พรบ. หรือ กระดาษทิชชู่ว่ะเนี่ย
จะเข้า จะออก แม่ม ง๊าย ง่าย
คริๆๆ คุณ CrazyDaimon คุณทำให้ดิฉันขำกลิ้งเลย คอมเม้นท์สั้นๆๆแต่ฮาได้ใจ
อยากกดให้สัก ร้อยไลท์
น่านหน่ะสิ ทำไมมันถึงเข้าๆๆออกๆๆได้ง่ายดายมาก
และก็มีคนเชื่อด้วยนะ เออ
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:22
พรบ. หรือ กระดาษทิชชู่ว่ะเนี่ย
จะเข้า จะออก แม่ม ง๊าย ง่าย
คริๆๆ คุณ CrazyDaimon คุณทำให้ดิฉันขำกลิ้งเลย คอมเม้นท์สั้นๆๆแต่ฮาได้ใจ
อยากกดให้สัก ร้อยไลท์
น่านหน่ะสิ ทำไมมันถึงเข้าๆๆออกๆๆได้ง่ายดายมาก
และก็มีคนเชื่อด้วยนะ เออ
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:24
http://www.tnews.co....27/จริงหรือไม่-!-%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87-40-70-%E0%B8%84%E0%B8%99-%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89-%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%96%E0%B8%AD%E0%B8%99-.html
แต่ละฉบับ มีผู้ลงชื่อเสนอฉบับละ 40- 70 คน แต่เป็นที่น่าสงสัยว่า
เวลาถอน กลับให้ ส.ส. คนเดียวมาถอน
ทำให้ต้องตั้งข้อสังเกตว่าจะมีหลักประกันอย่างไร ว่ากฎหมายเหล่านี้ถูกถอนอย่างถูกต้อง ?????
สมมุติ ข้างหมู่บ้านมีคนตั้งโรงงานปล่อยควันพิษ ชาวบ้านป่วยจำนวน100คน ไปหาหมอแล้วเอาใบแพทย์ไปแจ้งความร้องทุกข์ใหัดำเนินคดีตามกฎหมายกับเจ้าของโรงงานทั้ง100คน
...หลังจากนั้นเจ้าของโรงงานมาขอเจรจา และขอให้ถอนแจ้งความ
การถอนแจ้งความร้องทุกข์จะเรียบร้อยได้ ต้องถอนทั้ง100คน
Edited by คนกรุงธน, 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:47.
"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:24
รอสภาสูงจะมามุขใหนครับเทพเทือกก็บอกไปแล้วทางออก2ทาง
1.ให้วุฒิสภาแก้เป็น กม.การเงิน แล้วนายกฯ เซ็นไม่รับรองให้ กม.ตกไป
2. ให้วุฒิสภาแก้ไขเนื้อหาให้นิรโทษเฉพาะชาวบ้านชาวช่อง
ไม่ไช่หลอกชาวบ้านว่าไม่เอาแล้วเดี๊ยนถอยแล้วแต่ให้ สว ปล่อยตกกลับไป สส แล้วดองกอดไว้180วัน ปากก็บอกว่าไม่เอาไม่ทำไม่เอากลับมาหรอก ไม่บริสุทธิใจแรงๆ
ใครเชื่อก็ควายละ ถึงเวลามายกมือกันตอนตี4 ได้ควายกันทั้งประเทศ
ก็ต้องดูพรุ่งนี้อีกทีหนึ่งว่าจะออกแบบไหน แต่จะออกทางไหนก็ถือว่า พรบ.นี้ จบ
แล้วถ้าออกทาง3 สว ตีกลับ สส ละครับ เสื้อแดงจะทำอย่างไร
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:28
ส.ส. ๓๑๐ คนที่ลงมติรับ พรบ.นิรโทษกรรม ๓ วาระรวดภายในคืนเดียว ต้องพิจารณาตัวเองตามเหตุผลต่อไปนี้
๑. ใช้เสียงข้างมากปิดกั้นไม่ให้ผู้แปรญัตติได้อภิปราย
๒. ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ในการออกและรับกฏหมายอันขัดต่อนิติรัฐ นิติธรรม และจารีตประเพณีอันดีงาม
๓. ขาดวุฒิภาวะ โลเล ชักเข้าชักออก กระทำการโดยไม่คำนึงถึงความรู้สึกของประชาชน
จึงไม่อาจไว้วางใจให้ทำหน้าที่อีกต่อไป
ส่วนผู้ทำหน้าที่ประธานทั้งสี่คน ก็ต้องพิจารณาคัวเองเช่นกันในการทำหน้าที่ไม่เป็นกลาง และกระทำการขัด
ต่อข้อบังคับในการประชุม
...
ชาวนา เกษตรกร กรรมกร และประชาชน เป็นเจ้าของประเทศ
แต่ หลงจู๊ ผู้รับเหมา นายทุน และนักการเมือง เป็นเจ้าของโฉนด
คนชั่วที่ชอบใช้ประชาธิปไตยเป็นข้ออ้างว่า "มาจากการเลือกตั้ง"
ก็ไม่ต่างกับพระปลอมที่นำ "จีวร" มาห่มเพื่อหลอกชาวบ้าน
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:37
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:40
http://www.tnews.co....27/จริงหรือไม่-!-%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87-40-70-%E0%B8%84%E0%B8%99-%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89-%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%96%E0%B8%AD%E0%B8%99-.html
แต่ละฉบับ มีผู้ลงชื่อเสนอฉบับละ 40- 70 คน แต่เป็นที่น่าสงสัยว่า
เวลาถอน กลับให้ ส.ส. คนเดียวมาถอน
ทำให้ต้องตั้งข้อสังเกตว่าจะมีหลักประกันอย่างไร ว่ากฎหมายเหล่านี้ถูกถอนอย่างถูกต้อง ?????
ข้อ ๕๓ ญัตติที่บรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุมแล้ว หากผู้เสนอญัตติจะแก้ไขเพิ่มเติมหรือจะถอนชื่อจากการเป็นผู้ร่วมกันเสนอ หรือผู้รับรองจะถอนการรับรองญัตติจะต้องได้รับความยินยอมของที่ประชุม
ซึ่งขณะนี้ที่ประชุมได้ยินยอมแล้ว 310ต่อ 1 ทั้ง 6 ร่าง(วันนี้)
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:44
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:46
จะรอดูว่าองค์ประชุมครบมั้ย
มติมัน 310 ต่อ 1 องค์ประชุมมันก็ต้องครบซิครับ
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 17:32
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 17:37
องค์ประชุมวุฒิครับ
เพื่อจะให้ ประชุมไม่ได้เหรอครับ
ถ้าเป็นอย่างนี้ก็ไม่ต้องตีความเป็นอื่น แสดงว่าทางฝ่าย รบ.ต้องถอยเพื่อไม่ให้
เกิดความวุ่นวาย แต่ทางโน้น(โดย วุฒิสรรหา) พยายามจะดึงเรื่องเพื่อให้เข้าทางผู้ชุมนุม
ถ้าอย่างนี้ผมว่าฝ่าย สนับสนุน รบ. ก็มีความชอบธรรมที่จะออกมาเช่น กัน
ดีเหมือนกัน
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 18:05
เงื่อนใขมันถูกถอดหมดแล้ว
นี่ ๆ ๆ ๆ ดอนยอ เอ๊งจะงง กับตัวเองหรือเปล่า
เอ๊งบอกว่า พรบ ปรองดอง ฉบับ วรชัย ยังคาอยู่ที่ วุฒิ
แล้วเอ๊ง เ-สือกบอกว่า เงื่อนไขมันถูกถอดหมดแล้ว
มันถูกถอดหมดตอนไหน ฟร๊ะ เงื่อนไข มันยังอยู่
เอ็งก็ดูข่าวมั่งดิ เขาแถลงกันอย่างไร พรุ่งนี้ วุฒิฯ มีมติก็จบหมด
ไม่มีใครได้อะไร
*** ดอนยอ ต่อให้วุฒิจะคว่ำ พรบ นี้ไป ใช่ว่า มันจะจบ
มันแค่ รอ 180 วัน แล้วไม่ต้องแก้ไข ส่งให้นายก ขึ้นทูลเกล้าได้เลย
ต้องถอนร่าง ต่อสภา อย่างเดียว เท่านั้น
ไม่ใช่ครับ รอ 180 วันแล้ว สภาต้องยืนยัน ด้วยมติเกินครึ่งก่อน(ต้องเรียกประชุมสภา)
ถึงจะทูลเกล้าได้ ที่นี้ตามที่นายกฯ ไดแถลงเมื่อวานว่าจะไม่ยืนยันเมื่อครบ 180 วัน(ในฐานะที่พรรค รบ.)
แถลงทีวีพูลขนาดนั้น บิดพริ้วไม่ได้หรอกครับ
เอ๊ง ไม่ได้อ่าน ห่านอะไรเลยเหรอ
เมือครบ 180 แล้ว ถ้าไม่แก้ไข ก้อส่งเรื่องให้ นายกทูลเกล้าไปเลย เพราะ รบ มี สส กึ่งหนึ่งอยู่แล้ว แค่โหวต สส ครั้งเดียวก้อส่งให้นายก ทูลเกล้าได้
แต่ถ้าต้องการแก้ไข ก้อให้แก้ไข ไปตามนั้น แล้วก้อโหวต เหมือนเดิม
เอ๊ง เข้าใจไหมหาาาาาาาาาาาาาาาาา
พูดง่าย ๆ ว่า ยังไง ๆ ถ้าเสียงข้างมากมีอยู่ ยัง ๆ ก้อผ่านเป็น พรบ
ไอ้ห่ารากกกกกกกกกกกกกกกก
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:41
เมื่อ 2 ที่แล้ว
เงื่อนใขมันถูกถอดหมดแล้ว ชุมนุมไปก็มีแต่เสียตังและชาวบ้านเดือดร้อน
แต่ความชอบธรรมไม่มี
เพื่อไทยออกแถลงการณ์ว่าไม่มี
วันนี้มี..............
วันวานเพื่อไทยออกแถลงการณ์ว่าจะไม่รื้อมันขึ้นมา
ออกแถลงการณ์..............แบบ 2 ปีที่แล้วไหม?
เด็กเลี้ยงแกะในวันที่หมาป่ามาจริงๆ ไม่มีใครเชื่ออีก
บาทจบของเรื่องคือถูกหมาป่ากิน
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 08:51
เงื่อนใขมันถูกถอดหมดแล้ว
นี่ ๆ ๆ ๆ ดอนยอ เอ๊งจะงง กับตัวเองหรือเปล่า
เอ๊งบอกว่า พรบ ปรองดอง ฉบับ วรชัย ยังคาอยู่ที่ วุฒิ
แล้วเอ๊ง เ-สือกบอกว่า เงื่อนไขมันถูกถอดหมดแล้ว
มันถูกถอดหมดตอนไหน ฟร๊ะ เงื่อนไข มันยังอยู่
เอ็งก็ดูข่าวมั่งดิ เขาแถลงกันอย่างไร พรุ่งนี้ วุฒิฯ มีมติก็จบหมด
ไม่มีใครได้อะไร
อย่างนี้ดีมั้ย...
เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ และ ความตั้งใจที่จะยกเลิก พรบ.นิรโทษอัปยศ
ที่กำลังรอเข้าสภาสูง หรือ ฉบับ วรชัย ที่แก้ไขตามมติกรรมาธิการ
แค่ให้ดึงกลับมาเข้าสู่สภาอีกครั้ง...สส โหวตลงมติ ยกเลิก พรบ. ฉบับนี้
โดยถ่ายทอดสดให้ประชาชนรับทราบทั่วประเทศ
แค่นี้เอง...ง่าย ๆ
แทนที่จะประชุมให้ถอนร่าง พรบ. 6 ฉบับดังที่ผ่านมา ถ้าเปลี่ยนเป็น
ประชุมลงมติ ยกเลิก พรบ. ก็จบไปแล้ว...
แต่ไม่ทำ.....เพราะอะไร....ถ้าไม่ใช่...ยังรอหวังผลอยู่
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 10:38
ถอนที่เหลือทำไม ไม่ช่วยประชาชนแล้วเหรอ?? จะหาข้ออ้างว่า แมงวาป ไม่ให้นิรโทษสินะ
เจตนารมณ์ส่วนตัว
- ไม่ใช้ถ้อยคำที่คำหยาบคาย
- ไม่ต่อล้อต่อเถียงอย่างไม่มีเหตุผล
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 11:51
ถอยไม่ให้เกิดความวุ่นวายหรือหมกเม็ดกันแน่ครับเพื่อจะให้ ประชุมไม่ได้เหรอครับองค์ประชุมวุฒิครับ
ถ้าเป็นอย่างนี้ก็ไม่ต้องตีความเป็นอื่น แสดงว่าทางฝ่าย รบ.ต้องถอยเพื่อไม่ให้
เกิดความวุ่นวาย แต่ทางโน้น(โดย วุฒิสรรหา) พยายามจะดึงเรื่องเพื่อให้เข้าทางผู้ชุมนุม
ถ้าอย่างนี้ผมว่าฝ่าย สนับสนุน รบ. ก็มีความชอบธรรมที่จะออกมาเช่น กัน
ดีเหมือนกัน
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 11:52
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 13:41
เงื่อนใขมันถูกถอดหมดแล้ว
นี่ ๆ ๆ ๆ ดอนยอ เอ๊งจะงง กับตัวเองหรือเปล่า
เอ๊งบอกว่า พรบ ปรองดอง ฉบับ วรชัย ยังคาอยู่ที่ วุฒิ
แล้วเอ๊ง เ-สือกบอกว่า เงื่อนไขมันถูกถอดหมดแล้ว
มันถูกถอดหมดตอนไหน ฟร๊ะ เงื่อนไข มันยังอยู่
เอ็งก็ดูข่าวมั่งดิ เขาแถลงกันอย่างไร พรุ่งนี้ วุฒิฯ มีมติก็จบหมด
ไม่มีใครได้อะไร
อย่างนี้ดีมั้ย...
เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ และ ความตั้งใจที่จะยกเลิก พรบ.นิรโทษอัปยศ
ที่กำลังรอเข้าสภาสูง หรือ ฉบับ วรชัย ที่แก้ไขตามมติกรรมาธิการ
แค่ให้ดึงกลับมาเข้าสู่สภาอีกครั้ง...สส โหวตลงมติ ยกเลิก พรบ. ฉบับนี้
โดยถ่ายทอดสดให้ประชาชนรับทราบทั่วประเทศ
แค่นี้เอง...ง่าย ๆ
แทนที่จะประชุมให้ถอนร่าง พรบ. 6 ฉบับดังที่ผ่านมา ถ้าเปลี่ยนเป็น
ประชุมลงมติ ยกเลิก พรบ. ก็จบไปแล้ว...
แต่ไม่ทำ.....เพราะอะไร....ถ้าไม่ใช่...ยังรอหวังผลอยู่
มันทำแบบนั้นได้เหรอครับ ในขณะที่ผ่านวาระ 3 ของสภาผู้แทนฯและเข้าไปสู่วาระ ของวุฒิฯสมาชิกแล้ว
ผมว่าถ้าทำได้ ทางสภาผู้แทนฯคงทำไปแล้ว คงไม่ต้องรอ วุฒิฯพิจารณา หรือว่ามันมีข้อกฎหมายหรือข้อบังคับ
ที่สามารถทำแบบนั้นได้ ผมไม่รู้จริงๆ ถ้ามีก็แบ่งปันกันดูก็ดีนะครับเพื่อความกระจ่าง
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 13:54
เงื่อนใขมันถูกถอดหมดแล้ว
นี่ ๆ ๆ ๆ ดอนยอ เอ๊งจะงง กับตัวเองหรือเปล่า
เอ๊งบอกว่า พรบ ปรองดอง ฉบับ วรชัย ยังคาอยู่ที่ วุฒิ
แล้วเอ๊ง เ-สือกบอกว่า เงื่อนไขมันถูกถอดหมดแล้ว
มันถูกถอดหมดตอนไหน ฟร๊ะ เงื่อนไข มันยังอยู่
เอ็งก็ดูข่าวมั่งดิ เขาแถลงกันอย่างไร พรุ่งนี้ วุฒิฯ มีมติก็จบหมด
ไม่มีใครได้อะไร
อย่างนี้ดีมั้ย...
เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ และ ความตั้งใจที่จะยกเลิก พรบ.นิรโทษอัปยศ
ที่กำลังรอเข้าสภาสูง หรือ ฉบับ วรชัย ที่แก้ไขตามมติกรรมาธิการ
แค่ให้ดึงกลับมาเข้าสู่สภาอีกครั้ง...สส โหวตลงมติ ยกเลิก พรบ. ฉบับนี้
โดยถ่ายทอดสดให้ประชาชนรับทราบทั่วประเทศ
แค่นี้เอง...ง่าย ๆ
แทนที่จะประชุมให้ถอนร่าง พรบ. 6 ฉบับดังที่ผ่านมา ถ้าเปลี่ยนเป็น
ประชุมลงมติ ยกเลิก พรบ. ก็จบไปแล้ว...
แต่ไม่ทำ.....เพราะอะไร....ถ้าไม่ใช่...ยังรอหวังผลอยู่
มันทำแบบนั้นได้เหรอครับ ในขณะที่ผ่านวาระ 3 ของสภาผู้แทนฯและเข้าไปสู่วาระ ของวุฒิฯสมาชิกแล้ว
ผมว่าถ้าทำได้ ทางสภาผู้แทนฯคงทำไปแล้ว คงไม่ต้องรอ วุฒิฯพิจารณา หรือว่ามันมีข้อกฎหมายหรือข้อบังคับ
ที่สามารถทำแบบนั้นได้ ผมไม่รู้จริงๆ ถ้ามีก็แบ่งปันกันดูก็ดีนะครับเพื่อความกระจ่าง
ถ้าตีกลับแล้ว สภาผู้แทนฯ จะถอนหรือไม่...
http://www.komchadlu...มการป.ป.ท..html
สภาฯถอนให้ความเห็นชอบคณะกรรมการป.ป.ท.
สภาฯถอนให้ความเห็นชอบคณะกรรมการป.ป.ท.หลังเด็กเนวิน - เพื่อไทยขวาง ด้าน “จุมภฎ” ชี้ส่อขัดรธน. ด้าน “สมศักดิ์” ขู่หากดึงดันครม.อาจต้องพ้นทั้งคณะ
(26ส.ค.) ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ได้มีการพิจารณาให้ความเห็นชอบกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ(ป.ป.ท.) เนื่องจากที่ผ่านมาวุฒิสภาได้ตีกลับ 6 รายชื่อป.ป.ท. โดยเห็นว่าการเสนอเรื่องดังกล่าวของสภาผู้แทนราษฎรมีความไม่ชอบด้วยกฎหมาย และขัดต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญเพราะสภาผู้แทนราษฎรลงมติเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่ง วุฒิสภาจึงได้ส่งเรื่องคืนกลับไปยังรัฐบาล ซึ่งทางรัฐบาลได้เสนอชื่อกรรมการป.ป.ท.เข้ามาให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาใหม่
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ส.ส.พรรคเพื่อไทยได้มีการคัดค้านการเสนอรายชื่อดังกล่าว โดยเห็นว่าการเสนอคนใหม่เข้ามาอาจจะขัดต่อรัฐธรรมนูญได้ นอกจากนี้ยังได้ตั้งข้อสังเกตถึงอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาในการตีกลับเรื่องดังกล่าว พร้อมยังได้มีการสอบถามนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎรว่าได้มีการตรวจสอบแล้วหรือไม่ว่าในการพิจารณาเรื่องดังกล่าวสภาฯลงมติด้วยเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งหรือไม่ และหากเสียงสภาฯไม่ครบองค์ประชุมจริง สภาฯก็สามารถลงมติใหม่ได้ ไม่จำเป็นต้องไปเปลี่ยนชื่อคนที่จะเป็นป.ป.ท.หรือต้องเสนอชื่อใหม่
โดยนายจุมภฎ บุญใหญ่ ส.ส.สกลนคร พรรคเพื่อไทย กลุ่มเพื่อนเนวิน ลุกขึ้นทักท้วงไม่เห็นด้วยกับการเสนอดังกล่าวโดยเสนอให้ รมว.ยุติธรรม ถอนเรื่องนี้ออกไป แล้วเสนอรายชื่อ ป.ป.ท. 6 ชุดเดิม ที่ได้มีการเสนอเอาไว้ เพราะเมื่อรัฐบาลเสนอกรรมการป.ป.ท.เข้ามา ทำไมเสนอคนใหม่เข้ามา อาจจะขัดต่อรัฐธรรมนูญได้เพราะมติของสภาเห็นชอบ ยังมีผลอยู่ จึงควรจะให้สภาพิจารณาไปเลยว่าเห็นชอบ หรือไม่เห็น ถ้าไม่เห็นชอบ เรื่องนี้ก็จะได้ตกไป
ด้านนายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ ส.ส.ขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีต รมว.ยุติธรรม เห็นว่าหากรัฐบาลดึงดันจะพิจารณาเรื่องนี้อาจทำให้ ครม.ต้องพ้นทั้งคณะเพราะร่วมกันให้ความเห็นชอบเรื่องนี้
นายวิทยา บุรณศิริ ส.ส.อยุธยา พรรคเพื่อไทย กล่าวว่า เรื่องนี้เป็นสิ่งสำคัญเพราะเป็นเรื่องขององค์ประชุมสภาผู้แทนฯไม่ครบ หากวุฒิสภาส่งเรื่องกลับมาสภาฯ ประธานสภาฯต้องพิจารณาว่าจะทำอย่างไร ไม่เช่นนั้นจะมีคำถามต่อไป แล้วจะเป็นอันตราย ควรดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง สิ่งเหล่านี้ประธานสภาฯในฐานะประมุขฝ่ายนิติบัญญัติจะสับสนไม่ได้
ขณะที่นายนิพนธ์ วิสิทธิ์ยุทธศาสตร์ ส.ส.สัดส่วน พรรคประชาธิปัตย์ กล่าวว่า วุฒิสภามีอำนาจในการพิจารณาเรื่องนี้ เมื่อเป็นเช่นนี้หากเกรงว่าจะมีปัญหาเกิดขึ้น วุฒิสภาสามารถมีมติให้ถอนได้ มติของวุฒิสภาจึงชอบแล้ว เรื่องนี้จึงจบ การพิจารณาเรื่องนี้ขั้นตอนถูกต้องไม่น่ามีปัญหา
ซึ่งนายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ชี้แจงว่า ไม่ได้มีเจตนาให้เกิดปัญหา ถ้าเกรงว่ารายชื่อใหม่จะมาจากการแทรกแซง ตนได้กำชับให้เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องให้เอารายชื่อเดิมให้คณะกรรมการพิจารณาด้วย ดังนั้นไม่ได้มีเหตุผลส่วนตัวหรือเหตุผลทางการเมืองแต่อย่างใด เรื่องนี้เป็นข้อขัดข้องทางกฎหมายและเป็นความบกพร่องร่วมกันในคณะรัฐมนตรี ซึ่งหากเกรงว่าจะมีผลกระทบ ดังนั้นตนขอกลับไปดูข้อมูลต่างๆก่อนที่จะเดินหน้าต่อไป จึงขอถอนเรื่องออกไปเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อนนำเข้าสู่ที่ประชุมอีกครั้ง
โดยที่ประชุมก็เห็นชอบให้ถอนเรื่องดังกล่าวออกจากวาระการประชุมด้วยเสียง 277 ต่อ 0 ไม่ลง 12 งด 2
Edited by HiddenMan, 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 13:55.
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:04
เงื่อนใขมันถูกถอดหมดแล้ว
นี่ ๆ ๆ ๆ ดอนยอ เอ๊งจะงง กับตัวเองหรือเปล่า
เอ๊งบอกว่า พรบ ปรองดอง ฉบับ วรชัย ยังคาอยู่ที่ วุฒิ
แล้วเอ๊ง เ-สือกบอกว่า เงื่อนไขมันถูกถอดหมดแล้ว
มันถูกถอดหมดตอนไหน ฟร๊ะ เงื่อนไข มันยังอยู่
เอ็งก็ดูข่าวมั่งดิ เขาแถลงกันอย่างไร พรุ่งนี้ วุฒิฯ มีมติก็จบหมด
ไม่มีใครได้อะไร
อย่างนี้ดีมั้ย...
เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ และ ความตั้งใจที่จะยกเลิก พรบ.นิรโทษอัปยศ
ที่กำลังรอเข้าสภาสูง หรือ ฉบับ วรชัย ที่แก้ไขตามมติกรรมาธิการ
แค่ให้ดึงกลับมาเข้าสู่สภาอีกครั้ง...สส โหวตลงมติ ยกเลิก พรบ. ฉบับนี้
โดยถ่ายทอดสดให้ประชาชนรับทราบทั่วประเทศ
แค่นี้เอง...ง่าย ๆ
แทนที่จะประชุมให้ถอนร่าง พรบ. 6 ฉบับดังที่ผ่านมา ถ้าเปลี่ยนเป็น
ประชุมลงมติ ยกเลิก พรบ. ก็จบไปแล้ว...
แต่ไม่ทำ.....เพราะอะไร....ถ้าไม่ใช่...ยังรอหวังผลอยู่
มันทำแบบนั้นได้เหรอครับ ในขณะที่ผ่านวาระ 3 ของสภาผู้แทนฯและเข้าไปสู่วาระ ของวุฒิฯสมาชิกแล้ว
ผมว่าถ้าทำได้ ทางสภาผู้แทนฯคงทำไปแล้ว คงไม่ต้องรอ วุฒิฯพิจารณา หรือว่ามันมีข้อกฎหมายหรือข้อบังคับ
ที่สามารถทำแบบนั้นได้ ผมไม่รู้จริงๆ ถ้ามีก็แบ่งปันกันดูก็ดีนะครับเพื่อความกระจ่าง
ทำได้ซิ....ประธานสมศักดิ์ถอนกลับมา แล้วบรรจุวาระด่วน เปิดการพิจารณาว่า
พรบ นี้ขัดกฎหมายหรือไม่ สมควรยกเลิก พรบ หรือไม่...ง่าย ๆ แค่นี้เอง
ว่าแต่...สส 310 จะรับได้หรือ...กลับความรับผิดชอบที่จะตามมา
อยู่ที่ว่า...การเดินเกม ให้ พรบ เข้าสู่สภาสูง กับผลที่จะตามมาในอีก 180 วัน
และอีก 20 วันในการดำเนินการเพื่อประกาศใช้...
อะไรที่คือสิ่งที่ ทักษิณ ยิ่งลักษณ์ แกนนำเสื้อแดง...ต้องการ
ความสงบของประเทศ...หรือ....ล้างมลทินตัวเอง
Edited by bird, 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:09.
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:06
เงื่อนใขมันถูกถอดหมดแล้ว
นี่ ๆ ๆ ๆ ดอนยอ เอ๊งจะงง กับตัวเองหรือเปล่า
เอ๊งบอกว่า พรบ ปรองดอง ฉบับ วรชัย ยังคาอยู่ที่ วุฒิ
แล้วเอ๊ง เ-สือกบอกว่า เงื่อนไขมันถูกถอดหมดแล้ว
มันถูกถอดหมดตอนไหน ฟร๊ะ เงื่อนไข มันยังอยู่
เอ็งก็ดูข่าวมั่งดิ เขาแถลงกันอย่างไร พรุ่งนี้ วุฒิฯ มีมติก็จบหมด
ไม่มีใครได้อะไร
อย่างนี้ดีมั้ย...
เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ และ ความตั้งใจที่จะยกเลิก พรบ.นิรโทษอัปยศ
ที่กำลังรอเข้าสภาสูง หรือ ฉบับ วรชัย ที่แก้ไขตามมติกรรมาธิการ
แค่ให้ดึงกลับมาเข้าสู่สภาอีกครั้ง...สส โหวตลงมติ ยกเลิก พรบ. ฉบับนี้
โดยถ่ายทอดสดให้ประชาชนรับทราบทั่วประเทศ
แค่นี้เอง...ง่าย ๆ
แทนที่จะประชุมให้ถอนร่าง พรบ. 6 ฉบับดังที่ผ่านมา ถ้าเปลี่ยนเป็น
ประชุมลงมติ ยกเลิก พรบ. ก็จบไปแล้ว...
แต่ไม่ทำ.....เพราะอะไร....ถ้าไม่ใช่...ยังรอหวังผลอยู่
มันทำแบบนั้นได้เหรอครับ ในขณะที่ผ่านวาระ 3 ของสภาผู้แทนฯและเข้าไปสู่วาระ ของวุฒิฯสมาชิกแล้ว
ผมว่าถ้าทำได้ ทางสภาผู้แทนฯคงทำไปแล้ว คงไม่ต้องรอ วุฒิฯพิจารณา หรือว่ามันมีข้อกฎหมายหรือข้อบังคับ
ที่สามารถทำแบบนั้นได้ ผมไม่รู้จริงๆ ถ้ามีก็แบ่งปันกันดูก็ดีนะครับเพื่อความกระจ่าง
งั้น ดอนยอ กำลังจะบอกว่า ยังไง ๆ พรบ นี่ก้อจะผ่านเป็นกฎหมายครับ
ค้านไม่ได้ ถอนไม่ได้แล้วครับ นี่แสดงว่า ไอ้โง่ ตอแหล มาตลอดว่า รบ ได้ถอนร่างไปหมดแล้ว
แต่ความจริง ร่างนี้ไม่ได้ถอน และ กำัลังจะเป็นกฎหมาย อีก 180 วันนับจากนี้
Edited by พอล คุง, 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:07.
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:08
เงื่อนใขมันถูกถอดหมดแล้ว
นี่ ๆ ๆ ๆ ดอนยอ เอ๊งจะงง กับตัวเองหรือเปล่า
เอ๊งบอกว่า พรบ ปรองดอง ฉบับ วรชัย ยังคาอยู่ที่ วุฒิ
แล้วเอ๊ง เ-สือกบอกว่า เงื่อนไขมันถูกถอดหมดแล้ว
มันถูกถอดหมดตอนไหน ฟร๊ะ เงื่อนไข มันยังอยู่
เอ็งก็ดูข่าวมั่งดิ เขาแถลงกันอย่างไร พรุ่งนี้ วุฒิฯ มีมติก็จบหมด
ไม่มีใครได้อะไร
อย่างนี้ดีมั้ย...
เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ และ ความตั้งใจที่จะยกเลิก พรบ.นิรโทษอัปยศ
ที่กำลังรอเข้าสภาสูง หรือ ฉบับ วรชัย ที่แก้ไขตามมติกรรมาธิการ
แค่ให้ดึงกลับมาเข้าสู่สภาอีกครั้ง...สส โหวตลงมติ ยกเลิก พรบ. ฉบับนี้
โดยถ่ายทอดสดให้ประชาชนรับทราบทั่วประเทศ
แค่นี้เอง...ง่าย ๆ
แทนที่จะประชุมให้ถอนร่าง พรบ. 6 ฉบับดังที่ผ่านมา ถ้าเปลี่ยนเป็น
ประชุมลงมติ ยกเลิก พรบ. ก็จบไปแล้ว...
แต่ไม่ทำ.....เพราะอะไร....ถ้าไม่ใช่...ยังรอหวังผลอยู่
มันทำแบบนั้นได้เหรอครับ ในขณะที่ผ่านวาระ 3 ของสภาผู้แทนฯและเข้าไปสู่วาระ ของวุฒิฯสมาชิกแล้ว
ผมว่าถ้าทำได้ ทางสภาผู้แทนฯคงทำไปแล้ว คงไม่ต้องรอ วุฒิฯพิจารณา หรือว่ามันมีข้อกฎหมายหรือข้อบังคับ
ที่สามารถทำแบบนั้นได้ ผมไม่รู้จริงๆ ถ้ามีก็แบ่งปันกันดูก็ดีนะครับเพื่อความกระจ่าง
ถ้าตีกลับแล้ว สภาผู้แทนฯ จะถอนหรือไม่...
http://www.komchadlu...มการป.ป.ท..html
นายกฯแถลงชัด(ในฐานะพรรค รบ.) ก็คงจะเป็นอย่างนั้น
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:10
เงื่อนใขมันถูกถอดหมดแล้ว
นี่ ๆ ๆ ๆ ดอนยอ เอ๊งจะงง กับตัวเองหรือเปล่า
เอ๊งบอกว่า พรบ ปรองดอง ฉบับ วรชัย ยังคาอยู่ที่ วุฒิ
แล้วเอ๊ง เ-สือกบอกว่า เงื่อนไขมันถูกถอดหมดแล้ว
มันถูกถอดหมดตอนไหน ฟร๊ะ เงื่อนไข มันยังอยู่
เอ็งก็ดูข่าวมั่งดิ เขาแถลงกันอย่างไร พรุ่งนี้ วุฒิฯ มีมติก็จบหมด
ไม่มีใครได้อะไร
อย่างนี้ดีมั้ย...
เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ และ ความตั้งใจที่จะยกเลิก พรบ.นิรโทษอัปยศ
ที่กำลังรอเข้าสภาสูง หรือ ฉบับ วรชัย ที่แก้ไขตามมติกรรมาธิการ
แค่ให้ดึงกลับมาเข้าสู่สภาอีกครั้ง...สส โหวตลงมติ ยกเลิก พรบ. ฉบับนี้
โดยถ่ายทอดสดให้ประชาชนรับทราบทั่วประเทศ
แค่นี้เอง...ง่าย ๆ
แทนที่จะประชุมให้ถอนร่าง พรบ. 6 ฉบับดังที่ผ่านมา ถ้าเปลี่ยนเป็น
ประชุมลงมติ ยกเลิก พรบ. ก็จบไปแล้ว...
แต่ไม่ทำ.....เพราะอะไร....ถ้าไม่ใช่...ยังรอหวังผลอยู่
มันทำแบบนั้นได้เหรอครับ ในขณะที่ผ่านวาระ 3 ของสภาผู้แทนฯและเข้าไปสู่วาระ ของวุฒิฯสมาชิกแล้ว
ผมว่าถ้าทำได้ ทางสภาผู้แทนฯคงทำไปแล้ว คงไม่ต้องรอ วุฒิฯพิจารณา หรือว่ามันมีข้อกฎหมายหรือข้อบังคับ
ที่สามารถทำแบบนั้นได้ ผมไม่รู้จริงๆ ถ้ามีก็แบ่งปันกันดูก็ดีนะครับเพื่อความกระจ่าง
ถ้าตีกลับแล้ว สภาผู้แทนฯ จะถอนหรือไม่...
http://www.komchadlu...มการป.ป.ท..html
นายกฯแถลงชัด(ในฐานะพรรค รบ.) ก็คงจะเป็นอย่างนั้น
พูดเมื่อไหร่ครับว่าหลังจากวุฒิสภาตีกลับแล้วจะถอน พรบ นิรโทษกรรมฉบับสุดซอยนี้ โดยไม่รอ 180 วัน
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:20
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:25
แล้วดอนจะให้ผมเชื่อ นายกแถ-ลงวันไหนครับ
คำแถลงกรณีร่างพ.ร.บ.นิรโทษฯ 'ยิ่งลักษณ์'ย้ำทำตามรัฐธรรมนูญ
เมื่อวันอังคาร ที่ 05 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556,
ทั้งนี้ภายใต้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ หากถือตามขั้นตอนกระบวนการของกฎหมาย อยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของวุฒิสภา
ดิฉันจึงใคร่ขอเสนอให้วุฒิสภาโดยวุฒิสมาชิกซึ่งเป็นตัวแทนจากการแต่งตั้งและ การเลือกตั้ง ทั้งจากกลุ่มเห็นด้วยกับไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลได้กรุณาใช้ดุลยพินิจอย่างเต็ม ที่ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าวุฒิสภานั้นไม่มีใครก้าวก่ายได้ ได้โปรดใช้ดุลยพินิจในการพิจารณา โดยอาศัยพื้นฐานความปรองดอง ความเมตตาธรรมกับผู้ที่เดือดร้อนและผู้ที่เจ็บปวดมาเป็นเวลานานให้ได้รับ ความยุติธรรมอย่างเสมอภาค
หลังจากนั้น 2 วัน
นายกฯแถลงสภาถอนร่าง6ฉบับ
เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 07 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
และในเมื่อวันนี้ทุกฝ่ายก็ประกาศเจตนารมณ์ ชัดเจนแล้ว สภาผู้แทนราษฎรก็มีมติล่าสุดให้ถอนร่าง พ.ร.บ.ทุกฉบับออกหมดแล้วค่ะ อยากขอเรียนวิงวอนว่าอยากให้พี่น้องประชาชนยุติการชุมนุมเถิดค่ะ และโปรดเชื่อในสิ่งที่ทุก ๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องนั้นได้แสดงเจตนารมณ์เถิดค่ะ และเราจะได้ร่วมกันในการที่จะเดินหน้า เพราะประเทศไทยเราก็บอบช้ำไปมากแล้ว เราก็ไม่อยากให้มีเหตุการณ์ต่าง ๆ มาซ้ำเติมประเทศของเราอีกนะคะ
ทำไมตอนแรกบอก ถอนไม่ได้ ก้าวก่ายไม่ได้ แต่หลังจากนั้น 2 วัน กลับถอนได้ แสดงว่า รัฐบาลชุดนี้ก้าวก่ายวุฒิสภาได้ ใช่ไหม
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:26
เอาง่าย ๆ นะ ดอนยอ
ขนาด ไอ้ตู่ - ธิดา วันก่อนกัด กับ รัฐบาลอย่างกะ หมากัดกัน แถม ไอ้ตู่ ธิดา ยังคัดค้าน พรบ
แต่พอมาวันนี้ จูบปาก กับ รบ ซะละ แล้วจะให้เชื่อว่า รบ มันจะยอมถอนร่าง เพราะลมปาก อีโง อีกเหรอ
เชื่อ อีโง่ กับ รบ ก้อออกลูกเป็นวัวดีกว่า จะให้เชื่อต้อง ให้ประธาน เรียกประชุมในสภา ให้ สส ยกเลิก หรือ ถอนร่าง พรบ เท่านั้น
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:28
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:35
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:37
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ทำไมต้องรอ 180 วัน...
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:41
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ทำไมต้องรอ 180 วัน...
มาตรา ๑๔๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๖๘ เมื่อวุฒิสภาได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเสร็จแล้ว
(๑) ถ้าเห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
(๒) ถ้าไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ยับยั้งร่างพระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน และส่ง
ร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร
(๓) ถ้าแก้ไขเพิ่มเติม ให้ส่งร่างพระราชบัญญัติตามที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้นไปยังสภาผู้แทนราษฎร
ถ้าสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ถ้าเป็นกรณีอื่น ให้แต่ละสภาตั้งบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ มีจำนวนเท่ากัน
ตามที่สภาผู้แทนราษฎรกำหนด ประกอบเป็นคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างนั้น และ
ให้คณะกรรมาธิการร่วมกันรายงานและเสนอร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้พิจารณา
แล้วต่อสภาทั้งสอง ถ้าสภาทั้งสองต่างเห็นชอบด้วยร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้
พิจารณาแล้ว ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐ ถ้าสภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย ก็ให้ยับยั้งร่าง
พระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน
คณะกรรมาธิการร่วมกันอาจเรียกเอกสารจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาแถลงข้อเท็จจริง
หรือแสดงความคิดเห็นในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติได้ และเอกสิทธิ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓๐ นั้น
ให้คุ้มครองถึงบุคคลผู้กระทำหน้าที่ตามมาตรานี้ด้วย
การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมกันต้องมีกรรมาธิการของสภาทั้งสองมาประชุมไม่น้อยกว่า
กึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๓๗ มาใช้
บังคับโดยอนุโลม
ถ้าวุฒิสภาไม่ส่งร่างพระราชบัญญัติคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎรภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๑๔๖
ให้ถือว่าวุฒิสภาได้ให้ความเห็นชอบในร่างพระราชบัญญัตินั้น และให้ดำเนินการตามมาตรา ๑๕๐ ต่อไป
มาตรา ๑๔๘ ร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้ตามมาตรา ๑๔๗ นั้น สภาผู้แทนราษฎร
จะยกขึ้นพิจารณาใหม่ได้ต่อเมื่อเวลาหนึ่งร้อยแปดสิบวันได้ล่วงพ้นไปนับแต่วันที่วุฒิสภาส่ง
ร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร สำหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๔๗ (๒)
และนับแต่วันที่สภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย สำหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๔๗ (๓) ในกรณี
เช่นว่านี้ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติยืนยันร่างเดิมหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วย
คะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่า
ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา และให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ถ้าร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน สภาผู้แทนราษฎร
อาจยกร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นพิจารณาใหม่ได้ทันที ในกรณีเช่นว่านี้ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติ
ยืนยันร่างเดิมหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความ
เห็นชอบของรัฐสภา และให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:41
ตอนยื่นสภาทั้ง 6 ฉบับก็ให้เหตุผลว่าเพื่อความปรองดอง
ตอนถอนออกก็ให้เหตุผลว่า เพื่อความปรองดอง
บร๊ะ
AMAZING coup d'etat , THAILAND ONLY ..
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:41
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ไอ้เบื้อก ดอนยอ เอ๊งนี่จะโง่ ไปไหน
เค้าก้อบอกอยู่ว่า ว่า ให้ประธาน บรรจุเป็นวาระเ่ร่งด่วน
ก้อแค่ให้ประธาน เลือนการประชุมครั้งหน้า เลือนให้มาเร็วขึ้น อาจจะใน 1-2 วันนี้ หรือ อาทิตย์ หน้า
เหมือน ๆ ที ประธาน เร่งบรรจุวาระ เรื่อง นิรโทษกรรม ให้เร็ิวขึ้นไงฟร๊ะ
ไม่ต้องรอ 180 เอ๊ง เข้าใจไหม ห่าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา
Edited by พอล คุง, 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:42.
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:43
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ทำไมต้องรอ 180 วัน...
มาตรา ๑๔๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๖๘ เมื่อวุฒิสภาได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเสร็จแล้ว
(๑) ถ้าเห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
(๒) ถ้าไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ยับยั้งร่างพระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน และส่ง
ร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร
(๓) ถ้าแก้ไขเพิ่มเติม ให้ส่งร่างพระราชบัญญัติตามที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้นไปยังสภาผู้แทนราษฎร
ถ้าสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ถ้าเป็นกรณีอื่น ให้แต่ละสภาตั้งบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ มีจำนวนเท่ากัน
ตามที่สภาผู้แทนราษฎรกำหนด ประกอบเป็นคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างนั้น และ
ให้คณะกรรมาธิการร่วมกันรายงานและเสนอร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้พิจารณา
แล้วต่อสภาทั้งสอง ถ้าสภาทั้งสองต่างเห็นชอบด้วยร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้
พิจารณาแล้ว ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐ ถ้าสภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย ก็ให้ยับยั้งร่าง
พระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน
คณะกรรมาธิการร่วมกันอาจเรียกเอกสารจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาแถลงข้อเท็จจริง
หรือแสดงความคิดเห็นในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติได้ และเอกสิทธิ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓๐ นั้น
ให้คุ้มครองถึงบุคคลผู้กระทำหน้าที่ตามมาตรานี้ด้วย
การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมกันต้องมีกรรมาธิการของสภาทั้งสองมาประชุมไม่น้อยกว่า
กึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๓๗ มาใช้
บังคับโดยอนุโลม
ถ้าวุฒิสภาไม่ส่งร่างพระราชบัญญัติคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎรภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๑๔๖
ให้ถือว่าวุฒิสภาได้ให้ความเห็นชอบในร่างพระราชบัญญัตินั้น และให้ดำเนินการตามมาตรา ๑๕๐ ต่อไป
มาตรา ๑๔๘ ร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้ตามมาตรา ๑๔๗ นั้น สภาผู้แทนราษฎร
จะยกขึ้นพิจารณาใหม่ได้ต่อเมื่อเวลาหนึ่งร้อยแปดสิบวันได้ล่วงพ้นไปนับแต่วันที่วุฒิสภาส่ง
ร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร สำหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๔๗ (๒)
และนับแต่วันที่สภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย สำหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๔๗ (๓) ในกรณี
เช่นว่านี้ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติยืนยันร่างเดิมหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วย
คะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่า
ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา และให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ถ้าร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน สภาผู้แทนราษฎร
อาจยกร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นพิจารณาใหม่ได้ทันที ในกรณีเช่นว่านี้ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติ
ยืนยันร่างเดิมหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความ
เห็นชอบของรัฐสภา และให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ให้ถอน ครับ ไม่ได้ให้พิจารณาใหม่... ลิงค์ข่าวที่แนบมาก่อนหน้าก็ถอนกันได้นิ่
Edited by HiddenMan, 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:44.
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:45
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ทำไมต้องรอ 180 วัน...
มาตรา ๑๔๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๖๘ เมื่อวุฒิสภาได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเสร็จแล้ว
(๑) ถ้าเห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
(๒) ถ้าไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ยับยั้งร่างพระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน และส่ง
ร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร
(๓) ถ้าแก้ไขเพิ่มเติม ให้ส่งร่างพระราชบัญญัติตามที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้นไปยังสภาผู้แทนราษฎร
ถ้าสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ถ้าเป็นกรณีอื่น ให้แต่ละสภาตั้งบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ มีจำนวนเท่ากัน
ตามที่สภาผู้แทนราษฎรกำหนด ประกอบเป็นคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างนั้น และ
ให้คณะกรรมาธิการร่วมกันรายงานและเสนอร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้พิจารณา
แล้วต่อสภาทั้งสอง ถ้าสภาทั้งสองต่างเห็นชอบด้วยร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้
พิจารณาแล้ว ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐ ถ้าสภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย ก็ให้ยับยั้งร่าง
พระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน
คณะกรรมาธิการร่วมกันอาจเรียกเอกสารจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาแถลงข้อเท็จจริง
หรือแสดงความคิดเห็นในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติได้ และเอกสิทธิ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓๐ นั้น
ให้คุ้มครองถึงบุคคลผู้กระทำหน้าที่ตามมาตรานี้ด้วย
การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมกันต้องมีกรรมาธิการของสภาทั้งสองมาประชุมไม่น้อยกว่า
กึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๓๗ มาใช้
บังคับโดยอนุโลม
ถ้าวุฒิสภาไม่ส่งร่างพระราชบัญญัติคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎรภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๑๔๖
ให้ถือว่าวุฒิสภาได้ให้ความเห็นชอบในร่างพระราชบัญญัตินั้น และให้ดำเนินการตามมาตรา ๑๕๐ ต่อไป
มาตรา ๑๔๘ ร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้ตามมาตรา ๑๔๗ นั้น สภาผู้แทนราษฎร
จะยกขึ้นพิจารณาใหม่ได้ต่อเมื่อเวลาหนึ่งร้อยแปดสิบวันได้ล่วงพ้นไปนับแต่วันที่วุฒิสภาส่ง
ร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร สำหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๔๗ (๒)
และนับแต่วันที่สภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย สำหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๔๗ (๓) ในกรณี
เช่นว่านี้ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติยืนยันร่างเดิมหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วย
คะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่า
ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา และให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ถ้าร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน สภาผู้แทนราษฎร
อาจยกร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นพิจารณาใหม่ได้ทันที ในกรณีเช่นว่านี้ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติ
ยืนยันร่างเดิมหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความ
เห็นชอบของรัฐสภา และให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ให้ถอน ครับ ไม่ได้ให้พิจารณาใหม่... ลิงค์ข่าวที่แนบมาก่อนหน้าก็ถอนกันได้นิ่
ดอนยอ คงคิดว่า ให้ถอน พรบ เหมือน ๆ กับ พิจารณา พรบใหม่ มั่งครับ
Edited by พอล คุง, 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:51.
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:49
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ไอ้เบื้อก ดอนยอ เอ๊งนี่จะโง่ ไปไหน
เค้าก้อบอกอยู่ว่า ว่า ให้ประธาน บรรจุเป็นวาระเ่ร่งด่วน
ก้อแค่ให้ประธาน เลือนการประชุมครั้งหน้า เลือนให้มาเร็วขึ้น อาจจะใน 1-2 วันนี้ หรือ อาทิตย์ หน้า
เหมือน ๆ ที ประธาน เร่งบรรจุวาระ เรื่อง นิรโทษกรรม ให้เร็ิวขึ้นไงฟร๊ะ
ไม่ต้องรอ 180 เอ๊ง เข้าใจไหม ห่าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา
ไอ่พอล เอ็งไม่อ่านเลยนี่หว่า เมาอย่างเดียว
ก็ รธน. กำหนดไว้อย่างนั้นเว้ย รธน. คือ กฎหมายสูงสุดว่ะ
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:51
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ไอ้เบื้อก ดอนยอ เอ๊งนี่จะโง่ ไปไหน
เค้าก้อบอกอยู่ว่า ว่า ให้ประธาน บรรจุเป็นวาระเ่ร่งด่วน
ก้อแค่ให้ประธาน เลือนการประชุมครั้งหน้า เลือนให้มาเร็วขึ้น อาจจะใน 1-2 วันนี้ หรือ อาทิตย์ หน้า
เหมือน ๆ ที ประธาน เร่งบรรจุวาระ เรื่อง นิรโทษกรรม ให้เร็ิวขึ้นไงฟร๊ะ
ไม่ต้องรอ 180 เอ๊ง เข้าใจไหม ห่าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา
ไอ่พอล เอ็งไม่อ่านเลยนี่หว่า เมาอย่างเดียว
ก็ รธน. กำหนดไว้อย่างนั้นเว้ย รธน. คือ กฎหมายสูงสุดว่ะ
เอ๊ง เข้าใจคำว่า ถอน ร่าง พรบ กับ พิจารณา พรบ ใหม่ ไหมว่ะ
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:54
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:55
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ไอ้เบื้อก ดอนยอ เอ๊งนี่จะโง่ ไปไหน
เค้าก้อบอกอยู่ว่า ว่า ให้ประธาน บรรจุเป็นวาระเ่ร่งด่วน
ก้อแค่ให้ประธาน เลือนการประชุมครั้งหน้า เลือนให้มาเร็วขึ้น อาจจะใน 1-2 วันนี้ หรือ อาทิตย์ หน้า
เหมือน ๆ ที ประธาน เร่งบรรจุวาระ เรื่อง นิรโทษกรรม ให้เร็ิวขึ้นไงฟร๊ะ
ไม่ต้องรอ 180 เอ๊ง เข้าใจไหม ห่าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา
ไอ่พอล เอ็งไม่อ่านเลยนี่หว่า เมาอย่างเดียว
ก็ รธน. กำหนดไว้อย่างนั้นเว้ย รธน. คือ กฎหมายสูงสุดว่ะ
ดอนยอเองนะแหละที่ไม่เข้าใจ คุณพอลด่าชอบด้วยเหตุผล
โป๊กๆๆ เคาะฉองที
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:55
ยังเป็นประเด็นร้อนไม่รู้จบ.. สำหรับ ร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ที่แปลงร่างกลายพันธุ์จากร่างเดิมของนายวรชัย เหมะ จนแทบจะหมดสิ้นและผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรไปแล้ว และกำลังจะเข้าสู่ที่ประชุมวุฒิสภาในวันที่ 11 พฤศจิกายนนี้
แต่ถึงนาทีนี้มีแนวโน้มสูงว่า วุฒิสภาคงไม่รับหลักการและยับยั้งร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ที่ส่งมาจากสภาผู้แทนราษฎร แล้วส่งร่างกลับคืนมายังสภาผู้แทนราษฎร เห็นได้จากการที่นายนิคม ไวยรัชพานิช ประธานวุฒิสภา ได้นำทีม ส.ว.ออกมาแถลงข่าว ยืนยันว่า จะไม่รับหลักการร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้
ดังนั้น “ข้อกฎหมาย” ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ จึงต้องมาดูกันว่า หากวุฒิสภายับยั้งร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ มีอะไรบ้าง
เริ่มจากกรณีที่หลังวุฒิสภาลงมติคว่ำร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับเจ้าปัญหานี้
โดย มาตรา 148 วรรคแรกของรัฐธรรมนูญ บัญญัติว่า ร่าง พ.ร.บ.ที่ถูกวุฒิสภายับยั้ง สภาผู้แทนราษฎรจะยกขึ้นมาพิจารณาใหม่ได้ต่อเมื่อเวลา 180 วันได้ล่วงพ้นไปนับแต่วันที่วุฒิสภาส่งร่าง พ.ร.บ.นั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร
อธิบายความง่ายๆ ว่า นับแต่วุฒิสภาส่งร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมที่ถูกยับยั้งกลับคืนมายังสภาผู้แทนฯ สภาผู้แทนฯ จะหยิบฉวยเอาร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ขึ้นมาพิจารณาก่อนครบ 180 วัน หรือ 6 เดือน ไม่ได้ ต้องรอให้พ้นระยะเวลาดังกล่าวเสียก่อน จึงหยิบขึ้นมาพิจารณาใหม่ได้
มาตรา 148 วรรคแรก ยังเขียนต่อไปว่า ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติยืนยันร่างด้วยคะแนนเสียงมากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้วให้ถือว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาและนายกรัฐมนตรีนำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยได้
แต่ก็มีคนสงสัยกันว่า ในกรณีที่สภาผู้แทนฯ ไม่ต้องการยืนยันร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม จำเป็นจะต้องมีการโหวตให้เห็นหรือไม่ หรือว่าสภาผู้แทนฯ ไม่หยิบร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ขึ้นมาพิจารณาอีก ก็ถือว่า ร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ตกไปโดยปริยาย
นายเสรี สุวรรณภานนท์ รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 ไขปมเรื่องนี้ ว่า เมื่อพ้น 180 วันแล้ว ตามแนวทางปฏิบัติ ประธานสภาผู้แทนฯ ก็ต้องเรียกประชุมเพื่อแจ้งให้ทราบ“จากนั้นก็ต้อง ”โหวต” กันว่า จะยืนยันหรือหรือไม่ ซึ่งเมื่อเสียงยืนยันไม่มากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนฯ ก็ถือว่าสภาผู้แทนฯ ไม่ยืนยัน ร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมก็ตกไป แต่ประธานสภาอาจใช้ศิลปะ เช่น ถามสมาชิกว่า ตามที่วุฒิสภายับยั้งร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ มีสมาชิกติดใจหรือไม่ หากในที่ประชุมเงียบ ไม่มีใครพูดอะไร ประธานสภาอาจใช้โอกาสผ่านไปวาระอื่นเลย โดยไม่ต้องโหวต อย่างนี้ก็ถือว่าสภาผู้แทนฯ ไม่ได้ยืนยันร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมได้เหมือนกัน แต่ไม่ใช่ว่าสภาผู้แทนฯ อยู่เฉยๆ ไม่ทำอะไรเลยหลังวุฒิสภายับยั้งร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ถ้าเป็นอย่างนั้น ยังถือว่า พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ค้างอยู่และยังไม่ตกไป ซึ่งทำให้สมาชิกสภาผู้แทนฯ หยิบขึ้นมายืนยันได้อีก หรือหากมีสมาชิกสภาผู้แทนฯ ชุดใหม่เข้ามาแทนที่ก็ยังสามารถหยิบขึ้นมายืนยันได้อีก“
มีอีกประเด็นหนึ่ง ที่คนยังสับสนว่า การถอนร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ซึ่งตอนนี้ผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนฯ ไปแล้ว และกำลังจะเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนฯ ทำได้หรือไม่
คำตอบคือ เจ้าของร่างคือนายวรชัย เหมะ กับคณะ ที่เข้าชื่อกันเสนอร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ยังมีสิทธิขอถอนได้ ซึ่งเมื่อทำเรื่องขอถอน ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนฯ ข้อ 53 ที่กำหนดว่า “ญัตติที่บรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุมแล้ว หากผู้เสนอญัตติจะถอนญัตติ หรือจะถอนชื่อจากการเป็นผู้ร่วมกันเสนอ ต้องได้รับความยินยอมของที่ประชุม”
“เสรี“ อธิบายเรื่องนี้ว่า จากข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนข้อ 53 ชัดเจนว่า เจ้าของร่างกฎหมายจะขอถอนร่างเมื่อใดก็ได้ ซึ่งเมื่อมีการยื่นเรื่องขอถอนแล้ว ก็ต้องมีการนำเข้าที่ประชุมสภาผู้แทนฯ เพื่อลงมติ ซึ่งใช้เสียงข้างมากขององค์ประชุมสภาในวันนั้นว่าจะอนุมัติให้ถอนหรือไม่ หากที่ประชุมสภาผู้แทนฯ ลงมติให้ถอน ก็จะแจ้งเรื่องการถอนร่างไปยังวุฒิสภา ซึ่งวุฒิสภาก็จะคืนร่างกลับมาให้สภาผู้แทนราษฎร เพราะถือว่าเป็นร่างของสภาผู้แทนฯ”
ดังนั้นการใช้วิธี “การถอนร่าง“ จึงเป็น “ทางออกที่ดี“ ทางหนึ่งของรัฐบาล เพราะการปล่อยให้ทอดระยะเวลานานถึง 180 วัน หรือ 6 เดือนหลังจากร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมถูกวุฒิสภายับยั้งนั้น ยาวนานเกินไปสำหรับประชาชนที่จะรอ เพราะมาถึงตอนนี้ประชาชนไม่ไว้วางใจรัฐบาลจากพฤติกรรมที่ผ่านมา รัฐบาลจึงต้องแสดงให้เห็นว่า ได้ถอยร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมอย่างแท้จริง
มีบางคนเสนอว่า ให้รัฐบาลเลือกใช้วิธี “ยุบสภา” โดยมองว่าเป็นทางหนึ่งในการแก้วิกฤติการณ์ทางการเมืองในขณะนี้ได้ แล้วจะทำให้ร่างกฎหมายตกไปหรือไม่ คำตอบ คือ ไม่ตกไป ทั้งนี้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 153 ที่บัญญัติว่า ในกรณีที่ยุบสภา ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนฯ วุฒิสภา รัฐสภาแล้วแต่กรณี จะพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ “รัฐสภา“ ยังไม่ได้ให้ความเห็นชอบต่อไปได้ ถ้าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังเลือกตั้งร้องขอภายใน 60 วัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกหลังการเลือกตั้งและรัฐสภามีมติเห็นชอบด้วย แต่ถ้าคณะรัฐมนตรีไม่ได้ร้องขอภายในเวลาที่กำหนดเวลาดังกล่าวให้ร่างพระราชบัญญัติเป็นอันตกไป
จะเห็นได้ว่า ร่าง พ.ร.บ.ที่ยังไม่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา หากมีการยุบสภา ร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ ยังไม่ตกไป หากรัฐบาลที่เข้ามาใหม่หลังการเลือกตั้งร้องขอต่อรัฐสภาและที่ประชุมรัฐสภาเห็นชอบ สภาผู้แทนฯ หรือวุฒิสภาแล้วแต่กรณี (ขึ้นอยู่ที่ว่าตอนที่ยุบสภา ร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมยังอยู่ที่วุฒิสภา หรือถูกส่งกลับคืนมาที่สภาผู้แทนฯ) ก็หยิบขึ้นมาได้ แต่ถ้ารัฐบาลใหม่ไม่ร้องขอต่อรัฐสภาภายในเวลาที่กำหนด ร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ ก็จะตกไป
....................
(หมายเหตุ : 'เงื่อนก.ม.พ.ร.บ.นิรโทษกรรม' : โอภาส บุญล้อมรายงาน)
ดอนยอ ช่วยอ่าน ตัวแดงใหญ่ ๆทีนะ
http://www.komchadlu...108/172294.html
รอดูการดริฟ ดอนยอ
Edited by พอล คุง, 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:58.
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:13
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ทำไมต้องรอ 180 วัน...
มาตรา ๑๔๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๖๘ เมื่อวุฒิสภาได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเสร็จแล้ว
(๑) ถ้าเห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
(๒) ถ้าไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ยับยั้งร่างพระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน และส่ง
ร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร
(๓) ถ้าแก้ไขเพิ่มเติม ให้ส่งร่างพระราชบัญญัติตามที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้นไปยังสภาผู้แทนราษฎร
ถ้าสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ถ้าเป็นกรณีอื่น ให้แต่ละสภาตั้งบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ มีจำนวนเท่ากัน
ตามที่สภาผู้แทนราษฎรกำหนด ประกอบเป็นคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างนั้น และ
ให้คณะกรรมาธิการร่วมกันรายงานและเสนอร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้พิจารณา
แล้วต่อสภาทั้งสอง ถ้าสภาทั้งสองต่างเห็นชอบด้วยร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้
พิจารณาแล้ว ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐ ถ้าสภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย ก็ให้ยับยั้งร่าง
พระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน
คณะกรรมาธิการร่วมกันอาจเรียกเอกสารจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาแถลงข้อเท็จจริง
หรือแสดงความคิดเห็นในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติได้ และเอกสิทธิ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓๐ นั้น
ให้คุ้มครองถึงบุคคลผู้กระทำหน้าที่ตามมาตรานี้ด้วย
การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมกันต้องมีกรรมาธิการของสภาทั้งสองมาประชุมไม่น้อยกว่า
กึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๓๗ มาใช้
บังคับโดยอนุโลม
ถ้าวุฒิสภาไม่ส่งร่างพระราชบัญญัติคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎรภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๑๔๖
ให้ถือว่าวุฒิสภาได้ให้ความเห็นชอบในร่างพระราชบัญญัตินั้น และให้ดำเนินการตามมาตรา ๑๕๐ ต่อไป
มาตรา ๑๔๘ ร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้ตามมาตรา ๑๔๗ นั้น สภาผู้แทนราษฎร
จะยกขึ้นพิจารณาใหม่ได้ต่อเมื่อเวลาหนึ่งร้อยแปดสิบวันได้ล่วงพ้นไปนับแต่วันที่วุฒิสภาส่ง
ร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร สำหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๔๗ (๒)
และนับแต่วันที่สภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย สำหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๔๗ (๓) ในกรณี
เช่นว่านี้ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติยืนยันร่างเดิมหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วย
คะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่า
ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา และให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ถ้าร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน สภาผู้แทนราษฎร
อาจยกร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นพิจารณาใหม่ได้ทันที ในกรณีเช่นว่านี้ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติ
ยืนยันร่างเดิมหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความ
เห็นชอบของรัฐสภา และให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ให้ถอน ครับ ไม่ได้ให้พิจารณาใหม่... ลิงค์ข่าวที่แนบมาก่อนหน้าก็ถอนกันได้นิ่
ความเข้าใจของผม ตาม รธน มาตรา 148
ถ้าเกิดเข้ากรณี 147 (2) วุฒิฯจะต้องตีกลับมาที่สภาผู้แทน และจะต้องรอ 180 วัน
โดยที่ภายใน 180 วันนี้ จะทำอะไรไม่ได้เลยร่างจะค้างอยู่ที่ สภาผู้แทนฯ
แต่หลังจาก 180 วัน สภาจะต้องหยิบขึ้นมาพิจารณาใหม่ (จะทิ้งไว้เฉยๆไม่ได้ เพราะถ้าเป็นอย่างนั้น
แสดงว่าร่างยังค้างอยู่) ว่าจะยืนยัน หรือไม่
ถ้าหากไม่ยืนยัน ร่างนั้นก็จะตกไป(ก็เหมือนถอนโดยปริยาย)
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:14
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ถ้าตั้งใจจะทำ เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ..ก็ทำได้น่ะ.
ประธานสมศักดิ์ เรียกประชุม บรรจุวาระ พิจารณาว่า พรบ นิรโทษฯ เป็น พรบ การเงิน
หรือไม่ (ซึ่งความจริงก็น่าจะเป็น พรบ การเงิน )
อย่าอ้างว่า เรียกประชุมไม่ได้...เพราะ สภาผู้แทนชุดนี้ เรียกประชุมด่วน บรรจุวาระด่วน
มาหลายต่อหลายครั้ง...โหวตตอนตีสี ก็ทำมาแล้ว...ดังนี้ ประชุมด่วน เพื่อหาทางออก
ให้ประเทศ...สมควรทำอย่างที่สุด
ซึ่ง มาตรา 148 วรรค 2 ก็บัญญัติว่า ถ้าเป็น พรบ การเงิน ก็สามารถยกร่าง พรบ
มาพิจารณาใหม่ได้ทันที...
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:20
ยังเป็นประเด็นร้อนไม่รู้จบ.. สำหรับ ร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ที่แปลงร่างกลายพันธุ์จากร่างเดิมของนายวรชัย เหมะ จนแทบจะหมดสิ้นและผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรไปแล้ว และกำลังจะเข้าสู่ที่ประชุมวุฒิสภาในวันที่ 11 พฤศจิกายนนี้
แต่ถึงนาทีนี้มีแนวโน้มสูงว่า วุฒิสภาคงไม่รับหลักการและยับยั้งร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ที่ส่งมาจากสภาผู้แทนราษฎร แล้วส่งร่างกลับคืนมายังสภาผู้แทนราษฎร เห็นได้จากการที่นายนิคม ไวยรัชพานิช ประธานวุฒิสภา ได้นำทีม ส.ว.ออกมาแถลงข่าว ยืนยันว่า จะไม่รับหลักการร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้
ดังนั้น “ข้อกฎหมาย” ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ จึงต้องมาดูกันว่า หากวุฒิสภายับยั้งร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ มีอะไรบ้าง
เริ่มจากกรณีที่หลังวุฒิสภาลงมติคว่ำร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับเจ้าปัญหานี้
โดย มาตรา 148 วรรคแรกของรัฐธรรมนูญ บัญญัติว่า ร่าง พ.ร.บ.ที่ถูกวุฒิสภายับยั้ง สภาผู้แทนราษฎรจะยกขึ้นมาพิจารณาใหม่ได้ต่อเมื่อเวลา 180 วันได้ล่วงพ้นไปนับแต่วันที่วุฒิสภาส่งร่าง พ.ร.บ.นั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร
อธิบายความง่ายๆ ว่า นับแต่วุฒิสภาส่งร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมที่ถูกยับยั้งกลับคืนมายังสภาผู้แทนฯ สภาผู้แทนฯ จะหยิบฉวยเอาร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ขึ้นมาพิจารณาก่อนครบ 180 วัน หรือ 6 เดือน ไม่ได้ ต้องรอให้พ้นระยะเวลาดังกล่าวเสียก่อน จึงหยิบขึ้นมาพิจารณาใหม่ได้
มาตรา 148 วรรคแรก ยังเขียนต่อไปว่า ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติยืนยันร่างด้วยคะแนนเสียงมากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้วให้ถือว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาและนายกรัฐมนตรีนำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยได้
แต่ก็มีคนสงสัยกันว่า ในกรณีที่สภาผู้แทนฯ ไม่ต้องการยืนยันร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม จำเป็นจะต้องมีการโหวตให้เห็นหรือไม่ หรือว่าสภาผู้แทนฯ ไม่หยิบร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ขึ้นมาพิจารณาอีก ก็ถือว่า ร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ตกไปโดยปริยาย
นายเสรี สุวรรณภานนท์ รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 ไขปมเรื่องนี้ ว่า เมื่อพ้น 180 วันแล้ว ตามแนวทางปฏิบัติ ประธานสภาผู้แทนฯ ก็ต้องเรียกประชุมเพื่อแจ้งให้ทราบ“จากนั้นก็ต้อง ”โหวต” กันว่า จะยืนยันหรือหรือไม่ ซึ่งเมื่อเสียงยืนยันไม่มากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนฯ ก็ถือว่าสภาผู้แทนฯ ไม่ยืนยัน ร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมก็ตกไป แต่ประธานสภาอาจใช้ศิลปะ เช่น ถามสมาชิกว่า ตามที่วุฒิสภายับยั้งร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ มีสมาชิกติดใจหรือไม่ หากในที่ประชุมเงียบ ไม่มีใครพูดอะไร ประธานสภาอาจใช้โอกาสผ่านไปวาระอื่นเลย โดยไม่ต้องโหวต อย่างนี้ก็ถือว่าสภาผู้แทนฯ ไม่ได้ยืนยันร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมได้เหมือนกัน แต่ไม่ใช่ว่าสภาผู้แทนฯ อยู่เฉยๆ ไม่ทำอะไรเลยหลังวุฒิสภายับยั้งร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ถ้าเป็นอย่างนั้น ยังถือว่า พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ค้างอยู่และยังไม่ตกไป ซึ่งทำให้สมาชิกสภาผู้แทนฯ หยิบขึ้นมายืนยันได้อีก หรือหากมีสมาชิกสภาผู้แทนฯ ชุดใหม่เข้ามาแทนที่ก็ยังสามารถหยิบขึ้นมายืนยันได้อีก“
มีอีกประเด็นหนึ่ง ที่คนยังสับสนว่า การถอนร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ซึ่งตอนนี้ผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนฯ ไปแล้ว และกำลังจะเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนฯ ทำได้หรือไม่
คำตอบคือ เจ้าของร่างคือนายวรชัย เหมะ กับคณะ ที่เข้าชื่อกันเสนอร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ยังมีสิทธิขอถอนได้ ซึ่งเมื่อทำเรื่องขอถอน ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนฯ ข้อ 53 ที่กำหนดว่า “ญัตติที่บรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุมแล้ว หากผู้เสนอญัตติจะถอนญัตติ หรือจะถอนชื่อจากการเป็นผู้ร่วมกันเสนอ ต้องได้รับความยินยอมของที่ประชุม”
“เสรี“ อธิบายเรื่องนี้ว่า จากข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนข้อ 53 ชัดเจนว่า เจ้าของร่างกฎหมายจะขอถอนร่างเมื่อใดก็ได้ ซึ่งเมื่อมีการยื่นเรื่องขอถอนแล้ว ก็ต้องมีการนำเข้าที่ประชุมสภาผู้แทนฯ เพื่อลงมติ ซึ่งใช้เสียงข้างมากขององค์ประชุมสภาในวันนั้นว่าจะอนุมัติให้ถอนหรือไม่ หากที่ประชุมสภาผู้แทนฯ ลงมติให้ถอน ก็จะแจ้งเรื่องการถอนร่างไปยังวุฒิสภา ซึ่งวุฒิสภาก็จะคืนร่างกลับมาให้สภาผู้แทนราษฎร เพราะถือว่าเป็นร่างของสภาผู้แทนฯ”
ดังนั้นการใช้วิธี “การถอนร่าง“ จึงเป็น “ทางออกที่ดี“ ทางหนึ่งของรัฐบาล เพราะการปล่อยให้ทอดระยะเวลานานถึง 180 วัน หรือ 6 เดือนหลังจากร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมถูกวุฒิสภายับยั้งนั้น ยาวนานเกินไปสำหรับประชาชนที่จะรอ เพราะมาถึงตอนนี้ประชาชนไม่ไว้วางใจรัฐบาลจากพฤติกรรมที่ผ่านมา รัฐบาลจึงต้องแสดงให้เห็นว่า ได้ถอยร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมอย่างแท้จริง
มีบางคนเสนอว่า ให้รัฐบาลเลือกใช้วิธี “ยุบสภา” โดยมองว่าเป็นทางหนึ่งในการแก้วิกฤติการณ์ทางการเมืองในขณะนี้ได้ แล้วจะทำให้ร่างกฎหมายตกไปหรือไม่ คำตอบ คือ ไม่ตกไป ทั้งนี้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 153 ที่บัญญัติว่า ในกรณีที่ยุบสภา ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนฯ วุฒิสภา รัฐสภาแล้วแต่กรณี จะพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ “รัฐสภา“ ยังไม่ได้ให้ความเห็นชอบต่อไปได้ ถ้าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังเลือกตั้งร้องขอภายใน 60 วัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกหลังการเลือกตั้งและรัฐสภามีมติเห็นชอบด้วย แต่ถ้าคณะรัฐมนตรีไม่ได้ร้องขอภายในเวลาที่กำหนดเวลาดังกล่าวให้ร่างพระราชบัญญัติเป็นอันตกไป
จะเห็นได้ว่า ร่าง พ.ร.บ.ที่ยังไม่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา หากมีการยุบสภา ร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ ยังไม่ตกไป หากรัฐบาลที่เข้ามาใหม่หลังการเลือกตั้งร้องขอต่อรัฐสภาและที่ประชุมรัฐสภาเห็นชอบ สภาผู้แทนฯ หรือวุฒิสภาแล้วแต่กรณี (ขึ้นอยู่ที่ว่าตอนที่ยุบสภา ร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมยังอยู่ที่วุฒิสภา หรือถูกส่งกลับคืนมาที่สภาผู้แทนฯ) ก็หยิบขึ้นมาได้ แต่ถ้ารัฐบาลใหม่ไม่ร้องขอต่อรัฐสภาภายในเวลาที่กำหนด ร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับนี้ ก็จะตกไป....................
(หมายเหตุ : 'เงื่อนก.ม.พ.ร.บ.นิรโทษกรรม' : โอภาส บุญล้อมรายงาน)
ดอนยอ ช่วยอ่าน ตัวแดงใหญ่ ๆทีนะ
http://www.komchadlu...108/172294.html
รอดูการดริฟ ดอนยอ
ข้อ 53 เขาเขียนไว้แบบนี้ ที่เหลือ อ. เสรีคิดเองมั้ง มันจะถอนได้อย่างไร
ในเมือมันอยู่ในขั้นตอนพิจารณาของวุฒฯ ไม่ใช่ของสภาผู้แทนฯถ้าจะถอนต้องถอนก่อนขั้นตอนนั้น
ข้อ ๕๓ ญัตติที่บรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุมแล้ว หากผู้เสนอญัตติจะแก้ไข
เพิ่มเติมหรือจะถอนชื่อจากการเป็นผู้ร่วมกันเสนอ หรือผู้รับรองจะถอนการรับรองญัตติจะต้องได้
รับความยินยอมของที่ประชุม
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:23
http://www.tnews.co....27/จริงหรือไม่-!-%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87-40-70-%E0%B8%84%E0%B8%99-%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89-%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%96%E0%B8%AD%E0%B8%99-.html
แต่ละฉบับ มีผู้ลงชื่อเสนอฉบับละ 40- 70 คน แต่เป็นที่น่าสงสัยว่า
เวลาถอน กลับให้ ส.ส. คนเดียวมาถอน
ทำให้ต้องตั้งข้อสังเกตว่าจะมีหลักประกันอย่างไร ว่ากฎหมายเหล่านี้ถูกถอนอย่างถูกต้อง ?????
ข้อ ๕๓ ญัตติที่บรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุมแล้ว หากผู้เสนอญัตติจะแก้ไขเพิ่มเติมหรือจะถอนชื่อจากการเป็นผู้ร่วมกันเสนอ หรือผู้รับรองจะถอนการรับรองญัตติจะต้องได้รับความยินยอมของที่ประชุม
ซึ่งขณะนี้ที่ประชุมได้ยินยอมแล้ว 310ต่อ 1 ทั้ง 6 ร่าง(วันนี้)
น้องดอนยอ พี่ขิงว่าตรงนี้ต้องตีความนะคะ เพราะแต่ละร่างไม่ได้ยื่นคนเดียว ยื่นกันสามสิบสี่สิบคน จะต้องเสนอถอนหมดรึเปล่า ถ้าไม่หมดผู้เสนอร่วมอื่นๆในแต่ละฉบับสามารถมาท้วงทีหลังได้หรือไม่ ต้องไปถามนักกฎหมายค่ะ
แต่พี่ขิงก็ขอปรบมือให้น้องดอนยอ three times ทั้งที่ความจริงแล้วปัญหามันไม่ได้อยู่ที่ 6 ฉบับนี้นะคะ มันอยู่อยู่ที่ฉบับสุดซอย ฉบับที่มีเนื้อหาบอกว่า ผู้ชุมนุมที่ติดคุกติดตะรางจะฟ้องร้องค่าเสียหายไม่ได้ แต่ไอ้แม้วเรียกเงินที่ถูกยึดพร้อมดอกเบี้ยได้น่ะค่ะ น้องดอนยอคงไม่เจ็บใจแทนพี่น้องวีรชนเสื้อแดงที่เจ็บ ตาย ติดคุกพวกนั้นหรอก เพราะพี่ขิงได้ข่าวว่าหนุนสุดซอยมาแต่ต้นเลยนี่
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:28
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ถ้าตั้งใจจะทำ เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ..ก็ทำได้น่ะ.
ประธานสมศักดิ์ เรียกประชุม บรรจุวาระ พิจารณาว่า พรบ นิรโทษฯ เป็น พรบ การเงิน
หรือไม่ (ซึ่งความจริงก็น่าจะเป็น พรบ การเงิน )
อย่าอ้างว่า เรียกประชุมไม่ได้...เพราะ สภาผู้แทนชุดนี้ เรียกประชุมด่วน บรรจุวาระด่วน
มาหลายต่อหลายครั้ง...โหวตตอนตีสี ก็ทำมาแล้ว...ดังนี้ ประชุมด่วน เพื่อหาทางออก
ให้ประเทศ...สมควรทำอย่างที่สุด
ซึ่ง มาตรา 148 วรรค 2 ก็บัญญัติว่า ถ้าเป็น พรบ การเงิน ก็สามารถยกร่าง พรบ
มาพิจารณาใหม่ได้ทันที...
มันเลยขั้นตอนของ สภาผู้แทนฯ ไปหมดแล้วครับ ผมยืนยันว่าทำไม่ได้
ความจริงเราก็อ่าน กม. มาตราเดียวกัน แต่เข้าใจไม่เหมือนกัน ผมว่าคงต้องยื่นให้
ใครสักคนตีความแล้วล่ะ
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:38
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ถ้าตั้งใจจะทำ เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ..ก็ทำได้น่ะ.
ประธานสมศักดิ์ เรียกประชุม บรรจุวาระ พิจารณาว่า พรบ นิรโทษฯ เป็น พรบ การเงิน
หรือไม่ (ซึ่งความจริงก็น่าจะเป็น พรบ การเงิน )
อย่าอ้างว่า เรียกประชุมไม่ได้...เพราะ สภาผู้แทนชุดนี้ เรียกประชุมด่วน บรรจุวาระด่วน
มาหลายต่อหลายครั้ง...โหวตตอนตีสี ก็ทำมาแล้ว...ดังนี้ ประชุมด่วน เพื่อหาทางออก
ให้ประเทศ...สมควรทำอย่างที่สุด
ซึ่ง มาตรา 148 วรรค 2 ก็บัญญัติว่า ถ้าเป็น พรบ การเงิน ก็สามารถยกร่าง พรบ
มาพิจารณาใหม่ได้ทันที...
มันเลยขั้นตอนของ สภาผู้แทนฯ ไปหมดแล้วครับ ผมยืนยันว่าทำไม่ได้
ความจริงเราก็อ่าน กม. มาตราเดียวกัน แต่เข้าใจไม่เหมือนกัน ผมว่าคงต้องยื่นให้
ใครสักคนตีความแล้วล่ะ
พี่ขิงเชื่อน้องดอนยอ แล้วน้องดอนยอล่ะคะ หลังจากนิคมออกมาแถลงรับลูกอิห่านป่า เร่งเครื่องช่วยรัฐบาลแบบหน้าหนาชนิดไม่สนศักดิ์ศรีใดๆของ สว ไทย น้องดอนยอเชื่อมั้ยว่าสภาสูงของไทยไม่ถูกครอบงำด้วยอำนาจฝ่ายบริหาร พวกมือที่มองไม่เห็นน่ะค่ะ
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:18
ถ้าจะอ้างคำแถลงของนายกที่ว่า
"..ถ้า ร่าง พรบ กลับมาที่สภา ก็จะไม่หยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.."
ประโยคนี้ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยัน ว่าเมื่อครบ 180 วัน จะไม่มีการ
หยิบร่าง พรบ นี้ขึ้นมาปัดฝุ่น แล้วให้ สส โหวตลงมติ เสืยงเกิน
กิ่งหนึ่ง ก็สามารถนำเข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ ได้แล้ว
โดยไม่ต้องส่งขึ้น สภาสูง..อีกครั้ง
กลับอีก 1 ทางเลือก...สภาผู้แทน มีมติให้ ยกเลิก ร่าง พรบ นิรโทษฯ
ฉบับนี้เสีย...เมื่อ ร่าง พรบ ไม่ผ่านวาระ 1 ของสภาสูง ซึ่งต้องส่งคืน
ร่าง พรบ กลับมาสู่สภาผู้แทนฯ...
ประธานสภา..บรรจุเป็นวาระด่วน พิจารณายกเลิกร่าง พรบฯ
ก็ทำได้....ง่าย ๆ ไม่ยาก ใช้เวลาไม่มาก...แถมยังสามารถเรียกเครดิต
รัฐบาลกลับมาได้ด้วย...
อยู่ที่ว่า...จะทำ หรือ ไม่ทำ...เท่านั้น
แน่นอนครับ (ตัวสีแดง) แต่จะต้องผ่าน วุฒิฯก่อน และต้องรอ 180 วัน สำหรับกรณีนี้
แต่การที่ สภา ผู้แทนฯจะดึงเรื่องกลับมาโดยที่ บรรจุ อยู่ในวาระของ วุฒิฯ แล้ว ทำแบบคุณนกว่าใน#72
ทำไม่ได้แน่นอน มันไม่มีใน รธน. ข้อบังคับการประชุมใดๆ หรือหากถ้ามีแล้วผมหาไม่เจอ
ช่วยแสดงหน่อยก็ดีนะครับ
ทำไมต้องรอ 180 วัน...
มาตรา ๑๔๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๖๘ เมื่อวุฒิสภาได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเสร็จแล้ว
(๑) ถ้าเห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
(๒) ถ้าไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ยับยั้งร่างพระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน และส่ง
ร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร
(๓) ถ้าแก้ไขเพิ่มเติม ให้ส่งร่างพระราชบัญญัติตามที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้นไปยังสภาผู้แทนราษฎร
ถ้าสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ถ้าเป็นกรณีอื่น ให้แต่ละสภาตั้งบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ มีจำนวนเท่ากัน
ตามที่สภาผู้แทนราษฎรกำหนด ประกอบเป็นคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างนั้น และ
ให้คณะกรรมาธิการร่วมกันรายงานและเสนอร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้พิจารณา
แล้วต่อสภาทั้งสอง ถ้าสภาทั้งสองต่างเห็นชอบด้วยร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้
พิจารณาแล้ว ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐ ถ้าสภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย ก็ให้ยับยั้งร่าง
พระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน
คณะกรรมาธิการร่วมกันอาจเรียกเอกสารจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาแถลงข้อเท็จจริง
หรือแสดงความคิดเห็นในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติได้ และเอกสิทธิ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓๐ นั้น
ให้คุ้มครองถึงบุคคลผู้กระทำหน้าที่ตามมาตรานี้ด้วย
การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมกันต้องมีกรรมาธิการของสภาทั้งสองมาประชุมไม่น้อยกว่า
กึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๓๗ มาใช้
บังคับโดยอนุโลม
ถ้าวุฒิสภาไม่ส่งร่างพระราชบัญญัติคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎรภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๑๔๖
ให้ถือว่าวุฒิสภาได้ให้ความเห็นชอบในร่างพระราชบัญญัตินั้น และให้ดำเนินการตามมาตรา ๑๕๐ ต่อไป
มาตรา ๑๔๘ ร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้ตามมาตรา ๑๔๗ นั้น สภาผู้แทนราษฎร
จะยกขึ้นพิจารณาใหม่ได้ต่อเมื่อเวลาหนึ่งร้อยแปดสิบวันได้ล่วงพ้นไปนับแต่วันที่วุฒิสภาส่ง
ร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร สำหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๔๗ (๒)
และนับแต่วันที่สภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย สำหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๔๗ (๓) ในกรณี
เช่นว่านี้ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติยืนยันร่างเดิมหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วย
คะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่า
ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา และให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ถ้าร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับยั้งไว้เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน สภาผู้แทนราษฎร
อาจยกร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นพิจารณาใหม่ได้ทันที ในกรณีเช่นว่านี้ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติ
ยืนยันร่างเดิมหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความ
เห็นชอบของรัฐสภา และให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๕๐
ดอนทำได้หรือไม่ได้ล่ะ ไม่คืนเงินแม้วใช่ไหมถึงทำไม่ได้ ตัวอย่างมันอยู่ในคดีแพ่งที่ดินรัชฏา แล้ว เมื่อการซื้อขายเป็นโมฆะ ศาลแพ่งจึงให้คืนเงินหญิงอ้อ ถ้าคดีมันไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ต้องคืนเงินแม้วไหม มันพิจราณาว่าเกี่ยวกับการเงินได้
Edited by ter162525, 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:25.
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:42
ช่องทางมีให้เลือก....แต่แสร้งทำเป็นมองไม่เห็น
ถ้าบิรสุทธิ์ใจ อยากจะยกเลิก พรบ นิรโทษฯ นี่จริง ๆ
ก็ทำได้...ทำได้ทันทีด้วย...แต่กลับเลือกที่จะไม่ทำ
ถึงได้ถามไงค่ะว่า...
ทักษิณ ยิ่งลักษณ์ เพื่อไท แกนนำ นปช...จะเลือกอะไร
ความสงบสุขของบ้านเมือง หรือ จะเลือกล้างผิดให้ตัวเอง
ตอบ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:51
สงสาร ดอนยอจัง ชาตินี้เกิดมาคงมีกรรม
เลยต้องมาแก้ตัวแทนคนอื่น กรรมจริงๆ ดอนยอ
" รัฐธรรมนูญไม่มีมาตราใด อนุญาติให้รัฐบาลที่มาจากประชาธิปไตย โกงบ้านกินเมืองได้โดยไม่ผิดกกหมาย "
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน