Jump to content


Photo
- - - - -

คุณเป็นใคร จบจากไหน ถึงได้โต้แย้งคณะนิติราษฎร์ และทีมกฏหมายของแม้ว


  • Please log in to reply
18 ความเห็นในกระทู้นี้

#1 kokkai

kokkai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,237 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:30

1-บทความ4.jpg

 

1-บทความ.jpg

 

 

(ยังมีต่อ)



#2 kokkai

kokkai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,237 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:33

1-บทความ1.jpg

 

1-บทความ2.jpg

 

 

(ยังมีต่อ)



#3 kokkai

kokkai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,237 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:35

*
POPULAR

1-บทความ3.jpg



#4 kokkai

kokkai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,237 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:40

แล้วนี่มันไม่รู้ว่าตัวเองเป็นตัวอะไร ที่ต้องโดนขัง(คอก)

 

1-บ้านราษฎร์.jpg


Edited by kokkai, 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:41.


#5 Et tu Brute?

Et tu Brute?

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,529 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:49

*
POPULAR

ติ้ปไตของทรราชแม้วคือ

  1. ออกกฎหมายเอง
  2. ใช้อำนาจเอง
  3. ตัดสินวินิจฉัยเอง

แปลเป็นถาษาคนได้ว่า absolute power ถวายให้พ่อแม้วคนเดียว

 

ติ้ปไตมากๆ ...เอ้า กราบบบบ  B)


It's us against the world


#6 kokkai

kokkai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,237 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:49

แล้วนี่  ไพร่แดงจะรู้ไหมเนี่ยะ ว่าโอนแล้วเขาไปจ่ายช่วยจริงป่าว

 

หรือไพร่แดงซื่อสัตย์ทุกคนแน่นอน

 

(เป็นห่วงกลัวโดนหลอก แด-รก ) :D

 

1-บ้านราษฎร์1.jpg



#7 kokkai

kokkai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,237 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:53

ติ้ปไตของทรราชแม้วคือ

  1. ออกกฎหมายเอง
  2. ใช้อำนาจเอง
  3. ตัดสินวินิจฉัยเอง

แปลเป็นถาษาคนได้ว่า absolute power ถวายให้พ่อแม้วคนเดียว

 

ติ้ปไตมากๆ ...เอ้า กราบบบบ  B)

 

ถ้าเรื่องมากเสียเวลา  ก็ตัดตอนซะหรืออุ้มหายไปเลย ง่ายดี



#8 HOPE

HOPE

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 96 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 03:33

อ้างแต่ติ๊ปไต แก้กฎหมายก็เป็นอำนาจที่กระทำได้

เพราะมาจากการเลือกตั้ง งั้นก็แก้กฎหมายเลือกตั้งใหม่นะ....

ต่อไปนี้ห้ามมีการเลือกตั้งใหม่ เพราะ

เลือกตั้งแต่ละครั้งใช้ภาษีเยอะ

ให้ใช้รัดทาบาน ณ ปัจจุบัน เป็นรัดทาบานตลอดกาล

หากคนใดคนหนึ่งตายไปก็ให้ลูก หลาน ขึ้นมาแทนได้ทันที...

ทำได้นะ เสียงข้างมากอยู่แล้วนี่



#9 Rxxxx

Rxxxx

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,486 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 04:08

ศาล “ทำหน้าที่ถูกต้อง” ในกรณี พ.ร.บ. นิรโทษกรรม (Bangkok Post 25/11/2013)
25 พฤศจิกายน 2013 เวลา 22:38 น.

Court 'did its duty' over amnesty bill (English text below)

http://is.gd/Qu4T4G

 

ศาลรัฐธรรมนูญทำหน้าที่เพื่อคนไทยได้อย่างดี ในการยับยั้งการกระทำของรัฐสภาที่เกี่ยวข้อง

กับรัฐธรรมนูญ คำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญแสดงให้เห็นว่า ฝ่ายที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภา

ไม่อาจใช้อำนาจตามอำเภอใจ เพื่อควบคุมระบบการเมืองของไทยได้

 

คนไทยควรทราบว่าคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญสอดคล้องกับประวัติศาสตร์ 224 ปี

ของระบอบประชาธิปไตยในสหรัฐอเมริกา

 

Federalist Paperเป็นคอลัมน์บทวิจารณ์ในหนังสือพิมพ์ ซึ่งสนับสนุนการนำรัฐธรรมนูญรัฐรวม

(Federal Constitution) ที่ร่างขึ้นในปี ค.ศ. 1787 มาใช้คอลัมน์ดังกล่าวเขียนโดย

นายอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน นายเจมส์ แมดิสัน และนายจอห์นเจย์

 

Federalist PaperNo. 78 เขียนโดยนายแฮมิลตันในปี ค.ศ. 1788กล่าวถึงบทบาทของ

ศาลยุติธรรมในการยืดหยัดต่อต้าน “กฎหมายที่ลำเอียงและไม่เป็นธรรม”ซึ่งฝ่ายนิติบัญญัติ

ให้การรับรอง โดยเขาเตือนว่า “ความอยุติธรรมจะบ่อนทำลายรากฐานความเชื่อมั่นของภาครัฐ

และเอกชน และนำมาซึ่งความไม่ไว้วางใจกันและความทุกข์ยากในทุกแห่งหน”

 

ด้วยถ้อยคำที่เรียบง่ายเหล่านี้ราวกับนายแฮมิลตันได้ทำนายถึงวิกฤตการเมือง

ที่คนไทยกำลังเผชิญอยู่

 

ใน Federalist PaperNo.71 นายแฮมิลตันเห็นว่าฝ่ายนิติบัญญัติอาจบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่

อย่างเป็นธรรม เขาเขียนว่า “บางครั้งผู้แทนของประชาชนที่อยู่ในสภาผู้แทนราษฎร อาจหลงผิด

คิดว่าพวกตนคือประชาชนทั้งหมด และแสดงความไม่พอใจและรังเกียจอย่างรุนแรงต่อเสียงคัดค้าน

แม้เพียงเล็กน้อยจากภาคส่วนอื่น ราวกับว่าการทำหน้าที่ตามสิทธิ ตัวอย่างเช่นสิทธิของฝ่ายตุลาการ

เป็นการละเมิดอำนาจและดูหมิ่นศักดิ์ศรีของพวกตน”

 

วันนี้คนไทยเราได้ยินคำกล่าวอ้างที่ว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธิ์ก้าวก่ายอำนาจของรัฐสภา

ในการทำตามที่ฝ่ายเสียงข้างมากต้องการ

 

ภายใต้ระบอบรัฐสภาไทยฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารรวมกันเป็นส่วนหนึ่ง

ของรัฐบาล มีการแบ่งแยกอำนาจน้อยลง และเป็นอุปสรรคต่อการตรวจสอบถ่วงดุล ซึ่งจะเป็นการ

ปกป้องประชาชนจากความไม่ยุติธรรมที่อาจเกิดจากกลุ่มการเมืองกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

 

ในกรณีของร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่รัฐสภาเห็นชอบ แต่ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้เป็นโมฆะ

การกระทำของรัฐสภาแท้จริงแล้วเป็นการใช้อำนาจของฝ่ายบริหาร รัฐบาลเสนอและสนับสนุน

ร่างสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาลงมติเห็นชอบ

 

แต่ไหนแต่ไรมาในสหรัฐอเมริกาศาลยุติธรรมมีอำนาจคัดค้านการกระทำของผู้บริหารในรัฐบาล

 

ในคดีวอเตอร์เกทที่ทำให้ประธานาธิบดีริชาร์ดนิกสัน ต้องลาออกจากตำแหน่ง ศาลฎีกาตัดสินว่า

ประธานาธิบดีไม่มีอำนาจปฏิเสธการส่งมอบหลักฐานที่อาจเป็นโทษกับตนให้แก่ศาลได้

 

ทนายความของประธานาธิบดีแย้งว่าศาลยุติธรรมไม่มีสิทธิ์ก้าวก่ายการทำงานภายในหน่วยงาน

ของรัฐบาล แต่ศาลฎีกาตัดสินตรงกันข้าม โดยเห็นว่าศาลยุติธรรมเท่านั้นที่สามารถใช้อำนาจตุลาการได้

 

ไม่มีฝ่ายใดสามารถมาบอกว่าศาลต้องคิดอย่างไร ศาลมีสิทธิ์ตีความรัฐธรรมนูญแตกต่าง

ไปจากหน่วยงานของรัฐบาล

 

ในการปกครองด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมที่เหมาะสมข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องทั้งหมด

ต้องถูกนำมาพิจารณาก่อนการตัดสินการกระทำที่เป็นอาชญากรรมประธานาธิบดีต้องปฏิบัติ

ตามกฎนี้เช่นเดียวกับประชาชนทั่วไป

 

ก่อนหน้านี้ศาลฎีกาเคยปฏิเสธสิทธิ์ของประธานาธิบดีแฮร์รี่ ทรูแมน ในการออกพระราชกฤษฎีกา

ปกครองประเทศ แม้จะอยู่ในภาวะสงครามและประเทศอยู่ในสถานการณ์ฉุกเฉิน

 

ขณะนั้นเป็นช่วงสงครามเกาหลีและสหภาพแรงงานกำลังจะนัดหยุดงานเพื่อเรียกร้องค่าจ้างที่สูงขึ้น

ประธานาธิบดีทรูแมนได้เข้าควบคุมบริษัทผลิตเหล็กกล้า เพื่อรักษาระดับการผลิตเหล็กกล้าเอาไว้

 

ศาลฎีกาตัดสินว่าการใช้อำนาจของประธานาธิบดีในภาวะสงครามตามรัฐธรรมนูญไม่ได้ครอบคลุม

ถึงกิจการพลเรือนที่เกี่ยวกับการนัดหยุดงาน

 

ในปีค.ศ. 1866 ในคดี ExParte Miligan ศาลฎีกาสหรัฐตัดสินว่าอำนาจของประธานาธิบดีลินคอล์น

ไม่ครอบคลุมถึงการจัดตั้งศาลทหารบางประเภทเพื่อจับกุมและดำเนินคดีประชาชนที่สนับสนุนรัฐฝ่ายใต้

ในสงครามกลางเมือง

 

แม้ในยามสงครามศาลฎีกาได้จำกัดขอบเขตอำนาจของฝ่ายบริหารโดยกล่าวว่าประธานาธิบดีไม่ได้รับ

มอบหมายอำนาจให้ทำตามที่ปรารถนาเพราะ “เขาถูกควบคุมโดยกฎหมาย”

 

ศาลให้ความเห็นว่าหากปราศจากการคุ้มครองโดยกฎหมาย “ชีวิตประชาชนจะตกอยู่ในมือของผู้ปกครอง

ที่ชั่วร้าย หรือไม่ก็เสียงโห่ร้องของฝูงชนที่ตื่นตระหนก”ทั้งยังกล่าวว่า “คนชั่วร้ายกระหายอำนาจ

เกลียดชังเสรีภาพและรังเกียจกฎหมาย อาจจะเข้ายึดครองที่ที่เคยเป็นของรัฐบาลวอชิงตันและลินคอล์น”

 

หน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาและประเทศไทย คือ การอยู่ตรงกลางระหว่าง

ประชาชนกับการใช้อำนาจโดยมิชอบอย่างเห็นแก่ตัวของคนในรัฐบาล

 


บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์โดย สตีเฟน บี. ยัง อดีตคณบดีและอาจารย์วิชากฎหมาย

คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยแฮมไลน์ และอดีตผู้ช่วยคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

25 พฤศจิกายน2556

 

Court 'did its duty' over amnesty bill

 

The Constitution Court has done its duty well for Thais in holding an act of the parliament subject to the constitution. In this decision the court has ruled that a majority in parliament may not exercise a willful and unaccountable power over Thai politics.

  • Published: 25/11/2013 at 12:00 AM

It is important for Thais to know the Constitution Court's decision is fully consistent with 224 years of US democracy.

 

Federalist Paper No.78, written by Alexander Hamilton in 1788, considered the role of courts in standing up to "unjust and partial laws" passed by the legislature. He warned that the "spirit of injustice" will "sap the foundations of public and private confidence, and to introduce in its stead universal distrust and distress".

 

With these simple words, Hamilton predicted the current political crisis facing the Thai people.

 

The Federalist Papers were newspaper commentaries advocating adoption of the proposed Federal Constitution which had been drafted in 1787. They were written by Alexander Hamilton, James Madison and John Jay.

Federalist Paper No.71, also written by Hamilton, foresaw that legislatures could fail in their duties to act justly. He wrote: "The representatives of the people, in a popular assembly, may sometimes fancy that they are the people themselves, and betray strong symptoms of impatience and disgust at the least sign of opposition from any other quarter; as if the exercise of its rights, by the judiciary, were a breach of their privilege and an outrage to their dignity."

 

Just so we hear in Thailand today claims that the Constitution Court has no right to intrude into the power of parliament to act as its majority wishes.

 

Under Thailand's parliamentary system, the legislature and the executive are fused into one branch of government, reducing the separation of powers and undercutting the checks and balances which protect the people against injustice that might come from one political faction.

 

In the case of the constitutional amendment passed by parliament and just voided by the Constitution Court, the act of parliament was really an act of the executive power.

 

It was the government which introduced and carried the act.

 

The House and the Senate gave their consent to an executive decision.

 

In the US, the courts have long had the power to overrule acts of our presidential executives.

 

In the Watergate case which drove Richard Nixon to resign, the US Supreme Court ruled the president had no privilege to withhold evidence from the courts which might incriminate him.

 

The president's lawyers had argued that the courts had no right to intrude into the inner workings of another branch of government. But the Supreme Court held to the contrary that only the courts could exercise the judicial power.

 

No other branch could step in to tell the courts what to think. The court had the right to interpret the constitution differently from the beliefs of other branches of government.

 

The rule of law and due process of justice demanded that all the relevant facts be brought before a trial of alleged criminal activity. The president had to obey that rule just as any ordinary citizen had to.

 

Earlier, the Supreme Court had denied president Harry Truman the right to govern by personal decree _ even during war and even in a national emergency.

 

To keep up steel production during the Korean War when unions were about to strike over higher wages, President Truman took control of the steel companies.

 

The Supreme Court held that the war powers provided to the president by the constitution did not extend to civil matters involving labour strikes.

 

And, much earlier, in the 1866 case of Ex Parte Miligan, the US Supreme Court held that the authority of president Abraham Lincoln did not extend to the establishment of certain military courts to arrest and try citizens who supported the rebellion of the southern states in our Civil War.

 

The Supreme Court limited executive power in the midst of war saying the president had no mandate to do as he wished as "he is controlled by law".

 

The court commented that if the protection of the law were to be withdrawn, "the people would be at the mercy of wicked rulers or the clamour of an excited people", noting in addition that "wicked men, ambitious of power, with hatred of liberty and contempt of law, may fill the place once occupied by Washington and Lincoln".

 

The duty of a constitutional court in the US and in Thailand is to stand between the people and the selfish abuse of power by those in government.

 

Stephen B Young is former dean and professor of law, Hamline University School of Law, and former assistant dean, the Harvard Law School.



 

https://www.facebook...151707718100957



#10 phoosana

phoosana

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,687 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 07:45

เสียงส่วนใหญ่ คือความถูกต้อง ไม่ต้องถึงนิติราษฎร์หรอก แค่เจอ ด็อก โสภณ  สตีเฟน บี ยัง ก็ไปไม่เป็นแล้ว -_-


We love fender.

#11 kokkai

kokkai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,237 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 08:30

 

ศาล “ทำหน้าที่ถูกต้อง” ในกรณี พ.ร.บ. นิรโทษกรรม (Bangkok Post 25/11/2013)
25 พฤศจิกายน 2013 เวลา 22:38 น.

Court 'did its duty' over amnesty bill (English text below)

http://is.gd/Qu4T4G

 

ศาลรัฐธรรมนูญทำหน้าที่เพื่อคนไทยได้อย่างดี ในการยับยั้งการกระทำของรัฐสภาที่เกี่ยวข้อง

กับรัฐธรรมนูญ คำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญแสดงให้เห็นว่า ฝ่ายที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภา

ไม่อาจใช้อำนาจตามอำเภอใจ เพื่อควบคุมระบบการเมืองของไทยได้

 

คนไทยควรทราบว่าคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญสอดคล้องกับประวัติศาสตร์ 224 ปี

ของระบอบประชาธิปไตยในสหรัฐอเมริกา

 

Federalist Paperเป็นคอลัมน์บทวิจารณ์ในหนังสือพิมพ์ ซึ่งสนับสนุนการนำรัฐธรรมนูญรัฐรวม

(Federal Constitution) ที่ร่างขึ้นในปี ค.ศ. 1787 มาใช้คอลัมน์ดังกล่าวเขียนโดย

นายอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน นายเจมส์ แมดิสัน และนายจอห์นเจย์

 

Federalist PaperNo. 78 เขียนโดยนายแฮมิลตันในปี ค.ศ. 1788กล่าวถึงบทบาทของ

ศาลยุติธรรมในการยืดหยัดต่อต้าน “กฎหมายที่ลำเอียงและไม่เป็นธรรม”ซึ่งฝ่ายนิติบัญญัติ

ให้การรับรอง โดยเขาเตือนว่า “ความอยุติธรรมจะบ่อนทำลายรากฐานความเชื่อมั่นของภาครัฐ

และเอกชน และนำมาซึ่งความไม่ไว้วางใจกันและความทุกข์ยากในทุกแห่งหน”

 

ด้วยถ้อยคำที่เรียบง่ายเหล่านี้ราวกับนายแฮมิลตันได้ทำนายถึงวิกฤตการเมือง

ที่คนไทยกำลังเผชิญอยู่

 

ใน Federalist PaperNo.71 นายแฮมิลตันเห็นว่าฝ่ายนิติบัญญัติอาจบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่

อย่างเป็นธรรม เขาเขียนว่า “บางครั้งผู้แทนของประชาชนที่อยู่ในสภาผู้แทนราษฎร อาจหลงผิด

คิดว่าพวกตนคือประชาชนทั้งหมด และแสดงความไม่พอใจและรังเกียจอย่างรุนแรงต่อเสียงคัดค้าน

แม้เพียงเล็กน้อยจากภาคส่วนอื่น ราวกับว่าการทำหน้าที่ตามสิทธิ ตัวอย่างเช่นสิทธิของฝ่ายตุลาการ

เป็นการละเมิดอำนาจและดูหมิ่นศักดิ์ศรีของพวกตน”

 

วันนี้คนไทยเราได้ยินคำกล่าวอ้างที่ว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธิ์ก้าวก่ายอำนาจของรัฐสภา

ในการทำตามที่ฝ่ายเสียงข้างมากต้องการ

 

ภายใต้ระบอบรัฐสภาไทยฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารรวมกันเป็นส่วนหนึ่ง

ของรัฐบาล มีการแบ่งแยกอำนาจน้อยลง และเป็นอุปสรรคต่อการตรวจสอบถ่วงดุล ซึ่งจะเป็นการ

ปกป้องประชาชนจากความไม่ยุติธรรมที่อาจเกิดจากกลุ่มการเมืองกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

 

ในกรณีของร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่รัฐสภาเห็นชอบ แต่ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้เป็นโมฆะ

การกระทำของรัฐสภาแท้จริงแล้วเป็นการใช้อำนาจของฝ่ายบริหาร รัฐบาลเสนอและสนับสนุน

ร่างสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาลงมติเห็นชอบ

 

แต่ไหนแต่ไรมาในสหรัฐอเมริกาศาลยุติธรรมมีอำนาจคัดค้านการกระทำของผู้บริหารในรัฐบาล

 

ในคดีวอเตอร์เกทที่ทำให้ประธานาธิบดีริชาร์ดนิกสัน ต้องลาออกจากตำแหน่ง ศาลฎีกาตัดสินว่า

ประธานาธิบดีไม่มีอำนาจปฏิเสธการส่งมอบหลักฐานที่อาจเป็นโทษกับตนให้แก่ศาลได้

 

ทนายความของประธานาธิบดีแย้งว่าศาลยุติธรรมไม่มีสิทธิ์ก้าวก่ายการทำงานภายในหน่วยงาน

ของรัฐบาล แต่ศาลฎีกาตัดสินตรงกันข้าม โดยเห็นว่าศาลยุติธรรมเท่านั้นที่สามารถใช้อำนาจตุลาการได้

 

ไม่มีฝ่ายใดสามารถมาบอกว่าศาลต้องคิดอย่างไร ศาลมีสิทธิ์ตีความรัฐธรรมนูญแตกต่าง

ไปจากหน่วยงานของรัฐบาล

 

ในการปกครองด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมที่เหมาะสมข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องทั้งหมด

ต้องถูกนำมาพิจารณาก่อนการตัดสินการกระทำที่เป็นอาชญากรรมประธานาธิบดีต้องปฏิบัติ

ตามกฎนี้เช่นเดียวกับประชาชนทั่วไป

 

ก่อนหน้านี้ศาลฎีกาเคยปฏิเสธสิทธิ์ของประธานาธิบดีแฮร์รี่ ทรูแมน ในการออกพระราชกฤษฎีกา

ปกครองประเทศ แม้จะอยู่ในภาวะสงครามและประเทศอยู่ในสถานการณ์ฉุกเฉิน

 

ขณะนั้นเป็นช่วงสงครามเกาหลีและสหภาพแรงงานกำลังจะนัดหยุดงานเพื่อเรียกร้องค่าจ้างที่สูงขึ้น

ประธานาธิบดีทรูแมนได้เข้าควบคุมบริษัทผลิตเหล็กกล้า เพื่อรักษาระดับการผลิตเหล็กกล้าเอาไว้

 

ศาลฎีกาตัดสินว่าการใช้อำนาจของประธานาธิบดีในภาวะสงครามตามรัฐธรรมนูญไม่ได้ครอบคลุม

ถึงกิจการพลเรือนที่เกี่ยวกับการนัดหยุดงาน

 

ในปีค.ศ. 1866 ในคดี ExParte Miligan ศาลฎีกาสหรัฐตัดสินว่าอำนาจของประธานาธิบดีลินคอล์น

ไม่ครอบคลุมถึงการจัดตั้งศาลทหารบางประเภทเพื่อจับกุมและดำเนินคดีประชาชนที่สนับสนุนรัฐฝ่ายใต้

ในสงครามกลางเมือง

 

แม้ในยามสงครามศาลฎีกาได้จำกัดขอบเขตอำนาจของฝ่ายบริหารโดยกล่าวว่าประธานาธิบดีไม่ได้รับ

มอบหมายอำนาจให้ทำตามที่ปรารถนาเพราะ “เขาถูกควบคุมโดยกฎหมาย”

 

ศาลให้ความเห็นว่าหากปราศจากการคุ้มครองโดยกฎหมาย “ชีวิตประชาชนจะตกอยู่ในมือของผู้ปกครอง

ที่ชั่วร้าย หรือไม่ก็เสียงโห่ร้องของฝูงชนที่ตื่นตระหนก”ทั้งยังกล่าวว่า “คนชั่วร้ายกระหายอำนาจ

เกลียดชังเสรีภาพและรังเกียจกฎหมาย อาจจะเข้ายึดครองที่ที่เคยเป็นของรัฐบาลวอชิงตันและลินคอล์น”

 

หน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาและประเทศไทย คือ การอยู่ตรงกลางระหว่าง

ประชาชนกับการใช้อำนาจโดยมิชอบอย่างเห็นแก่ตัวของคนในรัฐบาล

 


บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์โดย สตีเฟน บี. ยัง อดีตคณบดีและอาจารย์วิชากฎหมาย

คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยแฮมไลน์ และอดีตผู้ช่วยคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

25 พฤศจิกายน2556

 

Court 'did its duty' over amnesty bill

 

The Constitution Court has done its duty well for Thais in holding an act of the parliament subject to the constitution. In this decision the court has ruled that a majority in parliament may not exercise a willful and unaccountable power over Thai politics.

  • Published: 25/11/2013 at 12:00 AM

It is important for Thais to know the Constitution Court's decision is fully consistent with 224 years of US democracy.

 

Federalist Paper No.78, written by Alexander Hamilton in 1788, considered the role of courts in standing up to "unjust and partial laws" passed by the legislature. He warned that the "spirit of injustice" will "sap the foundations of public and private confidence, and to introduce in its stead universal distrust and distress".

 

With these simple words, Hamilton predicted the current political crisis facing the Thai people.

 

The Federalist Papers were newspaper commentaries advocating adoption of the proposed Federal Constitution which had been drafted in 1787. They were written by Alexander Hamilton, James Madison and John Jay.

Federalist Paper No.71, also written by Hamilton, foresaw that legislatures could fail in their duties to act justly. He wrote: "The representatives of the people, in a popular assembly, may sometimes fancy that they are the people themselves, and betray strong symptoms of impatience and disgust at the least sign of opposition from any other quarter; as if the exercise of its rights, by the judiciary, were a breach of their privilege and an outrage to their dignity."

 

Just so we hear in Thailand today claims that the Constitution Court has no right to intrude into the power of parliament to act as its majority wishes.

 

Under Thailand's parliamentary system, the legislature and the executive are fused into one branch of government, reducing the separation of powers and undercutting the checks and balances which protect the people against injustice that might come from one political faction.

 

In the case of the constitutional amendment passed by parliament and just voided by the Constitution Court, the act of parliament was really an act of the executive power.

 

It was the government which introduced and carried the act.

 

The House and the Senate gave their consent to an executive decision.

 

In the US, the courts have long had the power to overrule acts of our presidential executives.

 

In the Watergate case which drove Richard Nixon to resign, the US Supreme Court ruled the president had no privilege to withhold evidence from the courts which might incriminate him.

 

The president's lawyers had argued that the courts had no right to intrude into the inner workings of another branch of government. But the Supreme Court held to the contrary that only the courts could exercise the judicial power.

 

No other branch could step in to tell the courts what to think. The court had the right to interpret the constitution differently from the beliefs of other branches of government.

 

The rule of law and due process of justice demanded that all the relevant facts be brought before a trial of alleged criminal activity. The president had to obey that rule just as any ordinary citizen had to.

 

Earlier, the Supreme Court had denied president Harry Truman the right to govern by personal decree _ even during war and even in a national emergency.

 

To keep up steel production during the Korean War when unions were about to strike over higher wages, President Truman took control of the steel companies.

 

The Supreme Court held that the war powers provided to the president by the constitution did not extend to civil matters involving labour strikes.

 

And, much earlier, in the 1866 case of Ex Parte Miligan, the US Supreme Court held that the authority of president Abraham Lincoln did not extend to the establishment of certain military courts to arrest and try citizens who supported the rebellion of the southern states in our Civil War.

 

The Supreme Court limited executive power in the midst of war saying the president had no mandate to do as he wished as "he is controlled by law".

 

The court commented that if the protection of the law were to be withdrawn, "the people would be at the mercy of wicked rulers or the clamour of an excited people", noting in addition that "wicked men, ambitious of power, with hatred of liberty and contempt of law, may fill the place once occupied by Washington and Lincoln".

 

The duty of a constitutional court in the US and in Thailand is to stand between the people and the selfish abuse of power by those in government.

 

Stephen B Young is former dean and professor of law, Hamline University School of Law, and former assistant dean, the Harvard Law School.


 

https://www.facebook...151707718100957

 

 

ขอบคุณครับ ที่เอาฉบับเต็มมาให้เพื่อนสมาชิกได้อ่าน  ..อิ...อิ....ของผมมันฉบับคนขี้เกียจ :P 



#12 galaxy2

galaxy2

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,063 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:12

ชิ...พวกอำมาตย์หรือป่าว



#13 annykun

annykun

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,567 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 10:46

อ่านแล้ว  น้ำตาจิไหล  มีนักวิชาการต่างประเทศที่เข้าใจ  และกล้าออกมาแสดงออก


คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม  คือ   ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง

คุณธรรมที่พร้ำสอน  ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา   ส่วน  ประชาธิปไตยน่ะรึ  เอาเข้าจริงๆ  สำคัญอันใด?? 

 


#14 ปุถุชน

ปุถุชน

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 27,531 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 12:48

ในปีค.ศ. 1866 ในคดี ExParte Miligan ศาลฎีกาสหรัฐตัดสินว่าอำนาจของประธานาธิบดีลินคอล์น

ไม่ครอบคลุมถึงการจัดตั้งศาลทหารบางประเภทเพื่อจับกุมและดำเนินคดีประชาชนที่สนับสนุนรัฐฝ่ายใต้

ในสงครามกลางเมือง

 

แม้ในยามสงครามศาลฎีกาได้จำกัดขอบเขตอำนาจของฝ่ายบริหารโดยกล่าวว่าประธานาธิบดีไม่ได้รับ

มอบหมายอำนาจให้ทำตามที่ปรารถนาเพราะ “เขาถูกควบคุมโดยกฎหมาย”

 

ศาลให้ความเห็นว่าหากปราศจากการคุ้มครองโดยกฎหมาย “ชีวิตประชาชนจะตกอยู่ในมือของผู้ปกครอง

ที่ชั่วร้าย หรือไม่ก็เสียงโห่ร้องของฝูงชนที่ตื่นตระหนก”ทั้งยังกล่าวว่า “คนชั่วร้ายกระหายอำนาจ

เกลียดชังเสรีภาพและรังเกียจกฎหมาย อาจจะเข้ายึดครองที่ที่เคยเป็นของรัฐบาลวอชิงตันและลินคอล์น”

 

หน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาและประเทศไทย คือ การอยู่ตรงกลางระหว่าง

ประชาชนกับการใช้อำนาจโดยมิชอบอย่างเห็นแก่ตัวของคนในรัฐบาล

 


บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์โดย สตีเฟน บี. ยัง อดีตคณบดีและอาจารย์วิชากฎหมาย

คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยแฮมไลน์ และอดีตผู้ช่วยคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

25 พฤศจิกายน2556

 

 

ถ้าทักษิณเป็น 'สัปบุรุษ' จะเข้าใจความคิดของศาลยุติธรรมในสหรัฐอเมริกาและไทย.....!

แต่สมศักดิ์ นิคม เฉลิม ปลอดประสพ ประชา จารุพงศ์ ณัฐวุฒิ จตุพร เหวง ขวัญชัย เจ้าของร่างกฏหมาย ประธานกรรมาธิการฯ ไม่ได้เป็น'วิญญูชน' เป็นแค่'ขี้ข้าฯ' เท่านั้น......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า


เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...


#15 พระฤๅษี

พระฤๅษี

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,127 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 12:57

..... ผมไม่ได้เรียน กฏหมาย.. ไม่ได้จบกฏหมาย ... แต่ก็รู้

 

แบบ.ปู ๆ หอย ๆ .. พอจะสังเกตุได้ว่า  กฏหมาย เขาเรียน

 

มาเล่มเดียวกัน. แต่ก็มี ( ทนายโจทน์..ทนายจำเลย ) ผู้ตัด-

 

สินก็จะ ตัดสินไปตาม พยาน หลักฐาน..ทีนี้ มีปัญหาอยู่ว่า...

 

... ฝ่ายผิด..มีพยาน หลักฐาน.. มากกว่า  แน่นกว่า..ผู้ตัดสิน

 

จะว่าไงล่ะ..???  ทีนี้... ( ส่งคนบริสุทธิ์ ) เข้าคุก......?????



#16 paknam

paknam

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 799 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 13:45

ไรกัน กรุณาอย่าเขียนเกิน 3 บรรทัด

 

ขี้เกียจอ่าน :D



#17 lionidas

lionidas

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,612 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 13:52

มันเป็นคลิปตัดต่อ ชัดๆ....

แต่ว่าเรื่อง กม. นี่ ต้องให้ พี่ด่อน ไอเด้า มาวินิจฉัยครับ

ใครสะดวก เคาะกะลาหน่อยครับ... -_-


พี่เหนาะ คนตาบอดมันกลัวเสือเหรอ ถ้าเราไม่พูดแบบนี้เราจะได้เสียงเหรอ ...

#18 RiDKuN_user

RiDKuN_user

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,167 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:15

เสื้อแดงอย่างผม ไม่สนใจพวกลิ่วล้อสถาบันอังกฤษอย่างฮาซาร์ดหรอกครับ
ประเทศอำมาตย์ชัดๆ
" ชีวิตผมไม่เคยกลัวอะไรทั้งนั้น ผมกลัวอย่างเดียว...กลัวจะถูกมองว่า 'ขายชาติ' " - The Last Tycoon

~ ทักษิณตาย เสรีไทยไชโย ~

#19 kokkai

kokkai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,237 posts

ตอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 19:08

เสื้อแดงอย่างผม ไม่สนใจพวกลิ่วล้อสถาบันอังกฤษอย่างฮาซาร์ดหรอกครับ
ประเทศอำมาตย์ชัดๆ

 

ผมเห็นด้วยครับ พวกจบจากอังกฤษ ไม่ว่าฮาร์วาร์ด หรืออ๊อกซ์ฟอร์ดแบบมาร์ค

 

แค่ดร.เหลิม ร่ายกฎหมายให้ฟังก็ "เงิบ" กันหมดแล้วละครับ

 

1-อภิสิทธิ์.jpg






ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน