Jump to content


Photo
- - - - -

...จะสร้างเขื่อน ด้วยxxxxxxxxxxx


  • Please log in to reply
107 ความเห็นในกระทู้นี้

#101 Tam-mic-ra.

Tam-mic-ra.

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,948 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:10

แมงหวี่555บ้าบ๊อง

ก็พวกคุณชอบหาว่ากรมชล โมเมข้อมูลขึ้นมาเอง

เลยเอาหลักฐานให้ดูไง ว่าเอกสารไม่ได้ออกโดยกรมชล แต่เป็นหน่วยงาน ครม.


"คนพาลไร้สติ มักสร้างเรื่องและหลักฐานเท็จโกหก เพื่อคอยใส่ร้ายอีกฝ่ายหนึ่งเสมอ" :unsure:

 

นาย ''Starเก๋ง'' ฟันธง!  รถเก๋งขับมายิงเสื้อแดง :lol:      http://webboard.seri...แค/#entry842224   ;      http://webboard.seri...-25#entry408954


#102 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:15

แมงหวี่555บ้าบ๊อง

ก็พวกคุณชอบหาว่ากรมชล โมเมข้อมูลขึ้นมาเอง

เลยเอาหลักฐานให้ดูไง ว่าเอกสารไม่ได้ออกโดยกรมชล แต่เป็นหน่วยงาน ครม.

 

 

เอ็งจะบ้ารึ นังแต๋ม ข้าอ่านแล้วไม่เห็นอะไรที่มันเกี่ยวกับเขื่อนแม่วงศ์

 

ก็เลยสงสัยว่า เอ็งเอามาแปะทำไม...ข้าไม่ใช่พวกซี้ซั้วด่าคนน๊ะ

 

ไอ้ที่ด่าส่วนใหญ่มั้นโง่จริงทั้งนั้นแหละ

 

:D  



#103 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:20

 

แมงหวี่555บ้าบ๊อง

ก็พวกคุณชอบหาว่ากรมชล โมเมข้อมูลขึ้นมาเอง

เลยเอาหลักฐานให้ดูไง ว่าเอกสารไม่ได้ออกโดยกรมชล แต่เป็นหน่วยงาน ครม.

 

 

เอ็งจะบ้ารึ นังแต๋ม ข้าอ่านแล้วไม่เห็นอะไรที่มันเกี่ยวกับเขื่อนแม่วงศ์

 

ก็เลยสงสัยว่า เอ็งเอามาแปะทำไม...ข้าไม่ใช่พวกซี้ซั้วด่าคนน๊ะ

 

ไอ้ที่ด่าส่วนใหญ่มั้นโง่จริงทั้งนั้นแหละ

 

:D  

 

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#104 Tam-mic-ra.

Tam-mic-ra.

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,948 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:37

คอมฯไอ่แมงหวี่คงอ่านไฟล์ PDF ไม่ได้   น่าสงสานจริงๆเลย :D


"คนพาลไร้สติ มักสร้างเรื่องและหลักฐานเท็จโกหก เพื่อคอยใส่ร้ายอีกฝ่ายหนึ่งเสมอ" :unsure:

 

นาย ''Starเก๋ง'' ฟันธง!  รถเก๋งขับมายิงเสื้อแดง :lol:      http://webboard.seri...แค/#entry842224   ;      http://webboard.seri...-25#entry408954


#105 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 20:21

คอมฯไอ่แมงหวี่คงอ่านไฟล์ PDF ไม่ได้   น่าสงสานจริงๆเลย :D

 

 

เอ็งนี่มันมีปัญหาเรื่องการอ่านจริง

 

จะต้องให้ข้า ฯ ด่าถึงนอนหลับ..

 

กลับไปอ่านเม้นท์แรกของข้าก่อน แล้วค่อยมาเขียน..

 

วันนี้ข้าไม่มีอารมณ์ตบเกรียนเอ็งหรอก เรื่อง ไฟล์ pdf

 

 

 

 

:lol:


Edited by 55555, 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 20:25.


#106 IFai

IFai

    รักในหลวง

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,782 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 20:30

"จงเอาเรื่อง สร้างเขื่อน เป็นเงื่อนไข
คว่ำนังปู ให้จงได้ ด้วยม็อบนี้
ที่ผิดหวัง พลั้งพลาด มาหลายที
ให้ม็อบนี้ จงเสร็จสม อารมณ์..เทอญ ฯ"

.........

ช่วง2ปี นอนแผ่ แลอ้าซ่า

ยังฝันว่า ใช้ท่าใหม่ ใช้ท่าคว่ำ

ยังไม่เห็น มีใคร หมายคิดทำ

โอ้เวรกรรม ทำไม ไม่หมายมอง

   รับซื้อข้าว รถคันใหม่ ไฉไลยิ่ง

ภาคใต้ยิงตายเกลื่อนเหมือนในหนัง

เขาคงคิด เขาเป็นใครสงสัยจัง

หรือถูกบัง มองไม่เห็น เขาเป็นไทย

    ขอแก้รธน. หวังปักหลัก

จะฟูมฟักทั้งตระกูล ให้พูลผล

มองคนไทย เป็นอะไรไม่ใช่คน

ใครเหลือทน ถูกอุ้มหาย ไร้ร่องรอย

......ฯลฯ .....

    ช่วง2ปี มีแต่แถ แต่เช้า>ค่ำ

ยังไม่มี ใครมาคว่ำ กรรมจริงหนา

ทุกกระทำ หลอกล่อให้ เขาไม่มา

อ่อนระอา ใจอ่อน นอนคว่ำเอง

 

   ผมเห็นเหมือนหลายๆคน ไม่มีใครคว่ำเธอได้ครับ นอกจากเธอทำตัวเอง


ประโยชน์สูงสุดของประชาชน คือกฏหมายสูงสุดของประเทศ ...วิชา มหาคุณ


#107 tonythebest

tonythebest

    สมาชิกขั้นสูง 178 เซนติเมตร

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,595 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:07

โทนี่ตัดบางส่วนมาเถียงอีก  ดูนี่ http://www.agri.ubu....ages/serv32.pdf

มีสรุป 3เรื่อง นะ  อ่านดีๆ ช้าๆ

 

พระราชดำริและพระราชดำรัสทั้งหมดในวันนั้น ส่วนหนึ่งมีเรื่องเขื่อนแม่วงก์ด้วยครับ 

จะเถียงกับหลักฐานอีกนานไหม

 

 

ผมตัดส่วนสำคัญมาให้แต๋มเห็นไงครับ

ว่าประเด็นของการเฝ้าฯ วันนั้น เพื่ออะไร

ตัวเนื้อความเต็ม ผมก็เอามาลงให้ดูแล้วไง

คุณทำเป็นมองไม่เห็นเอง

เอาแต่เอกสารที่เป็นประโยชน์ของฝั่งคุณมาแปะซ้ำแล้ว ซ้ำอีก

ในขณะที่เหตุผลลบล้างคุณไม่เคยอ่าน ไม่เคยดู

 

 

 


วันนี้ เวลา ๑๗.๔๗ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออก ณ ห้องประชุม

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ชั้น ๑๔ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช พระราชทานพระบรมราชวโรกาส

ให้ นายธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ พร้อมด้วยคณะ

ข้าราชการกรมชลประทาน เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท กราบบังคมทูลรายงาน ผลการ

ดําเนินงานโครงการพัฒนาแหล่งน้ําอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จํานวน ๕ โครงการ 

และรับพระราชทาน พระราชดําริเพื่อเป็นแนวทางการเชิญเสด็จพระราชดําเนินไปทรง

เปิดโครงการพัฒนาแหล่งน้ําอันเนื่องมาจากพระราชดําริดังกล่าว 

 

 

 

lKh4Ub.jpg

 

 

 

วันที่ 19 กันยายน 2554

โอกาสนั้น คือการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานวโรกาสให้รัฐมนตรีเข้าเฝ้า

เพื่อถวายรายงานผลการดำเนินโครงการ “อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 5โครงการ”

 

และรับพระราชทาน “ดำริเพื่อเป็นแนวทางการเชิญเสด็จไปทรงเปิดโครงการ

อันเนื่องมาจากพระราชดำริดังกล่าว”

 

เนื้อหามีเท่านี้นะครับ

 


ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ

 

 

 

เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน

จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน


#108 tonythebest

tonythebest

    สมาชิกขั้นสูง 178 เซนติเมตร

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,595 posts

ตอบ 27 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:22

http://www.matichon....wsid=1321065977

เปิดเอกสารสำนักงานทรัพย์สินฯ วางแผน3ระยะ สั้น-กลาง-ยาว แก้ปัญหาน้ำ

 

- มาตรการระยะกลาง (5-15 ปี)

จะเน้นการแก้ไขปัญหาทรัพยากรน้ำในระดับลุ่มน้ำ ประกอบด้วย มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างบางแผนงานซึ่งต่อเนื่องมาจากมาตรการระยะสั้น เพื่อให้เกิดผลของการแก้ไขได้มากขึ้นและมาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง อนึ่งมาตรการระยะกลางจะเน้นแผนงานโครงการที่ใช้มาตรการใช้สิ่งก่อสร้างที่ใช้งบประมาณสูงขึ้น และมีความเป็นไปได้ที่จะดำเนินการก่อสร้างได้ในลำดับต้นๆ ก่อน โดยเร่งดำเนินการในทุกลุ่มน้ำหลัก โดยใช้เวลาดำเนินการไม่เกิน 15 ปี ดังนี้

1.มาตรการในการแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำ จะต้องสนับสนุนก่อสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่มีความเป็นไปได้สูงที่จะดำเนินการได้ในช่วงมาตรการระยะกลางนี้ ในลุ่มน้ำสาขาหลักของลุ่มน้ำเจ้าพระยาคือ อ่างเก็บน้ำแม่วง แควน้อย และคลองโพธิ์ และโครงการผันน้ำต่างๆ ก่อให้เกิดผลประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ น้ำท่วม และน้ำเสีย ในเขตลุ่มน้ำสะแกกรัง ลุ่มน้ำน่าน ตลอดจนพื้นที่เพาะปลูกของโครงการ ประกอบด้วย โครงการในลุ่มน้ำต่างๆ อาทิ ลุ่มน้ำสะแกกรัง เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ การยกระดับรายได้ของเกษตรกร การบรรเทาปัญหาน้ำท่วม และการแก้ไขปัญหาน้ำเสียในลุ่มน้ำสะแกกรัง และจะมีปริมาณน้ำเหลือใช้ไหลลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยาสามารถใช้ในเขตโครงการชลประทานเจ้าพระยาใหญ่ ควรจะมีการก่อสร้างโครงการระดับลุ่มน้ำคือ และโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำเขื่อนคลองโพธิ์ มีความจุอ่างใช้งาน 64.4 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ผิวอ่างเก็บน้ำ 14.6 ตร.กม. ส่งน้ำให้พื้นที่เพาะปลูก 70,000 ไร่ เป็นต้น

 

 

 

ข่าวเก่าอันนี้ก็โกหกอีกใช่ไหม คนเสรีไทย  

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาา
 

 

 

 

 

 

 

เปิดเอกสารสำนักงานทรัพย์สินฯ วางแผน3ระยะ สั้น-กลาง-ยาว แก้ปัญหาน้ำ
 
หมายเหตุ - สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้จัดทำรายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร เรื่อง "โครงการจัดทำกรอบและประสานการบริหารจัดการและทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา" มีเนื้อหาสะท้อนถึงปัญหาในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและแผนการแก้ไขปัญหา "มติชน" เห็นว่าแผนการแก้ไขปัญหาทรัพยากรน้ำ ตรงกับสถานการณ์ที่ประเทศกำลังประสบปัญหากับอุทกภัย จึงนำเนื้อหาบางส่วนมาเสนอดังนี้
 
เอกสารโครงการจัดทำกรอบและประสานการบริหารจัดการและทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ระบุมาตรการแก้ไขปัญหาทรัพยากรน้ำไว้ 3 ระยะคือ
 
มาตรการระยะสั้น (5 ปี) เน้นการแก้ไขปัญหาทรัพยากรน้ำที่เป็นมาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง และมาตรการที่ใช้สิ่งก่อสร้างที่ใช้เงินลงทุนน้อย และได้ประโยชน์กับพื้นที่เฉพาะถิ่นที่มีอยู่เดิมและเริ่มมีปัญหา 
 
โดยมุ่งผลแก้ไขปัญหาในระดับหนึ่ง เพื่อจะเป็นพื้นฐานในการแก้ไขปัญหาระยะกลาง และระยะยาวในอนาคต ทั้งในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ใช้เวลาดำเนินการไม่เกิน 5 ปี 
 
- โดยกำหนดแผนงานตามมาตรการด้านต่างๆ ดังนี้
 
1.มาตรการในการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติที่สภาพเสื่อมโทรม กำหนดแผนงานและโครงการต่างๆ ดังนี้ แผนงานด้านการอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำ ประกอบด้วยโครงการต่างๆ อาทิ โครงการศึกษาเพื่อการพัฒนาและจัดระบบข้อมูล เพื่อการจัดการทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ต้นน้ำ โครงการจัดหาที่ดินทำกินที่เหมาะสมเพื่อแก้ปัญหาการบุกรุกทำลายป่า โครงการปลูกสวนป่าเพื่อผลิตไม้ใช้สอย โครงการก่อสร้างฝายต้นน้ำลำธาร (ฝายต้นน้ำแบบผสมผสาน, ฝายกั้นน้ำกึ่งถาวร) โครงการศึกษาทบทวนการจัดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ และมาตรการการใช้ที่ดินที่เหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน เป็นต้น
 
2.แผนงานด้านอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ทั่วไป ประกอบด้วยโครงการต่างๆ อาทิ งานอนุรักษ์ดินและน้ำ โครงการศึกษาวิจัยด้านการพัฒนามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ ทดแทนการใช้สารเคมี และโครงการศึกษาและจัดทำมาตรการในการฟื้นฟูทรัพยากรดินที่มีปัญหาเฉพาะ เป็นต้น
 
3.แผนงานด้านการปรับปรุงสภาพแหล่งน้ำ อาทิ งานขุดลอกร่องแม่น้ำ หนองน้ำ และคลองธรรมชาติ งานกำจัดวัชพืช และโครงการจัดทำแผนปฏิบัติการในการป้องกัน กำจัดวัชพืชและขยะในแหล่งน้ำ เป็นต้น 
 
4.แผนงานด้านการตรวจสอบคุณภาพน้ำ อาทิ โครงการจัดทำระบบโครงข่ายสำรวจ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพแหล่งน้ำ โครงการรณรงค์การมีส่วนร่วมของหน่วยราชการ เอกชน และประชาชน ในการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ และโครงการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการจัดการสารอันตรายและน้ำเสียอย่างเหมาะสม เป็นต้น
 
5.แผนงานจัดการน้ำบาดาล ดำเนินการในหลายโครงการ อาทิ โครงการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของน้ำบาดาล โครงการให้ความรู้ด้านน้ำบาดาลแก่นักเรียน นักศึกษา ประชาชน และโครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลน้ำบาดาลประเทศไทย เป็นต้น
 
6.แผนงานอนุรักษ์น้ำบาดาล ดำเนินการในหลายโครงการ อาทิ โครงการศึกษาการใช้น้ำบาดาลร่วมกับน้ำผิวดินบริเวณที่ราบภาคกลางตอนบนและตอนล่าง โครงการศึกษาการใช้น้ำบาดาลร่วมกับน้ำผิวดินบริเวณแอ่งเชียงใหม่-ลำพูน และแอ่งลำปาว-แพร่ และโครงการสำรวจการปนเปื้อนน้ำบาดาล เป็นต้น 
 
- มาตรการในการบรรเทาปัญหาน้ำท่วม ประกอบด้วยแผนงานและโครงการต่างๆ ดังนี้
 
1.แผนงานปรับปรุงเกณฑ์การจัดการน้ำในอ่างเก็บน้ำ โดยศึกษาเกณฑ์การระบายน้ำจากอ่างเก็บน้ำเพื่อการบรรเทาอุทกภัย
 
2.แผนงานบริหารจัดการพื้นที่น้ำท่วม จะดำเนินการตามโครงการศึกษาการควบคุมแนะแนวการใช้ที่ดิน และโครงการศึกษาควบคุมการใช้น้ำบาดาล
 
3.แผนงานตอบโต้ความเสียหายจากอุทกภัย จะดำเนินการในหลายโครงการ อาทิ โครงการพยากรณ์น้ำท่วมและระบบเตือนภัย โครงการผจญอุทกภัยและการฟื้นฟูหลังเกิดอุทกภัย และโครงการประกันอุทกภัย เป็นต้น 
 
4.แผนงานพัฒนาระบบปิดล้อมพื้นที่ชุมชน ดำเนินการตามโครงการจัดทำระบบปิดล้อมพื้นที่ชุมชนเมืองหลัก และโครงการจัดทำระบบปิดล้อมพื้นที่ชุมชนกรุงเทพมหานคร
 
5.แผนงานพัฒนาพื้นที่ชะลอน้ำ (แก้มลิง) และระบบระบายน้ำในพื้นที่ จะดำเนินการตามโครงการระบายน้ำและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครและพื้นที่ใกล้เคียง (บางส่วน) โครงการประตูระบายน้ำแม่น้ำท่าจีน (บางส่วน) โครงการประตูระบายและสถานีสูบน้ำชลหารพิจิตร 2 และโครงการแก้มลิง "คลองมหาชัย-คลองสนามชัย" และโครงการบรรเทาอุทกภัยและการขาดแคลนน้ำลุ่มน้ำปิงตอนบน
 
- มาตรการจัดการน้ำเสียและปรับปรุงคุณภาพน้ำ ประกอบด้วยแผนงานต่างๆ ดังนี้
 
1.กำหนดมาตรฐานและประเภทคุณภาพแหล่งน้ำ 2.กำหนดเขตควบคุมมลพิษ 3.กำหนดมาตรฐานน้ำทิ้งจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 4.กำหนดมาตรฐานน้ำทิ้งจากฟาร์มสุกร 5.สำรวจติดตามและเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ 6.รณรงค์และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกและความตระหนักในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางน้ำรวมทั้งให้ประชาชนมีส่วนร่วม 7.ก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบำบัดน้ำเสียในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาสายหลักตอนล่าง และ 8.กำหนดโควตาปริมาณน้ำทิ้งและคุณภาพน้ำทิ้งของแต่ละชุมชน
 
- งานระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศด้านทรัพยากรน้ำประกอบด้วย แผนงานและโครงการต่างๆ ดังนี้
 
1.แผนงานรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง อาทิ สถิติต่างๆ ของแหล่งน้ำ งานศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมติ กฎ ระเบียบ นโยบายกฎหมาย เป็นต้น 
 
2.แผนงานระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ ดำเนินตามโครงการระบบเครือข่ายเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ำแห่งประเทศไทย
 
3.แผนงานบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ ตั้งคณะทำงานเพื่อบริหารและจัดการข้อมูลสารสนเทศในระบบลุ่มน้ำ
 
4.แผนงานให้บริการเรียกใช้และสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการปฏิบัติงานประจำ เพื่อการวางแผนการปฏิบัติงาน เพื่อการกำหนดนโยบายและแผนกลยุทธ์ และเพื่อการศึกษาวิจัย
 
- มาตรการระยะกลาง (5-15 ปี)
 
จะเน้นการแก้ไขปัญหาทรัพยากรน้ำในระดับลุ่มน้ำ ประกอบด้วย มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างบางแผนงานซึ่งต่อเนื่องมาจากมาตรการระยะสั้น เพื่อให้เกิดผลของการแก้ไขได้มากขึ้นและมาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง อนึ่งมาตรการระยะกลางจะเน้นแผนงานโครงการที่ใช้มาตรการใช้สิ่งก่อสร้างที่ใช้งบประมาณสูงขึ้น และมีความเป็นไปได้ที่จะดำเนินการก่อสร้างได้ในลำดับต้นๆ ก่อน โดยเร่งดำเนินการในทุกลุ่มน้ำหลัก โดยใช้เวลาดำเนินการไม่เกิน 15 ปี ดังนี้
 
1.มาตรการในการแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำ จะต้องสนับสนุนก่อสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่มีความเป็นไปได้สูงที่จะดำเนินการได้ในช่วงมาตรการระยะกลางนี้ ในลุ่มน้ำสาขาหลักของลุ่มน้ำเจ้าพระยาคือ อ่างเก็บน้ำแม่วง แควน้อย และคลองโพธิ์ และโครงการผันน้ำต่างๆ ก่อให้เกิดผลประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ น้ำท่วม และน้ำเสีย ในเขตลุ่มน้ำสะแกกรัง ลุ่มน้ำน่าน ตลอดจนพื้นที่เพาะปลูกของโครงการ ประกอบด้วย โครงการในลุ่มน้ำต่างๆ อาทิ ลุ่มน้ำสะแกกรัง เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ การยกระดับรายได้ของเกษตรกร การบรรเทาปัญหาน้ำท่วม และการแก้ไขปัญหาน้ำเสียในลุ่มน้ำสะแกกรัง และจะมีปริมาณน้ำเหลือใช้ไหลลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยาสามารถใช้ในเขตโครงการชลประทานเจ้าพระยาใหญ่ ควรจะมีการก่อสร้างโครงการระดับลุ่มน้ำคือ และโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำเขื่อนคลองโพธิ์ มีความจุอ่างใช้งาน 64.4 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ผิวอ่างเก็บน้ำ 14.6 ตร.กม. ส่งน้ำให้พื้นที่เพาะปลูก 70,000 ไร่ เป็นต้น 
 
2.ลุ่มน้ำแควน้อย ซึ่งเป็นสาขาหลักของลุ่มน้ำน่านมีสภาพปัญหาน้ำหลากจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ลงสู่ลำน้ำแควน้อย และส่งผลกระทบต่อปัญหาน้ำท่วมในเขตเมืองพิษณุโลกเป็นประจำ ดังนั้น ควรก่อสร้างเขื่อนแควน้อย บนแม่น้ำแควน้อยมีความจุอ่างใช้งาน 733 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ผิวอ่างเก็บน้ำ 73.2 ตร.กม. ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการใช้น้ำในลุ่มน้ำแควน้อย ลุ่มน้ำน่านตอนล่าง ทั้งการบริโภคและป้องกันอุทกภัย 
 
3.โครงการผันน้ำกก-อิง-น่าน สามารถผันน้ำจากลุ่มน้ำกกและอิงลงสู่อ่างเก็บน้ำสิริกิติ์ได้สูงสุดปีละ 2,200 ล้านลูกบาศก์เมตร เฉลี่ยปีละ 1,500 ล้านลูกบาศก์เมตร สามารถนำปริมาณน้ำส่วนนี้แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ และควบคุณภาพน้ำในพื้นที่ได้รับประโยชน์
 
4.โครงการผันน้ำเมย-สาละวิน-เขื่อนภูมิพล สามารถผันน้ำจากลุ่มน้ำเมยลงสู่อ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพล ได้สูงสุดปีละ 3,500 ล้านลูกบาศก์เมตร เฉลี่ยปีละ 2,500 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำส่วนนี้ใช้ประโยชน์ได้เช่นเดียวกับโครงการผันน้ำกก-อิง-น่าน
 
โครงการผันน้ำเนื่องจากเป็นโครงการขนาดใหญ่ และใช้งบลงทุนสูงมาก อาจจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องไปแล้วเสร็จสมบูรณ์ในแผนระยะยาว
 
- มาตรการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม ประกอบด้วยแผนงานและโครงการต่างๆ ดังนี้
 
1.แผนงานพัฒนาพื้นที่ชะลอน้ำ (แก้มลิง) และระบบระบายน้ำในพื้นที่ ดังต่อไปนี้ โครงการพื้นที่ชะลอน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยาบริเวณจังหวัดนครสวรรค์ และโครงการพื้นที่ชะลอน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง
 
2.แผนงานจัดสร้างช่องทางผันน้ำหลากบางไทร-อ่าวไทย เพื่อป้องกันอุทกภัยให้กับพื้นที่ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพมหานคร และสมุทรปราการ เนื่องจากเป็นโครงการขนาดใหญ่และใช้งบลงทุนสูงมาก ควรเริ่มดำเนินการในมาตรการระยะกลางทันที 
 
3.แผนงานปรับปรุงสภาพลำน้ำและคันกั้นน้ำริมแม่น้ำพร้อมอาคารควบคุม
 
4.แผนงานด้านกฎหมายและองค์กรด้านน้ำท่วม เพื่อสามารถบริหารน้ำท่วมระดับลุ่มน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
- มาตรการระยะยาว (มากกว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปี)
 
เพื่อสนองตอบการแก้ไขปัญหาระดับลุ่มน้ำในทุกพื้นที่ของลุ่มน้ำซึ่งเพิ่มปริมาณการขาดแคลนน้ำและคุณภาพน้ำเสื่อมโทรมมากขึ้นตามลำดับ 
 
การแก้ไขจะประกอบด้วยมาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างบางแผนงานที่ยังคงดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดไป และมาตรการที่ใช้สิ่งก่อสร้างซึ่งจะต้องเร่งดำเนินการให้เต็มรูปแบบตามทุกแผนงานที่วางไว้ 
 
ทั้งนี้เพื่อจะได้สนองตอบปัญหาการขาดแคลนน้ำ น้ำท่วม และน้ำเสียได้ทุกพื้นที่ในทุกลุ่มน้ำหลักและลุ่มน้ำย่อย โดยใช้เวลาดำเนินการไม่เกิน 25 ปี ซึ่งกำหนดแผนงานและโครงการดำเนินการตามมาตรการในด้านต่างๆ 
 
โดยใช้มาตรการแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำและป้องกันอุทกภัย จะต้องเร่งดำเนินการโครงการก่อสร้างแหล่งเก็บกักน้ำเพิ่มเติมเต็มศักยภาพ ได้แก่ อ่างเก็บน้ำแก่งเสือเต้น แม่ขาน และกิ่วคอหมา รวมทั้งเร่งดำเนินโครงการผันน้ำเต็มรูปแบบ เช่น โครงการลุ่มน้ำยม เพื่อแก้ปัญหาขาดน้ำ ควรสร้างเขื่อนแก่งเสื้อเต้นบนแม่น้ำยมและลุ่มน้ำขาน ซึ่งสาขาของลุ่มน้ำปิงตอนบนมีปัญหาขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งควรสร้างเขื่อนแม่ขาน เป็นต้น
 
 
 
 
เอาข้อความเต็มๆ มาให้เสรีไทยพิจารณาข้อมูลของแต๋มครับ

ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ

 

 

 

เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน

จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน





ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน