามีตา

 

อา

 

อามีตา

 

สังเกตว่าไม่มีการใส่คำที่ควบกล้ำ ความยากเหมาะสม  หลายโรงเรียนในปัจจุบันนำแบบเรียนนี้มาสอนเสริม  ทำให้เด็กๆอ่านหนังสือออก.........

 

ของต่างประเทศใช่จะดีทั้งหมด  ต้องเลือกให้ได้ใช้ให้เป็น  ไม่ใช่เอามาหมดจนทำลายตัวเองแบบเห็นได้ชัด

สุดยอดมากครับ อธิบายได้ชัดเจนมาก ผมเพิ่งรู้นี่แหละว่ามีปัญหาแบบนี้ด้วย เพราะตอนเรียนก็ใช้มานะ มานี แล้วไม่เคยรู้เลยว่าปัจจุบันมันเปลี่ยนเป็นแบบนี้

 

แล้วถึงจะรู้ ถ้าไม่ได้อ่านที่คุณ sigree อธิบายผมก็คงไม่เข้าใจอยู่ดีว่าปัญหาเกิดจากอะไร นับถือจริงๆ

 

ปัญหาภาษาไทยเป็นปัญหาใหญ่มาก และลามไปทั่ววิชาอื่น

 

เพราะพอเด็กอ่านไม่ได้  สอนคณิตศาสตร์  ยังไงเมื่อเด็กยังอ่านโจทย์ไม่เข้าใจ  สอนวิทยาศาสตร์ยังไงเมื่อเด็กอ่านหนังสือไม่ได้

 

CockRoachKiller เขียนนั้นผมมองว่าเขาอาจไม่ได้อยู่เมืองไทย  ไม่รู้ว่าปัญหาคืออะไรและจิตนาการอย่างไม่เข้าใจด้วยว่าปัญหาไปทางไหนยังไง

 

คิดไปเองในหลายๆข้อความที่เขียนว่าฝรั่งมันดี  มันเลิศ

 

ปัญหาการศึกษาไทยเยอะครับ 

 

ภาษาไทยเป็นปัญหาใหญ่สุดทำให้การศึกษาไทยล้าหลัง  มีการสำรวจพบว่าเด็กไทยอ่านไม่ออกราว 20 %

 

แต่  วงในจริงๆเราคุยกันที่ 30 %

 

จริงๆเรื่องนี้คุยกันมานานแล้ว  ถาม กระทรวงรู้ปัญหาไหม  รู้  แต่การเปลี่ยนรูปแบบคือการตบหน้าเลยไม่เปลี่ยน  หากจำไม่ผิดหลักสูตรใหม่  หลังโดนด่าเรื่องการจำคำเปลี่ยนใหม่

อย่างจะเขียนว่า   มานะ ไปโรงเรียน  ตัวเข้มคือที่เด็กๆยังอ่านไม่ได้นะครับ  แทนจำคำเขียนเป็น

 

มานะ  ไป  (รูปโรงเรียน)

 

ดูเองครับ  ไม่รู้จะวิจารณ์ ยังไงแล้ว  มันเหนื่อย  นี้เป็นยุคแรกที่เราต้องมีการเรียนพิเศษเพื่อให้เด็กๆอ่านออก  เพราะเด็กๆอ่านไม่ออกจริงๆ

 

 

รองลงมาคือระบบคิด  ซึ่งนักวิชาการ คนที่คิด  แต่ไม่ได้อยู่ในวงเช่น

 

Disagree

 

คิดว่าครูอาจารย์ควรทำงานอื่นควบคู่งานประจำ:  That is the fact.

 

คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา:   No research means you have no gut.  Are you one of them?

 

หารู้ไม่ว่าปัจจุบันหากไปนั่งนับสิ่งที่ครูสอนนั้น  น้อยกว่าการทำงานอื่นๆ

 

ครูบางคนเลื่อนขั้นโดยไม่ได้สอนเด็กเกิน 40 % ของเวลาสอนเสียด้วยซ้ำ  มีงานวิจัยมาก  มีเวลาทำงานงานวิจัย เอางานวิจัยมาอบรม ฯลฯ

 

ลองไปเช็คดูได้  เวลาเรียน 1 เทอม คือ 5 เดือน  เวลาเรียนราวๆ 100 วัน  บางโรงสอนจริงๆไม่ถึง 80 วัน เพราะครูไปสำมนา ส่งรายงานงานวิจัย ไปทำประเมินการศึกษา ฯลฯ

 

มาหักกิจกรรมพิเศษอีก 

ทราบไหม บางโรงมีทัศนศึกษา เทอมและ 3 ครั้ง  1 ปี 6 ครั้งมากไปไหม?

กิจกรรมกีฬาสีอีก 3 วัน

ครูต้องไปต่างประเทศเพื่อไปอบรม

 

ฯลฯ

 

ทั้งหมดเกิดในวัน เวลาสอนนะครับ  ไม่ใช่ปิดเทรม

 

นี้แหละการศึกษาไทยปัจจุบัน  ครูที่โตในสายอาชีพไม่ได้สอน ไม่มีเวลาสอน

 

แล้วเด็กๆละ?

 

ผมไม่ได้พูดเรื่องปัจจัยทางการเงิน  การอยู่รอดของโรงเรียนและครูนะ  เพราะนั้นเป็นส่วนเล็ก  แน่ละสำคัญแต่ครูในอดีตก็ได้เงินน้อยแต่สอนเด็กๆจนโตเป็นคนดีคนเก่ง  เราต้องช่วยครู และ รร

 

แต้มันไม่ใช่ปัจจัยหลักของความตกต่ำในการศึกษาไทย

 

 

ถูกต้องเลยครับ ที่ไอ้แมงสาปกระแดะนั่นพิมพ์มา มันไม่รู้จริงครับ

งานกิจกรรมมีมากมายเหลือเกิน อย่างที่ผมได้กล่าวไปในคอมเม้นท์ก่อนหน้าว่า แค่มานั่งทำกิจกรรมพวกนี้ อาจารย์ก็แทบไม่มีเวลาสอนแล้วครับ 

โดยเฉพาะกับโรงเรียนขนาดเล็ก หรือ ค่อนข้างเล็ก ในอำเภอหรือในชนบท ที่คุณแม่ผมได้ทำงานอยู่ ในรายวิชานั้นมีอาจารย์เพียง 2 คนเท่านั้น สอนตั้งแต่ ม.3-ม.6 (อาจไม่ครบทุกชั้น) ม.นึง มีนักเรียน 2-3 ห้อง  อาจารย์คนนึงต้องทำหน้าที่หัวหน้าแผนก อีกคนต้องทำเรื่องงานมาตรฐานฯ พร้อมกับต้องสอนไปด้วยและกิจกรรมอื่นๆ อีกที่เกีี่ยวข้อง

 

แ้ล้วกิจกรรมก็มาเรื่อยๆ งานโน่นเอย นี่เอย ซึ่ง เป็น "นโยบายบังคับกิจกรรม" ที่ต้องให้ทำ ไม่ใช่อาจารย์อยากจะทำเลยนะครับ

ผมกล้าพูดเพราะผมได้คอยช่วยเหลืองานทางนี้ของคุณแม่ประจำครับ เพราะ่ท่านทำไม่ไหว เพราะอายุอานามก็ปาเข้าไปหลัก 5 แล้วแถมยังมีปัญหาสุขภาพหลายอย่างด้วยครับ

 

ทุกครั้งที่ทำผมก็สงสัย ว่า มันเกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนการสอนยังไงวะ?

:angry:

 

- การทำงานอื่นมีได้ แต่ควรเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนหรือการพัฒนาเด็กในภาพรวมครับ ไม่ใ่ช่สารพัดงาน สักแต่สั่งๆ มาให้ทำ มันบ้า

 

- การทำงานวิจัย เป็นหน้าที่ของพวกนักวิชาการและกระทรวงนะครับ ที่จะทำการวิจัยและหาแนวทางหลักสูตรที่เหมาะสม แล้วจึงนำมาปรับใช้พัฒนาเมื่อเห็นว่าได้ผลจึงค่อยมีการเรียกครูอาจารย์เข้าไปรับการอบรมครับ จึงจะถูกต้อง

:angry:


ถ้าอยากได้ความเท่าเทียม

ก็ปีนป่ายขึ้นไปให้อยู่เทียบเท่ากับคนอื่นเค้า

อย่าได้กระชากฉุดให้คนอื่นเขาลงมาตกต่ำเท่ากับตน


#24 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 25 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:47

ผมเห็นเอกสารของครูอัตราจ้างท่านหนึ่ง ที่ต้องทำเสนอเพื่อต่อสัญญา ปีต่อปี

 

โห

 

นี้งานสอนหรืองานวิจัย หนาเป็นตั้งๆ  ผมว่าหลายคนที่ใกล้ชิดคนเป็นครูหรือมีลูกในวัยเรียนจะเห็นว่าเด็กได้รับการสอนแค่ไหน

 

ไม่โทษครูหรอกนะ  อย่างหลักสูตรภาษาไทยห่วย  ครูก็ต้องสอนตามนั้นเพราะเป็นครูของกระทรวงแม้จะรู้เต็มอกว่าล้มเหลว

 

แล้วไหงงานเอกสารที่ต้องทำต่อวัน บันทึกการสอน วิจัยการสอน ฯลฯ

 

แล้วกิจกรรมพิเศษเป็นร้อยให้เด็กๆ  บอกเลยไม่แปลกใจที่มันห่วย  ระบบมันเพี้ยนได้ครูดีๆไปก็เท่านั้น



#25 หงส์เฒ่าเสาร์ธรรม

หงส์เฒ่าเสาร์ธรรม

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,408 posts

ตอบ 25 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:09

คุณครูเก่งๆ ดีๆ รักเด็ก รักการสอน ตัดใจออกจากโรงเรียน ที่วุ่นวาย จากเพื่อนครูขี้อิจฉา จาก ผอ.บ้าอำนาจ จากนโยบายงี่เง่าของ รมต. จากเด็กๆที่ไม่รักเรียน จากผู้ปกครองที่ชอบโวยวายเข้าข้างลูกอย่างไร้เหตุผล...

 

มาเป็นครูสอนพิเศษ ได้รายได้ที่ดีกว่า ได้สอนเด็กที่ตั้งใจเรียนมากกว่า ได้ถ่ายทอดวิชาความรู้ได้อย่างเต็มที่ ได้เห็นประสิทธิภาพของนักเรียนที่พัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง

 

ถ้าท่านเป็นครูเก่งๆ ท่านมีฝีมือในการสอน ... ท่านจะเลือกแบบไหน

 

 

ไปเจอมาแล้วชอบมากเลยเอามาแบ่งปันกันครับ

หลักคิดที่ผิด นำพาวิกฤตสู่การศึกษาไทย

Posted by ตัวจุ้น 

 

 

โดย อ.วิชัย กอสงวนมิตร  คณะวิทยาการจัดการ ม.ราชภัฏเชียงใหม่

ผู้เขียนพ็อกเก็ตบุ๊คส์ชื่อ "การจัดการที่ดี ต้องเหมือนการทำฝนหลวง" 

 

               

11.   คิดว่าครูเป็นเพียงลูกจ้าง ไม่คิดว่าครูอาจารย์ต้องการความมั่นคงในชีวิตการทำงาน  จึงทำการจ้างครูอาจารย์เป็นเพียงพนักงานชั่วคราว  หรือครูอัตราจ้าง  และไม่บรรจุให้เป็นข้าราชการประจำเช่นในอดีต

 

 

บทความที่ผมแนบมานี้ชื่อ "หลักคิดที่ผิด นำพาวิกฤตสู่การศึกษาไทย" ได้เผยแพร่ในเวปไซต์หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๖ ผมจึงขอส่งมาให้ทางอ่านทางอีเมล์  หากท่านเห็นว่าเป็นบทความที่มีประโยชน์ รบกวนช่วยส่งต่อให้มากๆ ด้วยครับ

 

หลักคิดอีกเรื่องหนึ่ง ของคนไทยคือ การเรียกชื่อ สรรพนาม... ลูกศิษย์

  เมื่อมีคำว่า ลูก นำหน้า ... ทางจิตวิทยา ก็ทำให้ ครูมีความเมตตา ศิษย์ เหมือน ลูก

(คนที่ยังไม่เคยมีลูก อาจจะยังเข้าใจ)


จินตนาการสำคัญกว่าความรู้ ... ศีลธรรม เป็นกรอบรักษาจินตนาการให้ดำรงอยู่ด้วยความดีงาม... -_- 


#26 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 25 กันยายน พ.ศ. 2556 - 12:30

หลักคิดอีกเรื่องหนึ่ง ของคนไทยคือ การเรียกชื่อ สรรพนาม... ลูกศิษย์

  เมื่อมีคำว่า ลูก นำหน้า ... ทางจิตวิทยา ก็ทำให้ ครูมีความเมตตา ศิษย์ เหมือน ลูก

(คนที่ยังไม่เคยมีลูก อาจจะยังเข้าใจ)

 

ไลค์ผมหมดแล้วนะครับ  แต่ซึ้งมากๆ

เห็นด้วยฝุดๆ

 

like mug.jpg

gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#27 HWD

HWD

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 986 posts

ตอบ 25 กันยายน พ.ศ. 2556 - 12:44

ผมเห็นเอกสารของครูอัตราจ้างท่านหนึ่ง ที่ต้องทำเสนอเพื่อต่อสัญญา ปีต่อปี

 

โห

 

นี้งานสอนหรืองานวิจัย หนาเป็นตั้งๆ  ผมว่าหลายคนที่ใกล้ชิดคนเป็นครูหรือมีลูกในวัยเรียนจะเห็นว่าเด็กได้รับการสอนแค่ไหน

 

ไม่โทษครูหรอกนะ  อย่างหลักสูตรภาษาไทยห่วย  ครูก็ต้องสอนตามนั้นเพราะเป็นครูของกระทรวงแม้จะรู้เต็มอกว่าล้มเหลว

 

แล้วไหงงานเอกสารที่ต้องทำต่อวัน บันทึกการสอน วิจัยการสอน ฯลฯ

 

แล้วกิจกรรมพิเศษเป็นร้อยให้เด็กๆ  บอกเลยไม่แปลกใจที่มันห่วย  ระบบมันเพี้ยนได้ครูดีๆไปก็เท่านั้น

มันเป็นความห่วยของระบบคิดของผู้บริหาร ผมเชื่อว่าอัตราส่วนของพวกที่เป็นกลุ่มพัฒนาวิชาการ บริหาร แผน ยุทธศาสตร์ ตรวจสอบ ประกันคุณภาพ อะไรต่างๆนาๆ พวกนี้เอามาแผ่แล้วเยอะกว่าจำนวนครูที่มีหน้าที่สอนหรือทำงานที่มีคุณค่าจริงๆต่อระบบอย่างแน่นอน (ถึงแม้จะไม่มีข้อมูลจริงในมือก็เถอะ) เพราะงานเอกสารและงานรับรองพวกบ้าบอคอแตกนั่นมีเยอะมากแทบจะเป็นรายวันและโหลดเวลางานตลอดจนวิธีคิดวิธีทำงานของครู..... ตัดงานพวกนี้ออกไป ประหยัดงบประมาณกว่า 60% และได้ประสิทธิภาพกับความเป็นครูที่แท้จริงกลับมาแน่ .... แต่ในความเป็นจริง ระบบมันยิ่งมายิ่งมีแต่คนหนีจากความเป็นครู ไปเป็นกาฝากในระบบอย่างที่ว่า งานสบายแต่ไร้สาระไม่มีประโยชน์ แถมยังถ่วงครูไม่ให้มีเวลาหายใจหายคอ เพราะข้อมูลต่างๆก็ทำเองไม่ได้ ต้องมาเอาจากครูนั่นแหละ .... ความบ้าต่างๆเหล่านี้กำลังคืบคลานสู่ระบบของมหาวิทยาลัยด้วย!!!



#28 ซุ่มเงียบ

ซุ่มเงียบ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 798 posts

ตอบ 25 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:14

 
ดูจากที่โพสต์มาก็มีทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยนะครับ แต่อยากจะคอมเม้นต์ในประเด็น
ข้อ 18 คิดว่างานวิจัยคืองานสำคัญของสถาบันการศึกษา  ทั้งที่สถาบันการศึกษาไม่ใช่สถาบันวิจัย  การทำวิจัยควรยกให้เจ้าหน้าที่วิจัย  เพราะเขามีเวลาว่างและชำนาญการกว่าครูอาจารย์  แล้วให้ครูอาจารย์ไปศึกษาและนำผลวิจัยมาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน  แต่ไม่ใช่ไปทำเอง  คนจับปลาสองมือจะทำได้จริงหรือ ?
 
มุมมองเชิงลบทางงานวิจัยของคนเป็นอาจารย์ลักษณะนี้น่าเป็นห่วงครับ
 
ในความคิดของผมในฐานะคนเคยทำงานวิจัยคิดว่ายังไงสถาบันการศึกษาก็จำเป็นที่ต้องผลิตงานวิจัย ทั้ง สกว. และ วช. ในแต่ละปีมีทุนวิจัยให้พอสมควรครับ ไม่นับรวมถึงมหาวิทยาลัยรัฐให้ทุนวิจัยในแต่ละปีการศึกษาถึงจะไม่ใช่เงินมากมายแต่ก็ถือว่าได้แบ่งเบาภาระผู้วิจัยในระดับหนึ่ง แต่ทั้งนี้ทางสถาบันฯก็ต้องจัดหาทุนวิจัยให้กับคนในหน่วยงานตัวเองอย่างเหมาะสม ผลลัพธ์งานวิจัยของสถาบันฯ อาจแข่งกับเอกชนใหญ่ๆหรือสถาบันวิจัยชื่อดังไม่ได้ แต่ก็ไม่ใช่ว่าผลงานวิจัยที่ทำกันอยู่จะไม่มีประโยชน์อะไรเลย  ตัวอย่างที่เพิ่งเห็นก็มีวัคซีนไข้เลือดออกที่ทางมหิดลเพิ่งจะขายให้กับต่างประเทศ
 
ส่วนตัวผมเองสมัยเรียนหนังสือผมชอบการทำวิทยานิพนธ์มากกว่าการนั่งเรียนรายวิชานะครับอ่านบทความนี้เลยรู้สึกแปลกๆ  ว่าถ้าหากอาจารย์ที่มีหน้าที่ให้คำปรึกษางานวิจัยของนักเรียนมีความคิดเชิงลบกับการทำวิจัยจะสามารถทำหน้าที่แนะนำนักเรียนที่เข้ามาปรึกษาได้มีคุณภาพมากน้อยแค่ไหน
 
แต่ต้นสังกัดก็ต้องจัดสรรเวลาการทำงานให้กับอาจารย์อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกันนะครับ  เพราะถ้าไม่มีเวลาเพียงพอก็จะมีปัญหาอย่างอื่นตามมา  นอกจากนี้ทางสถาบันฯเองก็ควรจะต้องปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยด้วยเช่นกัน  โดยควรจะมีกรอบหัวข้อการทำวิจัยที่เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติ ณ ห้วงเวลานั้น ๆ อาจารย์แต่ละท่านก็มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางแตกต่างกันไปซึ่งนั่นเป็นข้อจำกัดที่ทางต้นสังกัดต้องประเมินศักยภาพตัวเองให้ได้  สถาบันฯต้องหาอัตลักษณ์ของตัวเองให้เจอ
 
ในความรู้สึกส่วนตัวผมเข้าใจว่าคงเป็นข้อจำกัดของความยาวบทความในหน้าหนังสือพิมพ์ทางผู้เขียนเลยสื่อสารออกมาได้ไม่ค่อยสมบูรณ์เหตุผลสนับสนุนยังน้อยเกินไปในบางประเด็นและในบางข้อก็เขียนย้อนแย้งกันเอง


#29 pooyong

pooyong

    สมาชิกขั้นไม่สูง แต่สูงอายุ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,292 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 10:57

1379528_198761353638319_1523371917_n.jpg

สำนักไหนออกวะเนี่ย


การรับใช้แผ่นดิน คือความเบิกบาน

#30 Maratiraj_

Maratiraj_

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 826 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:13

ผมคิดว่า นิสัยพื้นฐานของคนไทยส่วนใหญ่ เป็นคนรักสบาย และไม่ชอบเรียนรู้ครับ

อาจเป็นเพราะพื้นที่ ๆ เราอยู่มีทรัพยากรธรรมชาติมากมายเหลือเฟือ คนไทยจึงชอบเล่น ชอบสนุก ชอบพักผ่อนมากกว่า

สังเกตได้จาก คนไทยไม่ชอบสังเกต ไม่ชอบเก็บข้อมูลเชิงสถิติ ไม่ชอบคิดอะไรซับซ้อน ไม่ชอบไขว่คว้าเอง

แต่นิสัยที่ดีของคนไทยก็มีเยอะครับ เช่นใจดี ชอบความเรียบง่าย รวม ๆ แล้วก็เลยออกมาอย่างที่เห็นทุกวันนี้ คือ ดีเป็นเรื่อง ๆ เลวเป็นเรื่อง ๆ

วันนี้ เมืองไทยไมได้อุดมสมบูรณ์ เหมือนในอดิต แล้ว

จะยังทำตัวเหมือนเดิมได้หรือเปล่า


Edited by Maratiraj_, 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:14.


#31 อาบังคนเหนือ

อาบังคนเหนือ

    สมาชิกระดับรากหญ้า

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,535 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:19

นักร้องในตำนาน..................ตอบ กี้ อริสมันต์..........จะถูกมั๊ยน๊อ....ที่ตอบข้อนี้เพราะนักร้องคนอื่นไม่เคยตะกายตึก


"ดาบวิเศษแสนคมอยู่ในมือลิงย่อมไร้ประโยชน์_กลับกัน_ยอดฝีมือที่บรรลุแล้ว ใช้กิ่งไม้ไผ่ก็ฆ่าคนได้ "


#32 Maratiraj_

Maratiraj_

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 826 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:23

นักร้องในตำนาน..................ตอบ กี้ อริสมันต์..........จะถูกมั๊ยน๊อ....ที่ตอบข้อนี้เพราะนักร้องคนอื่นไม่เคยตะกายตึก

ข้อ 21 ผมกาข้อ 2. ครับ



#33 pooyong

pooyong

    สมาชิกขั้นไม่สูง แต่สูงอายุ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,292 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:51

เล่าเรื่องข้อสอบ NT ป. 3  ปี 2555 หน่อยครับ

มีศึกษานิเทศ ท่านนึง ทำนทำวิจัยข้อสอบชุดนั้น

โดยการเอาข้อสอบไปให้เด็ก ม.1 ห้อง King ทำข้อสอบเพือหาค่าเฉลี่ย

ผลปรากฎว่า ข้อสอบ ป.3 จำนวน 30 ข้อ เด็ก ม.1 ทำได้ค่าเฉลี่ย 21 คะแนน

 

ศึกษานิเทศท่านนั้น ยังเอาข้อสอบชุดนั้น

ไปให้ ผู้บริหารโรงเรียนในอำเภอ อำเภอหนึ่ง ทำการทดสอบ

ปรากฏว่าได้ค่าเฉลี่ยน 25 คะแนน

 

ศึกษานิเทศ ท่านนั้น เอาผลการทดสอบ ไปเสนอกับผู้ใหญ่ใน สพฐ.

แต่ก็เงียบๆกันไป

 

อยากรู้ว่าเหตุเกิดที่ไหน หลังไมค์มาถามได้ครับ


Edited by pooyong, 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 11:52.

การรับใช้แผ่นดิน คือความเบิกบาน

#34 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:57

เล่าเรื่องข้อสอบ NT ป. 3  ปี 2555 หน่อยครับ

มีศึกษานิเทศ ท่านนึง ทำนทำวิจัยข้อสอบชุดนั้น

โดยการเอาข้อสอบไปให้เด็ก ม.1 ห้อง King ทำข้อสอบเพือหาค่าเฉลี่ย

ผลปรากฎว่า ข้อสอบ ป.3 จำนวน 30 ข้อ เด็ก ม.1 ทำได้ค่าเฉลี่ย 21 คะแนน

 

ศึกษานิเทศท่านนั้น ยังเอาข้อสอบชุดนั้น

ไปให้ ผู้บริหารโรงเรียนในอำเภอ อำเภอหนึ่ง ทำการทดสอบ

ปรากฏว่าได้ค่าเฉลี่ยน 25 คะแนน

 

ศึกษานิเทศ ท่านนั้น เอาผลการทดสอบ ไปเสนอกับผู้ใหญ่ใน สพฐ.

แต่ก็เงียบๆกันไป

 

อยากรู้ว่าเหตุเกิดที่ไหน หลังไมค์มาถามได้ครับ

ลองเอาข้อสอบมาทำ

 

ไม่ยาก แต่ไม่ง่ายนะ  บางข้อใช่ภาษาเกินกว่าที่เด็กจะเข้าใจด้วย  จะว่าไปภาษาที่ทำให้สบสันแม้แต่ผู้ใหญ่คง งงๆ

อาทิ

 

1. 48,264 อ่านว่าอย่างไร
1) สี่หมื่นแปดพันสองร้อยหกสิบสี่
2) สี่หมื่นแปดพันสี่ร้อยหกสิบสี่
3) สี่หมื่นแปดพันสองร้อยสี่สิบหก
4) สี่หมื่นแปดพันสองร้อยหกสิบ

ถามแบบนี้นายกยังสอบตกเลย

 

ล้อเล่นหนะครับ  สังเกตนะครับข้อนี้เหมือนง่าย แต่ซ้อนกลที่  ส  เสือ ที่อ่านผ่านๆจะเข้าใจว่าเหมือนกันไปหมด

 

มีกลหลอกด้วย


Edited by sigree, 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:59.


#35 pooyong

pooyong

    สมาชิกขั้นไม่สูง แต่สูงอายุ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,292 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:37

 

เล่าเรื่องข้อสอบ NT ป. 3  ปี 2555 หน่อยครับ

มีศึกษานิเทศ ท่านนึง ทำนทำวิจัยข้อสอบชุดนั้น

โดยการเอาข้อสอบไปให้เด็ก ม.1 ห้อง King ทำข้อสอบเพือหาค่าเฉลี่ย

ผลปรากฎว่า ข้อสอบ ป.3 จำนวน 30 ข้อ เด็ก ม.1 ทำได้ค่าเฉลี่ย 21 คะแนน

 

ศึกษานิเทศท่านนั้น ยังเอาข้อสอบชุดนั้น

ไปให้ ผู้บริหารโรงเรียนในอำเภอ อำเภอหนึ่ง ทำการทดสอบ

ปรากฏว่าได้ค่าเฉลี่ยน 25 คะแนน

 

ศึกษานิเทศ ท่านนั้น เอาผลการทดสอบ ไปเสนอกับผู้ใหญ่ใน สพฐ.

แต่ก็เงียบๆกันไป

 

อยากรู้ว่าเหตุเกิดที่ไหน หลังไมค์มาถามได้ครับ

ลองเอาข้อสอบมาทำ

 

ไม่ยาก แต่ไม่ง่ายนะ  บางข้อใช่ภาษาเกินกว่าที่เด็กจะเข้าใจด้วย  จะว่าไปภาษาที่ทำให้สบสันแม้แต่ผู้ใหญ่คง งงๆ

อาทิ

 

1. 48,264 อ่านว่าอย่างไร
1) สี่หมื่นแปดพันสองร้อยหกสิบสี่
2) สี่หมื่นแปดพันสี่ร้อยหกสิบสี่
3) สี่หมื่นแปดพันสองร้อยสี่สิบหก
4) สี่หมื่นแปดพันสองร้อยหกสิบ

ถามแบบนี้นายกยังสอบตกเลย

 

ล้อเล่นหนะครับ  สังเกตนะครับข้อนี้เหมือนง่าย แต่ซ้อนกลที่  ส  เสือ ที่อ่านผ่านๆจะเข้าใจว่าเหมือนกันไปหมด

 

มีกลหลอกด้วย

 

แล้ว เด็ก ป.3 จะทำได้หรือครับ


การรับใช้แผ่นดิน คือความเบิกบาน

#36 sigree

sigree

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,883 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:12

 

 

เล่าเรื่องข้อสอบ NT ป. 3  ปี 2555 หน่อยครับ

มีศึกษานิเทศ ท่านนึง ทำนทำวิจัยข้อสอบชุดนั้น

โดยการเอาข้อสอบไปให้เด็ก ม.1 ห้อง King ทำข้อสอบเพือหาค่าเฉลี่ย

ผลปรากฎว่า ข้อสอบ ป.3 จำนวน 30 ข้อ เด็ก ม.1 ทำได้ค่าเฉลี่ย 21 คะแนน

 

ศึกษานิเทศท่านนั้น ยังเอาข้อสอบชุดนั้น

ไปให้ ผู้บริหารโรงเรียนในอำเภอ อำเภอหนึ่ง ทำการทดสอบ

ปรากฏว่าได้ค่าเฉลี่ยน 25 คะแนน

 

ศึกษานิเทศ ท่านนั้น เอาผลการทดสอบ ไปเสนอกับผู้ใหญ่ใน สพฐ.

แต่ก็เงียบๆกันไป

 

อยากรู้ว่าเหตุเกิดที่ไหน หลังไมค์มาถามได้ครับ

ลองเอาข้อสอบมาทำ

 

ไม่ยาก แต่ไม่ง่ายนะ  บางข้อใช่ภาษาเกินกว่าที่เด็กจะเข้าใจด้วย  จะว่าไปภาษาที่ทำให้สบสันแม้แต่ผู้ใหญ่คง งงๆ

อาทิ

 

1. 48,264 อ่านว่าอย่างไร
1) สี่หมื่นแปดพันสองร้อยหกสิบสี่
2) สี่หมื่นแปดพันสี่ร้อยหกสิบสี่
3) สี่หมื่นแปดพันสองร้อยสี่สิบหก
4) สี่หมื่นแปดพันสองร้อยหกสิบ

ถามแบบนี้นายกยังสอบตกเลย

 

ล้อเล่นหนะครับ  สังเกตนะครับข้อนี้เหมือนง่าย แต่ซ้อนกลที่  ส  เสือ ที่อ่านผ่านๆจะเข้าใจว่าเหมือนกันไปหมด

 

มีกลหลอกด้วย

 

แล้ว เด็ก ป.3 จะทำได้หรือครับ

 

ผมลองโหลดมานั่งทำ  แล้วให้คนอื่นลองดู  โหไม่ง่ายนะ






ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน