ซักพัก กรูจะสติแตกตามไปด้วยแล้วนะ
ขอโทษที พอดีไม่ใช่สลิ่มฮาร์ดคอร์
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 14:49
ซักพัก กรูจะสติแตกตามไปด้วยแล้วนะ
ขอโทษที พอดีไม่ใช่สลิ่มฮาร์ดคอร์
คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม คือ ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง
คุณธรรมที่พร้ำสอน ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา ส่วน ประชาธิปไตยน่ะรึ เอาเข้าจริงๆ สำคัญอันใด??
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 15:00
เมื่อกี้ คุยกับ คนรู้จัก เค้าบอกว่า
ควรจะเริ่ม จากการ นำความคิด ของนักวิชาการ
มาเป็นจุดตั้งต้น นะครับ
โดยอาจให้ อาจารย์ ผู้บริหารจากภาคเอกชน
นักวิชาการจาก แขนงต่าง ๆ
มาร่วมกัน เปิดแนวทาง กว้าง ๆ ของสภาประชาชนก่อน
จากนั้น ต้องพึ่งนักกฏหมาย ที่แม่น รธน
เพื่อมองให้แตก ว่า ขัด รธน ข้อใดบ้าง
เพราะจำเป็นเหลือเกิน ที่สภาประชาชน
ต้องมี " อำนาจ " เพียงพอ ที่จะออกกฏหมาย
กำหนดแนวทาง ขับเคลื่อน ประเทศ
เพื่อมุ่งหวัง ประโยชน์ ที่คนจน ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ จริง ๆ
การกำหนด สวัสดิการ พื้นฐาน
การกระจายอำนาจ ไปสู่ท้องถิ่น
การ " ริดรอน " อำนาจรัฐบาล กลางลง
การจำกัด สิทธิขาดของรัฐบาล ต่อ ตำรวจ
เหล่านี้ จำเป็นต้องให้ อำนาจ สภาประชาชน อย่างจริงจัง
อาจต้อง แก้ รธน หลายข้อ เพื่อให้เป็นจริงได้
แต่ ทั้งนี้ ทั้งนั้น จะเกิดขึ้นไม่ได้
ถ้าไม่ได้ทำสัตยาบัน หรือ ข้อตกลง ใด ๆ
กับทางรัฐบาล ปูนา และ สส เพื่อไทย ก่อน
มิเช่นนั้น ทั้งการแก้ รธน และ การออก พรบ
เพื่อตั้ง สภาประชาชน จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย
เพราะ เพื่อไทย เป็นเสียงส่วนใหญ่ ใน สภา
สุเทพ ต้อง " บีบ " ให้ ปูนา รับปาก
ที่จะลง สัตยาบัน หรือ ทำข้อตกลง
เป็นลายลักษณ์ อักษร
ให้การก่อเกิด สภาประชาชน เกิดขึ้นจริง
โดย " อย่าให้มี " นักการเมือง เข้าร่วม " เด็ดขาด "
จำเป็นอย่างยิ่ง เพราะนักการเมือง จะมี อิทธิพล
ต่อการตัดสินใจ ในสภา มากเกินไป
เพราะเขาเหล่านั้น เป็น " จุดเกรงใจ "
อันจะก่อให้ สภาประชาชน ไม่ใช่
สภาประชาชน อย่างแท้จริง
ผมหวังเหลือเกิน ให้ การเปลี่ยนแปลงนี้
เป็นไปอย่างถาวร และ เกิดผลแตกต่าง
ที่สามารถ อธิบายได้ว่า
ที่ลงทุน ทำไปทั้งหมด นั้น ก่อประโยชน์
ต่อคนจน คนส่วนใหญ่ จริง ๆ
ไม่ใช่ แค่ละคร ฉากหนึ่ง
Edited by ทรงธรรม, 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 15:00.
ขอให้พวกเรา ชาวหลากสี และพันธมิตร จงมีชีวิตรอด จากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ฝีมือปูนา ไปตลอดรอดฝั่งด้วยครับ
PEMDAS ย่อมาจาก ลำดับการคำนวณ Parentheses , Exponentials , Multiply , Divide , Add , Subtract
FWGHSO ย่อมาจาก ลำดับการประเมินผลของ query FROM, WHERE, GROUP BY, HAVING, SELECT, ORDER BY
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 15:18
คีย์คำว่า "สภาสนามม้า" สิครับ
เคยทำมาแล้วยุคจอมพลถนอมตกจากอำนาจครับ ไม่ใช่เรื่องใหม่
สภาสนามม้า
สภาสนามม้า หรือ "สมัชชาแห่งชาติ" คือ กลุ่มตัวแทนประชาชนจากหลากหลายสาขาวิชาชีพ ทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญปี 2517 ซึ่งเป็นผลพวงจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ที่กลุ่มนักศึกษาออกมาประท้วงรัฐบาลเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จนจอมพลถนอม กิตติขจร ต้องลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำริให้ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยมุ่งเน้นให้มีการร่างรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะ
ที่มาของ "สมัชชาแห่งชาติ" ก็อุบัติขึ้น ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 90 ตอนที่ 161 ในวันที่ 10 ธันวาคม 2516 ถึงแต่งตั้งสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ
มีนายสัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้สนองพระบรมราชโองการ
และ ในการประชุมสมัชชาแห่งชาตินัดแรก วันที่ 18 ธันวาคม 2516 โดยมี พล.ต.พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ เป็นประธานที่ประชุม
แต่ เนื่องจากมีจำนวนผู้ได้รับการแต่งตั้งถึง 2,347 คน ทำให้สถานที่ไม่เพียงพอที่จะรองรับได้จำนวนมาก จึงต้องใช้สนามราชตฤณมัย แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือ "สนามม้านางเลิ้ง" เป็นสถานที่จัดการประชุม
จึงเป็นที่มาของคำว่า "สภาสนามม้า"
ที่ ประชุมได้เลือกตัวแทนให้เหลือ 299 คน ซึ่งมาจากตัวแทนหลากหลายอาชีพ ทั้งนักการเมือง ข้าราชการ แพทย์ นักหนังสือพิมพ์ นักการธนาคาร แม้กระทั่งนายกสมาคมสามล้อเครื่อง ร่วมเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อร่างรัฐธรรมนูญปี 2517
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 15:20
คงงั้นมั้ง
จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 15:23
แตกหรือยัง
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 15:58
เมื่อกี้ คุยกับ คนรู้จัก เค้าบอกว่า
ควรจะเริ่ม จากการ นำความคิด ของนักวิชาการ
มาเป็นจุดตั้งต้น นะครับ
โดยอาจให้ อาจารย์ ผู้บริหารจากภาคเอกชน
นักวิชาการจาก แขนงต่าง ๆ
มาร่วมกัน เปิดแนวทาง กว้าง ๆ ของสภาประชาชนก่อน
จากนั้น ต้องพึ่งนักกฏหมาย ที่แม่น รธน
เพื่อมองให้แตก ว่า ขัด รธน ข้อใดบ้าง
เพราะจำเป็นเหลือเกิน ที่สภาประชาชน
ต้องมี " อำนาจ " เพียงพอ ที่จะออกกฏหมาย
กำหนดแนวทาง ขับเคลื่อน ประเทศ
เพื่อมุ่งหวัง ประโยชน์ ที่คนจน ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ จริง ๆ
การกำหนด สวัสดิการ พื้นฐาน
การกระจายอำนาจ ไปสู่ท้องถิ่น
การ " ริดรอน " อำนาจรัฐบาล กลางลง
การจำกัด สิทธิขาดของรัฐบาล ต่อ ตำรวจ
เหล่านี้ จำเป็นต้องให้ อำนาจ สภาประชาชน อย่างจริงจัง
อาจต้อง แก้ รธน หลายข้อ เพื่อให้เป็นจริงได้
แต่ ทั้งนี้ ทั้งนั้น จะเกิดขึ้นไม่ได้
ถ้าไม่ได้ทำสัตยาบัน หรือ ข้อตกลง ใด ๆ
กับทางรัฐบาล ปูนา และ สส เพื่อไทย ก่อน
มิเช่นนั้น ทั้งการแก้ รธน และ การออก พรบ
เพื่อตั้ง สภาประชาชน จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย
เพราะ เพื่อไทย เป็นเสียงส่วนใหญ่ ใน สภา
สุเทพ ต้อง " บีบ " ให้ ปูนา รับปาก
ที่จะลง สัตยาบัน หรือ ทำข้อตกลง
เป็นลายลักษณ์ อักษร
ให้การก่อเกิด สภาประชาชน เกิดขึ้นจริง
โดย " อย่าให้มี " นักการเมือง เข้าร่วม " เด็ดขาด "
จำเป็นอย่างยิ่ง เพราะนักการเมือง จะมี อิทธิพล
ต่อการตัดสินใจ ในสภา มากเกินไป
เพราะเขาเหล่านั้น เป็น " จุดเกรงใจ "
อันจะก่อให้ สภาประชาชน ไม่ใช่
สภาประชาชน อย่างแท้จริง
ผมหวังเหลือเกิน ให้ การเปลี่ยนแปลงนี้
เป็นไปอย่างถาวร และ เกิดผลแตกต่าง
ที่สามารถ อธิบายได้ว่า
ที่ลงทุน ทำไปทั้งหมด นั้น ก่อประโยชน์
ต่อคนจน คนส่วนใหญ่ จริง ๆ
ไม่ใช่ แค่ละคร ฉากหนึ่ง
สภาประชาชนถึงขั้นออกกฎหมายได้เลยหรอครับ? แบบนี้มันจะซ้ำซ้อนกับสภานิติบัญญัติรึเปล่ว?
แล้วสภาผู้แทนราษฎรปัจจุบัน ทำไง? แบบนี้มันเหมือนอะไร ที่เหมือนไม่ใช่ประชาธิปไตยยังไงชอบกล
ใจจริง อยากให้สภาประชาชนเป็นเหมือนองค์กรณ์อะไรซักอย่างที มีพลัง กดดันสภานิติบัญญัติมากกว่า
โดย เป็นพลังจากเสียงประชาชนอย่างแท้จริง จนนักการเมืองหาเรื่องมาบิดพริ้ว ไม่ได้มากกว่า
เอ่อ คือไม่ใช่อะไรหรอก ประชาชนจำนวนมาก รอฟังอยู่ เพราะหากเขาไม่รู้แน่ว่า มันคืออะไร
เขาจะสนับสนุนม๊อบ ได้อย่างไร แถมเสื้อแดงมันยุตลอดเวลาด้วย แบบนี้คนเขาก็ต้อง ต่อต้านเอาไว้ก่อน
จนกว่าจะมีความชัดเจน นั่นล่ะ จึงจะตัดสินใจได้ว่า จะสนับสนุนหรือไม่ หรือจะต่อต้าน หรือจะไทยเฉยต่อไป
หรือ มันเป็นแผนลุงกำนัน? กดดัน รัฐบาลและฝ่ายตรงข้ามให้ถึงที่สุดก่อน แล้วค่อยเปิด?
หรือ ยังไม่ได้คิดอะไรเลย ล้มรัฐบาลก่อน ค่อยว่ากัน
แต่แบบหลังเนี่ย อันตรายนะ
คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม คือ ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง
คุณธรรมที่พร้ำสอน ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา ส่วน ประชาธิปไตยน่ะรึ เอาเข้าจริงๆ สำคัญอันใด??
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 16:01
แตกหรือยัง
ไม่เคลียร์เรื่องนี้ ผมนอนไม่หลับ จริงๆนะ
คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม คือ ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง
คุณธรรมที่พร้ำสอน ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา ส่วน ประชาธิปไตยน่ะรึ เอาเข้าจริงๆ สำคัญอันใด??
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 16:20
สมัชชาแห่งชาติ ไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่อะไร รธน.ปี 50 ก็ได้มาจากสมัชชาแห่งชาติเช่นเดียวกัน
ก่อนจะมีสมัชชาแห่งชาติได้ สภาผู้แทนราษฏร และรัฐสภาปัจจุบัน ก็ต้องเป็นโมฆะไป
และประชาธิปไตย ก็ไม่ได้มีรูปแบบตายตัวว่าต้องมีรูปแบบว่าต้องมาจากการที่ ปปช.
ไปใช้สิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งเสมอไป การที่ปชช. ออกไปขับไล่ทรราชย์ครองเมือง
อยู่ในขณะนี้ ก็คือประชาธิปไตย
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 19:56
น่าคิดเหมือนกัน ว่า สภาประชาชน จะเป็นสภานิติบัญญัติใหม่ ตั้งขึ้นเฉพาะกาลแทนสภาผู้แทนราษฎรเดิม เพื่อแก้ไขปัญหาการเมือง
หรือ องค์กรตรวจสอบสภาผู้แทนราษฎร และรัฐบาล ???
ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด
เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 19:58
เป็นแค่หลักการคร่าวๆ ยังไม่ได้คุยในรายละเอียดครับ
เพราะตอนนี้มุ่งไล่ปูก่อนครับ
ตอบ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 20:31
ก็ประกาศเป็นการปฏิวัติของประชาชน ยกเลิก รธน (แบบที่ทหารทำ)
ตัวสภา ปชช
เลือก คณะ รมต
ตั้งคณะปฏิรูป ร่าง รธน ใหม่..(จะปฏิรูปการเมือง ยังไงก็ต้องแก้ รธน เยอะอยู่แล้ว สู้ยกเลิกเขียนใหม่เลยดีกว่า)
ตอบ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 19:21
คีย์คำว่า "สภาสนามม้า" สิครับ
เคยทำมาแล้วยุคจอมพลถนอมตกจากอำนาจครับ ไม่ใช่เรื่องใหม่
สภาสนามม้า
สภาสนามม้า หรือ "สมัชชาแห่งชาติ" คือ กลุ่มตัวแทนประชาชนจากหลากหลายสาขาวิชาชีพ ทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญปี 2517 ซึ่งเป็นผลพวงจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ที่กลุ่มนักศึกษาออกมาประท้วงรัฐบาลเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จนจอมพลถนอม กิตติขจร ต้องลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำริให้ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยมุ่งเน้นให้มีการร่างรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะ
ที่มาของ "สมัชชาแห่งชาติ" ก็อุบัติขึ้น ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 90 ตอนที่ 161 ในวันที่ 10 ธันวาคม 2516 ถึงแต่งตั้งสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ
มีนายสัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้สนองพระบรมราชโองการ
และ ในการประชุมสมัชชาแห่งชาตินัดแรก วันที่ 18 ธันวาคม 2516 โดยมี พล.ต.พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ เป็นประธานที่ประชุม
แต่ เนื่องจากมีจำนวนผู้ได้รับการแต่งตั้งถึง 2,347 คน ทำให้สถานที่ไม่เพียงพอที่จะรองรับได้จำนวนมาก จึงต้องใช้สนามราชตฤณมัย แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือ "สนามม้านางเลิ้ง" เป็นสถานที่จัดการประชุม
จึงเป็นที่มาของคำว่า "สภาสนามม้า"
ที่ ประชุมได้เลือกตัวแทนให้เหลือ 299 คน ซึ่งมาจากตัวแทนหลากหลายอาชีพ ทั้งนักการเมือง ข้าราชการ แพทย์ นักหนังสือพิมพ์ นักการธนาคาร แม้กระทั่งนายกสมาคมสามล้อเครื่อง ร่วมเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อร่างรัฐธรรมนูญปี 2517
แต่เราออกมาพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ถ้าต้องร่างขึ้นมาใหม่มันไม่ขัดกันหรือคะ ต้องฉีกฉบับเดิมด้วยรึเปล่า ?
ตอบ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 19:28
ปัญหาจริงๆน่าจะอยู่ที่รัฐบาลยังไม่รับข้อเสนอใดๆเลยครับ และเหมือนผลักภาระมาให้ปชช.โดยลอยตัวอยู่เหนือปัญหา
ผมคิดว่ารัฐบาล โดยนายกฯต้องออกมายอมรับก่อนว่า จะยอมยุบหรือลาออก หรืออะไรก็ตามตามแต่ผู้ชุมนุม ต้องการ
แล้วค่อยมาคุยว่าจะทำอย่างไร
" จุดเริ่มของการรัฐประหาร 22 พ.ค. 2557 หลังจากรัฐบาลเพื่อไทยได้บริหารประเทศล้มเหลวมาตลอด 2 ปีเศษ มีการทุจริตคอรัปชั่นมากมาย มีการนำพรบ.นิรโทษกรรมมาอนุมัติผ่านสภาฯเพื่อช่วยเหลือ น.ช. ทักษิณ ทำให้มวลมหาประชาชนลุกขึ้นประท้วงต่อต้าน แม้จนกระทั่ง ศาลรัฐธรรมนูญและปปช. ได้ตัดสินและชี้มูลความผิดจนต้องพ้นออกจากตำแหน่งแล้วก็ตาม ทำให้ประเทศชาติต้องหยุดนิ่ง สุดท้ายเมื่อ พลเอก ประยุทธ ผบ.ทบ.ได้เรียกทุกฝ่ายเข้ามาคุยเพื่อหาทางออกแล้ว โดยขอให้ ครม.ที่ยังคงเหลือลาออกเพื่อตั้งนายกฯเพื่อการปฎิรูปประเทศ แต่ไร้ซึ่งการตอบสนองและการเสียสละ ทำให้พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา จำเป็นต้องประกาศยึดอำนาจ "
ตอบ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 19:57
สภาประชาชน มันเป็นไปไม่ได้แน่นอน เพ้อฝันสิ้นดี
เพราะสภาชุดปัจจุบันมันยังมีอำนาจอยู่
เอากฏหมายข้อไหนมารองรับในการตั้งสภาประชาชน
เป็นความคิดของพวกเพ้อฝัน เสนอแนวคิดห่ าไรไม่ดูความเป็นไปได้เลย
ยุบสภาแล้วเลือกตั้งใหม่เท่านั้นนี่คือทางออกที่ดีที่สุด
ตอบ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 10:04
ช่วงที่ พรรคเพื่อไทยประกาศไม่รับอำนาจศาล รธน
ม็อบมีความชอบธรรมในการขับไล่รัฐบาล
ตอนนั้นกระแส ให้นายกลาออก ยุบสภาสูงมาก
แต่ม็อบไม่เอา ก้าวไกลกว่านั้นคือการล้มระบอบทักษิณ
ซึ่งตอนนั้น ผู้ประท้วงทุกคนก็คิดว่า ทำยังไงถึงจะล้อมระบอบทักษิณลงได้
การยึด สถานที่ราชการ แค่นั้น คงทำไม่ได้
รัฐบาลยังด้านหน้าอยู่
ประชาชนมองว่า จะล้มยังไง แค่รัฐบาลลาออก ยุบสภา ก็น่าจะพอ
พอกำนันบอกเรื่องการจัดตั้งสภาประชาชน
รัฐบาลเอง ก็ปฏิเสธว่า ทำไม่ได้ตาม รธน
กำนันก็หยอดเนื้อหาออกมาวันละนิด ให้นักคิด นักวิชาการได้คิดตามและต่อยอดว่าทำได้หรือไม่ได้
แน่นอนว่ารัฐบาลต้องพยายามต่อต้านปฏิเสธแข็งขันว่า ขัด รธน
กำนันก็หยอดอีก
วันนี้ ทุกคนจึงพูดถึง สภาประชาชน การปฏิรูปประเทศ
ทุกคนก้าวเลยจุดที่นายกจะลาออก หรือยุบสภา เพื่อเลือกตั้งใหม่ แล้ววนลูปเดิม
คราวนี้ รัฐบาลต้องพยายามดึงเกม โดยการขอจัดทำเวทีปฏิรูปขึ้นมาใหม่ หวังผ่อนหนักให้เป็นเบา โดยให้นักอุตสาหกรรมเป็นคนกลาง
เสียงของสังคมมุ่งไปที่การปฏิรูปประเทศกันหมด ทั้งนักวิชาการ กลุ่มนักธุรกิจ
การมองไปที่ ยุบสภา ลาออกแล้วเลือกตั้งใหม่เข้าวงจรเดิมนั้น ถูกทิ้งห่างมาเรื่อยๆ
พวกฮาร์ดคอร์อาจไม่พอใจที่ทำไม ไม่ทำอะไรที่รวดเร็ว
แต่ความคิดเรื่องสภาประชาชน นั้นต้องใช้เวลาให้สังคมรับรู้ คิดตาม
ซึ่งต้องใช้เวลาพอสมควร
การโยนข้อมูลลงไปให้เห็นทั้งหมด ในคราวเดียว
impact จะน้อยลง ผุ้คนจะสับสน งัดจุดโน้นประเด็นนี้มาโต้แย้งจนมั่ว
การโยนคำถามมาทีละข้อๆ จะทำให้มีกระบวนการคิด มีการโต้แย้ง มีการบอกแนวทางที่ทำได้
แก้ไปทีละข้อ ทีละเปลาะ จะดีกว่า
อาจเสียเวลาไปบ้าง ขอให้อดทนกันไว้
ถ้ามองสถานการณ์ดีๆ จะเห็นว่าทีมยุทธศาสตร์ของกำนัน วางแผนมาดีมาก
แน่นอนว่า ใครๆก็อยากรู้ตอนจบของละครซีรีส์กันทั้งนั้น
แต่ถ้าบอกตอนจบเลยก็ไม่สนุก
สู้ให้ลุ้นไปทีละตอน หลอมรวมความคิดของคนในสังคมไปเรื่อยๆ
จนมีอารมณ์ร่วมถึงจุดๆหนึ่ง ซึ่งถึงพีคของละคร
แล้วค่อยสรุปจบ ละครนี้ก็จะเต็มอิ่มในอารมณ์ของคนดูพอดี
อย่าลืมว่า ปปช จะต้อง"ชี้มูลความผิด" ในหลายๆเรื่อง ทั้ง ข้าว จีทูจี เรื่องแก้ รธน ที่มาของสว ซึ่งศาล รธน วินิจฉัยไปแล้ว
การยื่นถอดถอน สส ที่โหวตร่าง พรบ นิรโทษกรรม น่าจะโดนดอกนี้ด้วย
รัฐบาลทำงานตามนโยบายไม่ได้เพราสำนักงบประมาณถูกยึด
หลายๆเรื่องของสังคมจะประดังกันเข้ากดดัน ทำให้การปฏิรูปจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
ถึงตอนนั้น ระบอบทักษิณ ก็จะไม่มีที่ยืนด้วยการปฏิรูปประเทศครั้งใหญ่
ตอนนี้ขอให้มวลชนยืนหยัดและเชื่อมั่นกับแกนนำ
ประคองสถานการณ์ไปเรื่อยๆ
ตอบ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 10:38
ช่วงที่ พรรคเพื่อไทยประกาศไม่รับอำนาจศาล รธน
ม็อบมีความชอบธรรมในการขับไล่รัฐบาล
ตอนนั้นกระแส ให้นายกลาออก ยุบสภาสูงมาก
แต่ม็อบไม่เอา ก้าวไกลกว่านั้นคือการล้มระบอบทักษิณ
ซึ่งตอนนั้น ผู้ประท้วงทุกคนก็คิดว่า ทำยังไงถึงจะล้อมระบอบทักษิณลงได้
การยึด สถานที่ราชการ แค่นั้น คงทำไม่ได้
รัฐบาลยังด้านหน้าอยู่
ประชาชนมองว่า จะล้มยังไง แค่รัฐบาลลาออก ยุบสภา ก็น่าจะพอ
พอกำนันบอกเรื่องการจัดตั้งสภาประชาชน
รัฐบาลเอง ก็ปฏิเสธว่า ทำไม่ได้ตาม รธน
กำนันก็หยอดเนื้อหาออกมาวันละนิด ให้นักคิด นักวิชาการได้คิดตามและต่อยอดว่าทำได้หรือไม่ได้
แน่นอนว่ารัฐบาลต้องพยายามต่อต้านปฏิเสธแข็งขันว่า ขัด รธน
กำนันก็หยอดอีก
วันนี้ ทุกคนจึงพูดถึง สภาประชาชน การปฏิรูปประเทศ
ทุกคนก้าวเลยจุดที่นายกจะลาออก หรือยุบสภา เพื่อเลือกตั้งใหม่ แล้ววนลูปเดิม
คราวนี้ รัฐบาลต้องพยายามดึงเกม โดยการขอจัดทำเวทีปฏิรูปขึ้นมาใหม่ หวังผ่อนหนักให้เป็นเบา โดยให้นักอุตสาหกรรมเป็นคนกลาง
เสียงของสังคมมุ่งไปที่การปฏิรูปประเทศกันหมด ทั้งนักวิชาการ กลุ่มนักธุรกิจ
การมองไปที่ ยุบสภา ลาออกแล้วเลือกตั้งใหม่เข้าวงจรเดิมนั้น ถูกทิ้งห่างมาเรื่อยๆ
พวกฮาร์ดคอร์อาจไม่พอใจที่ทำไม ไม่ทำอะไรที่รวดเร็ว
แต่ความคิดเรื่องสภาประชาชน นั้นต้องใช้เวลาให้สังคมรับรู้ คิดตาม
ซึ่งต้องใช้เวลาพอสมควร
การโยนข้อมูลลงไปให้เห็นทั้งหมด ในคราวเดียว
impact จะน้อยลง ผุ้คนจะสับสน งัดจุดโน้นประเด็นนี้มาโต้แย้งจนมั่ว
การโยนคำถามมาทีละข้อๆ จะทำให้มีกระบวนการคิด มีการโต้แย้ง มีการบอกแนวทางที่ทำได้
แก้ไปทีละข้อ ทีละเปลาะ จะดีกว่า
อาจเสียเวลาไปบ้าง ขอให้อดทนกันไว้
ถ้ามองสถานการณ์ดีๆ จะเห็นว่าทีมยุทธศาสตร์ของกำนัน วางแผนมาดีมาก
แน่นอนว่า ใครๆก็อยากรู้ตอนจบของละครซีรีส์กันทั้งนั้น
แต่ถ้าบอกตอนจบเลยก็ไม่สนุก
สู้ให้ลุ้นไปทีละตอน หลอมรวมความคิดของคนในสังคมไปเรื่อยๆ
จนมีอารมณ์ร่วมถึงจุดๆหนึ่ง ซึ่งถึงพีคของละคร
แล้วค่อยสรุปจบ ละครนี้ก็จะเต็มอิ่มในอารมณ์ของคนดูพอดี
อย่าลืมว่า ปปช จะต้อง"ชี้มูลความผิด" ในหลายๆเรื่อง ทั้ง ข้าว จีทูจี เรื่องแก้ รธน ที่มาของสว ซึ่งศาล รธน วินิจฉัยไปแล้ว
การยื่นถอดถอน สส ที่โหวตร่าง พรบ นิรโทษกรรม น่าจะโดนดอกนี้ด้วย
รัฐบาลทำงานตามนโยบายไม่ได้เพราสำนักงบประมาณถูกยึด
หลายๆเรื่องของสังคมจะประดังกันเข้ากดดัน ทำให้การปฏิรูปจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
ถึงตอนนั้น ระบอบทักษิณ ก็จะไม่มีที่ยืนด้วยการปฏิรูปประเทศครั้งใหญ่
ตอนนี้ขอให้มวลชนยืนหยัดและเชื่อมั่นกับแกนนำ
ประคองสถานการณ์ไปเรื่อยๆ
เดินทีละก้าว กินข้าวทีละคำ
ข้าจักล้มล้าง ระบอบทักษิณ ให้หมดสิ้นไปจากแผ่นดินไทย
ตอบ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 10:57
ป้าปูแตกแตกตลอดแหละครับ แต่ไม่ใช่สตินะ
ตอบ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 21:04
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน