Jump to content


Photo
- - - - -

แบบนี้ ถือว่า win-win ไหมคะ


  • Please log in to reply
31 replies to this topic

#1 แดงประจำเดือน

แดงประจำเดือน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,021 posts

Posted 6 January 2014 - 20:19

ทั้งฝ่ายเอาเลือกตั้งกับฝ่ายไม่เอาเลือกตั้ง
 
 
อาจารย์ชัยวัฒน์ สถาอานันท์เสนอวิธีลดเงื่อนไขความรุนแรงเฉพาะหน้า โดยแก้ไขเพิ่มช่องบัตรเลือกตั้งเพื่อเชิญชวน "มวลมหาประชาชน" มาใช้สิทธิแสดงออกทางการเมืองในคูหาเลือกตั้ง
%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%

พาราความขัดแย้ง: ข้อเสนอทางออกสำหรับสาธารณชนที่เอาและไม่เอาการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557

โดย ชัยวัฒน์ สถาอานันท์
ประธานคณะทำงานยุทธศาสตร์สันติวิธี สกว.

คำว่า “พารา”แปลว่าเมือง บ้านเมืองของเราตกอยู่ในเงาของความขัดแย้งทางการเมืองครั้งใหญ่ว่าด้วย ปัญหาการครองอำนาจรัฐและฐานแห่งความชอบธรรมในการครองอำนาจนั้น ความขัดแย้งครั้งนี้ทำให้บ้านเมืองแตกแยก ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนร้าวรานอย่างที่ไม่เคยพบเห็นกันมาก่อน

จะคิดถึงความขัดแย้งครั้งนี้โดยไม่คำนึงถึงเบื้องหน้าเบื้องหลังของคู่ขัดแย้ง ไม่ว่าจะเป็นกปปส.กับรัฐบาลและกลุ่มต่างๆก็คงไม่ได้ ขณะเดียวกันก็คงต้องเข้าใจด้วยว่าความขัดแย้งครั้งนี้เกี่ยวพันกับเงื่อนไขในเชิงโครงสร้างอย่างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการเมืองกับองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ระหว่างระบบราชการกับระบอบการเมือง และอิทธิพลของทุนที่มีต่อทิศทางการเมืองในประเทศเป็นต้น

แต่ประเด็นขัดแย้งที่ชัดเจนที่สุดขณะนี้ น่าจะเป็นเรื่องการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 รัฐบาล พรรคเพื่อไทย และพรรคการเมืองต่างๆ นปช. และ พันธมิตรสายวิชาการเช่น สปป. เห็นว่า การเลื่อนหรือไม่มีเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 เป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ ขณะที่ฝ่ายกปปส. พรรคประชาธิปัตย์ และ พันธมิตรฝ่ายต่างๆไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้ โดยเฉพาะ กปปส.เห็นว่าต้องทำทุกอย่างเพื่อไม่ให้มีการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557

จากมุมมองของการแปลงเปลี่ยนขับเคลื่อนความขัดแย้ง (conflict transformation) ควรต้องเริ่มต้นจากการมองประเด็นขัดแย้งจากมุมมองของคู่ขัดแย้ง คือต้องพยายามเข้าใจว่า ในมุมมองของคู่ขัดแย้งนั้นเองสิ่งที่พวกเขาปรารถนาชอบธรรมด้วยกันทั้งคู่ ดังนั้นทางออกที่พึงเสนอต้องเป็นทางออกที่ทำให้ ทั้งฝ่ายที่เอาและไม่เอาวันเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 เห็นพ้องต้องด้วย และในยามนี้ก็ควรต้องเป็นทางออกที่เป็นรูปธรรมกระทำได้จริงในเวลาไม่ถึงเดือนที่เหลืออยู่

ทางออกที่เป็นรูปธรรม กระทำได้ภายในเวลาอันสั้น ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญและสะท้อนความปรารถนาของคู่ขัดแย้งที่ขัดกันในเรื่องนี้ คือ ให้แก้บัตรเลือกตั้งที่จะใช้ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ศกนี้ให้มีอีกช่องหนึ่งสำหรับผู้มาใช้สิทธิทางการเมืองของตนได้เลือกกาว่า “ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557”

การแก้ไขบัตรเลือกตั้งเช่นนี้ตอบสนองความต้องการของทั้งฝ่ายที่ต้องการให้มีการเลือกตั้งและไม่ต้องการเลือกตั้ง เพราะฝ่ายที่ต้องการเลือกตั้งก็ได้แสดงสิทธิของตนปกป้องประชาธิปไตยจากการเลือกตั้ง ด้วยการเลือกพรรคการเมืองที่ตนประสงค์ ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งก็ได้ใช้สิทธิแสดงเสียงของตนว่าไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้
ในแง่นี้การไปทำบัตรเสียหรือไปกาช่องไม่เลือกพรรคใดหรือกระทั่งไม่ไปใช้สิทธิในวันนั้น แตกต่างจากการกาช่อง “ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557” ตรงที่ การที่ผู้คนที่ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งเดินออกจากบ้านเรือนของตน ไปยังคูหาเลือกตั้งเพื่อกาช่องดังกล่าว เป็นการแสดงเจตนารมณ์ของฝ่ายคัดค้านการเลือกตั้งอย่างตรงไปตรงมาที่สุด และยังนับได้ด้วยว่า ที่สุดแล้วมีผู้ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557เป็นจำนวนเท่าใดกันแน่

ผลของการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 จะเป็นอย่างไร? แม้พรรคเพื่อไทยจะชนะการเลือกตั้ง แต่ถ้านับจำนวนผู้กาช่องไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 แล้วปรากฏว่า มากมายล้นหลามเป็นมวลมหาประชาชนจริง ความชอบธรรมของพรรคที่ได้รับเลือกตั้งก็ย่อมสั่นคลอน ยิ่งถ้าจำนวนดังกล่าวมากกว่าจำนวนคนที่เลือกพรรครัฐบาล ก็หมายความว่า รัฐบาลที่ปรากฏขึ้นจะไม่แข็งแรง ไม่อาจใช้อำนาจบาตรใหญ่ใดๆได้ จึงน่าจะหมายความต่อไปด้วยว่า คงไม่อาจแข็งขืนต่อประเด็นสำคัญทางการเมืองที่ฝ่ายต่างๆในสังคมเรียกร้องให้มีการปฏิรูปหลังการเลือกตั้งได้ พรรคการเมืองที่ขึ้นมาดำรงตำแหน่งคงต้องถูกบีบให้ทำจริงดังที่เคยได้ประกาศแนวทางปฏิรูปไว้ โอกาสที่รัฐบาลเช่นนี้จะอยู่ได้นานก็มีน้อย เมื่อการปฏิรูปที่จำเป็นเสร็จสิ้น ก็อาจยุบสภาเลือกตั้งใหม่อีกครั้งเพื่อให้ได้รัฐบาลอันเป็นผลจากการปฏิรูปทางการเมืองที่แทบทุกฝ่ายปรารถนาต่อไป
ในทางกลับกัน ถ้าคนที่ไปกาช่องนี้มีน้อย ความชอบธรรมของข้อเรียกร้องต่างๆของกปปส.ก็ย่อมคลอนแคลนไม่อาจกล่าวอ้างได้อีกต่อไปว่า มวลมหาประชาชนของประเทศหนุนหลังอยู่
ถ้ามีช่องให้กาเช่นนี้ในบัตรเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 สาธารณชนที่สนับสนุนกปปส. ก็คงไม่ต้องพยายามทำการต่างๆไม่ให้เกิดการเลือกตั้ง เพื่อจะแสดงเจตนาว่าไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง เพราะในฐานะพลเมืองไทยเขาสามารถทำเช่นนี้ได้ด้วยการกาบัตรเลือกตั้งในช่องดังกล่าว
ยิ่งกว่านั้นช่วงเวลานับจากนี้ กปปส.ก็ไม่จำเป็นต้องไปขัดขวางการเลือกตั้งด้วยวิธีการต่างๆ แต่ไปรณรงค์ให้ผู้คนได้ไปใช้สิทธิกาช่องไม่เอาการเลือกตั้งอย่างเข้มข้น เพราะยิ่งทำได้มากเท่าใด ก็จะยิ่งสะท้อนชัยชนะในการรณรงค์ชิงชัยความชอบธรรมครั้งนี้ได้ชัดเจนขึ้นชนิดที่นานาอารยะประเทศก็คงต้องประจักษ์และยอมรับ ที่สำคัญคือ การทำเช่นนี้ไม่ผิดกฎหมายด้วย (ไม่เหมือนกับความคิดทำอารยะขัดขืนด้วยการฉีกบัตรเลือกตั้ง หรือการรณรงค์ไม่ให้คนไปเลือกตั้ง) เพราะเป็นการรณรงค์ให้ไปเลือกตั้ง(แต่ไปกาช่องไม่เอาการเลือกตั้ง) คนที่สนับสนุน กปปส.ก็ได้ใช้สิทธิของตนโดยชอบ โดยยังสามารถรักษาสิทธิอื่นๆที่รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญให้ไว้ (เช่นสิทธิยื่นคำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา)

ที่จริงวิธีการเช่นนี้ไม่ใช่อะไรอื่น แต่เป็นการหวนกลับไปอาศัยพลังแห่งความหมายที่สำคัญที่สุดของการเลือกตั้ง ซึ่งไม่ใช่เพียงเรื่องสิทธิพลเมืองแต่เป็นกลไกของประชาธิปไตยในการแก้ไขความขัดแย้งไม่ให้คนซึ่งเห็นต่างกันในเรื่องคอขาดบาดตายทางการเมืองเผชิญหน้ากันด้วยความรุนแรง วิธีการแก้ไขความขัดแย้งเช่นนี้เริ่มต้นจากการถือว่า ทุกคนเป็นมนุษย์ที่มีสิทธิมีเสียงด้วยกัน ขณะที่ก็ถือด้วยว่าคนเราเห็นต่างกันอย่างจริงจัง และดังนั้นแก้ความขัดแย้งด้วยกระดาษลงคะแนนไม่ใช่ด้วยปืนผามีดไม้หรือแก๊ซน้ำตา

ถามว่าทำเช่นนี้แล้วได้อะไร? สำหรับฝ่ายที่อยากเลือกตั้งก็ได้ปกป้องประชาธิปไตยผ่านการเลือกตั้ง แต่สำหรับฝ่ายที่ไม่อยากเลือกตั้งก็ได้แสดงให้เห็นว่า พวกตนไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้โดยไม่ต้องอยู่บนถนน หรือปิดอาคารสถานที่ใดๆอีก เป็นการลดความเสี่ยงจากภัยความรุนแรง เพราะจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นถึงเวลาที่เขียนบทความนี้ ก็มีคนเสียชีวิตไปกับความขัดแย้งครั้งนี้แล้ว 3 คน บาดเจ็บไปก็หลายคน (ไม่นับกรณีรามคำแหง)

วิธีการนี้แก้ทุกปัญหาหรือไม่? คำตอบก็คือวิธีเพิ่มช่องไม่เอาการเลือกตั้งในบัตรเลือกตั้ง ย่อมไม่สามารถแก้ปัญหาต่างๆได้หมดแน่ หลังเลือกตั้งก็ยังจะมีความขัดแย้งต่อไปอีก แต่ความขัดแย้งโดยตัวของมันเองไม่ใช่ปัญหา วิธีการที่เราขัดแย้งกันต่างหากเป็นปัญหา เพราะบางวิธีทำให้สังคมสะดุดติดกับดักแห่งความรุนแรงดังที่สังคมไทยมีประสบการณ์เจ็บปวดมาแล้วหลายครั้ง

ถ้าเช่นนั้นจะแก้ปัญหาด้วยวิธีนี้ไปทำไม? คำตอบคือ วิธีนี้ก็เหมือน ยาพาราสำหรับความขัดแย้ง ยาพารา (paracetamol)เป็นยาสามัญประจำบ้านที่ใครๆก็รู้จัก มีไว้ใช้เพื่อแก้ปวดหัวเป็นไข้ แน่นอนยาพาราไม่ได้แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แต่การแก้อาการอย่างมีไข้ตัวร้อนก็สำคัญ เพราะถ้าปล่อยไว้ให้ไข้สูงเกินขนาดก็อาจมีผลร้ายแรงจนถึงแก่ชีวิตก็ได้เช่นกัน

ทำนองเดียวกันวิธีที่เสนอนี้เป็น”พาราความขัดแย้ง” ที่ไม่ได้แก้ปัญหาความขัดแย้งที่รากฐาน เพราะทราบกันทั่วไปว่า ถ้าจะทำเช่นนั้นคงต้องดำเนินการปฏิรูปกันในปัญหาระดับโครงสร้างมากมาย แต่วิธีนี้เป็นการลดความเสี่ยงต่อความรุนแรง เคารพสิทธิของทุกฝ่าย เปิดโอกาสให้ใช้กลไกประชาธิปไตยในระบบอย่างการเลือกตั้งช่วยจัดการกับความขัดแย้งเฉพาะหน้า
เพราะถ้าไม่แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แล้วปล่อยให้ความรุนแรงเกิดขึ้นจากปัจจัยเสี่ยงมากหลายที่รายล้อมสังคมอยู่ในขณะนี้ แนวทางประชาธิปไตยและการปฏิรูปทั้งหลายคงต้องถอยกรูดไปหลายก้าว ถ้าเกิดบาดแผลจากความรุนแรงทางการเมืองใหญ่เพิ่มขึ้นอีก นอกจากความสูญเสียต่อชีวิตของผู้คน ความเจ็บปวดของญาติมิตรแล้ว สังคมไทยก็คงจะอ่อนแอลงทางวัฒนธรรมและความสามารถในการจัดการความขัดแย้งไปอีกนาน

5 มกราคม 2557
 
1525224_10202908305211537_896381378_n.jp

 



#2 ppneer

ppneer

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,201 posts

Posted 6 January 2014 - 20:24

ถ้าอยากจะเอาแบบนั้น

 

ให้นังโง่ลาออกจะบริสุทธิ์ดีกว่า


ขวานทอง บรรพบุรุษ เป็นคนสร้างให้เราทุกวันนี้ ตัวกูจะปกปักรักษาเท่าชีวิตเพื่อ พ่อหลวง กูถวายชีวิตใอ้แม้ว ออกไปๆๆๆ กูเกลียดใอ้แม้ว

#3 -3-

-3-

    ตัวละครลับ

  • Moderators
  • 8,707 posts

Posted 6 January 2014 - 20:24

ไม่ได้ครับ มันขัดกับหลักประชาธิปไตยของท่านประชาธิปไตยครับ

 

ท่าน จขกท กล้าขัดท่านประชาธิปไตยเหรอครับ ระวังจะโดนพลังแห่งประชาธิปไตยถล่มนะครับ  -_-


"I want you to form a contract with me and become magical girls!" - kyubey
 
/人 ‿‿ ◕人\

#4 แดงประจำเดือน

แดงประจำเดือน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,021 posts

Posted 6 January 2014 - 20:26

ไม่ได้ครับ มันขัดกับหลักประชาธิปไตยของท่านประชาธิปไตยครับ

 

ท่าน จขกท กล้าขัดท่านประชาธิปไตยเหรอครับ ระวังจะโดนพลังแห่งประชาธิปไตยถล่มนะครับ  -_-

 

 

 จริงๆอย่างน้อยเราก็ได้กาพรรคเพื่อไทยค่ะ  ถือว่าเราได้ทำพิธีกรรมทางประชาธิปไตยแล้ว กลัวแต่ว่าพวกสลิ่มมันไม่ยอม



#5 กระต่ายหมายจันทร์

กระต่ายหมายจันทร์

    รู้ดินรู้ฟ้า หรือจะสู้รู้คน

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,394 posts

Posted 6 January 2014 - 20:26

 

ทั้งฝ่ายเอาเลือกตั้งกับฝ่ายไม่เอาเลือกตั้ง
 
 
อาจารย์ชัยวัฒน์ สถาอานันท์เสนอวิธีลดเงื่อนไขความรุนแรงเฉพาะหน้า โดยแก้ไขเพิ่มช่องบัตรเลือกตั้งเพื่อเชิญชวน "มวลมหาประชาชน" มาใช้สิทธิแสดงออกทางการเมืองในคูหาเลือกตั้ง
%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%

พาราความขัดแย้ง: ข้อเสนอทางออกสำหรับสาธารณชนที่เอาและไม่เอาการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557

โดย ชัยวัฒน์ สถาอานันท์
ประธานคณะทำงานยุทธศาสตร์สันติวิธี สกว.

คำว่า “พารา”แปลว่าเมือง บ้านเมืองของเราตกอยู่ในเงาของความขัดแย้งทางการเมืองครั้งใหญ่ว่าด้วย ปัญหาการครองอำนาจรัฐและฐานแห่งความชอบธรรมในการครองอำนาจนั้น ความขัดแย้งครั้งนี้ทำให้บ้านเมืองแตกแยก ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนร้าวรานอย่างที่ไม่เคยพบเห็นกันมาก่อน

จะคิดถึงความขัดแย้งครั้งนี้โดยไม่คำนึงถึงเบื้องหน้าเบื้องหลังของคู่ขัดแย้ง ไม่ว่าจะเป็นกปปส.กับรัฐบาลและกลุ่มต่างๆก็คงไม่ได้ ขณะเดียวกันก็คงต้องเข้าใจด้วยว่าความขัดแย้งครั้งนี้เกี่ยวพันกับเงื่อนไขในเชิงโครงสร้างอย่างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการเมืองกับองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ระหว่างระบบราชการกับระบอบการเมือง และอิทธิพลของทุนที่มีต่อทิศทางการเมืองในประเทศเป็นต้น

แต่ประเด็นขัดแย้งที่ชัดเจนที่สุดขณะนี้ น่าจะเป็นเรื่องการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 รัฐบาล พรรคเพื่อไทย และพรรคการเมืองต่างๆ นปช. และ พันธมิตรสายวิชาการเช่น สปป. เห็นว่า การเลื่อนหรือไม่มีเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 เป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ ขณะที่ฝ่ายกปปส. พรรคประชาธิปัตย์ และ พันธมิตรฝ่ายต่างๆไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้ โดยเฉพาะ กปปส.เห็นว่าต้องทำทุกอย่างเพื่อไม่ให้มีการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557

จากมุมมองของการแปลงเปลี่ยนขับเคลื่อนความขัดแย้ง (conflict transformation) ควรต้องเริ่มต้นจากการมองประเด็นขัดแย้งจากมุมมองของคู่ขัดแย้ง คือต้องพยายามเข้าใจว่า ในมุมมองของคู่ขัดแย้งนั้นเองสิ่งที่พวกเขาปรารถนาชอบธรรมด้วยกันทั้งคู่ ดังนั้นทางออกที่พึงเสนอต้องเป็นทางออกที่ทำให้ ทั้งฝ่ายที่เอาและไม่เอาวันเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 เห็นพ้องต้องด้วย และในยามนี้ก็ควรต้องเป็นทางออกที่เป็นรูปธรรมกระทำได้จริงในเวลาไม่ถึงเดือนที่เหลืออยู่

ทางออกที่เป็นรูปธรรม กระทำได้ภายในเวลาอันสั้น ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญและสะท้อนความปรารถนาของคู่ขัดแย้งที่ขัดกันในเรื่องนี้ คือ ให้แก้บัตรเลือกตั้งที่จะใช้ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ศกนี้ให้มีอีกช่องหนึ่งสำหรับผู้มาใช้สิทธิทางการเมืองของตนได้เลือกกาว่า “ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557”

การแก้ไขบัตรเลือกตั้งเช่นนี้ตอบสนองความต้องการของทั้งฝ่ายที่ต้องการให้มีการเลือกตั้งและไม่ต้องการเลือกตั้ง เพราะฝ่ายที่ต้องการเลือกตั้งก็ได้แสดงสิทธิของตนปกป้องประชาธิปไตยจากการเลือกตั้ง ด้วยการเลือกพรรคการเมืองที่ตนประสงค์ ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งก็ได้ใช้สิทธิแสดงเสียงของตนว่าไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้
ในแง่นี้การไปทำบัตรเสียหรือไปกาช่องไม่เลือกพรรคใดหรือกระทั่งไม่ไปใช้สิทธิในวันนั้น แตกต่างจากการกาช่อง “ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557” ตรงที่ การที่ผู้คนที่ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งเดินออกจากบ้านเรือนของตน ไปยังคูหาเลือกตั้งเพื่อกาช่องดังกล่าว เป็นการแสดงเจตนารมณ์ของฝ่ายคัดค้านการเลือกตั้งอย่างตรงไปตรงมาที่สุด และยังนับได้ด้วยว่า ที่สุดแล้วมีผู้ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557เป็นจำนวนเท่าใดกันแน่

ผลของการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 จะเป็นอย่างไร? แม้พรรคเพื่อไทยจะชนะการเลือกตั้ง แต่ถ้านับจำนวนผู้กาช่องไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 แล้วปรากฏว่า มากมายล้นหลามเป็นมวลมหาประชาชนจริง ความชอบธรรมของพรรคที่ได้รับเลือกตั้งก็ย่อมสั่นคลอน ยิ่งถ้าจำนวนดังกล่าวมากกว่าจำนวนคนที่เลือกพรรครัฐบาล ก็หมายความว่า รัฐบาลที่ปรากฏขึ้นจะไม่แข็งแรง ไม่อาจใช้อำนาจบาตรใหญ่ใดๆได้ จึงน่าจะหมายความต่อไปด้วยว่า คงไม่อาจแข็งขืนต่อประเด็นสำคัญทางการเมืองที่ฝ่ายต่างๆในสังคมเรียกร้องให้มีการปฏิรูปหลังการเลือกตั้งได้ พรรคการเมืองที่ขึ้นมาดำรงตำแหน่งคงต้องถูกบีบให้ทำจริงดังที่เคยได้ประกาศแนวทางปฏิรูปไว้ โอกาสที่รัฐบาลเช่นนี้จะอยู่ได้นานก็มีน้อย เมื่อการปฏิรูปที่จำเป็นเสร็จสิ้น ก็อาจยุบสภาเลือกตั้งใหม่อีกครั้งเพื่อให้ได้รัฐบาลอันเป็นผลจากการปฏิรูปทางการเมืองที่แทบทุกฝ่ายปรารถนาต่อไป
ในทางกลับกัน ถ้าคนที่ไปกาช่องนี้มีน้อย ความชอบธรรมของข้อเรียกร้องต่างๆของกปปส.ก็ย่อมคลอนแคลนไม่อาจกล่าวอ้างได้อีกต่อไปว่า มวลมหาประชาชนของประเทศหนุนหลังอยู่
ถ้ามีช่องให้กาเช่นนี้ในบัตรเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 สาธารณชนที่สนับสนุนกปปส. ก็คงไม่ต้องพยายามทำการต่างๆไม่ให้เกิดการเลือกตั้ง เพื่อจะแสดงเจตนาว่าไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง เพราะในฐานะพลเมืองไทยเขาสามารถทำเช่นนี้ได้ด้วยการกาบัตรเลือกตั้งในช่องดังกล่าว
ยิ่งกว่านั้นช่วงเวลานับจากนี้ กปปส.ก็ไม่จำเป็นต้องไปขัดขวางการเลือกตั้งด้วยวิธีการต่างๆ แต่ไปรณรงค์ให้ผู้คนได้ไปใช้สิทธิกาช่องไม่เอาการเลือกตั้งอย่างเข้มข้น เพราะยิ่งทำได้มากเท่าใด ก็จะยิ่งสะท้อนชัยชนะในการรณรงค์ชิงชัยความชอบธรรมครั้งนี้ได้ชัดเจนขึ้นชนิดที่นานาอารยะประเทศก็คงต้องประจักษ์และยอมรับ ที่สำคัญคือ การทำเช่นนี้ไม่ผิดกฎหมายด้วย (ไม่เหมือนกับความคิดทำอารยะขัดขืนด้วยการฉีกบัตรเลือกตั้ง หรือการรณรงค์ไม่ให้คนไปเลือกตั้ง) เพราะเป็นการรณรงค์ให้ไปเลือกตั้ง(แต่ไปกาช่องไม่เอาการเลือกตั้ง) คนที่สนับสนุน กปปส.ก็ได้ใช้สิทธิของตนโดยชอบ โดยยังสามารถรักษาสิทธิอื่นๆที่รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญให้ไว้ (เช่นสิทธิยื่นคำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา)

ที่จริงวิธีการเช่นนี้ไม่ใช่อะไรอื่น แต่เป็นการหวนกลับไปอาศัยพลังแห่งความหมายที่สำคัญที่สุดของการเลือกตั้ง ซึ่งไม่ใช่เพียงเรื่องสิทธิพลเมืองแต่เป็นกลไกของประชาธิปไตยในการแก้ไขความขัดแย้งไม่ให้คนซึ่งเห็นต่างกันในเรื่องคอขาดบาดตายทางการเมืองเผชิญหน้ากันด้วยความรุนแรง วิธีการแก้ไขความขัดแย้งเช่นนี้เริ่มต้นจากการถือว่า ทุกคนเป็นมนุษย์ที่มีสิทธิมีเสียงด้วยกัน ขณะที่ก็ถือด้วยว่าคนเราเห็นต่างกันอย่างจริงจัง และดังนั้นแก้ความขัดแย้งด้วยกระดาษลงคะแนนไม่ใช่ด้วยปืนผามีดไม้หรือแก๊ซน้ำตา

ถามว่าทำเช่นนี้แล้วได้อะไร? สำหรับฝ่ายที่อยากเลือกตั้งก็ได้ปกป้องประชาธิปไตยผ่านการเลือกตั้ง แต่สำหรับฝ่ายที่ไม่อยากเลือกตั้งก็ได้แสดงให้เห็นว่า พวกตนไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้โดยไม่ต้องอยู่บนถนน หรือปิดอาคารสถานที่ใดๆอีก เป็นการลดความเสี่ยงจากภัยความรุนแรง เพราะจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นถึงเวลาที่เขียนบทความนี้ ก็มีคนเสียชีวิตไปกับความขัดแย้งครั้งนี้แล้ว 3 คน บาดเจ็บไปก็หลายคน (ไม่นับกรณีรามคำแหง)

วิธีการนี้แก้ทุกปัญหาหรือไม่? คำตอบก็คือวิธีเพิ่มช่องไม่เอาการเลือกตั้งในบัตรเลือกตั้ง ย่อมไม่สามารถแก้ปัญหาต่างๆได้หมดแน่ หลังเลือกตั้งก็ยังจะมีความขัดแย้งต่อไปอีก แต่ความขัดแย้งโดยตัวของมันเองไม่ใช่ปัญหา วิธีการที่เราขัดแย้งกันต่างหากเป็นปัญหา เพราะบางวิธีทำให้สังคมสะดุดติดกับดักแห่งความรุนแรงดังที่สังคมไทยมีประสบการณ์เจ็บปวดมาแล้วหลายครั้ง

ถ้าเช่นนั้นจะแก้ปัญหาด้วยวิธีนี้ไปทำไม? คำตอบคือ วิธีนี้ก็เหมือน ยาพาราสำหรับความขัดแย้ง ยาพารา (paracetamol)เป็นยาสามัญประจำบ้านที่ใครๆก็รู้จัก มีไว้ใช้เพื่อแก้ปวดหัวเป็นไข้ แน่นอนยาพาราไม่ได้แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แต่การแก้อาการอย่างมีไข้ตัวร้อนก็สำคัญ เพราะถ้าปล่อยไว้ให้ไข้สูงเกินขนาดก็อาจมีผลร้ายแรงจนถึงแก่ชีวิตก็ได้เช่นกัน

ทำนองเดียวกันวิธีที่เสนอนี้เป็น”พาราความขัดแย้ง” ที่ไม่ได้แก้ปัญหาความขัดแย้งที่รากฐาน เพราะทราบกันทั่วไปว่า ถ้าจะทำเช่นนั้นคงต้องดำเนินการปฏิรูปกันในปัญหาระดับโครงสร้างมากมาย แต่วิธีนี้เป็นการลดความเสี่ยงต่อความรุนแรง เคารพสิทธิของทุกฝ่าย เปิดโอกาสให้ใช้กลไกประชาธิปไตยในระบบอย่างการเลือกตั้งช่วยจัดการกับความขัดแย้งเฉพาะหน้า
เพราะถ้าไม่แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แล้วปล่อยให้ความรุนแรงเกิดขึ้นจากปัจจัยเสี่ยงมากหลายที่รายล้อมสังคมอยู่ในขณะนี้ แนวทางประชาธิปไตยและการปฏิรูปทั้งหลายคงต้องถอยกรูดไปหลายก้าว ถ้าเกิดบาดแผลจากความรุนแรงทางการเมืองใหญ่เพิ่มขึ้นอีก นอกจากความสูญเสียต่อชีวิตของผู้คน ความเจ็บปวดของญาติมิตรแล้ว สังคมไทยก็คงจะอ่อนแอลงทางวัฒนธรรมและความสามารถในการจัดการความขัดแย้งไปอีกนาน

5 มกราคม 2557
 
1525224_10202908305211537_896381378_n.jp

 

เข็มขัดสั้นมากๆเลยเจ๊  ครบเครื่องสุดๆ  บู๊ก็รากแตกรากแตน

พอจะวิชิการก็ยอดเยี่ยมกระเทียมดองสองท่อน ข้าน่้อยขอคาราวะจริงๆ


อย่าให้ความชั่วร้ายครอบงำเรา  จนไม่รู้จักผิดชอบดีชั่ว


#6 แดงประจำเดือน

แดงประจำเดือน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,021 posts

Posted 6 January 2014 - 20:28

 

 

ทั้งฝ่ายเอาเลือกตั้งกับฝ่ายไม่เอาเลือกตั้ง
 
 
อาจารย์ชัยวัฒน์ สถาอานันท์เสนอวิธีลดเงื่อนไขความรุนแรงเฉพาะหน้า โดยแก้ไขเพิ่มช่องบัตรเลือกตั้งเพื่อเชิญชวน "มวลมหาประชาชน" มาใช้สิทธิแสดงออกทางการเมืองในคูหาเลือกตั้ง
%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%

พาราความขัดแย้ง: ข้อเสนอทางออกสำหรับสาธารณชนที่เอาและไม่เอาการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557

โดย ชัยวัฒน์ สถาอานันท์
ประธานคณะทำงานยุทธศาสตร์สันติวิธี สกว.

คำว่า “พารา”แปลว่าเมือง บ้านเมืองของเราตกอยู่ในเงาของความขัดแย้งทางการเมืองครั้งใหญ่ว่าด้วย ปัญหาการครองอำนาจรัฐและฐานแห่งความชอบธรรมในการครองอำนาจนั้น ความขัดแย้งครั้งนี้ทำให้บ้านเมืองแตกแยก ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนร้าวรานอย่างที่ไม่เคยพบเห็นกันมาก่อน

จะคิดถึงความขัดแย้งครั้งนี้โดยไม่คำนึงถึงเบื้องหน้าเบื้องหลังของคู่ขัดแย้ง ไม่ว่าจะเป็นกปปส.กับรัฐบาลและกลุ่มต่างๆก็คงไม่ได้ ขณะเดียวกันก็คงต้องเข้าใจด้วยว่าความขัดแย้งครั้งนี้เกี่ยวพันกับเงื่อนไขในเชิงโครงสร้างอย่างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการเมืองกับองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ระหว่างระบบราชการกับระบอบการเมือง และอิทธิพลของทุนที่มีต่อทิศทางการเมืองในประเทศเป็นต้น

แต่ประเด็นขัดแย้งที่ชัดเจนที่สุดขณะนี้ น่าจะเป็นเรื่องการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 รัฐบาล พรรคเพื่อไทย และพรรคการเมืองต่างๆ นปช. และ พันธมิตรสายวิชาการเช่น สปป. เห็นว่า การเลื่อนหรือไม่มีเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 เป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ ขณะที่ฝ่ายกปปส. พรรคประชาธิปัตย์ และ พันธมิตรฝ่ายต่างๆไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้ โดยเฉพาะ กปปส.เห็นว่าต้องทำทุกอย่างเพื่อไม่ให้มีการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557

จากมุมมองของการแปลงเปลี่ยนขับเคลื่อนความขัดแย้ง (conflict transformation) ควรต้องเริ่มต้นจากการมองประเด็นขัดแย้งจากมุมมองของคู่ขัดแย้ง คือต้องพยายามเข้าใจว่า ในมุมมองของคู่ขัดแย้งนั้นเองสิ่งที่พวกเขาปรารถนาชอบธรรมด้วยกันทั้งคู่ ดังนั้นทางออกที่พึงเสนอต้องเป็นทางออกที่ทำให้ ทั้งฝ่ายที่เอาและไม่เอาวันเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 เห็นพ้องต้องด้วย และในยามนี้ก็ควรต้องเป็นทางออกที่เป็นรูปธรรมกระทำได้จริงในเวลาไม่ถึงเดือนที่เหลืออยู่

ทางออกที่เป็นรูปธรรม กระทำได้ภายในเวลาอันสั้น ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญและสะท้อนความปรารถนาของคู่ขัดแย้งที่ขัดกันในเรื่องนี้ คือ ให้แก้บัตรเลือกตั้งที่จะใช้ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ศกนี้ให้มีอีกช่องหนึ่งสำหรับผู้มาใช้สิทธิทางการเมืองของตนได้เลือกกาว่า “ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557”

การแก้ไขบัตรเลือกตั้งเช่นนี้ตอบสนองความต้องการของทั้งฝ่ายที่ต้องการให้มีการเลือกตั้งและไม่ต้องการเลือกตั้ง เพราะฝ่ายที่ต้องการเลือกตั้งก็ได้แสดงสิทธิของตนปกป้องประชาธิปไตยจากการเลือกตั้ง ด้วยการเลือกพรรคการเมืองที่ตนประสงค์ ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งก็ได้ใช้สิทธิแสดงเสียงของตนว่าไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้
ในแง่นี้การไปทำบัตรเสียหรือไปกาช่องไม่เลือกพรรคใดหรือกระทั่งไม่ไปใช้สิทธิในวันนั้น แตกต่างจากการกาช่อง “ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557” ตรงที่ การที่ผู้คนที่ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งเดินออกจากบ้านเรือนของตน ไปยังคูหาเลือกตั้งเพื่อกาช่องดังกล่าว เป็นการแสดงเจตนารมณ์ของฝ่ายคัดค้านการเลือกตั้งอย่างตรงไปตรงมาที่สุด และยังนับได้ด้วยว่า ที่สุดแล้วมีผู้ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557เป็นจำนวนเท่าใดกันแน่

ผลของการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 จะเป็นอย่างไร? แม้พรรคเพื่อไทยจะชนะการเลือกตั้ง แต่ถ้านับจำนวนผู้กาช่องไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 แล้วปรากฏว่า มากมายล้นหลามเป็นมวลมหาประชาชนจริง ความชอบธรรมของพรรคที่ได้รับเลือกตั้งก็ย่อมสั่นคลอน ยิ่งถ้าจำนวนดังกล่าวมากกว่าจำนวนคนที่เลือกพรรครัฐบาล ก็หมายความว่า รัฐบาลที่ปรากฏขึ้นจะไม่แข็งแรง ไม่อาจใช้อำนาจบาตรใหญ่ใดๆได้ จึงน่าจะหมายความต่อไปด้วยว่า คงไม่อาจแข็งขืนต่อประเด็นสำคัญทางการเมืองที่ฝ่ายต่างๆในสังคมเรียกร้องให้มีการปฏิรูปหลังการเลือกตั้งได้ พรรคการเมืองที่ขึ้นมาดำรงตำแหน่งคงต้องถูกบีบให้ทำจริงดังที่เคยได้ประกาศแนวทางปฏิรูปไว้ โอกาสที่รัฐบาลเช่นนี้จะอยู่ได้นานก็มีน้อย เมื่อการปฏิรูปที่จำเป็นเสร็จสิ้น ก็อาจยุบสภาเลือกตั้งใหม่อีกครั้งเพื่อให้ได้รัฐบาลอันเป็นผลจากการปฏิรูปทางการเมืองที่แทบทุกฝ่ายปรารถนาต่อไป
ในทางกลับกัน ถ้าคนที่ไปกาช่องนี้มีน้อย ความชอบธรรมของข้อเรียกร้องต่างๆของกปปส.ก็ย่อมคลอนแคลนไม่อาจกล่าวอ้างได้อีกต่อไปว่า มวลมหาประชาชนของประเทศหนุนหลังอยู่
ถ้ามีช่องให้กาเช่นนี้ในบัตรเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 สาธารณชนที่สนับสนุนกปปส. ก็คงไม่ต้องพยายามทำการต่างๆไม่ให้เกิดการเลือกตั้ง เพื่อจะแสดงเจตนาว่าไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง เพราะในฐานะพลเมืองไทยเขาสามารถทำเช่นนี้ได้ด้วยการกาบัตรเลือกตั้งในช่องดังกล่าว
ยิ่งกว่านั้นช่วงเวลานับจากนี้ กปปส.ก็ไม่จำเป็นต้องไปขัดขวางการเลือกตั้งด้วยวิธีการต่างๆ แต่ไปรณรงค์ให้ผู้คนได้ไปใช้สิทธิกาช่องไม่เอาการเลือกตั้งอย่างเข้มข้น เพราะยิ่งทำได้มากเท่าใด ก็จะยิ่งสะท้อนชัยชนะในการรณรงค์ชิงชัยความชอบธรรมครั้งนี้ได้ชัดเจนขึ้นชนิดที่นานาอารยะประเทศก็คงต้องประจักษ์และยอมรับ ที่สำคัญคือ การทำเช่นนี้ไม่ผิดกฎหมายด้วย (ไม่เหมือนกับความคิดทำอารยะขัดขืนด้วยการฉีกบัตรเลือกตั้ง หรือการรณรงค์ไม่ให้คนไปเลือกตั้ง) เพราะเป็นการรณรงค์ให้ไปเลือกตั้ง(แต่ไปกาช่องไม่เอาการเลือกตั้ง) คนที่สนับสนุน กปปส.ก็ได้ใช้สิทธิของตนโดยชอบ โดยยังสามารถรักษาสิทธิอื่นๆที่รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญให้ไว้ (เช่นสิทธิยื่นคำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา)

ที่จริงวิธีการเช่นนี้ไม่ใช่อะไรอื่น แต่เป็นการหวนกลับไปอาศัยพลังแห่งความหมายที่สำคัญที่สุดของการเลือกตั้ง ซึ่งไม่ใช่เพียงเรื่องสิทธิพลเมืองแต่เป็นกลไกของประชาธิปไตยในการแก้ไขความขัดแย้งไม่ให้คนซึ่งเห็นต่างกันในเรื่องคอขาดบาดตายทางการเมืองเผชิญหน้ากันด้วยความรุนแรง วิธีการแก้ไขความขัดแย้งเช่นนี้เริ่มต้นจากการถือว่า ทุกคนเป็นมนุษย์ที่มีสิทธิมีเสียงด้วยกัน ขณะที่ก็ถือด้วยว่าคนเราเห็นต่างกันอย่างจริงจัง และดังนั้นแก้ความขัดแย้งด้วยกระดาษลงคะแนนไม่ใช่ด้วยปืนผามีดไม้หรือแก๊ซน้ำตา

ถามว่าทำเช่นนี้แล้วได้อะไร? สำหรับฝ่ายที่อยากเลือกตั้งก็ได้ปกป้องประชาธิปไตยผ่านการเลือกตั้ง แต่สำหรับฝ่ายที่ไม่อยากเลือกตั้งก็ได้แสดงให้เห็นว่า พวกตนไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้โดยไม่ต้องอยู่บนถนน หรือปิดอาคารสถานที่ใดๆอีก เป็นการลดความเสี่ยงจากภัยความรุนแรง เพราะจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นถึงเวลาที่เขียนบทความนี้ ก็มีคนเสียชีวิตไปกับความขัดแย้งครั้งนี้แล้ว 3 คน บาดเจ็บไปก็หลายคน (ไม่นับกรณีรามคำแหง)

วิธีการนี้แก้ทุกปัญหาหรือไม่? คำตอบก็คือวิธีเพิ่มช่องไม่เอาการเลือกตั้งในบัตรเลือกตั้ง ย่อมไม่สามารถแก้ปัญหาต่างๆได้หมดแน่ หลังเลือกตั้งก็ยังจะมีความขัดแย้งต่อไปอีก แต่ความขัดแย้งโดยตัวของมันเองไม่ใช่ปัญหา วิธีการที่เราขัดแย้งกันต่างหากเป็นปัญหา เพราะบางวิธีทำให้สังคมสะดุดติดกับดักแห่งความรุนแรงดังที่สังคมไทยมีประสบการณ์เจ็บปวดมาแล้วหลายครั้ง

ถ้าเช่นนั้นจะแก้ปัญหาด้วยวิธีนี้ไปทำไม? คำตอบคือ วิธีนี้ก็เหมือน ยาพาราสำหรับความขัดแย้ง ยาพารา (paracetamol)เป็นยาสามัญประจำบ้านที่ใครๆก็รู้จัก มีไว้ใช้เพื่อแก้ปวดหัวเป็นไข้ แน่นอนยาพาราไม่ได้แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แต่การแก้อาการอย่างมีไข้ตัวร้อนก็สำคัญ เพราะถ้าปล่อยไว้ให้ไข้สูงเกินขนาดก็อาจมีผลร้ายแรงจนถึงแก่ชีวิตก็ได้เช่นกัน

ทำนองเดียวกันวิธีที่เสนอนี้เป็น”พาราความขัดแย้ง” ที่ไม่ได้แก้ปัญหาความขัดแย้งที่รากฐาน เพราะทราบกันทั่วไปว่า ถ้าจะทำเช่นนั้นคงต้องดำเนินการปฏิรูปกันในปัญหาระดับโครงสร้างมากมาย แต่วิธีนี้เป็นการลดความเสี่ยงต่อความรุนแรง เคารพสิทธิของทุกฝ่าย เปิดโอกาสให้ใช้กลไกประชาธิปไตยในระบบอย่างการเลือกตั้งช่วยจัดการกับความขัดแย้งเฉพาะหน้า
เพราะถ้าไม่แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แล้วปล่อยให้ความรุนแรงเกิดขึ้นจากปัจจัยเสี่ยงมากหลายที่รายล้อมสังคมอยู่ในขณะนี้ แนวทางประชาธิปไตยและการปฏิรูปทั้งหลายคงต้องถอยกรูดไปหลายก้าว ถ้าเกิดบาดแผลจากความรุนแรงทางการเมืองใหญ่เพิ่มขึ้นอีก นอกจากความสูญเสียต่อชีวิตของผู้คน ความเจ็บปวดของญาติมิตรแล้ว สังคมไทยก็คงจะอ่อนแอลงทางวัฒนธรรมและความสามารถในการจัดการความขัดแย้งไปอีกนาน

5 มกราคม 2557
 
1525224_10202908305211537_896381378_n.jp

 

เข็มขัดสั้นมากๆเลยเจ๊  ครบเครื่องสุดๆ  บู๊ก็รากแตกรากแตน

พอจะวิชิการก็ยอดเยี่ยมกระเทียมดองสองท่อน ข้าน่้อยขอคาราวะจริงๆ

 

 

 

ช่วยอธิบายทีจ้ะ



#7 เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,247 posts

Posted 6 January 2014 - 20:28

แม้แต่เกษียรยังสิ้นท่าติดอยู่ในคูหาเลือกตั้ง แปลกที่คนเคยรู้ทันทักษิณ เรียกร้องให้ไปเลือกตั้ง แต่ไม่เคยถามหาความรับผิดชอบจากรัฐบาลที่ทำผิดซ้ำซาก


ทักษิณเป็นเทพเจ้าจริงๆนะ ไม่เชื่อถาม เสื้อแดง ดูสิ

#8 -3-

-3-

    ตัวละครลับ

  • Moderators
  • 8,707 posts

Posted 6 January 2014 - 20:30

 

ไม่ได้ครับ มันขัดกับหลักประชาธิปไตยของท่านประชาธิปไตยครับ

 

ท่าน จขกท กล้าขัดท่านประชาธิปไตยเหรอครับ ระวังจะโดนพลังแห่งประชาธิปไตยถล่มนะครับ  -_-

 

 

 จริงๆอย่างน้อยเราก็ได้กาพรรคเพื่อไทยค่ะ  ถือว่าเราได้ทำพิธีกรรมทางประชาธิปไตยแล้ว กลัวแต่ว่าพวกสลิ่มมันไม่ยอม

 

 

ก็น่าเห็นใจนะครับ พวกสลิ่มแมลงวาปไม่ยอมแน่นอน -_-


"I want you to form a contract with me and become magical girls!" - kyubey
 
/人 ‿‿ ◕人\

#9 แดงประจำเดือน

แดงประจำเดือน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,021 posts

Posted 6 January 2014 - 20:31

 

 

ไม่ได้ครับ มันขัดกับหลักประชาธิปไตยของท่านประชาธิปไตยครับ

 

ท่าน จขกท กล้าขัดท่านประชาธิปไตยเหรอครับ ระวังจะโดนพลังแห่งประชาธิปไตยถล่มนะครับ  -_-

 

 

 จริงๆอย่างน้อยเราก็ได้กาพรรคเพื่อไทยค่ะ  ถือว่าเราได้ทำพิธีกรรมทางประชาธิปไตยแล้ว กลัวแต่ว่าพวกสลิ่มมันไม่ยอม

 

 

ก็น่าเห็นใจนะครับ พวกสลิ่มแมลงวาปไม่ยอมแน่นอน -_-

 

 

 

ทำไม มันไม่ดีตรงไหนคะ



#10 ตะนิ่นตาญี

ตะนิ่นตาญี

    La vie en rose

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,174 posts

Posted 6 January 2014 - 20:37

 

 

 

ทั้งฝ่ายเอาเลือกตั้งกับฝ่ายไม่เอาเลือกตั้ง
 
 
อาจารย์ชัยวัฒน์ สถาอานันท์เสนอวิธีลดเงื่อนไขความรุนแรงเฉพาะหน้า โดยแก้ไขเพิ่มช่องบัตรเลือกตั้งเพื่อเชิญชวน "มวลมหาประชาชน" มาใช้สิทธิแสดงออกทางการเมืองในคูหาเลือกตั้ง
%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%

พาราความขัดแย้ง: ข้อเสนอทางออกสำหรับสาธารณชนที่เอาและไม่เอาการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557

โดย ชัยวัฒน์ สถาอานันท์
ประธานคณะทำงานยุทธศาสตร์สันติวิธี สกว.

คำว่า “พารา”แปลว่าเมือง บ้านเมืองของเราตกอยู่ในเงาของความขัดแย้งทางการเมืองครั้งใหญ่ว่าด้วย ปัญหาการครองอำนาจรัฐและฐานแห่งความชอบธรรมในการครองอำนาจนั้น ความขัดแย้งครั้งนี้ทำให้บ้านเมืองแตกแยก ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนร้าวรานอย่างที่ไม่เคยพบเห็นกันมาก่อน

จะคิดถึงความขัดแย้งครั้งนี้โดยไม่คำนึงถึงเบื้องหน้าเบื้องหลังของคู่ขัดแย้ง ไม่ว่าจะเป็นกปปส.กับรัฐบาลและกลุ่มต่างๆก็คงไม่ได้ ขณะเดียวกันก็คงต้องเข้าใจด้วยว่าความขัดแย้งครั้งนี้เกี่ยวพันกับเงื่อนไขในเชิงโครงสร้างอย่างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการเมืองกับองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ระหว่างระบบราชการกับระบอบการเมือง และอิทธิพลของทุนที่มีต่อทิศทางการเมืองในประเทศเป็นต้น

แต่ประเด็นขัดแย้งที่ชัดเจนที่สุดขณะนี้ น่าจะเป็นเรื่องการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 รัฐบาล พรรคเพื่อไทย และพรรคการเมืองต่างๆ นปช. และ พันธมิตรสายวิชาการเช่น สปป. เห็นว่า การเลื่อนหรือไม่มีเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 เป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ ขณะที่ฝ่ายกปปส. พรรคประชาธิปัตย์ และ พันธมิตรฝ่ายต่างๆไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้ โดยเฉพาะ กปปส.เห็นว่าต้องทำทุกอย่างเพื่อไม่ให้มีการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557

จากมุมมองของการแปลงเปลี่ยนขับเคลื่อนความขัดแย้ง (conflict transformation) ควรต้องเริ่มต้นจากการมองประเด็นขัดแย้งจากมุมมองของคู่ขัดแย้ง คือต้องพยายามเข้าใจว่า ในมุมมองของคู่ขัดแย้งนั้นเองสิ่งที่พวกเขาปรารถนาชอบธรรมด้วยกันทั้งคู่ ดังนั้นทางออกที่พึงเสนอต้องเป็นทางออกที่ทำให้ ทั้งฝ่ายที่เอาและไม่เอาวันเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 เห็นพ้องต้องด้วย และในยามนี้ก็ควรต้องเป็นทางออกที่เป็นรูปธรรมกระทำได้จริงในเวลาไม่ถึงเดือนที่เหลืออยู่

ทางออกที่เป็นรูปธรรม กระทำได้ภายในเวลาอันสั้น ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญและสะท้อนความปรารถนาของคู่ขัดแย้งที่ขัดกันในเรื่องนี้ คือ ให้แก้บัตรเลือกตั้งที่จะใช้ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ศกนี้ให้มีอีกช่องหนึ่งสำหรับผู้มาใช้สิทธิทางการเมืองของตนได้เลือกกาว่า “ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557”

การแก้ไขบัตรเลือกตั้งเช่นนี้ตอบสนองความต้องการของทั้งฝ่ายที่ต้องการให้มีการเลือกตั้งและไม่ต้องการเลือกตั้ง เพราะฝ่ายที่ต้องการเลือกตั้งก็ได้แสดงสิทธิของตนปกป้องประชาธิปไตยจากการเลือกตั้ง ด้วยการเลือกพรรคการเมืองที่ตนประสงค์ ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งก็ได้ใช้สิทธิแสดงเสียงของตนว่าไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้
ในแง่นี้การไปทำบัตรเสียหรือไปกาช่องไม่เลือกพรรคใดหรือกระทั่งไม่ไปใช้สิทธิในวันนั้น แตกต่างจากการกาช่อง “ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557” ตรงที่ การที่ผู้คนที่ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งเดินออกจากบ้านเรือนของตน ไปยังคูหาเลือกตั้งเพื่อกาช่องดังกล่าว เป็นการแสดงเจตนารมณ์ของฝ่ายคัดค้านการเลือกตั้งอย่างตรงไปตรงมาที่สุด และยังนับได้ด้วยว่า ที่สุดแล้วมีผู้ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557เป็นจำนวนเท่าใดกันแน่

ผลของการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 จะเป็นอย่างไร? แม้พรรคเพื่อไทยจะชนะการเลือกตั้ง แต่ถ้านับจำนวนผู้กาช่องไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 แล้วปรากฏว่า มากมายล้นหลามเป็นมวลมหาประชาชนจริง ความชอบธรรมของพรรคที่ได้รับเลือกตั้งก็ย่อมสั่นคลอน ยิ่งถ้าจำนวนดังกล่าวมากกว่าจำนวนคนที่เลือกพรรครัฐบาล ก็หมายความว่า รัฐบาลที่ปรากฏขึ้นจะไม่แข็งแรง ไม่อาจใช้อำนาจบาตรใหญ่ใดๆได้ จึงน่าจะหมายความต่อไปด้วยว่า คงไม่อาจแข็งขืนต่อประเด็นสำคัญทางการเมืองที่ฝ่ายต่างๆในสังคมเรียกร้องให้มีการปฏิรูปหลังการเลือกตั้งได้ พรรคการเมืองที่ขึ้นมาดำรงตำแหน่งคงต้องถูกบีบให้ทำจริงดังที่เคยได้ประกาศแนวทางปฏิรูปไว้ โอกาสที่รัฐบาลเช่นนี้จะอยู่ได้นานก็มีน้อย เมื่อการปฏิรูปที่จำเป็นเสร็จสิ้น ก็อาจยุบสภาเลือกตั้งใหม่อีกครั้งเพื่อให้ได้รัฐบาลอันเป็นผลจากการปฏิรูปทางการเมืองที่แทบทุกฝ่ายปรารถนาต่อไป
ในทางกลับกัน ถ้าคนที่ไปกาช่องนี้มีน้อย ความชอบธรรมของข้อเรียกร้องต่างๆของกปปส.ก็ย่อมคลอนแคลนไม่อาจกล่าวอ้างได้อีกต่อไปว่า มวลมหาประชาชนของประเทศหนุนหลังอยู่
ถ้ามีช่องให้กาเช่นนี้ในบัตรเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 สาธารณชนที่สนับสนุนกปปส. ก็คงไม่ต้องพยายามทำการต่างๆไม่ให้เกิดการเลือกตั้ง เพื่อจะแสดงเจตนาว่าไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง เพราะในฐานะพลเมืองไทยเขาสามารถทำเช่นนี้ได้ด้วยการกาบัตรเลือกตั้งในช่องดังกล่าว
ยิ่งกว่านั้นช่วงเวลานับจากนี้ กปปส.ก็ไม่จำเป็นต้องไปขัดขวางการเลือกตั้งด้วยวิธีการต่างๆ แต่ไปรณรงค์ให้ผู้คนได้ไปใช้สิทธิกาช่องไม่เอาการเลือกตั้งอย่างเข้มข้น เพราะยิ่งทำได้มากเท่าใด ก็จะยิ่งสะท้อนชัยชนะในการรณรงค์ชิงชัยความชอบธรรมครั้งนี้ได้ชัดเจนขึ้นชนิดที่นานาอารยะประเทศก็คงต้องประจักษ์และยอมรับ ที่สำคัญคือ การทำเช่นนี้ไม่ผิดกฎหมายด้วย (ไม่เหมือนกับความคิดทำอารยะขัดขืนด้วยการฉีกบัตรเลือกตั้ง หรือการรณรงค์ไม่ให้คนไปเลือกตั้ง) เพราะเป็นการรณรงค์ให้ไปเลือกตั้ง(แต่ไปกาช่องไม่เอาการเลือกตั้ง) คนที่สนับสนุน กปปส.ก็ได้ใช้สิทธิของตนโดยชอบ โดยยังสามารถรักษาสิทธิอื่นๆที่รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญให้ไว้ (เช่นสิทธิยื่นคำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา)

ที่จริงวิธีการเช่นนี้ไม่ใช่อะไรอื่น แต่เป็นการหวนกลับไปอาศัยพลังแห่งความหมายที่สำคัญที่สุดของการเลือกตั้ง ซึ่งไม่ใช่เพียงเรื่องสิทธิพลเมืองแต่เป็นกลไกของประชาธิปไตยในการแก้ไขความขัดแย้งไม่ให้คนซึ่งเห็นต่างกันในเรื่องคอขาดบาดตายทางการเมืองเผชิญหน้ากันด้วยความรุนแรง วิธีการแก้ไขความขัดแย้งเช่นนี้เริ่มต้นจากการถือว่า ทุกคนเป็นมนุษย์ที่มีสิทธิมีเสียงด้วยกัน ขณะที่ก็ถือด้วยว่าคนเราเห็นต่างกันอย่างจริงจัง และดังนั้นแก้ความขัดแย้งด้วยกระดาษลงคะแนนไม่ใช่ด้วยปืนผามีดไม้หรือแก๊ซน้ำตา

ถามว่าทำเช่นนี้แล้วได้อะไร? สำหรับฝ่ายที่อยากเลือกตั้งก็ได้ปกป้องประชาธิปไตยผ่านการเลือกตั้ง แต่สำหรับฝ่ายที่ไม่อยากเลือกตั้งก็ได้แสดงให้เห็นว่า พวกตนไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งครั้งนี้โดยไม่ต้องอยู่บนถนน หรือปิดอาคารสถานที่ใดๆอีก เป็นการลดความเสี่ยงจากภัยความรุนแรง เพราะจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นถึงเวลาที่เขียนบทความนี้ ก็มีคนเสียชีวิตไปกับความขัดแย้งครั้งนี้แล้ว 3 คน บาดเจ็บไปก็หลายคน (ไม่นับกรณีรามคำแหง)

วิธีการนี้แก้ทุกปัญหาหรือไม่? คำตอบก็คือวิธีเพิ่มช่องไม่เอาการเลือกตั้งในบัตรเลือกตั้ง ย่อมไม่สามารถแก้ปัญหาต่างๆได้หมดแน่ หลังเลือกตั้งก็ยังจะมีความขัดแย้งต่อไปอีก แต่ความขัดแย้งโดยตัวของมันเองไม่ใช่ปัญหา วิธีการที่เราขัดแย้งกันต่างหากเป็นปัญหา เพราะบางวิธีทำให้สังคมสะดุดติดกับดักแห่งความรุนแรงดังที่สังคมไทยมีประสบการณ์เจ็บปวดมาแล้วหลายครั้ง

ถ้าเช่นนั้นจะแก้ปัญหาด้วยวิธีนี้ไปทำไม? คำตอบคือ วิธีนี้ก็เหมือน ยาพาราสำหรับความขัดแย้ง ยาพารา (paracetamol)เป็นยาสามัญประจำบ้านที่ใครๆก็รู้จัก มีไว้ใช้เพื่อแก้ปวดหัวเป็นไข้ แน่นอนยาพาราไม่ได้แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แต่การแก้อาการอย่างมีไข้ตัวร้อนก็สำคัญ เพราะถ้าปล่อยไว้ให้ไข้สูงเกินขนาดก็อาจมีผลร้ายแรงจนถึงแก่ชีวิตก็ได้เช่นกัน

ทำนองเดียวกันวิธีที่เสนอนี้เป็น”พาราความขัดแย้ง” ที่ไม่ได้แก้ปัญหาความขัดแย้งที่รากฐาน เพราะทราบกันทั่วไปว่า ถ้าจะทำเช่นนั้นคงต้องดำเนินการปฏิรูปกันในปัญหาระดับโครงสร้างมากมาย แต่วิธีนี้เป็นการลดความเสี่ยงต่อความรุนแรง เคารพสิทธิของทุกฝ่าย เปิดโอกาสให้ใช้กลไกประชาธิปไตยในระบบอย่างการเลือกตั้งช่วยจัดการกับความขัดแย้งเฉพาะหน้า
เพราะถ้าไม่แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แล้วปล่อยให้ความรุนแรงเกิดขึ้นจากปัจจัยเสี่ยงมากหลายที่รายล้อมสังคมอยู่ในขณะนี้ แนวทางประชาธิปไตยและการปฏิรูปทั้งหลายคงต้องถอยกรูดไปหลายก้าว ถ้าเกิดบาดแผลจากความรุนแรงทางการเมืองใหญ่เพิ่มขึ้นอีก นอกจากความสูญเสียต่อชีวิตของผู้คน ความเจ็บปวดของญาติมิตรแล้ว สังคมไทยก็คงจะอ่อนแอลงทางวัฒนธรรมและความสามารถในการจัดการความขัดแย้งไปอีกนาน

5 มกราคม 2557
 
1525224_10202908305211537_896381378_n.jp

 

เข็มขัดสั้นมากๆเลยเจ๊  ครบเครื่องสุดๆ  บู๊ก็รากแตกรากแตน

พอจะวิชิการก็ยอดเยี่ยมกระเทียมดองสองท่อน ข้าน่้อยขอคาราวะจริงๆ

 

 

 

ช่วยอธิบายทีจ้ะ

 

 

ขออนุญาต คุณกระต่ายฯ ครับ แปล ไทย เป็น ไทย ให้ คุณแดงฯ แทน นะ ครับ

 

น่าจะ หมายความว่า,"มือ ก็ ไกว...ดาบ ก็ แกว่ง" กระมังครับ หรือ ถ้าจะให้ชัดกว่านั้น

 

ก็พอจะแปลได้ว่า สวย ด้วย...เก่ง ด้วย อ่ะครับ   :lol: 

 

ตะนิ่นตาญี

 

วันจันทร์ที่ ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗

 

เวลา ๒๐.๓๗ นาฬิกา

 

 

หมายเหต : เข็มขัดสั้น หมายความว่า คาดไม่ถึง


"จะยอมตายหมายให้เกียรติดำรง จะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา"

#11 -3-

-3-

    ตัวละครลับ

  • Moderators
  • 8,707 posts

Posted 6 January 2014 - 20:37

 

 

 

ไม่ได้ครับ มันขัดกับหลักประชาธิปไตยของท่านประชาธิปไตยครับ

 

ท่าน จขกท กล้าขัดท่านประชาธิปไตยเหรอครับ ระวังจะโดนพลังแห่งประชาธิปไตยถล่มนะครับ  -_-

 

 

 จริงๆอย่างน้อยเราก็ได้กาพรรคเพื่อไทยค่ะ  ถือว่าเราได้ทำพิธีกรรมทางประชาธิปไตยแล้ว กลัวแต่ว่าพวกสลิ่มมันไม่ยอม

 

 

ก็น่าเห็นใจนะครับ พวกสลิ่มแมลงวาปไม่ยอมแน่นอน -_-

 

 

 

ทำไม มันไม่ดีตรงไหนคะ

 

 

ก็พวกแลงวาปไม่เอาเลือกตั้งไงครับ ถ้าทำแบบนี้คือการยอมรับการเลือกตั้งสิครับ  :lol:


"I want you to form a contract with me and become magical girls!" - kyubey
 
/人 ‿‿ ◕人\

#12 กระต่ายหมายจันทร์

กระต่ายหมายจันทร์

    รู้ดินรู้ฟ้า หรือจะสู้รู้คน

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,394 posts

Posted 6 January 2014 - 20:37

 

 

 


 
 
 

 

เข็มขัดสั้นมากๆเลยเจ๊  ครบเครื่องสุดๆ  บู๊ก็รากแตกรากแตน

พอจะวิชาการก็ยอดเยี่ยมกระเทียมดองสองท่อน ข้าน่้อยขอคาราวะจริงๆ

 

 

 

ช่วยอธิบายทีจ้ะ

 

เข็มขัดสั้น =คาดไม่ถึง

บู๊ก็รากแตนรากแตน=เขียนแนวชาวบ้าน ก็สามารถเข้าถึงแก่นโดนใจกลุ่มเป้าหมายเป็นอย่างยิ่ง

พอจะวิชาการก็ยอดเยี่ยมกระเทียมดองสองท่อน = นำเสนอเชิงวิชาการก็น่าสนใจ เหมือนกินกระเทียมดองต้องหักเป็นสองท่อนก่อนกิน จะได้รสชาดที่เยี่ยม

อธิบายแค่นี้นะ  เหนื่อย


อย่าให้ความชั่วร้ายครอบงำเรา  จนไม่รู้จักผิดชอบดีชั่ว


#13 ธีรเดชน้อย

ธีรเดชน้อย

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,659 posts

Posted 6 January 2014 - 20:38

win - win คือ นายกฯ ลาออกจากรักษาการครับ เจ๊ ทุกคนในไทยได้ประโยชน์ เงินเลือกตั้งไม่เสีย

 

เราเอาเงิน 4พันล้าน มาทำการปฎิรูปทุกภาคส่วนคุ้มกว่าครับ เราทำครั้งเดียวจบ ต่อไปก็ไม่ต้องมาชุมนุมไล่รัฐบาลกันอีก

 

ทักษิณ เพื่อไทยน่าจะชอบนะไม่ต้องเสียเงินซื้อเสียง ทหารก็จะไม่มีข้ออ้างออกมาปฎิวัติ เราทุกคนชอบ

 

ปล.ตัดอคติส่วนตัวออกก่อนนะ  :)


" จุดเริ่มของการรัฐประหาร 22 พ.ค. 2557 หลังจากรัฐบาลเพื่อไทยได้บริหารประเทศล้มเหลวมาตลอด 2 ปีเศษ มีการทุจริตคอรัปชั่นมากมาย มีการนำพรบ.นิรโทษกรรมมาอนุมัติผ่านสภาฯเพื่อช่วยเหลือ น.ช. ทักษิณ ทำให้มวลมหาประชาชนลุกขึ้นประท้วงต่อต้าน แม้จนกระทั่ง ศาลรัฐธรรมนูญและปปช. ได้ตัดสินและชี้มูลความผิดจนต้องพ้นออกจากตำแหน่งแล้วก็ตาม ทำให้ประเทศชาติต้องหยุดนิ่ง สุดท้ายเมื่อ พลเอก ประยุทธ ผบ.ทบ.ได้เรียกทุกฝ่ายเข้ามาคุยเพื่อหาทางออกแล้ว โดยขอให้ ครม.ที่ยังคงเหลือลาออกเพื่อตั้งนายกฯเพื่อการปฎิรูปประเทศ แต่ไร้ซึ่งการตอบสนองและการเสียสละ ทำให้พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา จำเป็นต้องประกาศยึดอำนาจ   "

 

 


#14 blue

blue

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,979 posts

Posted 6 January 2014 - 20:40

อาจารย์ชัยวัฒน์ตั้งประเด็นผิด และไม่เป็นธรรมต่อ กปปส อย่างยิ่ง

เพราะ กปปส เขาต้องการให้มีการปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง ไม่ใช่ไม่ต้องการ

ให้ ไม่มีเลือกตั้ง



#15 แดงประจำเดือน

แดงประจำเดือน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,021 posts

Posted 6 January 2014 - 20:42

win - win คือ นายกฯ ลาออกจากรักษาการครับ เจ๊ ทุกคนในไทยได้ประโยชน์ เงินเลือกตั้งไม่เสีย

 

เราเอาเงิน 4พันล้าน มาทำการปฎิรูปทุกภาคส่วนคุ้มกว่าครับ เราทำครั้งเดียวจบ ต่อไปก็ไม่ต้องมาชุมนุมไล่รัฐบาลกันอีก

 

ทักษิณ เพื่อไทยน่าจะชอบนะไม่ต้องเสียเงินซื้อเสียง ทหารก็จะไม่มีข้ออ้างออกมาปฎิวัติ เราทุกคนชอบ

 

ปล.ตัดอคติส่วนตัวออกก่อนนะ  :)

 

 

จริงๆแล้วเงินเพียงสี่พันล้านเป็นจำนวนที่สูญเสียเล็กน้อยมาก หากเทียบกับการนำไปซื้อประชาธิปไตย มาใให้ประชาชนนะคะ  เพราะประชาธิปไตยคือผลประโยชน์ใหญ่หลวงที่ทำให้ประชาชนอยู่กินดีมีสุข


Edited by แดงประจำเดือน, 6 January 2014 - 20:42.


#16 Moo3storey

Moo3storey

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,284 posts

Posted 6 January 2014 - 20:45

ไม่เกิดผลหรอกครับ ยังจำข่าวนี้ได้ไหมครับ

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ยืนยัน ราคาขายส่งชุดนักเรียนที่ตลาดโบ๊เบ๊ ยังคงตรึงราคาเท่ากับปีที่ผ่านมา หรือปรับขึ้นราคาไม่เกิน 3-5 บาท ขณะที่ผู้ค้าปลีก ระบุ ปีนี้ราคาชุดนักเรียนปรับตัวขึ้นสูง เนื่องจากการปรับขึ้นค่าแรง 300 บาท

bswz.png

อธิบายปชต.แบบแม้วๆได้ดีเลยทีเดียวครับ คนส่วนใหญ่ไม่เดือดร้อนงั้นรบ.ก็ไม่สนใจ

ในเมื่อผู้ปกครอง 50.8% ไม่บ่นเรื่องชุดนักเรียนขึ้นราคาถ้าอย่างนั้นอีก 49.2% ช่างมัน Let it be

ต่างกันนิดเดียว 50.8% กับ 49.2%

มันยังมองว่า 49.2% คือคนส่วนน้อย


เพราะฉะนั้นทำช่องเห็นต่างไว้ให้กา ต่อให้มีคนกามากกว่า 10 ล้านเสียง มันก็ไม่สนใจหรอกครับ

#17 กระต่ายหมายจันทร์

กระต่ายหมายจันทร์

    รู้ดินรู้ฟ้า หรือจะสู้รู้คน

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,394 posts

Posted 6 January 2014 - 20:47

 

win - win คือ นายกฯ ลาออกจากรักษาการครับ เจ๊ ทุกคนในไทยได้ประโยชน์ เงินเลือกตั้งไม่เสีย

 

เราเอาเงิน 4พันล้าน มาทำการปฎิรูปทุกภาคส่วนคุ้มกว่าครับ เราทำครั้งเดียวจบ ต่อไปก็ไม่ต้องมาชุมนุมไล่รัฐบาลกันอีก

 

ทักษิณ เพื่อไทยน่าจะชอบนะไม่ต้องเสียเงินซื้อเสียง ทหารก็จะไม่มีข้ออ้างออกมาปฎิวัติ เราทุกคนชอบ

 

ปล.ตัดอคติส่วนตัวออกก่อนนะ  :)

 

 

จริงๆแล้วเงินเพียงสี่พันล้านเป็นจำนวนที่สูญเสียเล็กน้อยมาก หากเทียบกับการนำไปซื้อประชาธิปไตย มาใให้ประชาชนนะคะ  เพราะประชาธิปไตยคือผลประโยชน์ใหญ่หลวงที่ทำให้ประชาชนอยู่กินดีมีสุข

 

เจ๊กับคุณธีรเดชน้อย ถ้านำเสนอแบบนี้ให้คนอิสานฟัง

พอฟังจบ เขาก็จะสรุปว่า วีน-วีน งึด-งึด คัก-คัก


อย่าให้ความชั่วร้ายครอบงำเรา  จนไม่รู้จักผิดชอบดีชั่ว


#18 แดงประจำเดือน

แดงประจำเดือน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,021 posts

Posted 6 January 2014 - 20:50

ไม่เกิดผลหรอกครับ ยังจำข่าวนี้ได้ไหมครับ

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ยืนยัน ราคาขายส่งชุดนักเรียนที่ตลาดโบ๊เบ๊ ยังคงตรึงราคาเท่ากับปีที่ผ่านมา หรือปรับขึ้นราคาไม่เกิน 3-5 บาท ขณะที่ผู้ค้าปลีก ระบุ ปีนี้ราคาชุดนักเรียนปรับตัวขึ้นสูง เนื่องจากการปรับขึ้นค่าแรง 300 บาท

bswz.png

อธิบายปชต.แบบแม้วๆได้ดีเลยทีเดียวครับ คนส่วนใหญ่ไม่เดือดร้อนงั้นรบ.ก็ไม่สนใจ

ในเมื่อผู้ปกครอง 50.8% ไม่บ่นเรื่องชุดนักเรียนขึ้นราคาถ้าอย่างนั้นอีก 49.2% ช่างมัน Let it be

ต่างกันนิดเดียว 50.8% กับ 49.2%

มันยังมองว่า 49.2% คือคนส่วนน้อย


เพราะฉะนั้นทำช่องเห็นต่างไว้ให้กา ต่อให้มีคนกามากกว่า 10 ล้านเสียง มันก็ไม่สนใจหรอกครับ

 

 

 ถ้าอย่างงั้นก็แสดงให้เห็นแล้วว่าเสียงส่วนน้อยหมดความชอบธรรม ไม่สามารถสร้างสภาประชาชนเพื่อปฎิรูปได้ค่ะ เพราะคนส่วนใหญ่ไม่ต้องการแบบนี้  แต่ต้องการคนมีความรู้ความสามารถที่ตัวเองเลือกได้เองเข้าไปทำหน้าที่พัฒนาประเทศและเป็นข้ารับใช้ของเราค่ะ



#19 แดงประจำเดือน

แดงประจำเดือน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,021 posts

Posted 6 January 2014 - 20:51

1003805_176392542571156_255085027_n.jpg



#20 phoosana

phoosana

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,687 posts

Posted 6 January 2014 - 20:53

มีช่องไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง ไม่ต่างกับการทำประชามติ

แต่การเลือกตั้งครั้งนี้ไม่ใช่การทำประชามติ การไม่เห็นด้วย

แม้ผลจะออกมาว่าเยอะกว่าก็ไม่มีกฏหมายอะไรมารองรับ ไม่สามารนำไปปฎิบัติได้

เช่นประกาศให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะ ถึงประกาศให้เป็นโมฆะ กกต. หรือรัฐบาลรัฐบาลรักษาการจะทำอะไรต่อไปล่ะ

อีกทั้ง กกต. ไม่สามารถแก้ไขบัตรเลือกตั้งให้เป็นไปตามความต้องการของเจ้าของบทความ

เพราะไม่มีกฏหมายมารองรับเช่นกัน


Edited by phoosana, 6 January 2014 - 20:55.

We love fender.

#21 Pasitnat

Pasitnat

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 594 posts

Posted 6 January 2014 - 21:01

เป็นข้อเสนอที่แปลกดี ถ้าออกหัวออกก้อยว่าไม่รับรองการเลือกตั้งแล้วยังไงต่อครับ คล้ายๆกับทำประชามติแล้วออกมาว่าไม่ควรมีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กพแล้วไงต่อครับ ผมเสนอให้พวกรมตแสดงความรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการลาออกก่อนครับ เมื่อ​เกิด​สูญญากาศ​ทางการเมืองก็ค่อยมาร่างกติกากันใหม่
ผมเกลียดนักการเมืองเลวๆ นายทุนเลวๆ มาเฟียและคนทำตัวกักขฬะครับ

#22 TBOYX

TBOYX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 514 posts

Posted 6 January 2014 - 21:15

 

 

แต่ประเด็นขัดแย้งที่ชัดเจนที่สุดขณะนี้ น่าจะเป็นเรื่องการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557

 

 

ตรงประโยคที่ว่า "น่าจะเป็น ..." ตรงนี้ผมว่าท่านติดกระดุมผิดเม็ดนี้หนะครับ เมื่อติดกระดุมผิดแล้ว กระดุมอื่น ๆ ก็ผิดไปทั้งหมด มันไม่ใช่ น่าจะเป็น หรอกครับ แต่ประเด็นความขัดแย้งตอนนี้ ไม่ใช่เรื่องการเลือกตั้งเลย

แต่มันเป็นประเด็นที่ กปปส จะต้องหาทางประกาศรัฏฐาธิปัตย์โดยพลังประชาชน (sovereignty by people's power) ให้เร็วที่สุด ซึ่งรัฏฐาธิปัตย์โดยพลังประชาชนนั้น เป็นเรื่องที่ค่อนข้างใหม่สำหรับคนไทย เพราะทุก ๆ ครั้งในการเปลี่ยนองค์รัฏฐาธิปัตย์ในเมืองไทยที่ผ่านมา ล้วนมาจากการปฏิวัติยึดอำนาจ จากกระบอกปืน ทั้งสิ้น หากแต่ว่าในครั้งนี้ เป็นการเปลี่ยนองค์รัฏฐาธิปัตย์โดยประชาชนที่ไม่ยอมรับการปกครองของรัฐบาลในปัจจุบัน โดยปราศจากอาวุธ ซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องให้ความรู้ แก่ประชาชนที่ยังไม่เข้าใจ ให้เข้าใจว่า sovereignty by people's power นั้นมันคืออะไร มาตรา 3 ในรัฐธรรมนูญ แม้จะสั้นมาก ๆ บรรทัดเดียว แต่เป้าหมายวัตถุประสงค์ นั้นมันใหญ่มาก ที่ผ่านมา ประชาชนถูกครอบไว้ จนไม่ได้ตระหนัก ถึงสิทธิและหน้าที่ของการเป็นประชาชน ที่แท้จริง มากไปกว่า ถูกสอนว่าต้องไปเลือกตั้ง 

ความยากลำบากและประเด็นความขัดแย้งนั้นก็มาจากรัฐบาลเอง พยายามยื้อยุด ฉุดกระชากและใช้ทุกสรรพกำลัง เท่าที่มีอยู่ ในการที่จะรักษาอำนาจไว้ หากแต่ว่าการใช้กำลัง ไม่สามารถทำได้เต็มที่ เนื่องจาก กลุ่มประชาชนที่ไม่ยอมรับการปกครองนั้น ต่อสู่กับผู้กุมอำนาจบริหารด้วยมือปล่าว (ที่เราจะเห็นมาตลอด ในการตอกย้ำ ว่า สันติ อหิสา) ซึ่งทำให้ หากรัฐบาลใช้กำลังเข้ามาจัดการ จะทำให้ความชอบธรรมในการถือครองอำนาจบริหาร ต่อสายตาโลกภายนอก หมดสิ้นทันที

 

ขออนุญาติ เอาบทความภาษาอังกฤษ บทความหนึ่งมาแปะ ไว้นะครับ อาจจะทำให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของการต่อสู้ของประชาชน ได้มากขึ้น   :D 

We want to settle our house in order : Our own way 

To the consternation and bewilderment of the international community, during the past decade, Thailand has experienced increasingly divisive politics, a military coup d'état and continuous street protests in one form or another, including violent ones and uproars and walk-outs in the parliament. One could say that Thailand seems to be unable to find its way to stabilize its political life. But let us pause for a while and try to be a bit considerate and more understanding that, in reality, Thailand has been struggling in its democratization process to become a full fledged democratic polity, a process which began with the end of absolute monarchy in 1932.

Competing ideologies had made inroads into Thailand; the Cold War brought a priority to security considerations, military alliances with the West, and military governments. But the aim of the Thai people has never deviated from a desire for democracy and a good and genuine one.

The mid 1990s seems to give reality to that hope. The people's constitution was promulgated in 1997 with broader public participation, independent bodies such as counter corruption and elections commissions, audit agency, and a human rights commission, and a strong executive to ensure stability of the parliamentary system.

Then came tycoon Thaksin Shinawatra. Then there were abuses of power, mixing business with politics, and super-scale practices of money politics, and nepotism. Populist policy measures simply to gain votes were introduced. But in 2006 street protests erupted against corruption and lack of good governance, transparency and accountability. The trigger for this outburst of indignation was Thaksin’s sale of his family corporation, which had profited handsomely from a government monopoly and preferential treatment. In response,Thaksin's political machine organized and supported a counter protest movement, the so-called Red Shirts. In September 2006, the military intervened and wrote a new constitution which was adopted by the people in a referendum. Thaksin was convicted of corruption and sentenced to two years in prison. He fled the country and still remains in exile. New elections were held in 2008 and Thaksin's party won outright but his proxy governments under Samak and Somchai were faced with protests and did not last. Seeing the drift of public opinion, a coalition partner of Thaksin's turned against him and aligned with the opposition Democrat Party in Parliament, a normal feature of parliamentary democracy.

Democrat Party leader Abhisit Vejjajiva became Prime Minister. Thaksin's Red Shirt followers staged street protests and used violent means in the course of 2009 and especially in 2010. Parliamentary life was disruptive and obstructive by Thaksin's men and women who spent more time on procedural matters rather than on substance.

Abhisit tried to negotiate and compromise to no avail. Thaksin flatly refused, wanting to topple Abhisit by violent means. Eventually, Abhisit dissolved the parliament and held new elections and lost on 3 July 2011. Thaksin appointed his younger sister, Yingluck, as his puppet Prime Minister. Her government, like Samak's and Somchai's, spent most of the time searching for ways and means to bring back Thaksin, a criminal fugitive to Thailand, scotch free and whitewashed of all wrongdoings. In the meantime, every populist policy measure promised by Yingluck in her election campaign failed miserably and caused billions of Baht losses. A tyranny of the majority (actually Yingluck’s Party had not won a majority of votes but only a substantial plurality of 48%) was blatantly imposed on the parliament, preventing a constructive relationship between the majority and the minority parties from emerging. Parliamentary life was merely a voting exercise under the instruction of Thaksin to get all his schemes approved.

This greedy and arrogant populist dictatorship angered the Thai people. Thai values do not reward selfish abuse of power. So from hundreds and thousands to millions have turned to the streets out of their aversion to and revulsion against abusive politics and family authoritarianism.

They want to reform Thailand for real.

Prime Minister Yingluck could not evade this popular anger and dissolved the House of Representatives to call for an election in February 2014.


An election as called for by the unwanted Yingluck administration should be postponed until constitutional reform is completed and approved with a national referendum. The Constitution should be further revised to learn from Thaksin’s deft manipulation of politics through money to reinforce the Rule of Law and checks and balances in order to turn the tide of Thai history away from corruption and dictatorship.

In the meantime, the Western democratic world, which for centuries had gone through various phases of undemocratic happenings in their democratization process, have now demanded that the Thai people bow to a hard pressed, immensely disliked, illegitimate and non law-abiding Yingluck and her government under the control of her brother and the rest of his Shinawatra family. The West seems to believe that elections can solve the democratic ills of Thailand and redress the democratization process to its rightful course.

But has not the West learned from Chavez in Venezuela, Iraq in 2005 with Shi’a majoritarianism, and more recently in Egypt with over-reaching on the part of the Muslim Brotherhood, that elections alone do not guarantee progress towards genuine democracy?

Is this only naive, simple-minded, shallow and superficial thinking? Or is it the result of really believing that Thaksin is a true democrat and is "our man", one who stands firmly behind the amoral corporate capitalist way of running a country?

Why does the West not believe in the Thai people? 


The wish of the Thai people from all walks of life is to change away from corruption and dictatorship. They want justice in politics. They are the rightful owners of their country. They now want to reform Thailand in every important and pertinent aspect. They want reform to occur before new elections are held. They want to experience for real a changed and reformed Thailand without any vestige and residue of Thaksin's regime. Thaksin's regime has done much damage and caused deep sorrows and divisions for the Thai people. They want to prevent money politics. They want to fight and eliminate corruption. They want a democratic Thailand, of participation and empowerment, and not of domination. They want to live with governance, transparency, and accountability. They want to keep out old-style politics. They want the country to observe and practice the Buddhist values of right minded governance and the Buddhist inspired economic philosophy of His Majesty the King. They want to ensure that those who volunteer to serve the country are not rent seekers. They want to protect the environment for future generations. They want to live in an inclusive and non-discriminatory society. They want the caring of the disadvantaged. They want to narrow development gaps. They want to ensure that Thailand is a society with justice and equality.

They do not want to live under a Mubarak or a Marcos. They do not want to be subservient pawns who must bow and scrape under the whims of a family fiefdom, especially one that does not respect core Thai values.

Does the West believe in the virtue of an elected few who, upon their election, abuse their office and prove to be no more than rent seekers or will the West believe in the masses' desire for change, for advancement and betterment?

Does the West still believe in people's power that has expressed itself by the millions in a peaceful, non-violent manner? 

Can the West fathom the deep desire of the Thai people to get out of this cruel predicament once and for all?

Or is the West just too myopic to see the truth?

Reform of Thai constitutionalism is in the works. Studies and examinations of the experiences of advanced democracies around the world have also been active. Many discussions and writings have been going on simultaneously for quite some time by think tanks, academicians, political and social activists, and even representatives of the private sector, the farming sector and the labor force. Once the reform assembly is set up, work on a better constitution can be completed in months' time.

Can the West respect the wish of the Thai people for reform first and elections later? Why couldn't the West wait for the reform to be carried out first and for the elections to be held later? Surely the West has no hidden agenda of wanting to continue dealing with the criminal fugitive by the name of Thaksin? Let not Western vested interests overlook and overshadow the primary moral obligation to the Thai people of promoting and assisting in their democratic advancement. Thailand is going through a process which the Western world has already completed. It is to be recalled that advanced democracies had gone through ideological struggles, rent-seeking and money politics, class, racial and gender discrimination, and episodes of demagogue and populist leaders. Thaksin is not that different from Mussolini. 

Thailand is now at a new stage of democratic development point, wanting to move forward and rid itself of all the obstacles that block the emergence of good governance, transparency, and accountability. We want to trust our elected leaders, we want them to be servants of the people, not servants of the rich, the powerful, or those who do not care about our country. We also want to be proud of them.


In addition, the West seems to believe that the Red Shirt movement is the foremost democratic force in today’s Thailand. In actuality, there are many variations of the Red Shirts, namely, a republican left that wants to end constitutional monarchy and turn Thailand into a democratic republic; the Red Shirts who want a communist republic; and the Red Shirts who are fascist and ultra-right or seek a one-man, one-party authoritarian state; the Red Shirts who are on a payroll without ideological commitment; the Red Shirt masses who are induced by hate and propaganda; the Red Shirts who are believers in democratic justice and equality. 

The recent demonstrations have seen many of the Red Shirts who seek justice and democracy, who realize the truth about Thaksin's thinking and misconduct, join the protest against the unlawful amnesty bill. It is noticeable also that Red Shirt gatherings during the past one year have not been able to achieve the quantity of participants desired and could not last more than two days. There have been also splits, in-fighting and recriminations within the Red Shirt leadership. Thaksin and Yingluck have been relying more and more on the police force, and have not been able to muster and motivate the Red Shirts as before. But even the police have now largely turned against their one time colleague and patron.

The proposed reform process will be inclusive of all points of view. It is therefore open to genuine and respectful contribution of ideas and participation from the democratic Red Shirts.

A sensible government would not hold an election when the country is in an uproar and the people are against it. One could visualize a massive election boycott. So let us move forward on the Reform Process.

 

By Kasit Piromya, a Thai citizen
Bangkok

16 December 2013

แก้ไข : สะกดผิด


Edited by TBOYX, 6 January 2014 - 21:29.

dream.png


#23 whiskypeak

whiskypeak

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,392 posts

Posted 6 January 2014 - 21:16

ผมก็มองว่าไม่เกิดประโยชน์ และไม่ต่างอะไรกับสภาปฏิรูปที่เสนอโดยรัฐบาลรักษาการเลย..

ยังไงฝ่ายที่เสนอนโยบายประชานิยมได้ถูกใจเสียงส่วนใหญ่ก็ต้องได้อำนาจอยู่ดี

แม้มีเสียง “ไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557” แล้วได้อะไร.. 

ผมมองแง่ร้ายที่สุดเลยด้วย ว่าข้อเสนอนี้ ที่ว่าให้มีช่องไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งนี่ ว่าเป็นการดิสเครดิตฝ่าย กปปส เสียด้วยซ้ำ

แนวคิดฝ่าย กปปส เค้าไม่ใช่ ไม่ต้องการการเลือกตั้ง แต่ต้องการให้มีการปฏิรูปก่อนการเลือกตั้ง

และถ้าการเลือกตั้งครั้งนี้เกิดขึ้นก่อนการปฏิรูป ฝ่ายที่ได้อำนาจ ก็ต้องอ้างเสียงส่วนใหญ่ เหมือนที่เคยอ้างมาตลอดนะแหละ..

มันก็เหมือนการมีเสียงของฝ่ายค้าน..รัฐบาลที่ผ่านมาเคยให้ความสำคัญ หรือแม้แต่ คนไทยที่เลือกรัฐบาลนี้มา เคยให้ความสำคัญ และเห็นถึงผลเสียที่เกิดขึ้นต่อประเทศชาติต่อส่วนรวมอย่างที่หลายฝ่ายกังวลหรือก็ไม่..

 


ถูกใจเสื้อแดง ของแพงไม่ว่า โดนโกงไม่ด่า ขอแค่ตระกูลชินนรกเป็น นายก พอ..

 


#24 แดงประจำเดือน

แดงประจำเดือน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,021 posts

Posted 6 January 2014 - 21:20

เป็นข้อเสนอที่แปลกดี ถ้าออกหัวออกก้อยว่าไม่รับรองการเลือกตั้งแล้วยังไงต่อครับ คล้ายๆกับทำประชามติแล้วออกมาว่าไม่ควรมีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กพแล้วไงต่อครับ ผมเสนอให้พวกรมตแสดงความรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการลาออกก่อนครับ เมื่อ​เกิด​สูญญากาศ​ทางการเมืองก็ค่อยมาร่างกติกากันใหม่

 

 

ทำแบบนี้แสดงว่า กปปส มีเจตนาต้องการจะโกงการเลือกตั้งใช่ไหมคะ



#25 พระฤๅษี

พระฤๅษี

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,127 posts

Posted 6 January 2014 - 21:24

........ ยาวมาก  ขี้เกียจอ่าน... เอาเป็นว่า

 

ขอความ กรุณา ให้ ผู้เขียน ยาวๆ... ช่วยไป

 

บอก รัฐฯเถื่อนนี้..ให้เขาเคารพ กฏหมาย รธน.

 

เท่านี้  เรื่องทุกอย่าง ก็จบ......



#26 JohnLocke

JohnLocke

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 103 posts

Posted 6 January 2014 - 21:44

ดูๆไปอาจไม่ถึงวันที่13

ศาลตัดสินรอบนี้หน้าจะจบ ว่าแต่เขาจะไม่รับอำนาจศาลอีกป่ะ 


สัญญาประชาคม ผู้ปกครองควรตระหนักถึง สิทธิบางประการที่ผู้อยู่ใต้ปกครอง (ประชาคม) ได้ยอมสละไป

มิใช่นำอำนาจนั้นไปแสวงหาผลประโยชน์เพื่อตนเองและพรรคพวกของตน ละเมิดกฏระเบียบของสังคม


#27 แดงประจำเดือน

แดงประจำเดือน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,021 posts

Posted 6 January 2014 - 21:51

ดูๆไปอาจไม่ถึงวันที่13

ศาลตัดสินรอบนี้หน้าจะจบ ว่าแต่เขาจะไม่รับอำนาจศาลอีกป่ะ 

 

 

รัฐบาลจริงๆ มีอำนาจชอบธรรมที่จะไไม่ยอมรับศาลรัฐธรรมนูญได้ค่ะ เพราะศาลไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง และรัฐสภาสามารถแก้รัฐธรรมนูญที่ศาลมันเห็นว่าผิดได้



#28 เสือยิ้มยาก

เสือยิ้มยาก

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,695 posts

Posted 6 January 2014 - 21:59

ผมต้องการปฎิรูป ถ้ามีช่อง...นั้นมากาไปก็เท่านั้นเพราะพวกเอี้ยเป็นรัฐบาลไปแล้วจะทำอะไรได้

มีรัฐบาลหรือนักกินเมืองที่ไหนจะมาออกกติกาปิดทางทำมาหากินตัวเอง 

 

พวกที่โลกสวยทั้งหลาย ถ้ายังมืดบอดก็กรุณาหุบปาก เลี้ยงหลานอยู่ที่บ้าน


        shotgun.gif       d444.gif        cheesy.gif

 


#29 ธีรเดชน้อย

ธีรเดชน้อย

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,659 posts

Posted 7 January 2014 - 08:35

 

win - win คือ นายกฯ ลาออกจากรักษาการครับ เจ๊ ทุกคนในไทยได้ประโยชน์ เงินเลือกตั้งไม่เสีย

 

เราเอาเงิน 4พันล้าน มาทำการปฎิรูปทุกภาคส่วนคุ้มกว่าครับ เราทำครั้งเดียวจบ ต่อไปก็ไม่ต้องมาชุมนุมไล่รัฐบาลกันอีก

 

ทักษิณ เพื่อไทยน่าจะชอบนะไม่ต้องเสียเงินซื้อเสียง ทหารก็จะไม่มีข้ออ้างออกมาปฎิวัติ เราทุกคนชอบ

 

ปล.ตัดอคติส่วนตัวออกก่อนนะ  :)

 

 

จริงๆแล้วเงินเพียงสี่พันล้านเป็นจำนวนที่สูญเสียเล็กน้อยมาก หากเทียบกับการนำไปซื้อประชาธิปไตย มาใให้ประชาชนนะคะ  เพราะประชาธิปไตยคือผลประโยชน์ใหญ่หลวงที่ทำให้ประชาชนอยู่กินดีมีสุข

 

 

อย่างนี้นะครับ เจ๊ (เป็นคนอื่นผมไม่อธิบายนะนี่ แต่เห็นเจ๊ น่ารัก  :)  )

 

ณ ตอนนี้ยุบสภาแล้ว รัฐบาลก็แค่รักษาการรอเวลาเลือกตั้ง หากตัดอคติออกเสีย  แค่นายกฯลาออกจากรักษาการ

 

แล้วตั้งนายกฯคนกลางดูแลชั่วคราว สภาปชช.ก็ร่าง แก้ไขสิ่งที่เป็นปัญหา เสียเวลา ปีนึง อ่ะต่ออีกนิด ปีครึ่ง

 

จบแล้วเรามาเลือกตั้ง ได้ประชาธิปไตยอย่างที่เราๆต้องการเสียที 

 

ต่อไปไม่ต้องมากังวลเรื่องการชุมนุม เผาบ้านเผาเือง ดูถูกคนจน 2มาตรฐาน โกงบ้านเมือง แฮปปี้เอนดิ้ง 

 

( เจ้าชายกับเจ้าหญิงก็ครองรักกันอย่างมีความสุข  :wub: )


" จุดเริ่มของการรัฐประหาร 22 พ.ค. 2557 หลังจากรัฐบาลเพื่อไทยได้บริหารประเทศล้มเหลวมาตลอด 2 ปีเศษ มีการทุจริตคอรัปชั่นมากมาย มีการนำพรบ.นิรโทษกรรมมาอนุมัติผ่านสภาฯเพื่อช่วยเหลือ น.ช. ทักษิณ ทำให้มวลมหาประชาชนลุกขึ้นประท้วงต่อต้าน แม้จนกระทั่ง ศาลรัฐธรรมนูญและปปช. ได้ตัดสินและชี้มูลความผิดจนต้องพ้นออกจากตำแหน่งแล้วก็ตาม ทำให้ประเทศชาติต้องหยุดนิ่ง สุดท้ายเมื่อ พลเอก ประยุทธ ผบ.ทบ.ได้เรียกทุกฝ่ายเข้ามาคุยเพื่อหาทางออกแล้ว โดยขอให้ ครม.ที่ยังคงเหลือลาออกเพื่อตั้งนายกฯเพื่อการปฎิรูปประเทศ แต่ไร้ซึ่งการตอบสนองและการเสียสละ ทำให้พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา จำเป็นต้องประกาศยึดอำนาจ   "

 

 


#30 Pasitnat

Pasitnat

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 594 posts

Posted 7 January 2014 - 21:09

เป็นข้อเสนอที่แปลกดี ถ้าออกหัวออกก้อยว่าไม่รับรองการเลือกตั้งแล้วยังไงต่อครับ คล้ายๆกับทำประชามติแล้วออกมาว่าไม่ควรมีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กพแล้วไงต่อครับ ผมเสนอให้พวกรมตแสดงความรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการลาออกก่อนครับ เมื่อ​เกิด​สูญญากาศ​ทางการเมืองก็ค่อยมาร่างกติกากันใหม่

 
 
ทำแบบนี้แสดงว่า กปปส มีเจตนาต้องการจะโกงการเลือกตั้งใช่ไหมคะ

กปปสจะเอาเงินที่ไหนมาซื้อเสียงผมครับ ผมค่าตัวแพงครับ :P

ที่ผมเขียนนี่หมายถึงว่าจะมีกฎหมายรองรับการเลือกไม่รับรองการเลือกตั้งไหม
ผมเกลียดนักการเมืองเลวๆ นายทุนเลวๆ มาเฟียและคนทำตัวกักขฬะครับ

#31 แดงประจำเดือน

แดงประจำเดือน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,021 posts

Posted 9 January 2014 - 19:07

 

 

win - win คือ นายกฯ ลาออกจากรักษาการครับ เจ๊ ทุกคนในไทยได้ประโยชน์ เงินเลือกตั้งไม่เสีย

 

เราเอาเงิน 4พันล้าน มาทำการปฎิรูปทุกภาคส่วนคุ้มกว่าครับ เราทำครั้งเดียวจบ ต่อไปก็ไม่ต้องมาชุมนุมไล่รัฐบาลกันอีก

 

ทักษิณ เพื่อไทยน่าจะชอบนะไม่ต้องเสียเงินซื้อเสียง ทหารก็จะไม่มีข้ออ้างออกมาปฎิวัติ เราทุกคนชอบ

 

ปล.ตัดอคติส่วนตัวออกก่อนนะ  :)

 

 

จริงๆแล้วเงินเพียงสี่พันล้านเป็นจำนวนที่สูญเสียเล็กน้อยมาก หากเทียบกับการนำไปซื้อประชาธิปไตย มาใให้ประชาชนนะคะ  เพราะประชาธิปไตยคือผลประโยชน์ใหญ่หลวงที่ทำให้ประชาชนอยู่กินดีมีสุข

 

 

อย่างนี้นะครับ เจ๊ (เป็นคนอื่นผมไม่อธิบายนะนี่ แต่เห็นเจ๊ น่ารัก  :)  )

 

ณ ตอนนี้ยุบสภาแล้ว รัฐบาลก็แค่รักษาการรอเวลาเลือกตั้ง หากตัดอคติออกเสีย  แค่นายกฯลาออกจากรักษาการ

 

แล้วตั้งนายกฯคนกลางดูแลชั่วคราว สภาปชช.ก็ร่าง แก้ไขสิ่งที่เป็นปัญหา เสียเวลา ปีนึง อ่ะต่ออีกนิด ปีครึ่ง

 

จบแล้วเรามาเลือกตั้ง ได้ประชาธิปไตยอย่างที่เราๆต้องการเสียที 

 

ต่อไปไม่ต้องมากังวลเรื่องการชุมนุม เผาบ้านเผาเือง ดูถูกคนจน 2มาตรฐาน โกงบ้านเมือง แฮปปี้เอนดิ้ง 

 

( เจ้าชายกับเจ้าหญิงก็ครองรักกันอย่างมีความสุข  :wub: )

 

 

 

:wub:  เคลิ้มมมค่ะ



#32 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

Posted 9 January 2014 - 19:36

ไม่ไหวจะเคลียร์ครับจาน

 

เค้าพูดอยู่เป็นร้อยครั้งพันครั้งแล้ว ว่ามันโกงเลือกตั้งกัน

 

หมายความว่ามันก็จะโกงคะแนน ครับจาน

 

:lol: 






0 user(s) are reading this topic

0 members, 0 guests, 0 anonymous users