Jump to content


Photo
- - - - -

ใครตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ?


  • Please log in to reply
123 replies to this topic

#51 Et tu Brute?

Et tu Brute?

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,529 posts

Posted 20 November 2013 - 20:52

ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้มีอำนาจสูงสุด
แต่ รัฐธรรมนูญ ต่างหาก ที่มีอำนาจสูงสุด

ไอ่ฟาย

It's us against the world


#52 CrazyDaimon

CrazyDaimon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 879 posts

Posted 20 November 2013 - 21:40

ผู้พิพากษาไม่ได้เป็นเทพเจ้า

ทุกคนสามารถแจ้งดำเนินคดีกับผู้พิพากษาได้ทุกคน

หากมีหลักฐานว่ากระทำความผิด

เข้าใจนะอ้ายฟายยยยยยยยยยยยยยย

#53 หนุ่มเกาหลีมีแฮงคัก

หนุ่มเกาหลีมีแฮงคัก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 320 posts

Posted 20 November 2013 - 23:22

ถ้าประชาธิปไตยคือการคานอำนาจ ถ้าถามว่า ใครจะตรวจสอบศาล แล้วถ้าผมจะถามว่า
ใครจะตรวจสอบประชาชน

ผิดมั๊ย



#54 ปุถุชน

ปุถุชน

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 27,531 posts

Posted 20 November 2013 - 23:48

 

เหตุใดเราจึงเชื่อว่าคน 9 คนที่ไม่รู้ใครเลือกมา จึงมีความน่าจะเป็นที่จะตัดสินใจถูก-ผิด ด้วยการใช้เสียงข้างมาก ได้อย่างถูกต้องมากกว่าการตัดสินใจของคน 500 คนซึ่งผ่านการเลือกมาจากคน 70 ล้านคนให้เป็นตัวแทนเขา?
 
ใครสามารถอธิบายได้บ้างครับว่าการเข้าครอบงำคน 5 คนจาก 9 คน มันยากกว่าการครอบงำคน 250 คนจาก 500 คนได้อย่างไร?

 

 

 

'whatpass' เอ๋ย...

ไปถาม 'วุฒิสมาชิก'ซิ......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า


Edited by ปุถุชน, 20 November 2013 - 23:49.

เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...


#55 เจ้าพระยาหน้าตาดี

เจ้าพระยาหน้าตาดี

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,127 posts

Posted 21 November 2013 - 03:00

 

คำถามน่าสนใจดีครับ

 

จขกท เป็นวิศวกรรึเปล่าครับ เห็นยกตัวอย่างการ flaw

 

ถ้า จขกท เป็นวิศวะ งั้นผมก็คงต้องขอถามกลับครับว่า แล้วใครมาตรวจสอบและรับรองการเป็นวิศวกรของท่าน   :lol:

 

 

โดยหลักประชาธิปไตยแบบประชาชนเป็นผู้เลือกส.ส. แล้ว ส.ส.เป็นผู้เลือกนายก

 

ถ้างั้นใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ซึ่งออกโดยสภาวิศวกร  

 

ที่มาของสภาวิศวกร ต้องผ่านการเลือกตั้งจากจับกังเท่านั้น ^_^ 

 

 

 

สภาวิศวกรมาจากการเลือกตั้งของสมาชิก ;)


จะด่าใคร  “โง่” กรุณาโชว์ความ    “ชาญฉลาด”  วิพากษ์วิจารณ์อย่างน้อย 3 บรรทัด

 

 

 

 

 


#56 IFai

IFai

    รักในหลวง

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,782 posts

Posted 21 November 2013 - 05:24

หากศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจสูงสุดเหนือเสาหลักทั้ง 3 มีอำนาจเหนืออำนาจของประชาชน

คำถามคือ ใครจะเป็นผู้ตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญหรือ?

     ผมเห็นหลายครั้ง จากโพสท์แดง

     มันล้างสมองกันได้ผลจริงๆ


ประโยชน์สูงสุดของประชาชน คือกฏหมายสูงสุดของประเทศ ...วิชา มหาคุณ


#57 IFai

IFai

    รักในหลวง

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,782 posts

Posted 21 November 2013 - 05:33

ผู้ประกันตนนอกระบบ(ม.40)

 

หลักเกณฑ์และเงื่อนไข..........................................

    
หมายเหตุ ขณะนี้สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร พื้นที่/จังหวัด/สาขา ได้มีการออกหน่วยบริการเคลื่อนที่เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่สนใจสมัคร มาตรา 40 โดยสามารถกรอกแบบฟอร์มสมัครผ่านเจ้าหน้าที่/ตัวแทน แต่ยังไม่มีการเก็บเงินสมทบ ทั้งนี้ในการเก็บเงินสมทบจะเริ่มเก็บในเดือน พฤษภาคม 2554 หรือสามารถติดต่อขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกันตนได้ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2554 เป็นต้นไป ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขา    

     เสียดายนะครับโครงการดีๆ นางโตมรหั่นไปแล้ว ??? ...ด้วยว่าไม่มีเงินทุนมาทำต่อ

 

     สัก2-3ปีก่อน ผมชักจูงชาวบ้านได้2-3คน ให้เข้าโครงการ 

 

     เมื่อไม่มีการดำเนินการต่อ(ผญบ. ตอบไม่ได้ว่าโครงการเลิกไหม แต่ไม่เก็บเงินต่อ)  ชาวบ้านมาต่อว่า ...ตัดปัญหา เลยควักเงินส่วนตัวคืนชาวบ้านไป


ประโยชน์สูงสุดของประชาชน คือกฏหมายสูงสุดของประเทศ ...วิชา มหาคุณ


#58 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 08:34

บทบาทและหน้าที่ของ วุฒิสภา

-

-

 5. ถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง

5.1 การถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือข้าราชการระดับสูงออกจากตำแหน่ง อันได้แก่

barbul1e.gif นายกรัฐมนตรี barbul1e.gif รัฐมนตรี barbul1e.gif สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร barbul1e.gif สมาชิกวุฒิสภา barbul1e.gif ประธานศาลฎีกา barbul1e.gif ประธานศาลรัฐธรรมนูญ barbul1e.gif ประธานศาลปกครองสูงสุด barbul1e.gif อัยการสูงสุด barbul1e.gif กรรมการการเลือกตั้ง barbul1e.gif ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา barbul1e.gifตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ barbul1e.gif กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน barbul1e.gif ผู้พิพากษาหรือตุลาการ barbul1e.gif พนักงานอัยการหรือ barbul1e.gif ผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

            หากบุคคลนั้นมีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติส่อไปทางทุจริตต่อหน้าที่ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ  ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรมหรือส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย

 

 

หากวุฒิสภาสามารถถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได้
คำถามคือ
 
1) เหตุใดศาลรัฐธรรมนูญจึงชี้นำสังคมด้วยการตัดสินว่า "การแก้ไขคุณสมบัติผู้ลงสมัคร ส.ว.ให้ใกล้เคียงกับผู้ลงสมัคร ส.ส. เท่ากับเป็นการแก้ไขไปสู่จุดสูญสิ้น เป็นการนำพาชาติถอยหลังเข้าคลอง"? ในเมื่อ ส.ว. มีสิทธิในการถอดถอนตัวศาลเอง การชี้นำดังกล่าวเป็น conflict of interest เป็นการกระทำเพื่อให้ตนเองอยู่ในอำนาจได้ต่อไป ใช่หรือไม่ ยังไม่นับการที่ประธานศาลรัฐธรรมนูญเป็นหนึ่งในคณะกรรมการสรรหา สว ดังกล่าว ซึ่งการตัดสินดังกล่าว ถือเป็นการกระทำเพื่อให้ตนเองมีอำนาจเหนือ สว ซึ่งมีสิทธิถอดถอนตนเองได้  ใช่หรือไม่
 
2) ศาลใช้อำนาจใดในการชี้นำสังคมว่าการเลือกตั้ง ส.ว. เป็นการถอยหลังเข้าคลอง  การกำหนดกติกาของสังคม (รัฐธรรมนูญ) เป็นอำนาจของประชาชนทั้งประเทศ ซึ่งสามารถทำได้ผ่านทางสภา ไม่ใช่เป็นการกำหนดเอาเองจากคน 9 คน ใช่หรือไม่ ศาลใช้อำนาจใดในการตัดสิทธิประชาชนในการกำหนดกติกาของประเทศ?
 
ลองตอบดูนะครับ


#59 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

Posted 21 November 2013 - 09:00

การตรวจสอบ ถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

โดย คณิน บุญสุวรรณ

             การที่ศาลรัฐธรรมนูญสั่งให้รัฐสภาชะลอการลงมติวาระที่สาม ในร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๒๙๑ ไว้ก่อนจนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำวินิจฉัย และสุดท้ายได้วินิจฉัยว่าศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจรับคำร้องกรณีมีผู้กล่าวหาว่า รัฐสภามีการกระทำอันเป็นการล้มล้างการปกครองฯ ตามมาตรา ๖๘ โดยไม่ผ่านอัยการสูงสุด ซึ่งในที่สุด ก็ได้วินิจฉัยยกคำร้องดังกล่าว แต่ได้เขียนคำแนะนำแกมบังคับไว้ในคำวินิจฉัยยกคำร้องด้วยว่า ถ้าจะแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ ควรจะนำไปให้ประชาชนออกเสียงประชามติเสียก่อน อันเป็นปรากฏการณ์ช็อกโลก เมื่อประมาณเกือบปีที่ผ่านมานั้น ในแง่กฎหมาย สามารถสรุปพฤติการณ์ของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญดังกล่าว ได้เป็นข้อๆ ดังต่อไปนี้

            ๑. ส่อว่าเป็นการจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เพราะใช้อำนาจเกินกว่าที่บัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในรัฐธรรมนูญ

            ๒. ส่อว่าเป็นการจงใจใช้อำนาจหน้าที่ก้าวล่วงหรือก้าวก่ายแทรกแซงการใช้อำนาจหน้าที่และการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา ซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ

            และ ๓. ส่อว่าเป็นการจงใจใช้อำนาจหน้าที่แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ โดยไม่ผ่านกระบวนการทางรัฐสภา

            โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พฤติการณ์ตามข้อ ๓. นั้น มิได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก หากเกิดมาแล้วหลายครั้งก่อนหน้านั้น เช่น การเติมคำว่า “อาจ” ลงไปในวรรคแรกของรัฐธรรมนูญมาตรา ๑๙๐ เพื่อแสดงให้เห็นว่า การแถลงการณ์ร่วมไทย – กัมพูชา กรณีขอจดทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก เป็นความผิดตามมาตรา ๑๙๐ ฐานไม่ได้นำไปขอความเห็นชอบของรัฐสภาเสียก่อน

            อีกตัวอย่างหนึ่ง ก็คือ การนำเอาคำอธิบายศัพท์ คำว่า “ลูกจ้าง” จากพจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถานมาใช้ในการวินิจฉัย ให้อดีตนายกรัฐมนตรีนายสมัคร สุนทรเวช พ้นจากตำแหน่งในข้อหารับจ้างบริษัทเอกชนทำรายการ “ชิมไปบ่นไป” ออกอากาศทางโทรทัศน์ ซึ่งเท่ากับเป็นการแก้ไขลายลักษณ์อักษรและเจตนารมณ์ของการเป็น “ลูกจ้าง” ตามรัฐธรรมนูญ

            นอกจากนั้น ในตอนท้ายของคำวินิจฉัย ให้นายสมัคร สุนทรเวช พ้นจากตำแหน่งนั้น รัฐธรรมนูญยังได้ขยายความคำวินิจฉัยในทำนองสั่งให้คณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นฝ่ายบริหารต้องปฏิบัติตาม โดยการสั่งห้ามมิให้นายสมัคร สุนทรเวช ซึ่งพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่รักษาการนายกรัฐมนตรีต่อไป ซึ่งเท่ากับเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญมาตรา ๑๘๐ ที่บัญญัติว่า “เมื่อความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง ให้รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่ง” และในมาตรา ๑๘๑ ที่บัญญัติว่า “คณะรัฐมนตรีที่พ้นจากตำแหน่ง ต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่” ซึ่งนอกจากจะเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญโดยไม่ผ่านกระบวนการทางรัฐสภาแล้ว ยังเข้าข่ายเป็นการจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอีกด้วย บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในที่นี้ คือ มาตรา ๑๘๑ และกฎหมายในที่นี้ คือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

            แล้วก็มาในกรณีล่าสุด เมื่อประมาณปีที่แล้ว ที่ศาลรัฐธรรมนูญสั่งให้รัฐสภาชะลอการลงมติวาระที่สาม ร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๒๙๑ ไว้ก่อน และการวินิจฉัยว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจรับคำร้องตามมาตรา ๖๘ โดยไม่ผ่านอัยการสูงสุด พร้อมทั้งแนะนำแกมบังคับให้รัฐสภาทำประชามติก่อนการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ ซึ่งมีพฤติการณ์รวม ๓ ข้อ ที่ได้ระบุไว้ข้างต้นแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในข้อที่ว่า จงใจใช้อำนาจหน้าที่แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญโดยไม่ผ่านกระบวนการทางรัฐสภา

            แต่เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญเป็นที่สิ้นสุดเด็ดขาดและผูกพันทุกองค์กร รวมทั้งศาลด้วย ซึ่งหมายความว่า แม้แต่คำพิพากษาของศาลฎีกาก็ไม่อาจขัดหรือแย้งกับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญได้ พูดเป็นภาษาชาวบ้าน คือ “มีอำนาจล้นฟ้า” ถ้าพูดเป็นภาษากฎหมาย คือ “ทำตัวเป็นองค์กรเหนือรัฐธรรมนูญ” ด้วยเหตุนี้ จึงไม่มีกลไกตามรัฐธรรมนูญใดที่จะควบคุม ตรวจสอบ และถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ที่มีพฤติการณ์เสียหายดังกล่าวได้

            เพราะลำพังกลไกที่กำหนดไว้ในมาตรา ๒๗๑ – มาตรา ๒๗๔ ที่ให้ ส.ส. จำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่หรือประชาชนมีจำนวนไม่น้อยกว่าสองหมื่นคนมีสิทธิเข้าชื่อกัน เพื่อยื่นให้วุฒิสภาทำการถอดถอนออกจากตำแหน่งฐานจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญได้ก็ตาม แต่การยื่นถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญดังกล่าว ก็ต้องผ่านคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก่อนที่จะไปถึงวุฒิสภา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คณะกรรมการ ป.ป.ช. ชุดปัจจุบันซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะรัฐประหารหลังวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙

ถ้าคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่สวนแล้วมีมติว่าข้อกล่าวหาไม่มีมูล เรื่องก็จบ ไม่สามารถส่งลูกต่อไปถึงวุฒิสภาและศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ แต่ถึงแม้คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะมีมติว่าข้อกล่าวหามีมูล และส่งไปให้วุฒิสภาลงมติถอดถอน สมาชิกวุฒิสภาประเภทสรรหาซึ่งมาจากกระบวนการสรรหาที่ประกอบด้วย ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษาศาลฎีกา ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และประธานของสี่องค์กรอิสระ ก็ปาเข้าไปครึ่งหนึ่งของวุฒิสภาแล้ว ในขณะที่มติที่ให้ถอดถอนออกจากตำแหน่งต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในห้า จึงเป็นไปไม่ได้เลยที่จะถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญออกจากตำแหน่งฐานกระทำความผิดร้ายแรง ๓ ข้อ ที่กล่าวข้างต้นได้

            ด้วยเหตุนี้ ผมจึงอยากจะนำเสนอวิธีการที่จะตรวจสอบ ควบคุม และถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่กระทำความผิดร้ายแรง ให้เป็นจริงและบังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ โดยย้อนไปพูดถึงพฤติการณ์การใช้อำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ ที่ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา และส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญโดยไม่ผ่านกระบวนการทางรัฐสภาอีกครั้งหนึ่งก่อน เพื่อจะแสดงให้เห็นว่าภายใต้รัฐธรรมนูญปี ๒๕๕๐ ไม่มีกลไกใดสามารถตรวจสอบ ถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได้เลย

และด้วยเหตุนั้น ศาลรัฐธรรมนูญจึงกลายเป็นองค์กรเหนือรัฐธรรมนูญไปโดยปริยาย ประกอบกับกลไกที่มีอยู่ก็มีสภาพพิกลพิการ ถ้าหากจะต้องทำหน้าที่ตรวจสอบ ถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เพราะเหตุว่า การไต่สวนเพื่อดูว่าข้อกล่าวหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีมูลหรือไม่ เป็นอำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งมาจากการแต่งตั้งของคณะรัฐประหารหลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ และถึงแม้เมื่อไต่สวนแล้ว คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเห็นว่าข้อกล่าวหามีมูล แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได้

เหตุเพราะในทางหนึ่งต้องส่งให้วุฒิสภาลงมติถอดถอนซึ่งต้องใช้คะแนนเสียงถึงสองในสาม ในขณะที่ ส.ว.สรรหาก็ปาเข้าไปครึ่งหนึ่งของวุฒิสภาแล้ว การลงมติถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยวุฒิสภาจึงเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ส่วนในอีกทางหนึ่ง เมื่อส่งให้ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิจารณาพิพากษา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้ง ๙ คน ๓ คน ก็มาจากผู้พิพากษาศาลฎีกาโดยตรง ส่วนอีก ๖ คน ส่วนใหญ่ถ้าไม่มาจากศาลฎีกาก็ล้วนเคยเป็นผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมมาก่อนทั้งสิ้น แล้วจะให้ผู้พิพากษามาพิจารณาพิพากษาจำคุกอดีตผู้พิพากษาหรือ ?

            ด้วยเหตุนี้ เราจึงจำเป็นต้องหามาตรการที่จะควบคุม ตรวจสอบ และถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญให้ได้อย่างเป็นจริงและมีประสิทธิภาพ เพราะมิฉะนั้นแล้ว ศาลรัฐธรรมนูญก็จะกลายเป็นองค์กรเหนือรัฐธรรมนูญที่จะวินิจฉัย ตีความ หรือชี้ขาดอย่างไรก็ได้ อย่างที่เรียกว่า “ตีความตามอำเภอใจ” นั่นแหละ

ยิ่งถ้าไปเจอตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่เลือกข้างและมีอคติต่อการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนด้วยแล้ว ก็ยิ่งจะทำให้ศาลรัฐธรรมนูญมีความลำพองใจว่า พวกตนจะทำอย่างไรก็ได้ เพียงเพื่อกวาดล้างนักการเมืองเลวและพรรคการเมืองเลวให้พ้นไปจากสารบบให้ได้ ทั้งนี้ โดยไม่ต้องรับผิดชอบอะไรเลย ต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบ้านกับเมืองและกับประชาชน

            ผมจะได้เสนอแนวทางในการตรวจสอบ ควบคุม หรือถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีความผิดฐานละเมิดรัฐธรรมนูญ ซึ่งเมื่อสำรวจตรวจสอบดูแล้ว คงไม่มีวิธีการใดที่จะทำหน้าที่ดังกล่าวได้อย่างสมเหตุสมผลและชอบด้วยหลักประชาธิปไตย หลักนิติธรรม และที่สำคัญ ชอบด้วยหลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยของชาติออกเป็นสามฝ่าย ได้ดีเท่ากับการตรวจสอบ ควบคุม หรือถอดถอนโดยรัฐสภา ซึ่งวิธีการดังกล่าว ส่วนใหญ่ก็สอดคล้องกับหลักการอิมพีชเมนต์ (Impeachment) อย่างที่ทำกันในสหรัฐอเมริกา โดยวิธีการแปลงสภาพให้รัฐสภาเป็นทั้งอัยการและศาล ในกรณีที่จะต้องตรวจสอบ ไต่สวน และถอดถอนบุคคลระดับประธานาธิบดี รัฐมนตรี และผู้พิพากษาศาลสูงสุด ซึ่งทำหน้าที่เป็นศาลรัฐธรรมนูญด้วย หรือจะทำแบบเดียวกับประเทศเมียนมาร์ ซึ่งให้รัฐสภามีอำนาจลงมติถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโทษฐานก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภาเมื่อหลายเดือนก่อน ก็ได้

            วิธีการที่ผมนำเสนอนี้ ก็คือ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้มีการตรวจสอบ ไต่สวน และถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยรัฐสภา ซึ่งก็คงจะต้องไปแก้รัฐธรรมนูญในหมวดศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ส่วนที่ ๒ ศาลรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ โดยเพิ่มบทบัญญัติต่อจากมาตรา ๒๑๖ เป็น มาตรา ๒๑๖/๒ และมาตรา ๒๑๖/๒ ดังต่อไปนี้

            มาตรา ๒๑๖ /๑    “ในการพิจารณาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญผู้ใดมีพฤติการณ์ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ส่อว่ากระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ โดยไม่ผ่านกระบวนการทางรัฐสภา รัฐสภามีอำนาจถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้

มาตรา ๒๑๖/๒     “สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภารวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา เห็นว่า ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญผู้ใดมีพฤติการณ์ตามมาตรา ๒๑๖/๑ มีสิทธิยื่นคำร้องต่อประธานรัฐสภา ขอให้เรียกประชุมรัฐสภาเพื่อตรวจสอบ ไต่สวน และลงมติถอดถอนออกจากตำแหน่งตามมาตรา ๒๑๖/๑ ได้

            มติที่ให้ถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญผู้ใดออกจากตำแหน่ง ต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ของทั้งสองสภา

            หลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นคำร้อง การตรวจสอบ การไต่สวน และการลงมติตามมาตรา ๒๑๖/๒ วรรคสอง ให้เป็นไปตามข้อบังคับการประชุมรัฐสภา

ความระแวงของจขกท.มาจากบทความนี้ ใช่ไหม


Edited by Stargate-1, 21 November 2013 - 09:50.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#60 DoctorK

DoctorK

    ช่างท.บ.กิ๊กก๊อก

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,046 posts

Posted 21 November 2013 - 09:06


บทบาทและหน้าที่ของ วุฒิสภา
-
-
5. ถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง
5.1 การถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือข้าราชการระดับสูงออกจากตำแหน่ง อันได้แก่
barbul1e.gif นายกรัฐมนตรี barbul1e.gif รัฐมนตรี barbul1e.gif สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร barbul1e.gif สมาชิกวุฒิสภา barbul1e.gif ประธานศาลฎีกา barbul1e.gif ประธานศาลรัฐธรรมนูญ barbul1e.gif ประธานศาลปกครองสูงสุด barbul1e.gif อัยการสูงสุด barbul1e.gif กรรมการการเลือกตั้ง barbul1e.gif ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา barbul1e.gifตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ barbul1e.gif กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน barbul1e.gif ผู้พิพากษาหรือตุลาการ barbul1e.gif พนักงานอัยการหรือ barbul1e.gif ผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
หากบุคคลนั้นมีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติส่อไปทางทุจริตต่อหน้าที่ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรมหรือส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย



หากวุฒิสภาสามารถถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได้
คำถามคือ

1) เหตุใดศาลรัฐธรรมนูญจึงชี้นำสังคมด้วยการตัดสินว่า "การแก้ไขคุณสมบัติผู้ลงสมัคร ส.ว.ให้ใกล้เคียงกับผู้ลงสมัคร ส.ส. เท่ากับเป็นการแก้ไขไปสู่จุดสูญสิ้น เป็นการนำพาชาติถอยหลังเข้าคลอง"? ในเมื่อ ส.ว. มีสิทธิในการถอดถอนตัวศาลเอง การชี้นำดังกล่าวเป็น conflict of interest เป็นการกระทำเพื่อให้ตนเองอยู่ในอำนาจได้ต่อไป ใช่หรือไม่ ยังไม่นับการที่ประธานศาลรัฐธรรมนูญเป็นหนึ่งในคณะกรรมการสรรหา สว ดังกล่าว ซึ่งการตัดสินดังกล่าว ถือเป็นการกระทำเพื่อให้ตนเองมีอำนาจเหนือ สว ซึ่งมีสิทธิถอดถอนตนเองได้ ใช่หรือไม่

2) ศาลใช้อำนาจใดในการชี้นำสังคมว่าการเลือกตั้ง ส.ว. เป็นการถอยหลังเข้าคลอง การกำหนดกติกาของสังคม (รัฐธรรมนูญ) เป็นอำนาจของประชาชนทั้งประเทศ ซึ่งสามารถทำได้ผ่านทางสภา ไม่ใช่เป็นการกำหนดเอาเองจากคน 9 คน ใช่หรือไม่ ศาลใช้อำนาจใดในการตัดสิทธิประชาชนในการกำหนดกติกาของประเทศ?

ลองตอบดูนะครับ
คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับ
คุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว

และศาลพูดตอนไหนครับว่าสวเลือกตั้งไม่ดี กระบวนการแก้รัฐธรรมนูญคุณผิดเองต่างหาก

รักที่สุดคือพ่อหลวง ห่วงที่สุดคือคนที่รักประชาธิปไตยจนเสียสติ

 

หากโพสไหนไม่เหมาะสม MODลบได้เลยนะครับ


#61 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 09:08

คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับ

คุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว

 

 

แล้วไงครับ?

 

 

 

คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับ

คุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว

และศาลพูดตอนไหนครับว่าสวเลือกตั้งไม่ดี กระบวนการแก้รัฐธรรมนูญคุณผิดเองต่างหาก

 

 

 

ตอนนี้ครับ

 

"การแก้ไขคุณสมบัติผู้ลงสมัคร ส.ว.ให้ใกล้เคียงกับผู้ลงสมัคร ส.ส. เท่ากับเป็นการแก้ไขไปสู่จุดสูญสิ้น เป็นการนำพาชาติถอยหลังเข้าคลอง"



#62 Shariff

Shariff

    สมาชิกหน้าตาดี

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,802 posts

Posted 21 November 2013 - 09:11

 

 

คำถามน่าสนใจดีครับ

 

จขกท เป็นวิศวกรรึเปล่าครับ เห็นยกตัวอย่างการ flaw

 

ถ้า จขกท เป็นวิศวะ งั้นผมก็คงต้องขอถามกลับครับว่า แล้วใครมาตรวจสอบและรับรองการเป็นวิศวกรของท่าน   :lol:

 

 

โดยหลักประชาธิปไตยแบบประชาชนเป็นผู้เลือกส.ส. แล้ว ส.ส.เป็นผู้เลือกนายก

 

ถ้างั้นใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ซึ่งออกโดยสภาวิศวกร  

 

ที่มาของสภาวิศวกร ต้องผ่านการเลือกตั้งจากจับกังเท่านั้น ^_^ 

 

 

 

สภาวิศวกรมาจากการเลือกตั้งของสมาชิก ;)

 

 

 

สมาชิกรวมถึงจับกังด้วยหรือเปล่า  ^_^


"การปลดปล่อยตัวเองออกจากความเป็นทาสทางความคิดมิใช่ใครอื่น, มีแต่เราเท่านั้นที่จะต้องกระทำ "จากเพลง Redemption song.

#63 เรื่อยๆเอื่อยๆ

เรื่อยๆเอื่อยๆ

    There is a face beneath this mask, but it isn't me.

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,223 posts

Posted 21 November 2013 - 09:13

ต่อให้อ้างว่ามีชาวบ้านสามสิบล้านคนเลือกมาก็ไม่ได้แปลว่ามีอำนาจมากกว่ากฎหมาย ศาลตัดสินตามกฎหมายและกฎหมายให้ความสำคัญกับเจตนา

ปัญหาไม่ได้เกี่ยวข้องเลยว่าจะมีคนกี่คนมาตัดสินตราบใดที่เขาทำตามกฎหมาย คนหกสิบล้่านทำผิดกฎหมายก็คือผิดกฎหมาย ศาลทำผิดกฎหมายก็โดนฟ้องเพราะศาลก็อยู่ใต้กฎหมาย ไม่ต้องอ้างโน่นอ้างนี่เพื่อบอกว่าคนไม่กี่คนมาตัดสินอะไรได้ ฟุตบอลเตะกันยี่สิบคนก็มีกรรมการคนเดียว คนดูไม่ได้เลือกมาด้วย ของแบบนี้มันตรงๆไม่ซับซ้อนอะไร ยกเว้นพวกทำผิดกฎแล้วไม่ยอมรับผิด

#64 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

Posted 21 November 2013 - 09:13

ก่อนจะมาบอกว่า ใครตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ ขอตรวจสอบคนที่่จะมาแย้งศาลรัฐธรรมนูญก่อนดีมั้ย การศึกษา เงินในบัญชี ประวัติการทำงาน 



#65 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 09:21

ผมสรุปให้ฟังอีกทีนะ

ประธานศาลรัฐธรรมนูญเป็นกรรมการเลือก สว ซึ่งมีสิทธิในการถอดถอนตัวเอง

พูดง่ายๆ ก็คือ "ไม่มีใครตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ" นั่นแหล่ะครับ

เป็นองค์การอิสระที่มีอำนาจล้นฟ้า ไม่มีผู้ตรวจสอบ (เพราะคนที่มีสิทธิถอดถอนตัวเองเป็นคนตั้งเอง)

มันจึงเป็นระบบที่มี flaw ครับ

 

และการตัดสินเมื่อวาน ถือเป็นการกระทำเพื่อรักษาอำนาจของตนเองเหนือ สว ซึ่งมีสิทธิถอดถอนตนเองได้  ใช่หรือไม่



#66 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 09:24

คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับ

คุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว

 

 

วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา (อังกฤษUnited States Senate) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาคองเกรสแห่งสหรัฐอเมริกา ส่วนสภาล่างนั้นคือ สภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา

ในวุฒิสภาสหรัฐอเมริกานั้นมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน โดยแต่ละรัฐจะมีสมาชิกวุฒิสภา 2 คนเท่ากัน สมาชิกวุฒิสภาจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปีโดยมาจากการเลือกตั้ง รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นประธานวุฒิสภาโดยตำแหน่ง

 

 

แล้วไงครับ??



#67 Assava007

Assava007

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 146 posts

Posted 21 November 2013 - 09:26

ก่อนจะมาบอกว่า ใครตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ ขอตรวจสอบคนที่่จะมาแย้งศาลรัฐธรรมนูญก่อนดีมั้ย การศึกษา เงินในบัญชี ประวัติการทำงาน 

 

ชอบครับ  :D 



#68 ONETHAI

ONETHAI

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 962 posts

Posted 21 November 2013 - 09:37

ไปไหนแระ วิศวกร หัวขวด รอฟังอยู่นะ ระบบมี flaw เนี๊ยะ ตั้งแต่เกิดมายังไม่เคยได้ยิน



#69 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

Posted 21 November 2013 - 09:42

แล้วไงครับ?

 

 

 

ตอนนี้ครับ

 

"การแก้ไขคุณสมบัติผู้ลงสมัคร ส.ว.ให้ใกล้เคียงกับผู้ลงสมัคร ส.ส. เท่ากับเป็นการแก้ไขไปสู่จุดสูญสิ้น เป็นการนำพาชาติถอยหลังเข้าคลอง"

 

 

จขกท. น่าจะนำความระแวงนี้มาจากบทความในลิงค์นี้

 

http://www.kaninboon...tail.php?id=210

การตรวจสอบ ถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ โดย คณิน บุญสุวรรณ

 

"วุฒิสภาลงมติถอดถอนซึ่งต้องใช้คะแนนเสียงถึงสองในสาม ในขณะที่ ส.ว.สรรหาก็ปาเข้าไปครึ่งหนึ่งของวุฒิสภาแล้ว การลงมติถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยวุฒิสภาจึงเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ส่วนในอีกทางหนึ่ง เมื่อส่งให้ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิจารณาพิพากษา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้ง ๙ คน ๓ คน ก็มาจากผู้พิพากษาศาลฎีกาโดยตรง ส่วนอีก ๖ คน ส่วนใหญ่ถ้าไม่มาจากศาลฎีกาก็ล้วนเคยเป็นผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมมาก่อนทั้งสิ้น แล้วจะให้ผู้พิพากษามาพิจารณาพิพากษาจำคุกอดีตผู้พิพากษาหรือ ?"

 

หากจะทดสอบดูว่า ความระแวงนี้จะเป็นจริงหรือไม่  ลองกรณีนี้ก่อนเลย

 

สว.สามารถถอดถอนตุลาการศาลทั้งสามท่านได้ไหม ที่ตุลาการผิดเสียเอง ที่ไม่รับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ที่เคยวินิจฉัยไว้แล้ว ว่าไม่ต้องผ่านอัยการ  ลองตอบดูครับ

 

มาตรา 216 วรรค 5
  • คำวินิจฉัยของศาล รธน. ถือเป็นเด็ดขาดและมีผลผูกพันทุกองค์กร (รวมรัฐบาล รัฐสภา และศาลด้วย)

 

3.ก่อนที่ศาลรัฐธรรมนูญจะรับเรื่องไว้พิจารณา มีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยว่าผู้ร้องสามารถร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญได้โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านอัยการสูงสุดได้หรือไม่ เพราะตุลาการเสียงข้างน้อย ประกอบด้วยนายชัช ชลวร นายบุญส่ง กุลบุปผา และนายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี มีความเห็นว่ากระทำไม่ได้ จะต้องยื่นผ่านอัยการสูงสุดเท่านั้น ดังนั้น ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยไปในทางอื่นไม่ได้นอกจากมีความเห็นไม่รับคำร้อง โอกาสที่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนอื่นจะมีความเห็นในประเด็นเรื่องเนื้อหา สาระ ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญจะต้องมีอีกหลายคน เพราะเนื้อหาของการแก้ไขไม่ขัดมาตรา 68


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#70 Shariff

Shariff

    สมาชิกหน้าตาดี

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,802 posts

Posted 21 November 2013 - 09:44

 

คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับ

คุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว

 

 

วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: United States Senate) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาคองเกรสแห่งสหรัฐอเมริกา ส่วนสภาล่างนั้นคือ สภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา

ในวุฒิสภาสหรัฐอเมริกานั้นมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน โดยแต่ละรัฐจะมีสมาชิกวุฒิสภา 2 คนเท่ากัน สมาชิกวุฒิสภาจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปีโดยมาจากการเลือกตั้ง รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นประธานวุฒิสภาโดยตำแหน่ง

 

 

แล้วไงครับ??

 

 

 

เอ่อ ประเทศไทยเป็นเมืองขึ้นอเมริกาตอนไหน?


"การปลดปล่อยตัวเองออกจากความเป็นทาสทางความคิดมิใช่ใครอื่น, มีแต่เราเท่านั้นที่จะต้องกระทำ "จากเพลง Redemption song.

#71 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

Posted 21 November 2013 - 09:45

ผมสรุปให้ฟังอีกทีนะ

ประธานศาลรัฐธรรมนูญเป็นกรรมการเลือก สว ซึ่งมีสิทธิในการถอดถอนตัวเอง

พูดง่ายๆ ก็คือ "ไม่มีใครตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ" นั่นแหล่ะครับ

เป็นองค์การอิสระที่มีอำนาจล้นฟ้า ไม่มีผู้ตรวจสอบ (เพราะคนที่มีสิทธิถอดถอนตัวเองเป็นคนตั้งเอง)

มันจึงเป็นระบบที่มี flaw ครับ

 

และการตัดสินเมื่อวาน ถือเป็นการกระทำเพื่อรักษาอำนาจของตนเองเหนือ สว ซึ่งมีสิทธิถอดถอนตนเองได้  ใช่หรือไม่

 

เอ๊งลองไปหา มานะ ว่า มีประเทศไหนในโลก ที่เค้าตรวจสอบศาล ว่ะ

 

ช่วยไปหา มาที สิ


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#72 เรื่อยๆเอื่อยๆ

เรื่อยๆเอื่อยๆ

    There is a face beneath this mask, but it isn't me.

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,223 posts

Posted 21 November 2013 - 09:46

ผมสรุปให้ฟังอีกทีนะ
ประธานศาลรัฐธรรมนูญเป็นกรรมการเลือก สว ซึ่งมีสิทธิในการถอดถอนตัวเอง
พูดง่ายๆ ก็คือ "ไม่มีใครตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ" นั่นแหล่ะครับ
เป็นองค์การอิสระที่มีอำนาจล้นฟ้า ไม่มีผู้ตรวจสอบ (เพราะคนที่มีสิทธิถอดถอนตัวเองเป็นคนตั้งเอง)
มันจึงเป็นระบบที่มี flaw ครับ
 
และการตัดสินเมื่อวาน ถือเป็นการกระทำเพื่อรักษาอำนาจของตนเองเหนือ สว ซึ่งมีสิทธิถอดถอนตนเองได้  ใช่หรือไม่


ความคิดคุณหรือเปล่าที่มันflaw กรรมการสรรหาสวมี่กี่คน ประธานศาลเลือกได้เลยหรือแลวสวที่มานจากการเลือกตั้งมีกี่คนสามารถตรวจสอบศาลได้หรือไม่

#73 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 09:57

 

แล้วไงครับ?

 

 

 

ตอนนี้ครับ

 

"การแก้ไขคุณสมบัติผู้ลงสมัคร ส.ว.ให้ใกล้เคียงกับผู้ลงสมัคร ส.ส. เท่ากับเป็นการแก้ไขไปสู่จุดสูญสิ้น เป็นการนำพาชาติถอยหลังเข้าคลอง"

 

 

จขกท. น่าจะนำความระแวงนี้มาจากบทความในลิงค์นี้

 

http://www.kaninboon...tail.php?id=210

การตรวจสอบ ถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ โดย คณิน บุญสุวรรณ

 

"วุฒิสภาลงมติถอดถอนซึ่งต้องใช้คะแนนเสียงถึงสองในสาม ในขณะที่ ส.ว.สรรหาก็ปาเข้าไปครึ่งหนึ่งของวุฒิสภาแล้ว การลงมติถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยวุฒิสภาจึงเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ส่วนในอีกทางหนึ่ง เมื่อส่งให้ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิจารณาพิพากษา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้ง ๙ คน ๓ คน ก็มาจากผู้พิพากษาศาลฎีกาโดยตรง ส่วนอีก ๖ คน ส่วนใหญ่ถ้าไม่มาจากศาลฎีกาก็ล้วนเคยเป็นผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมมาก่อนทั้งสิ้น แล้วจะให้ผู้พิพากษามาพิจารณาพิพากษาจำคุกอดีตผู้พิพากษาหรือ ?"

 

 

ผมไม่เคยอ่านที่คุณคณินเขียนข้างบนนั่นนะ และไม่เคยอ่านจากที่ไหนมาก่อน ทั้งหมดเกิดจากการไตร่ตรองของผมเอง 100% ว่ามันขัดกับหลักการทางวิศวกรรมการออกแบบระบบ

 

แต่ก็ขอขอบคุณที่เอาความเห็นของนักรัฐศาสตร์อย่างคุณคณินมาให้อ่าน เพราะมันช่วยยืนยันว่าผมคิดไม่ผิด

นั่นคือ ไม่มีใครสามารถตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญได้หากนักการเมืองทั้งสองฝ่ายใช้ศาลรัฐธรรมนูญในการเดินเกมทางการเมืองของตน

 

ผมฟันธงว่าการกระทำของศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวาน  ถือเป็นการกระทำเพื่อรักษาอำนาจของตนเองเหนือ สว ซึ่งมีสิทธิถอดถอนตนเองได้



#74 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 09:59

 

 

คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับ

คุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว

 

 

วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: United States Senate) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาคองเกรสแห่งสหรัฐอเมริกา ส่วนสภาล่างนั้นคือ สภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา

ในวุฒิสภาสหรัฐอเมริกานั้นมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน โดยแต่ละรัฐจะมีสมาชิกวุฒิสภา 2 คนเท่ากัน สมาชิกวุฒิสภาจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปีโดยมาจากการเลือกตั้ง รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นประธานวุฒิสภาโดยตำแหน่ง

 

 

แล้วไงครับ??

 

 

 

เอ่อ ประเทศไทยเป็นเมืองขึ้นอเมริกาตอนไหน?

 

 

 

แล้วประเทศไทยเป็นเมืองขึ้นของศาลรัฐธรรมนูญเหรอครับที่ประกาศว่าการเลือกตั้ง สว ถือเป็นการถอยหลังเข้าคลอง?

ประเทศนี้ปกครองโดยศาลรัฐธรรมนูญเหรอครับ?



#75 ben10

ben10

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 401 posts

Posted 21 November 2013 - 10:08

ถ้าตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทำผิดคดีอาญา ถูกผู้พิพากษาศาลชั้นต้นตัดสินจำคุก ต้องยอมรับไหมครับ เรื่องง่ายๆแค่นี้ทำไมไม่เข้าใจครับ ทำไมวุฒิสมาชิกจะถอดถอนไม่ได้ อย่าลืมนะครับว่า สว.สรรหาหลายๆคนถูกรัฐบาลใช้อำนาจดึงไปเป็นพวกได้เหมือนกันครับ ไม่ใช่ว่า สว. สรรหาจะต้องเป็นทาสของ ประธานศาลรัฐธรรมนูญนะครับ กลับกันถ้าใช้สมองไตร่ตรองให้ดี เราจะรู้ด้วยตัวเองว่า อำนาจและผลประโยชน์ สามารถโน้มน้าวให้คนมาเป็นพวกได้ง่าย ซึ่งการจะต่อต้านอำนาจและผลประโยชน์นั้น ต้องเป็นคนที่มีจริยธรรม สูงพอสมควร ดังนั้นผู้ที่จะให้อำนาจและผลประโยชน์ คือฝ่ายบริหารครับ ประธานศาลรัฐธรรมนูญจะให้ผลประโยน์ใครได้ครับ



#76 DoctorK

DoctorK

    ช่างท.บ.กิ๊กก๊อก

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,046 posts

Posted 21 November 2013 - 10:10


คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับคุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว


วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: United States Senate) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาคองเกรสแห่งสหรัฐอเมริกา ส่วนสภาล่างนั้นคือ สภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา

ในวุฒิสภาสหรัฐอเมริกานั้นมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน โดยแต่ละรัฐจะมีสมาชิกวุฒิสภา 2 คนเท่ากัน สมาชิกวุฒิสภาจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปีโดยมาจากการเลือกตั้ง รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นประธานวุฒิสภาโดยตำแหน่ง



แล้วไงครับ??
ประเทศไทยเอาระบบรัฐสภามาจากอเมริการึครับ

ผมถามหน่อย
วุฒิสภาไทย คือสภาสูง หรือ สภาล่างครับ
ถ้าได้คำตอบแล้ว ลองดูคำถามล่างนะครับ

Edited by DoctorK, 21 November 2013 - 10:20.

รักที่สุดคือพ่อหลวง ห่วงที่สุดคือคนที่รักประชาธิปไตยจนเสียสติ

 

หากโพสไหนไม่เหมาะสม MODลบได้เลยนะครับ


#77 DoctorK

DoctorK

    ช่างท.บ.กิ๊กก๊อก

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,046 posts

Posted 21 November 2013 - 10:18


คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับคุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว


แล้วไงครับ?



คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับคุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว

และศาลพูดตอนไหนครับว่าสวเลือกตั้งไม่ดี กระบวนการแก้รัฐธรรมนูญคุณผิดเองต่างหาก



ตอนนี้ครับ

"การแก้ไขคุณสมบัติผู้ลงสมัคร ส.ว.ให้ใกล้เคียงกับผู้ลงสมัคร ส.ส. เท่ากับเป็นการแก้ไขไปสู่จุดสูญสิ้น เป็นการนำพาชาติถอยหลังเข้าคลอง"
คุณไม่เข้าใจอะไรเลย
ศาลท่านไม่ได้พูดถึงการมีสวเลือกตั้งเป็นการถอยหลัง
อต่หมายถึงคุณสมบัติบางอย่าง เช่น เป็นสามี ภรยา สส , ไม่ต้องมีการเว้นวรรค

ผมถามกลับง่ายๆ คุณช่วยบรรยายคุณสมบัติ สว เทียบกับ สส ให้ฟังหน่อยสิครับ เช่นเรื่องอายุ สว หรือ สส ควรเป็นกลาง และ มีความสามารถมากกว่ากันครับ

รักที่สุดคือพ่อหลวง ห่วงที่สุดคือคนที่รักประชาธิปไตยจนเสียสติ

 

หากโพสไหนไม่เหมาะสม MODลบได้เลยนะครับ


#78 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

Posted 21 November 2013 - 10:21

 

 

แล้วไงครับ?

 

 

 

ตอนนี้ครับ

 

"การแก้ไขคุณสมบัติผู้ลงสมัคร ส.ว.ให้ใกล้เคียงกับผู้ลงสมัคร ส.ส. เท่ากับเป็นการแก้ไขไปสู่จุดสูญสิ้น เป็นการนำพาชาติถอยหลังเข้าคลอง"

 

 

จขกท. น่าจะนำความระแวงนี้มาจากบทความในลิงค์นี้

 

http://www.kaninboon...tail.php?id=210

การตรวจสอบ ถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ โดย คณิน บุญสุวรรณ

 

"วุฒิสภาลงมติถอดถอนซึ่งต้องใช้คะแนนเสียงถึงสองในสาม ในขณะที่ ส.ว.สรรหาก็ปาเข้าไปครึ่งหนึ่งของวุฒิสภาแล้ว การลงมติถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยวุฒิสภาจึงเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ส่วนในอีกทางหนึ่ง เมื่อส่งให้ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิจารณาพิพากษา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้ง ๙ คน ๓ คน ก็มาจากผู้พิพากษาศาลฎีกาโดยตรง ส่วนอีก ๖ คน ส่วนใหญ่ถ้าไม่มาจากศาลฎีกาก็ล้วนเคยเป็นผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมมาก่อนทั้งสิ้น แล้วจะให้ผู้พิพากษามาพิจารณาพิพากษาจำคุกอดีตผู้พิพากษาหรือ ?"

 

 

ผมไม่เคยอ่านที่คุณคณินเขียนข้างบนนั่นนะ และไม่เคยอ่านจากที่ไหนมาก่อน ทั้งหมดเกิดจากการไตร่ตรองของผมเอง 100% ว่ามันขัดกับหลักการทางวิศวกรรมการออกแบบระบบ

 

แต่ก็ขอขอบคุณที่เอาความเห็นของนักรัฐศาสตร์อย่างคุณคณินมาให้อ่าน เพราะมันช่วยยืนยันว่าผมคิดไม่ผิด

นั่นคือ ไม่มีใครสามารถตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญได้หากนักการเมืองทั้งสองฝ่ายใช้ศาลรัฐธรรมนูญในการเดินเกมทางการเมืองของตน

 

ผมฟันธงว่าการกระทำของศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวาน  ถือเป็นการกระทำเพื่อรักษาอำนาจของตนเองเหนือ สว ซึ่งมีสิทธิถอดถอนตนเองได้

 

 

แล้วเอ๊ง จะเอาหลักการทางวิศวกรรม มาเสือก กับ หลักนิติศาสตร์ หาบ้านป้าแก เหรอ

 

เอ๊งลองไปคิดดูนะว่า ศาลในโลกนี้มีที่ไหนบ้างถูกตรวจสอบ เอ๊งเคยเห็นไหมละ


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#79 นายตัวเกร็ง

นายตัวเกร็ง

    Monkey Godfather Lv.3

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,901 posts

Posted 21 November 2013 - 10:24

@whatpaas สู้ๆฮะ...สั่งสอนพวกสลิ่ม&แมงสาบ แห่งเสรีไทยให้หงายเก๋งไปเลย
หวังว่าจะอยู่ด้วยกันนานๆนะ เป็นกำลังใจฮะ Fighto!!


เขียนเรื่องการเมือง : ดราม่า ,เขียนเรื่องสังคม : ดราม่า เขียนเรื่องบันเทิง : ดราม่า
แต่พอโพสเรื่องหื่น : มีความเห็นเป็นไปทางเดียวกันเสมอ >3<


#80 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 10:25

 

 

คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับคุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว
 


วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: United States Senate) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาคองเกรสแห่งสหรัฐอเมริกา ส่วนสภาล่างนั้นคือ สภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา
ในวุฒิสภาสหรัฐอเมริกานั้นมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน โดยแต่ละรัฐจะมีสมาชิกวุฒิสภา 2 คนเท่ากัน สมาชิกวุฒิสภาจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปีโดยมาจากการเลือกตั้ง รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นประธานวุฒิสภาโดยตำแหน่ง


แล้วไงครับ??
ประเทศไทยเอาระบบรัฐสภามาจากอเมริการึครับ

 

 

 

แล้วเราเป็นเมืองขึ้นอังกฤษเหรอครับจึงต้องระบุว่า สว ต้องมาจากการแต่งตั้ง?

ทำไมเราจะเลือกตั้ง สว ไม่ได้ครับ?

 

ผมไม่ได้บอกว่าเลือกตั้งหรือแต่งตั้งดีกว่า เพราะเป็นเรื่องของคนทั้งประเทศที่จะกำหนดกติกา แต่ผมกำลังจะบอกว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธิกำหนดว่าระบบที่ถูกต้องคือ สว ต้องมาจากการแต่งตั้ง (ไม่เช่นนั้นจะถือเป็นการถอยหลังเข้าคลอง) เพราะ ตลกศาลทั้ง 9 คนมีสิทธิ 1 เสียงเท่าผมในการกำหนดกติกาของประเทศครับ ไม่มีมากกว่านั้น

 

ความผิดในการสอดไส้กฎหมาย การเสียบบัตรแทนกัน เป็นเรื่องที่สมควรลงโทษอย่างรุนแรง
แต่การทำหน้าที่เกินกฎหมายกำหนด ด้วยการสอดใส้ความคิดเห็นของตนเองเข้าไปในคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวานนี้ซึ่งจะกลายเป็นความผูกพันประเทศไปตลอดกาลว่า การเลือกตั้ง สว ขัดกับหลักประชาธิปไตยนั้น เป็นเรื่องที่ผิดอย่างแน่นอนครับ
 
หรือใครว่าไม่ผิด?


#81 DoctorK

DoctorK

    ช่างท.บ.กิ๊กก๊อก

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,046 posts

Posted 21 November 2013 - 10:27

ผมสรุปให้ฟังอีกทีนะ
ประธานศาลรัฐธรรมนูญเป็นกรรมการเลือก สว ซึ่งมีสิทธิในการถอดถอนตัวเอง
พูดง่ายๆ ก็คือ "ไม่มีใครตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ" นั่นแหล่ะครับ
เป็นองค์การอิสระที่มีอำนาจล้นฟ้า ไม่มีผู้ตรวจสอบ (เพราะคนที่มีสิทธิถอดถอนตัวเองเป็นคนตั้งเอง)
มันจึงเป็นระบบที่มี flaw ครับ

และการตัดสินเมื่อวาน ถือเป็นการกระทำเพื่อรักษาอำนาจของตนเองเหนือ สว ซึ่งมีสิทธิถอดถอนตนเองได้ ใช่หรือไม่

ผมเองก็ไม่ใช่วิศวะ จึงอยากฟังเรื่องflawหน่อยน่ะครับ
จากใจ ช่าง ท.บ. :P

ปล.ขออภัยModด้วยนะครับ ที่พิมพ์หลายเม้น ในมือถือมันโควทเยอะๆลำบากน่ะครับ

Edited by DoctorK, 21 November 2013 - 10:27.

รักที่สุดคือพ่อหลวง ห่วงที่สุดคือคนที่รักประชาธิปไตยจนเสียสติ

 

หากโพสไหนไม่เหมาะสม MODลบได้เลยนะครับ


#82 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

Posted 21 November 2013 - 10:27

การสรรหาสมาชิกวุฒิสภา จะเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2550 สรุป คือ

ผู้ดำเนินการ ประกอบด้วย
- คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา มีจำนวน 7 คน ดังนี้

  • ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
  • ประธานกรรมการการเลือกตั้ง
  • ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน
  • ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
  • ประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
  • ผู้พิพากษาในศาลฎีกาที่ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกามอบหมาย และ
  • ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุดมอบหมาย 

- คณะกรรมการการเลือกตั้ง

- สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง

ระยะเวลา 

  • องค์กรภาคอื่น ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม - 23 กันยายน 2555
  • องค์กรภาควิชาชีพ ตั้งแต่วันที่ 7 สิงหาคม - 29 กันยายน 2555
  • องค์ภาครัฐ ตั้งแต่วันที่ 22 สิงหาคม - 12 ตุลาคม 2555

กระบวนและขั้นตอนการสรรหา

  • คณะกรรมการการเลือกตั้ง ดำเนินการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อกำหนดวันสรรหา
  • คณะกรรมการการเลือกตั้งจะดำเนินการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อกำหนดวันให้องค์กรต่างๆ ในภาคอื่น มาลงทะเบียนพร้อมเสนอชื่อผู้ที่สมควรได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภาต่อคณะกรรมการสรรหา
  • คณะกรรมการการเลือกตั้ง (โดยสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง) จะดำเนินการให้องค์กรต่างๆ ในภาคอื่น มายื่นคำขอลงทะเบียนพร้อมเสนอชื่อผู้สมควรได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา ตามข้อ 2 ซึ่งในกรณีนี้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2550 มาตรา 127 บัญญัติให้คณะกรรมการการเลือกตั้งสามารถกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการยื่นคำขอลงทะเบียนและการเสนอชื่อผู้สมควรได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งคณะกรรมการการเลือกตั้งก็ได้ออกเป็นระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการลงทะเบียนขององค์กรที่มีสิทธิเสนอชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2554
  • คณะกรรมการการเลือกตั้ง รวบรวมรายชื่อบุคคลผู้สมควรได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภาส่งให้คณะกรรมการสรรหา ตามข้อ 3  
  • คณะกรรมการสรรหาพิจารณาสรรหารายชื่อบุคคลผู้สมควรได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา ตามหลักเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ แล้วส่งให้คณะกรรมการการเลือกตั้งภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับรายชื่อผู้เข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภาจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง ตามข้อ 4 และผลการพิจารณาสรรหาให้ถือเป็นที่สุด 
  • คณะกรรมการการเลือกตั้ง ประกาศผลการสรรหาและแจ้งผลไปยังประธานรัฐสภาเพื่อทราบและประกาศผลในราชกิจจานุเบกษา

วิธีการยื่นลงทะเบียนขององค์กรที่มีสิทธิเสนอชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา

  • องค์กรที่ประสงค์จะลงทะเบียนเพื่อมีสิทธิเสนอชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา ให้ผู้มีอำนาจกระทำการแทนองค์กร หรือผู้ที่ผู้มีอำนาจกระทำการแทนองค์กรมอบหมายให้ทำการแทน ยื่นคำขอลงทะเบียนต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง ภายในวัน เวลา และสถานที่ที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกำหนด

    องค์กรใดที่ยื่นคำขอลงทะเบียนให้ระบุขอใช้สิทธิเสนอชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา แทนตำแหน่งที่ว่าง องค์กรภาคอื่น พร้อมหลักฐานต่อไปนี้
  • สำเนาหนังสือสำคัญหรือเอกสารที่แสดงความเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้น
  • สำเนาหลักฐานที่แสดงถึงวัตถุประสงค์ ข้อบังคับหรือระเบียบขององค์กร
  • สำเนาหลักฐานซึ่งแสดงถึงการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องขององค์กรไม่น้อยกว่าสามปีนับถึงกำหนดวันสรรหาสมาชิกวุฒิสภา
  • หนังสือที่แสดงว่าเป็นผู้มีอำนาจทำการแทนองค์กร
  • สำเนาทะเบียนบ้านและสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรประจำตัวอื่นซึ่งทางราชการ หรือหน่วยงานของรัฐออกให้ ของผู้มีอำนาจทำการแทนองค์กรหรือเป็นผู้รับมอบอำนาจ แล้วแต่กรณี

    เอกสารหลักฐานดังกล่าว ให้ผู้มีอำนาจทำการแทนองค์กรหรือเป็นผู้รับมอบอำนาจแล้วแต่กรณีจัดทำจำนวน 15 ชุด และ รับรองสำเนาความถูกต้องด้วย
  • ให้องค์กรเสนอชื่อบุคคลที่เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกขององค์กรหรือปฏิบัติหน้าที่หรือเคยปฏิบัติหน้าที่ในองค์กร ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสมควรได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภาองค์กรละหนึ่งคนพร้อมชำระค่าธรรมเนียมของผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อห้าพันบาทและหลักฐานดังนี้
  • หนังสือยินยอมให้เสนอชื่อเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา ตามแบบ สสว.2
  • สำเนาทะเบียนบ้านและสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรประจำตัวอื่นซึ่งทางราชการ หรือหน่วยงานของรัฐออกให้ ของผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อโดยได้รับการรับรองที่ถูกต้องจากผู้เป็นเจ้าของ
  • สำเนาหลักฐานแสดงวุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่าของผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ
  • ใบรับรองแพทย์
  • รูปถ่ายหน้าตรงไม่สวมหมวก ขนาดกว้างประมาณ 8.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 13.5 เซนติเมตร จำนวน 15 รูป และขนาดกว้างประมาณ 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ 6 เซนติเมตร จำนวน 15 รูป
  • แบบสรุปข้อมูลบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา ตามแบบ สสว.5
  • หลักฐานที่แสดงถึงความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ และสาขาอาชีพ ตามที่ระบุไว้ในแบบ สสว.5
  • รายงานการประชุมขององค์กรซึ่งมีมติให้เสนอชื่อเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา

    เอกสารหลักฐานดังกล่าว ให้จัดทำจำนวน 15 ชุด (ยกเว้นรูปถ่าย) และรับรองสำเนาความถูกต้องด้วย

สว.สรรหาจากผู้พิการมีแล้ว แล้วเมื่อไหร่จะมีสายศิลปิน ถ้าหนุ่ยและกบทำตัวแบบนี้ จบกัน

 

ผมไม่เคยอ่านที่คุณคณินเขียนข้างบนนั่นนะ และไม่เคยอ่านจากที่ไหนมาก่อน ทั้งหมดเกิดจากการไตร่ตรองของผมเอง 100% ว่ามันขัดกับหลักการทางวิศวกรรมการออกแบบระบบ
 
แต่ก็ขอขอบคุณที่เอาความเห็นของนักรัฐศาสตร์อย่างคุณคณินมาให้อ่าน เพราะมันช่วยยืนยันว่าผมคิดไม่ผิด
นั่นคือ ไม่มีใครสามารถตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญได้หากนักการเมืองทั้งสองฝ่ายใช้ศาลรัฐธรรมนูญในการเดินเกมทางการเมืองของตน
 
ผมฟันธงว่าการกระทำของศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวาน  ถือเป็นการกระทำเพื่อรักษาอำนาจของตนเองเหนือ สว ซึ่งมีสิทธิถอดถอนตนเองได้

  
วิธีการตรวจสอบเขาก็บอกไว้แล้ว วิธีถอดถอนก็บอกไว้แล้ว เพื่อเป็นการพิสูจน์ว่า ความคิดนั้น ถูกหรือไม่ ทำได้โดยถอดถอน 3 ตุลาการ ไม่ใช่ความคิดไปตรงกับคนโน้น คนนี้ แล้วบอกว่าถูกต้อง มันตรรกะ อะไรว่ะ
เรื่องโครงสร้างของการปกครองตามรัฐธรรมนูญ เองไปอ่านรัฐธรรมนูญหน้า 2 - 3 แล้วกัน แล้วเองจะรู้ว่าศาลท่านพิพากษา โดยเอาอะไรมาอ้าง

 

สว.ที่มาจากการเลือกตั้ง ไม่ควรมีอำนาจไปแต่งตั้งใครๆได้ ควรตัดอำนาจส่วนนั้นทิ้งไป เหมือนสส.ที่ไม่มีอำนาจไปแต่งตั้งองค์กรอิสระต่างๆ  องค์กรอิสระ เหมือนเป็นอำนาจที่ 4 ที่คอยดูแลอำนาจทั้งสามฝ่าย ดังนั้นไม่ควรอยู่ภายใต้การแต่งตั้งจากพวกที่มาจากการเลือกตั้ง   การที่มีพวกที่มาจากการแต่งตั้ง   ก็เพื่อถ่วงดุลย์กับพวกที่มาจากการเลือกตั้ง เขาทำโครงสร้างไว้เช่นนี้    ถ้าไปเปลี่ยนแปลงที่ไม่ใช่โครงสร้าง ก็ไม่มีใครว่า อันนี้ ไปย้ายพวกที่มาจาการแต่งตั้งไปเป็นพวกที่มาจากการเลือกตั้ง   มันก็เสียโครงสร้างไปตามที่ศาลท่านด่าเอาไว้


Edited by Stargate-1, 21 November 2013 - 10:40.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#83 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 10:27

ถ้าตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทำผิดคดีอาญา ถูกผู้พิพากษาศาลชั้นต้นตัดสินจำคุก ต้องยอมรับไหมครับ เรื่องง่ายๆแค่นี้ทำไมไม่เข้าใจครับ ทำไมวุฒิสมาชิกจะถอดถอนไม่ได้ อย่าลืมนะครับว่า สว.สรรหาหลายๆคนถูกรัฐบาลใช้อำนาจดึงไปเป็นพวกได้เหมือนกันครับ ไม่ใช่ว่า สว. สรรหาจะต้องเป็นทาสของ ประธานศาลรัฐธรรมนูญนะครับ กลับกันถ้าใช้สมองไตร่ตรองให้ดี เราจะรู้ด้วยตัวเองว่า อำนาจและผลประโยชน์ สามารถโน้มน้าวให้คนมาเป็นพวกได้ง่าย ซึ่งการจะต่อต้านอำนาจและผลประโยชน์นั้น ต้องเป็นคนที่มีจริยธรรม สูงพอสมควร ดังนั้นผู้ที่จะให้อำนาจและผลประโยชน์ คือฝ่ายบริหารครับ ประธานศาลรัฐธรรมนูญจะให้ผลประโยน์ใครได้ครับ

 

 

คุณกลับไปอ่านบทความของคุณคณินที่ Stargate เอามาให้อ่านสิครับว่าการถอดถอนศาลรัฐธรรมนูญมันสามารถทำได้ในทางปฏิบัติหรือไม่ ในเมื่อตนเองเป็นผู้แต่งตั้งผู้ที่มีสิทธิถอดถอนตัวเอง



#84 คนดื่มเบียร์

คนดื่มเบียร์

    พอจะทนแดงได้หน่อยๆ

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,721 posts

Posted 21 November 2013 - 10:29

ทำไมหมู่นี้ บ้านตู ส้วมเต็มบ่อยจริงแว้ -_-


ช่วงนี้ คนเป่านกหวีดเสียงดังกันเยอะ ปีนี้เลยกลายเป็น " ปี แสบ หู "


#85 อาตี๋

อาตี๋

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,267 posts

Posted 21 November 2013 - 10:36

ตกลง นี่พูดเรื่องศาลตรวจสอบไม่ได้อยู่ใช่มั้ย 

 

ทำไมเจ้าของกระทู้เอาแต่เรื่อง ของฝ่ายบริหารของต่างประเทศมาเปรียบเทียบ :huh:


สิทธิตามระบอบประชาติปไตยมีไว้สำหรับให้เสื้อแดงผู้เรียกร้องประชาติปไตยเท่านั้น


ผู้อื่นห้ามใช้มิเช่นนั้นจะโดนประชาติปไตยลงโทษ


#86 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 10:40

ผมยกบทความของคุณคณิน บุญสุวรรณที่เขาเขียนอธิบายสิ่งที่ผมพูดไปข้างบนได้ดีกว่าผมมาให้ดู ผมลอกมาให้ดูแล้วกันครับว่าระบบของเรามันมีช่องโหว่ตรงไหน
 
 
 
"ด้วยเหตุนี้ ผมจึงอยากจะนำเสนอวิธีการที่จะตรวจสอบ ควบคุม และถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่กระทำความผิดร้ายแรง ให้เป็นจริงและบังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ โดยย้อนไปพูดถึงพฤติการณ์การใช้อำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ ที่ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา และส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญโดยไม่ผ่านกระบวนการทางรัฐสภาอีกครั้งหนึ่งก่อน เพื่อจะแสดงให้เห็นว่าภายใต้รัฐธรรมนูญปี ๒๕๕๐ ไม่มีกลไกใดสามารถตรวจสอบ ถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได้เลย
 
และด้วยเหตุนั้น ศาลรัฐธรรมนูญจึงกลายเป็นองค์กรเหนือรัฐธรรมนูญไปโดยปริยาย ประกอบกับกลไกที่มีอยู่ก็มีสภาพพิกลพิการ ถ้าหากจะต้องทำหน้าที่ตรวจสอบ ถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เพราะเหตุว่า การไต่สวนเพื่อดูว่าข้อกล่าวหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีมูลหรือไม่ เป็นอำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งมาจากการแต่งตั้งของคณะรัฐประหารหลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ และถึงแม้เมื่อไต่สวนแล้ว คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเห็นว่าข้อกล่าวหามีมูล แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได้
 
เหตุเพราะในทางหนึ่งต้องส่งให้วุฒิสภาลงมติถอดถอนซึ่งต้องใช้คะแนนเสียงถึงสองในสาม ในขณะที่ ส.ว.สรรหาก็ปาเข้าไปครึ่งหนึ่งของวุฒิสภาแล้ว การลงมติถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยวุฒิสภาจึงเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ส่วนในอีกทางหนึ่ง เมื่อส่งให้ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิจารณาพิพากษา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้ง ๙ คน ๓ คน ก็มาจากผู้พิพากษาศาลฎีกาโดยตรง ส่วนอีก ๖ คน ส่วนใหญ่ถ้าไม่มาจากศาลฎีกาก็ล้วนเคยเป็นผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมมาก่อนทั้งสิ้น แล้วจะให้ผู้พิพากษามาพิจารณาพิพากษาจำคุกอดีตผู้พิพากษาหรือ ?
 
ด้วยเหตุนี้ เราจึงจำเป็นต้องหามาตรการที่จะควบคุม ตรวจสอบ และถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญให้ได้อย่างเป็นจริงและมีประสิทธิภาพ เพราะมิฉะนั้นแล้ว ศาลรัฐธรรมนูญก็จะกลายเป็นองค์กรเหนือรัฐธรรมนูญที่จะวินิจฉัย ตีความ หรือชี้ขาดอย่างไรก็ได้ อย่างที่เรียกว่า “ตีความตามอำเภอใจ” นั่นแหละ
 
ยิ่งถ้าไปเจอตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่เลือกข้างและมีอคติต่อการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนด้วยแล้ว ก็ยิ่งจะทำให้ศาลรัฐธรรมนูญมีความลำพองใจว่า พวกตนจะทำอย่างไรก็ได้ เพียงเพื่อกวาดล้างนักการเมืองเลวและพรรคการเมืองเลวให้พ้นไปจากสารบบให้ได้ ทั้งนี้ โดยไม่ต้องรับผิดชอบอะไรเลย ต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบ้านกับเมืองและกับประชาชน"


#87 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

Posted 21 November 2013 - 10:41

 

ถ้าตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทำผิดคดีอาญา ถูกผู้พิพากษาศาลชั้นต้นตัดสินจำคุก ต้องยอมรับไหมครับ เรื่องง่ายๆแค่นี้ทำไมไม่เข้าใจครับ ทำไมวุฒิสมาชิกจะถอดถอนไม่ได้ อย่าลืมนะครับว่า สว.สรรหาหลายๆคนถูกรัฐบาลใช้อำนาจดึงไปเป็นพวกได้เหมือนกันครับ ไม่ใช่ว่า สว. สรรหาจะต้องเป็นทาสของ ประธานศาลรัฐธรรมนูญนะครับ กลับกันถ้าใช้สมองไตร่ตรองให้ดี เราจะรู้ด้วยตัวเองว่า อำนาจและผลประโยชน์ สามารถโน้มน้าวให้คนมาเป็นพวกได้ง่าย ซึ่งการจะต่อต้านอำนาจและผลประโยชน์นั้น ต้องเป็นคนที่มีจริยธรรม สูงพอสมควร ดังนั้นผู้ที่จะให้อำนาจและผลประโยชน์ คือฝ่ายบริหารครับ ประธานศาลรัฐธรรมนูญจะให้ผลประโยน์ใครได้ครับ

 

 

คุณกลับไปอ่านบทความของคุณคณินที่ Stargate เอามาให้อ่านสิครับว่าการถอดถอนศาลรัฐธรรมนูญมันสามารถทำได้ในทางปฏิบัติหรือไม่ ในเมื่อตนเองเป็นผู้แต่งตั้งผู้ที่มีสิทธิถอดถอนตัวเอง

 

เริ่มมาก็ผิดแล้ว โครงสร้างของสว.และ องค์กรอิสระ ก็ระบุไว้แล้วในรัฐธรรมนูญปี 50 :ซึ่งปรับปรุงมาจากความผิดพลาดของปี 40 

 

ที่เอาบทความของคุณคณินมา ใช่ว่าจะเห็นด้วยนะไอ้หนุ เอาต.ย. ความคิดของคนๆหนึ่งมาให้ดู ว่าเขาคิดอย่างไร ต่างหาก ไม่ใช่บอกถูก ว่าผิด ทุกอย่างต้องทำดู

 

การถอดถอนตุลาการศาล ทำได้ซิ ทำไมทำไม่ได้ ใครกันที่ว่าทำไม่ได้ ไม่ได้ทำต่างหาก คนมันมโนไปเอง ถ้าไม่เชื่อเองก็ลองดูก็ได้   

ไอ้หนูนักข่าวรีพอร์ตเตอร์ นายช่าง คนแม่วงก์ เองคิดไปเองว่าพวกเดียวกัน ไม่ทำกัน นั่นมัน ความคิดของคนที่มีมิฉาทิฐิแบบเองต่างหาก คนที่ดำรงค์ความยุติธรรม เขาไม่ทำแบบนั้นแน่ เมื่อขึ้นบัลลังก์อันทรงเกียรติ  แล้วบอกว่าเป็นช่องโหว่ มันเป็นช่องโหว่ทางความคิดเองนะซิ ใครทุจริตก็โดนทั้งนั้น ไม่ใช่เป็นศาลแล้วติดคุกไม่ได้


Edited by Stargate-1, 21 November 2013 - 11:08.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#88 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

Posted 21 November 2013 - 10:42

 

ถ้าตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทำผิดคดีอาญา ถูกผู้พิพากษาศาลชั้นต้นตัดสินจำคุก ต้องยอมรับไหมครับ เรื่องง่ายๆแค่นี้ทำไมไม่เข้าใจครับ ทำไมวุฒิสมาชิกจะถอดถอนไม่ได้ อย่าลืมนะครับว่า สว.สรรหาหลายๆคนถูกรัฐบาลใช้อำนาจดึงไปเป็นพวกได้เหมือนกันครับ ไม่ใช่ว่า สว. สรรหาจะต้องเป็นทาสของ ประธานศาลรัฐธรรมนูญนะครับ กลับกันถ้าใช้สมองไตร่ตรองให้ดี เราจะรู้ด้วยตัวเองว่า อำนาจและผลประโยชน์ สามารถโน้มน้าวให้คนมาเป็นพวกได้ง่าย ซึ่งการจะต่อต้านอำนาจและผลประโยชน์นั้น ต้องเป็นคนที่มีจริยธรรม สูงพอสมควร ดังนั้นผู้ที่จะให้อำนาจและผลประโยชน์ คือฝ่ายบริหารครับ ประธานศาลรัฐธรรมนูญจะให้ผลประโยน์ใครได้ครับ

 

 

คุณกลับไปอ่านบทความของคุณคณินที่ Stargate เอามาให้อ่านสิครับว่าการถอดถอนศาลรัฐธรรมนูญมันสามารถทำได้ในทางปฏิบัติหรือไม่ ในเมื่อตนเองเป็นผู้แต่งตั้งผู้ที่มีสิทธิถอดถอนตัวเอง

 

 

ขอถามคำเดียวว่า ในเมือศาล รธน ใช้ รธน ที่ในพิจารณาคดีเกี่ยวกับ รธน 

 

แล้วเอ๊งจะใช้หน่วยงานอะไรมาตรวจสอบศาล รธน ละว่ะ

 

ในเมื่อ ศาล พิจารณาคดีต่าง ๆ ตาม รธน ทุกอย่าง

 

แล้วเอ๊งจะเอาอำนาจอะไรเหนือจาก รธน อีก


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#89 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

Posted 21 November 2013 - 10:44

 

ผมยกบทความของคุณคณิน บุญสุวรรณที่เขาเขียนอธิบายสิ่งที่ผมพูดไปข้างบนได้ดีกว่าผมมาให้ดู ผมลอกมาให้ดูแล้วกันครับว่าระบบของเรามันมีช่องโหว่ตรงไหน
 
 
 
"ด้วยเหตุนี้ ผมจึงอยากจะนำเสนอวิธีการที่จะตรวจสอบ ควบคุม และถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่กระทำความผิดร้ายแรง ให้เป็นจริงและบังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ โดยย้อนไปพูดถึงพฤติการณ์การใช้อำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ ที่ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ก้าวก่ายแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา และส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญโดยไม่ผ่านกระบวนการทางรัฐสภาอีกครั้งหนึ่งก่อน เพื่อจะแสดงให้เห็นว่าภายใต้รัฐธรรมนูญปี ๒๕๕๐ ไม่มีกลไกใดสามารถตรวจสอบ ถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได้เลย
 
และด้วยเหตุนั้น ศาลรัฐธรรมนูญจึงกลายเป็นองค์กรเหนือรัฐธรรมนูญไปโดยปริยาย ประกอบกับกลไกที่มีอยู่ก็มีสภาพพิกลพิการ ถ้าหากจะต้องทำหน้าที่ตรวจสอบ ถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เพราะเหตุว่า การไต่สวนเพื่อดูว่าข้อกล่าวหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีมูลหรือไม่ เป็นอำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งมาจากการแต่งตั้งของคณะรัฐประหารหลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ และถึงแม้เมื่อไต่สวนแล้ว คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเห็นว่าข้อกล่าวหามีมูล แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได้
 
เหตุเพราะในทางหนึ่งต้องส่งให้วุฒิสภาลงมติถอดถอนซึ่งต้องใช้คะแนนเสียงถึงสองในสาม ในขณะที่ ส.ว.สรรหาก็ปาเข้าไปครึ่งหนึ่งของวุฒิสภาแล้ว การลงมติถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยวุฒิสภาจึงเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ส่วนในอีกทางหนึ่ง เมื่อส่งให้ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิจารณาพิพากษา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้ง ๙ คน ๓ คน ก็มาจากผู้พิพากษาศาลฎีกาโดยตรง ส่วนอีก ๖ คน ส่วนใหญ่ถ้าไม่มาจากศาลฎีกาก็ล้วนเคยเป็นผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมมาก่อนทั้งสิ้น แล้วจะให้ผู้พิพากษามาพิจารณาพิพากษาจำคุกอดีตผู้พิพากษาหรือ ?
 
ด้วยเหตุนี้ เราจึงจำเป็นต้องหามาตรการที่จะควบคุม ตรวจสอบ และถอดถอน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญให้ได้อย่างเป็นจริงและมีประสิทธิภาพ เพราะมิฉะนั้นแล้ว ศาลรัฐธรรมนูญก็จะกลายเป็นองค์กรเหนือรัฐธรรมนูญที่จะวินิจฉัย ตีความ หรือชี้ขาดอย่างไรก็ได้ อย่างที่เรียกว่า “ตีความตามอำเภอใจ” นั่นแหละ
 
ยิ่งถ้าไปเจอตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่เลือกข้างและมีอคติต่อการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนด้วยแล้ว ก็ยิ่งจะทำให้ศาลรัฐธรรมนูญมีความลำพองใจว่า พวกตนจะทำอย่างไรก็ได้ เพียงเพื่อกวาดล้างนักการเมืองเลวและพรรคการเมืองเลวให้พ้นไปจากสารบบให้ได้ ทั้งนี้ โดยไม่ต้องรับผิดชอบอะไรเลย ต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบ้านกับเมืองและกับประชาชน"

 

 

เอ๊งจะให้ ศาล รธน อยู่ภายใต้ รัฐสภา ตามตัวสีแดง หรือไงฟร๊ะ


Edited by พอล คุง, 21 November 2013 - 10:46.

ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#90 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 10:45

 

 

ถ้าตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทำผิดคดีอาญา ถูกผู้พิพากษาศาลชั้นต้นตัดสินจำคุก ต้องยอมรับไหมครับ เรื่องง่ายๆแค่นี้ทำไมไม่เข้าใจครับ ทำไมวุฒิสมาชิกจะถอดถอนไม่ได้ อย่าลืมนะครับว่า สว.สรรหาหลายๆคนถูกรัฐบาลใช้อำนาจดึงไปเป็นพวกได้เหมือนกันครับ ไม่ใช่ว่า สว. สรรหาจะต้องเป็นทาสของ ประธานศาลรัฐธรรมนูญนะครับ กลับกันถ้าใช้สมองไตร่ตรองให้ดี เราจะรู้ด้วยตัวเองว่า อำนาจและผลประโยชน์ สามารถโน้มน้าวให้คนมาเป็นพวกได้ง่าย ซึ่งการจะต่อต้านอำนาจและผลประโยชน์นั้น ต้องเป็นคนที่มีจริยธรรม สูงพอสมควร ดังนั้นผู้ที่จะให้อำนาจและผลประโยชน์ คือฝ่ายบริหารครับ ประธานศาลรัฐธรรมนูญจะให้ผลประโยน์ใครได้ครับ

 

 

คุณกลับไปอ่านบทความของคุณคณินที่ Stargate เอามาให้อ่านสิครับว่าการถอดถอนศาลรัฐธรรมนูญมันสามารถทำได้ในทางปฏิบัติหรือไม่ ในเมื่อตนเองเป็นผู้แต่งตั้งผู้ที่มีสิทธิถอดถอนตัวเอง

 

 

ขอถามคำเดียวว่า ในเมือศาล รธน ใช้ รธน ที่ในพิจารณาคดีเกี่ยวกับ รธน 

 

แล้วเอ๊งจะใช้หน่วยงานอะไรมาตรวจสอบศาล รธน ละว่ะ

 

ในเมื่อ ศาล พิจารณาคดีต่าง ๆ ตาม รธน ทุกอย่าง

 

แล้วเอ๊งจะเอาอำนาจอะไรเหนือจาก รธน อีก

 

 

ศาลรัฐธรรมนูญคือคนครับ คนซื้อได้ และมีอคติทางการเมืองได้ เราจึงต้องมีการตรวจสอบการทำงาน

 

หรือคุณคิดว่าไม่ต้องมี?



#91 DoctorK

DoctorK

    ช่างท.บ.กิ๊กก๊อก

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,046 posts

Posted 21 November 2013 - 10:45


คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับคุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว

วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: United States Senate) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาคองเกรสแห่งสหรัฐอเมริกา ส่วนสภาล่างนั้นคือ สภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา
ในวุฒิสภาสหรัฐอเมริกานั้นมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน โดยแต่ละรัฐจะมีสมาชิกวุฒิสภา 2 คนเท่ากัน สมาชิกวุฒิสภาจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปีโดยมาจากการเลือกตั้ง รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นประธานวุฒิสภาโดยตำแหน่ง


แล้วไงครับ??
ประเทศไทยเอาระบบรัฐสภามาจากอเมริการึครับ


แล้วเราเป็นเมืองขึ้นอังกฤษเหรอครับจึงต้องระบุว่า สว ต้องมาจากการแต่งตั้ง?
ทำไมเราจะเลือกตั้ง สว ไม่ได้ครับ?

ผมไม่ได้บอกว่าเลือกตั้งหรือแต่งตั้งดีกว่า เพราะเป็นเรื่องของคนทั้งประเทศที่จะกำหนดกติกา แต่ผมกำลังจะบอกว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธิกำหนดว่าระบบที่ถูกต้องคือ สว ต้องมาจากการแต่งตั้ง (ไม่เช่นนั้นจะถือเป็นการถอยหลังเข้าคลอง) เพราะ ตลกศาลทั้ง 9 คนมีสิทธิ 1 เสียงเท่าผมในการกำหนดกติกาของประเทศครับ ไม่มีมากกว่านั้น

ความผิดในการสอดไส้กฎหมาย การเสียบบัตรแทนกัน เป็นเรื่องที่สมควรลงโทษอย่างรุนแรง
แต่การทำหน้าที่เกินกฎหมายกำหนด ด้วยการสอดใส้ความคิดเห็นของตนเองเข้าไปในคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวานนี้ซึ่งจะกลายเป็นความผูกพันประเทศไปตลอดกาลว่า การเลือกตั้ง สว ขัดกับหลักประชาธิปไตยนั้น เป็นเรื่องที่ผิดอย่างแน่นอนครับ

หรือใครว่าไม่ผิด?
คุณอ่านโพสแรกๆของผมรึยัง
ผมบอกว่าศาลท่านตัดสินว่ากระบวนการผิด
ไม่ได้บอกว่าสว มาจากการเลือกตั้งผิด

รักที่สุดคือพ่อหลวง ห่วงที่สุดคือคนที่รักประชาธิปไตยจนเสียสติ

 

หากโพสไหนไม่เหมาะสม MODลบได้เลยนะครับ


#92 DoctorK

DoctorK

    ช่างท.บ.กิ๊กก๊อก

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,046 posts

Posted 21 November 2013 - 10:47


คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับคุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว

วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: United States Senate) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาคองเกรสแห่งสหรัฐอเมริกา ส่วนสภาล่างนั้นคือ สภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา
ในวุฒิสภาสหรัฐอเมริกานั้นมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน โดยแต่ละรัฐจะมีสมาชิกวุฒิสภา 2 คนเท่ากัน สมาชิกวุฒิสภาจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปีโดยมาจากการเลือกตั้ง รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นประธานวุฒิสภาโดยตำแหน่ง


แล้วไงครับ??
ประเทศไทยเอาระบบรัฐสภามาจากอเมริการึครับ


แล้วเราเป็นเมืองขึ้นอังกฤษเหรอครับจึงต้องระบุว่า สว ต้องมาจากการแต่งตั้ง?
ทำไมเราจะเลือกตั้ง สว ไม่ได้ครับ?

ผมไม่ได้บอกว่าเลือกตั้งหรือแต่งตั้งดีกว่า เพราะเป็นเรื่องของคนทั้งประเทศที่จะกำหนดกติกา แต่ผมกำลังจะบอกว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธิกำหนดว่าระบบที่ถูกต้องคือ สว ต้องมาจากการแต่งตั้ง (ไม่เช่นนั้นจะถือเป็นการถอยหลังเข้าคลอง) เพราะ ตลกศาลทั้ง 9 คนมีสิทธิ 1 เสียงเท่าผมในการกำหนดกติกาของประเทศครับ ไม่มีมากกว่านั้น

ความผิดในการสอดไส้กฎหมาย การเสียบบัตรแทนกัน เป็นเรื่องที่สมควรลงโทษอย่างรุนแรง
แต่การทำหน้าที่เกินกฎหมายกำหนด ด้วยการสอดใส้ความคิดเห็นของตนเองเข้าไปในคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวานนี้ซึ่งจะกลายเป็นความผูกพันประเทศไปตลอดกาลว่า การเลือกตั้ง สว ขัดกับหลักประชาธิปไตยนั้น เป็นเรื่องที่ผิดอย่างแน่นอนครับ

หรือใครว่าไม่ผิด?
คุณอ่านโพสแรกๆของผมรึยัง
ผมบอกว่าศาลท่านตัดสินว่ากระบวนการแก้รธนผิด
ไม่ได้บอกว่าสว มาจากการเลือกตั้งผิด

รักที่สุดคือพ่อหลวง ห่วงที่สุดคือคนที่รักประชาธิปไตยจนเสียสติ

 

หากโพสไหนไม่เหมาะสม MODลบได้เลยนะครับ


#93 HiddenMan

HiddenMan

    Long Live The King

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,023 posts

Posted 21 November 2013 - 10:52

 

 

 

คุณเข้าใจคำว่างสภาสูงไหมครับคุณสมบัติของสมาชิกสภาสูงก็ต้องสูงกว่าสภาล่างอยู่แล้ว
 


วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: United States Senate) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาคองเกรสแห่งสหรัฐอเมริกา ส่วนสภาล่างนั้นคือ สภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา
ในวุฒิสภาสหรัฐอเมริกานั้นมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน โดยแต่ละรัฐจะมีสมาชิกวุฒิสภา 2 คนเท่ากัน สมาชิกวุฒิสภาจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปีโดยมาจากการเลือกตั้ง รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นประธานวุฒิสภาโดยตำแหน่ง


แล้วไงครับ??
ประเทศไทยเอาระบบรัฐสภามาจากอเมริการึครับ

 

 

 

แล้วเราเป็นเมืองขึ้นอังกฤษเหรอครับจึงต้องระบุว่า สว ต้องมาจากการแต่งตั้ง?

ทำไมเราจะเลือกตั้ง สว ไม่ได้ครับ?

 

ผมไม่ได้บอกว่าเลือกตั้งหรือแต่งตั้งดีกว่า เพราะเป็นเรื่องของคนทั้งประเทศที่จะกำหนดกติกา แต่ผมกำลังจะบอกว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธิกำหนดว่าระบบที่ถูกต้องคือ สว ต้องมาจากการแต่งตั้ง (ไม่เช่นนั้นจะถือเป็นการถอยหลังเข้าคลอง) เพราะ ตลกศาลทั้ง 9 คนมีสิทธิ 1 เสียงเท่าผมในการกำหนดกติกาของประเทศครับ ไม่มีมากกว่านั้น

 

ความผิดในการสอดไส้กฎหมาย การเสียบบัตรแทนกัน เป็นเรื่องที่สมควรลงโทษอย่างรุนแรง
แต่การทำหน้าที่เกินกฎหมายกำหนด ด้วยการสอดใส้ความคิดเห็นของตนเองเข้าไปในคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวานนี้ซึ่งจะกลายเป็นความผูกพันประเทศไปตลอดกาลว่า การเลือกตั้ง สว ขัดกับหลักประชาธิปไตยนั้น เป็นเรื่องที่ผิดอย่างแน่นอนครับ
 
หรือใครว่าไม่ผิด?

 

 

:D แล้วเราเป็นเมืองขึ้นอเมริกาหรือไง... ต้องทำแบบอเมริกา


“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.”  - Mahatma Gandhi

 

สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด

https://www.facebook...denman.serithai


#94 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

Posted 21 November 2013 - 10:55

ลองมาคิดดูนะ ไอ้กากลี

 

ศาล รธน ใช้ รธน ในการพิจารณาเรื่องที่เกี่ยวกับ รธน นะ

 

แล้วถ้าเอ๊งคิดว่า ศาล รธน ต้องถูกตรวจสอบ แลวเอ๊งคิดว่า จะมีหน่วยงานอะไรใน ตรวจสอบ ศาล รธน ละวะ

 

เพราะถ้า ให้ ปปช ชี้มูล ความผิด ส่งให้ ศาล ถามว่า ศาลไหนจะพิจารณาคดีความผิดของ ศาส รธน อีกว่ะ

 

ศาลปกครอง ตัดสิน ศาล รธน ได้เหรอ

 

ศาลอาญา ตัดสิน ศาล รธน ได้เหรอ

 

ตรูถามแค่นี้ เอ๊ง ช่วยตอบได้ไหมว่า จะมี่หน่วยงานอะไรไปตัดสินความผิด ศาล รธน ได้อีก

 

ไอ้ห่านราก


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#95 HiddenMan

HiddenMan

    Long Live The King

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,023 posts

Posted 21 November 2013 - 11:00

:D บางคนไม่ยอมรับการตรวจสอบ... แต่ชอบคุยโวเรื่องการตรวจสอบ


“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.”  - Mahatma Gandhi

 

สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด

https://www.facebook...denman.serithai


#96 whatpaas

whatpaas

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 21 November 2013 - 11:02

ลองมาคิดดูนะ ไอ้กากลี

 

ศาล รธน ใช้ รธน ในการพิจารณาเรื่องที่เกี่ยวกับ รธน นะ

 

แล้วถ้าเอ๊งคิดว่า ศาล รธน ต้องถูกตรวจสอบ แลวเอ๊งคิดว่า จะมีหน่วยงานอะไรใน ตรวจสอบ ศาล รธน ละวะ

 

เพราะถ้า ให้ ปปช ชี้มูล ความผิด ส่งให้ ศาล ถามว่า ศาลไหนจะพิจารณาคดีความผิดของ ศาส รธน อีกว่ะ

 

ศาลปกครอง ตัดสิน ศาล รธน ได้เหรอ

 

ศาลอาญา ตัดสิน ศาล รธน ได้เหรอ

 

ตรูถามแค่นี้ เอ๊ง ช่วยตอบได้ไหมว่า จะมี่หน่วยงานอะไรไปตัดสินความผิด ศาล รธน ได้อีก

 

ไอ้ห่านราก

 

 

เมื่อตรวจสอบไม่ได้ ควรยุบทิ้งครับ

เมื่อก่อนเราก็ไม่ได้มีศาล รธน. 

ในเมื่อมันเป็นชิ้นส่วนที่มีข้อผิดพลาด และหากคิดว่าไม่สามารถแก้ได้ ก็สมควรยุบมันทิ้งไปครับ

คุณจะเก็บชิ้นส่วนที่เห็นอยู่ว่ามันผิดพลาดเอาไว้ในระบบคุณเพื่ออะไรครับ?



#97 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

Posted 21 November 2013 - 11:04

:D บางคนไม่ยอมรับการตรวจสอบ... แต่ชอบคุยโวเรื่องการตรวจสอบ

 

บางคนที่ไอ้พวกควายแดงว่า สั่งฆ่าประชาชนกลับไม่หนีศาล หนีความผิด สู้คดีอยู่ในประเทศ

 

บางคนที่ไอ้พวกควายแดงว่า บริสุทธิ์ ถูกกลั่นแกล้ง ถูกยึดอำนาจ ไม่มีความผิด แต่กลับหนีคุก หนีศาล หนีความผิด ไปอยู่ต่างประเทศ

 

ใครคนหนึ่งปากบอกว่า ไม่ยอมรับอำนาจศาล เพราะมาจากรัฐประหาร แต่เ-สือกส่งสมุนฟ้องคนอื่นต่อศาล ทั้ง ๆ ที่ศาลเดียวกัน

 

แปลกดีไหมเนอะครับ

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา


Edited by พอล คุง, 21 November 2013 - 11:04.

ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#98 HiddenMan

HiddenMan

    Long Live The King

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,023 posts

Posted 21 November 2013 - 11:09

 

:D บางคนไม่ยอมรับการตรวจสอบ... แต่ชอบคุยโวเรื่องการตรวจสอบ

 

บางคนที่ไอ้พวกควายแดงว่า สั่งฆ่าประชาชนกลับไม่หนีศาล หนีความผิด สู้คดีอยู่ในประเทศ

 

บางคนที่ไอ้พวกควายแดงว่า บริสุทธิ์ ถูกกลั่นแกล้ง ถูกยึดอำนาจ ไม่มีความผิด แต่กลับหนีคุก หนีศาล หนีความผิด ไปอยู่ต่างประเทศ

 

ใครคนหนึ่งปากบอกว่า ไม่ยอมรับอำนาจศาล เพราะมาจากรัฐประหาร แต่เ-สือกส่งสมุนฟ้องคนอื่นต่อศาล ทั้ง ๆ ที่ศาลเดียวกัน

 

แปลกดีไหมเนอะครับ

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา

 

 

 

:D ไม่แปลกครับ... สำหรับพวกเอาแต่ได้ มันเป็น flaw


“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.”  - Mahatma Gandhi

 

สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด

https://www.facebook...denman.serithai


#99 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

Posted 21 November 2013 - 11:15

 

ถ้าตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทำผิดคดีอาญา ถูกผู้พิพากษาศาลชั้นต้นตัดสินจำคุก ต้องยอมรับไหมครับ เรื่องง่ายๆแค่นี้ทำไมไม่เข้าใจครับ ทำไมวุฒิสมาชิกจะถอดถอนไม่ได้ อย่าลืมนะครับว่า สว.สรรหาหลายๆคนถูกรัฐบาลใช้อำนาจดึงไปเป็นพวกได้เหมือนกันครับ ไม่ใช่ว่า สว. สรรหาจะต้องเป็นทาสของ ประธานศาลรัฐธรรมนูญนะครับ กลับกันถ้าใช้สมองไตร่ตรองให้ดี เราจะรู้ด้วยตัวเองว่า อำนาจและผลประโยชน์ สามารถโน้มน้าวให้คนมาเป็นพวกได้ง่าย ซึ่งการจะต่อต้านอำนาจและผลประโยชน์นั้น ต้องเป็นคนที่มีจริยธรรม สูงพอสมควร ดังนั้นผู้ที่จะให้อำนาจและผลประโยชน์ คือฝ่ายบริหารครับ ประธานศาลรัฐธรรมนูญจะให้ผลประโยน์ใครได้ครับ

 

 

คุณกลับไปอ่านบทความของคุณคณินที่ Stargate เอามาให้อ่านสิครับว่าการถอดถอนศาลรัฐธรรมนูญมันสามารถทำได้ในทางปฏิบัติหรือไม่ ในเมื่อตนเองเป็นผู้แต่งตั้งผู้ที่มีสิทธิถอดถอนตัวเอง

 

ยังมีคนเชื่อ คณิน บุญสุวรรณ อีกเนอะ  :D



#100 Garfield

Garfield

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,107 posts

Posted 21 November 2013 - 11:15

เถียงวนลูปไม่ฟังใครแบบนี้มันสันดานไอ้ลีชัดๆ






1 user(s) are reading this topic

0 members, 1 guests, 0 anonymous users