Jump to content


Photo
- - - - -

ปชช.ร้อยละ 79.6 ตั้งใจไปใช้สิทธิเลือกตั้ง 2 กพ. แม้การเมืองแรง ไม่เห็นด้วยรัฐประหาร

ไอ้กากลี

  • Please log in to reply
96 replies to this topic

#1 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 09:47

 วันที่ 24 ม.ค. ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) ได้สำรวจความคิดเห็น ประชาชนเรื่อง "การเลือกตั้งท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมือง" โดยเก็บข้อมูลกับประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,018 คนพบว่า ประชาชนร้อยละ 49.3 ยังไม่เห็นการหาเสียงของผู้สมัคร เห็นเพียง ป้ายหาเสียง และร้อยละ 16.1 ยังไม่เห็นการหาเสียงในรูปแบบใดๆ เลย ขณะที่ร้อยละ 29.7 เห็นการหาเสียงของผู้สมัครแต่ไม่คึกคัก และมีเพียงร้อยละ 4.9 เท่านั้นที่เห็นการหาเสียงของผู้สมัครและคึกคักมาก

 
 เมื่อถามว่าสถานการณ์ความรุนแรงและขัดแย้งทางการเมืองมีผลต่อการไปเลือกตั้งในวันที่2ก.พ.ที่จะถึงนี้หรือไม่ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 เห็นว่ามีผลต่อการไปเลือกตั้ง โดยในจำนวนนี้ร้อยละ 34.3 บอกว่ามีผลทำให้ต้องรอดูสถานการณ์ความรุนแรงอีกทีก่อนที่จะตัดสินใจว่าจะไปเลือกตั้งหรือไม่ และร้อยละ 18.3 ทำให้ไม่อยากไปเลือกตั้ง ขณะที่ร้อยละ 47.4 เห็นว่าไม่มีผลต่อการไปเลือกตั้ง โดยในจำนวนนี้ร้อยละ 23.4 ให้เหตุผลว่าต้องไปเลือกตั้งให้ได้อยู่แล้ว และอีกร้อยละ 24.0 ให้เหตุผลว่าไปเลือกเพราะเป็นหน้าที่ 

 เมื่อถามต่อว่า “หากในวันที่ 2 ก.พ. ที่จะถึงนี้ยังคงมีการเลือกตั้ง ท่านตั้งใจจะออกไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งหรือไม่ ร้อยละ 79.6 ตั้งใจจะออกไปใช้สิทธิ์ ขณะที่ร้อยละ 9.9 ตั้งใจจะไม่ออกไปใช้สิทธิ์ และร้อยละ 10.5 ยังไม่แน่ใจ
 
 ส่วนความเห็นต่อการจัดการเลือกตั้งในวันที่ 2 ก.พ. ที่จะถึงนี้ ประชาชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 51.5 เห็นว่าควรมีการเดินหน้าเลือกตั้งตามเดิม ขณะที่ร้อยละ 28.1 เห็นว่าควรปฏิรูปก่อนแล้วค่อยเลือกตั้ง และร้อยละ 20.4 เห็นว่าควรเลื่อนการเลือกตั้งออกไปก่อน
 
 สุดท้ายเมื่อถามว่า “จากข่าวสถานการณ์ความขัดแย้งรุนแรงที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนทำให้มีผู้บาดเจ็บ และเสียชีวิต ท่านเห็นด้วยหรือไม่หากกองทัพตัดสินใจทำรัฐประหาร เพื่อยุติความขัดแย้งที่เป็นอยู่” ร้อยละ 56.0 ไม่เห็นด้วย ขณะที่ร้อยละ 21.6 เห็นด้วย และร้อยละ 22.4 ไม่แน่ใจ


Edited by เมือกมั่ง, 25 January 2014 - 09:51.

ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#2 อย่าหลอกตัวเอง

อย่าหลอกตัวเอง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,850 posts

Posted 25 January 2014 - 09:50

              จร้า


แดงกลายพันธุ์  แดงลอยคอกลางทะเล  กำลังดิ้นเฮือกสุดท้าย  อาการจะเป็นอย่างไร  รอดูกันไปครับ


#3 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:10

กปปส คปค ปญอ ศธญ

 

ต้องเร่งเครื่อง แล้ว นะคร้า

 

ออกตัวแรง ประสิทธิผลยังไม่เข้าเป้า คร้า

 

เพราะถึงยัง ไม่มีการปฎิรูป ก่อนเลือกตั้ง ประชาชน ร้อยละ 79.6 ตั้งใจจะออกไปใช้สิทธิ์

 

สู้ สู้ คร่าาาาา


Edited by เมือกมั่ง, 25 January 2014 - 10:10.

ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#4 พระฤๅษี

พระฤๅษี

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,127 posts

Posted 25 January 2014 - 10:11

........ โพล ขุม  ป่าววววว .??????



#5 Garfield

Garfield

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,107 posts

Posted 25 January 2014 - 10:13

79.6% นี่ถ้าจำไม่ผิดเยอะกว่าที่ออกไปเลือกตั้งช่วงปกติอีกนะเนี่ย



#6 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:15

อีกโพล นะคร่า “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 

 

ตั้งใจไม่ไปใช้สิทธิ แค่ เนี้ย

 

 “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สอบถามความคิดเห็นของประชาชนที่อยู่ในกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,484 คน ระหว่างวันที่ 20 – 24 มกราคม 2557 

 

 2. ประชาชนจะไปเลือกตั้ง ส.ส. ในวันอาทิตย์ที่ 2 ก.พ.นี้หรือไม่?

อันดับ 1   ไปแน่นอน 45.56%

เพราะ เป็นการรักษาสิทธิของตัวเอง กลัวโดนสวมสิทธิ เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน อยากเห็นการเมือง
เป็นไปตามระบอบประชาธิปไตย ฯลฯ

อันดับ 2   ไม่ไป  19.78%

เพราะ ไม่ว่าง ติดธุระ เบื่อการเมือง มีแต่นักการเมืองหน้าเดิม ไม่มั่นใจว่าการเลือกตั้งครั้งนี้จะแก้ปัญหา
ความวุ่นวายทางการเมืองได้ ความขัดแย้งยังคงมีอยู่ต่อไป ฯลฯ

อันดับ 3   คงจะไป 15.33%

เพราะ สถานที่เลือกตั้งอยู่ใกล้บ้าน เดินทางสะดวก อยากไปสังเกตการณ์ด้วยตนเอง อยากเห็น
การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นไปอย่างถูกต้อง ยุติธรรม ฯลฯ

อันดับ 4   ไม่แน่ใจ 14.00%

เพราะ ไม่รู้ว่าจะมีการเลือกตั้งเกิดขึ้นจริงหรือไม่ คงต้องรอดูสถานการณ์บ้านเมืองต่อไป ฯลฯ

อันดับ 5   คงจะไม่ไป  5.33%

 

 

กปปส คปค ปญอ ศธญ

 

ต้องเร่งเครื่อง แล้ว นะคร้า

 

ออกตัวแรง ประสิทธิผลยังไม่เข้าเป้า คร้า

 

เพราะถึงยัง ไม่มีการปฎิรูป ก่อนเลือกตั้ง ประชาชนจะออกไปใช้สิทธิ์ คร่า

 

สู้ สู้ คร่าาาาา


Edited by เมือกมั่ง, 25 January 2014 - 10:19.

ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#7 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

Posted 25 January 2014 - 10:19

เอ๊ะ เหมือนโพลตอนเลือกตั้งผู้ว่า กทม หรือเปล่าหว่า

 

มีแต่โพลบอกว่า เสาไฟฟ้าจะได้เป็นผู้ว่า แต่ไหง หม่อมหมู ได้กลับมาเป็นผู้ว่า ซะงั้น

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#8 templar

templar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,180 posts

Posted 25 January 2014 - 10:24

จะบอกว่าคนที่จะออกไป โหวตโน  กับ  ไปกาบัตรประจานนางโยก  ก็อยู่ใน  79.6  ที่ท่านว่าด้วย  

 

ต้องดูว่า  เขาต้องออกไปเพื่อรักษาสิทธิทางการเมือง  หรือ  ต้องการไปกานางโยกครับ  

 

เพราะผมเองถ้ามีคนทำโพลมาถามว่า  จะไปเลือกตั้งไหม  ผมจะรอฟังแกนนำแล้วพิจารณาว่า

 

จะเสียสิทธิไหม  จะมีควายกับผีมาเลือกตั้งแทนไหม  ผมก็กังวลจุดนี้  เพราะฉะนั้นไม่แปลกครับที่ผลออกมาอย่างนี้

 

สรุป  คือ  คนโหวตโน  กับ  การบัตรประจานนางโยก  แดงเอาไปอ้างเป็นพวกซะแล้ววว  ไม่ทันไรเลย 


อย่ามาเห่าว่ากรูมาจากการเลือกตั้ง  เพราะการเลือกตั้งไม่ใช่ทุกอย่างของประชาธิปไตย

การตรวจสอบบ้านเมืองอย่างเข้มข้น  ทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ  จำเป็นสำหรับประเทศไทย

 

สิ่งที่บ่งบอกว่าประเทศไหนพัฒนาแล้วไม่ได้ดูที่  มีตึกสูงมากเท่าไร  มีห้างเยอะไหม  มีจีดีพีสูงแค่ไหน

แต่ดูที่การศึกษา  และ คุณภาพของบุคลากรภายในประเทศ


#9 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:24

เอ๊ะ เหมือนโพลตอนเลือกตั้งผู้ว่า กทม หรือเปล่าหว่า

 

มีแต่โพลบอกว่า เสาไฟฟ้าจะได้เป็นผู้ว่า แต่ไหง หม่อมหมู ได้กลับมาเป็นผู้ว่า ซะงั้น

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา

 

แล้วแต่ใครจะคิด แล้วแต่ใครจะประเมิน จากข้อมูลที่ได้ คร่า

 

สู้ สู้ นะ คร้าาาาาา


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#10 นำ้ใบบัวบก

นำ้ใบบัวบก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 260 posts

Posted 25 January 2014 - 10:25

โพลนี่เดินไปสำรวจแถว อุดร ป่าว ว่ะ555+

 

ผมว่าคล้ายๆโพลตอน ชิงผู้ว่าอ่ะครัฟฟ 



#11 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:27

จะบอกว่าคนที่จะออกไป โหวตโน  กับ  ไปกาบัตรประจานนางโยก  ก็อยู่ใน  79.6  ที่ท่านว่าด้วย  

 

ต้องดูว่า  เขาต้องออกไปเพื่อรักษาสิทธิทางการเมือง  หรือ  ต้องการไปกานางโยกครับ  

 

เพราะผมเองถ้ามีคนทำโพลมาถามว่า  จะไปเลือกตั้งไหม  ผมจะรอฟังแกนนำแล้วพิจารณาว่า

 

จะเสียสิทธิไหม  จะมีควายกับผีมาเลือกตั้งแทนไหม  ผมก็กังวลจุดนี้  เพราะฉะนั้นไม่แปลกครับที่ผลออกมาอย่างนี้

 

สรุป  คือ  คนโหวตโน  กับ  การบัตรประจานนางโยก  แดงเอาไปอ้างเป็นพวกซะแล้ววว  ไม่ทันไรเลย 

 

หมายถึงคนทั่วไป ยังใช้หลักการเลือกตั้งเป็นหลัก 

 

ไม่ใช่ ปะ ติด รูป แบบ เทือกตั้งคร่า ก่อนเลือกตั้ง คร่า


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#12 zutto

zutto

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,385 posts

Posted 25 January 2014 - 10:27

โพลมันช่วยอะไรได้บ้าง



#13 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:27

โพลนี่เดินไปสำรวจแถว อุดร ป่าว ว่ะ555+

 

ผมว่าคล้ายๆโพลตอน ชิงผู้ว่าอ่ะครัฟฟ 

 

แล้วแต่ใครจะคิด แล้วแต่ใครจะประเมิน จากข้อมูลที่ได้ คร่า

 

สู้ สู้ นะ คร้าาาาาา


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#14 นำ้ใบบัวบก

นำ้ใบบัวบก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 260 posts

Posted 25 January 2014 - 10:29

 

โพลนี่เดินไปสำรวจแถว อุดร ป่าว ว่ะ555+

 

ผมว่าคล้ายๆโพลตอน ชิงผู้ว่าอ่ะครัฟฟ 

 

แล้วแต่ใครจะคิด แล้วแต่ใครจะประเมิน จากข้อมูลที่ได้ คร่า

 

สู้ สู้ นะ คร้าาาาาา

 

ครัฟฟฟ ป๋มม  ;)



#15 sanskrit_shower

sanskrit_shower

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,741 posts

Posted 25 January 2014 - 10:30

ตอนเลือกตั้งผู้ว่ายังไม่เข็ดกันอีกนะ



#16 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

Posted 25 January 2014 - 10:31

 

เอ๊ะ เหมือนโพลตอนเลือกตั้งผู้ว่า กทม หรือเปล่าหว่า

 

มีแต่โพลบอกว่า เสาไฟฟ้าจะได้เป็นผู้ว่า แต่ไหง หม่อมหมู ได้กลับมาเป็นผู้ว่า ซะงั้น

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา

 

แล้วแต่ใครจะคิด แล้วแต่ใครจะประเมิน จากข้อมูลที่ได้ คร่า

 

สู้ สู้ นะ คร้าาาาาา

 

 

ถ้าโพลสามารถทำให้คนได้เป็น นายก เป็นผู้ว่า คงไม่มีการเลือกตั้งเนอะ

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#17 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:33

 

 

เอ๊ะ เหมือนโพลตอนเลือกตั้งผู้ว่า กทม หรือเปล่าหว่า

 

มีแต่โพลบอกว่า เสาไฟฟ้าจะได้เป็นผู้ว่า แต่ไหง หม่อมหมู ได้กลับมาเป็นผู้ว่า ซะงั้น

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา

 

แล้วแต่ใครจะคิด แล้วแต่ใครจะประเมิน จากข้อมูลที่ได้ คร่า

 

สู้ สู้ นะ คร้าาาาาา

 

 

ถ้าโพลสามารถทำให้คนได้เป็น นายก เป็นผู้ว่า คงไม่มีการเลือกตั้งเนอะ

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา

 

 

คนละเรื่อง เลย คร่า  เป็นการประเมินเพื่อให้เห็นแนวทาง คร่าวๆ ค่า

ถ้าไม่เห็นด้วย อย่าไปใส่ใจกับข้อมูลนี้ก็ได้คร่า

 

เดี๋ยว เครียด ตาย เลย คร่า


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#18 Bird77

Bird77

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 67 posts

Posted 25 January 2014 - 10:34

แล้วไง

#19 zeus

zeus

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,212 posts

Posted 25 January 2014 - 10:35

อิอิ ไม่ต้องห่วงหรอกครับ ใครจะไปเลือกม็อบก็ไม่ได้ขวางอยู่แล้ว แต่ท่านอาจเห็นคนชูป้าย ก็แล้วแต่ท่านแหละครับ จะเลือกก็เลือก จะกาโหวตโน ก็กา จะทำบัตรเสียก็แล้่วแต่ ผมว่าผมก็จะไปเลือกน่ะ พอถึงคูหา เขียนด่าพวกมันซักหน่อย ให้เป็นบัตรเสียมันซักเลย 555

#20 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:36

อิอิ ไม่ต้องห่วงหรอกครับ ใครจะไปเลือกม็อบก็ไม่ได้ขวางอยู่แล้ว แต่ท่านอาจเห็นคนชูป้าย ก็แล้วแต่ท่านแหละครับ จะเลือกก็เลือก จะกาโหวตโน ก็กา จะทำบัตรเสียก็แล้่วแต่ ผมว่าผมก็จะไปเลือกน่ะ พอถึงคูหา เขียนด่าพวกมันซักหน่อย ให้เป็นบัตรเสียมันซักเลย 555

 

เป็นสิทธิ ของท่าน คร่า


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#21 templar

templar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,180 posts

Posted 25 January 2014 - 10:36

 

 

1. ความคิดเห็นของประชาชน กับ การเลือกตั้งในวันที่ 2 ก.พ.ที่จะถึงนี้

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%

 

แสดงว่าคนที่เห็นด้วยให้มีเลือกตั้งวันที่ 2  (อักษรสีแดง) มี 37.34 %   

 

คนที่เห็นด้วยให้ยืดออกไปก่อน  (อักษรสีน้ำเงิน) 47.26 %  

 

ส่วนคนที่ไม่แน่ใจเกี่ยวกับวันที่เลือกตั้ง (อักษรสีม่วง) 15.40 %    

 

สรุป  คนเห็นควรให้ยืดไปก่อนมากกว่าครับ  47 กับ  37  เปอร์เซ็นต์


Edited by templar, 25 January 2014 - 10:37.

อย่ามาเห่าว่ากรูมาจากการเลือกตั้ง  เพราะการเลือกตั้งไม่ใช่ทุกอย่างของประชาธิปไตย

การตรวจสอบบ้านเมืองอย่างเข้มข้น  ทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ  จำเป็นสำหรับประเทศไทย

 

สิ่งที่บ่งบอกว่าประเทศไหนพัฒนาแล้วไม่ได้ดูที่  มีตึกสูงมากเท่าไร  มีห้างเยอะไหม  มีจีดีพีสูงแค่ไหน

แต่ดูที่การศึกษา  และ คุณภาพของบุคลากรภายในประเทศ


#22 sanskrit_shower

sanskrit_shower

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,741 posts

Posted 25 January 2014 - 10:38

 

 

 

เอ๊ะ เหมือนโพลตอนเลือกตั้งผู้ว่า กทม หรือเปล่าหว่า

 

มีแต่โพลบอกว่า เสาไฟฟ้าจะได้เป็นผู้ว่า แต่ไหง หม่อมหมู ได้กลับมาเป็นผู้ว่า ซะงั้น

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา

 

แล้วแต่ใครจะคิด แล้วแต่ใครจะประเมิน จากข้อมูลที่ได้ คร่า

 

สู้ สู้ นะ คร้าาาาาา

 

 

ถ้าโพลสามารถทำให้คนได้เป็น นายก เป็นผู้ว่า คงไม่มีการเลือกตั้งเนอะ

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา

 

 

คนละเรื่อง เลย คร่า  เป็นการประเมินเพื่อให้เห็นแนวทาง คร่าวๆ ค่า

ถ้าไม่เห็นด้วย อย่าไปใส่ใจกับข้อมูลนี้ก็ได้คร่า

 

เดี๋ยว เครียด ตาย เลย คร่า

 

เพื่อให้เห็นแนวทางคร่าวๆอย่างกรณีเลือกตั้งผู้ว่าคราวที่แล้ว คร่า

 

โพลเชื่อถือได้จริงๆคร่า



#23 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:39

 

 

 

1. ความคิดเห็นของประชาชน กับ การเลือกตั้งในวันที่ 2 ก.พ.ที่จะถึงนี้

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%

 

แสดงว่าคนที่เห็นด้วยให้มีเลือกตั้งวันที่ 2  (อักษรสีแดง) มี 37.34 %   

 

คนที่เห็นด้วยให้ยืดออกไปก่อน  (อักษรสีน้ำเงิน) 47.26 %  

 

ส่วนคนที่ไม่แน่ใจเกี่ยวกับวันที่เลือกตั้ง (อักษรสีม่วง) 15.40 %    

 

สรุป  คนเห็นควรให้ยืดไปก่อนมากกว่าครับ  47 กับ  37  เปอร์เซ็นต์

 

 

 

ตรงใหนบอกว่า ยืด คร่า


Edited by เมือกมั่ง, 25 January 2014 - 10:39.

ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#24 mongdoodee

mongdoodee

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 667 posts

Posted 25 January 2014 - 10:39

1.png

คณิตศาสตร์

 

วิธีสำรวจความคิดเห็น

 

 

การสำรวจความคิดเห็น

          การสำรวจความคิดเห็นของกลุ่มบุคคลเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งก็คือการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยวิธีการสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวจากกลุ่มบุคคลนั้นข้อมูลที่ได้จากความคิดเห็นของแต่ละบุคคลในเรื่องใด ๆ มิใช่ข้อเท็จจริงของเรื่องนั้น ๆ ทั้งหมด จะมีความแตกต่างกันเนื่องจากตัวผู้ตอบด้วย ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจความคิดเห็นในเรื่องเดียวกัน อาจจะแตกต่างกันเนื่องจากเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ อาชีพ สถานภสพสมรส ศาสนา หรือพื้นที่อยู่อาศัยก็ได้ การสรุปผลความคิดเห็นของกลุ่มบุคคล จึงนิยมสรุปผลจำแนกตามลักษณะต่าง ๆ ของกลุ่มผู้ตอบด้วย เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล จะจำแนกตามภาค (ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ กรุงเทพมหานครและปรมณฑล)เขตการปกครอง (เขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล) เพศ (ชาย หญิง) ระดับการศึกษา (ประถมศึกษาและต่ำกว่า มัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา) อาชีพ (ลูกจ้างรัฐบาล ลูกจ้างเอกชน เกษตรกร อาชีพอิสระ) การสรุปผลการสำรวจความคิดเห็นจำแนกตามลักษณะต่าง ๆ ของตัวผู้ตอบข้างต้นจะทำให้สามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาและกำหนดนโยบายของรัฐบาลให้เหมาะสมกับกลุ่มบุคคลในแต่ละลักษณะได้

 

3.1 วิธีสำรวจความคิดเห็น

          ขั้นตอนและวิธีการที่สำคัญในการสำรวจความคิดเห็น มีดังต่อไปนี้

 

         3.1.1 ขอบเขตของการสำรวจ

          ในการสำรวจความคิดเห็นต้องกำหนดของเขตของการสำรวจความคิดเห็นให้ชัดเจน ขอบเขตของการสำรวจความคิดเห็นอาจกำหนดได้หลายแบบ เช่น

          1. กำหนดด้วยพื้นที่ เช่น พื้นที่รวมทั้งประเทศ พื้นที่ภาคเหนือ พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พื้นที่อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก

          2. กำหนดด้วยลักษณะส่วนตัวของผู้ตอบ เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้

          3. กำหนดด้วยการมีส่วนได้ส่วนเสียกับเรื่องที่จะทำการสำรวจ เช่น ผู้ที่มีส่วนได้เสียกับการเปิดหรือปิดเขื่อนปากมูล จังหวัดอุบลราชธานี

 

          3.1.2 วิธีเลือกตัวอย่าง

          ในการสำรวจความคิดเห็นต้องกำหนดวิธีเลือกตัวอย่างหรือตัวแทนกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่งจะนำมาเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวอย่างหรือตัวแทนกลุ่มบุคคลที่จะเลือกมาเก็บรวบรวมข้อมูลควรจะมีลักษณะดังต่อไปนี้

          1. มีตัวอย่างหรือตัวแทนครบทุกลักษณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะที่สำคัญซึ่งจะมีผลทำให้ความคิดเห็นแตกต่างกัน เช่น พื้นที่ที่อยู่อาศัย ลักษณะส่วนตัวของผู้ตอบ หรือระดับการมีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเรื่องที่สำรวจความคิดเห็น

          2. มีจำนวนตัวอย่างหรือตัวแทนในแต่ละลักษณะตามข้อ 1 มากพอและสอดคล้องกับจำนวนทั้งหมดที่มีอยู่จริงในลักษณะนั้น ๆ เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศเกี่ยวกับการบริจาคดวงตาภายหลังการเสียชีวิต จะต้องใช้จำนวนประชาชนที่เป็นเพศชาย และเพศหญิง เป็นจำนวนเพศละ 3000 คน เท่ากัน เพราะปัจจุบันประชากรชายและหญิงมีจำนวนใกล้เคียงกัน

          สำหรับวิธีเลือกตัวอย่างหรือตัวแทนของกลุ่มบุคคลมาใช้ในการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ที่นิยมใช้กันทั่วไปมีหลายวิธี เช่น การสุ่มตัวอย่าง(random sampling) การเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (stratified sampling) การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้น (multi-stage sampling) และการเลือกตัวอย่างแบบกำหนดโควตา ( quota  sampling ) การเลือกตัวอย่าวแต่ละวิธีเพื่อนำมาใช้ในการสำรวจความคิดเห็นต่างข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป  ดังนี้

 

         การสุ่มตัวอย่าง  เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่มีกรอบตัวอย่าง ( sampling frame )ครบถ้วนสมบูรณ์ และมีขอบเขตของกลุ่มที่ไม่กว้างขวางมากนัก เช่นการสำรวจความคิดเห็นของพนักงานบริษัทซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดหนึ่งและไม่มีสาขาอื่น ๆ นอกจังหวัดหรือนอกประเทศ เกี่ยวกับสวัสดิการด้านรถรับส่งมาทำงานในบริษัทนั้น หรือการสำรวจความคิดเห็นของพนักงานการประปานครหลวงเกี่ยวกับการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีกรอบตัวอย่างเป็นรายชื่อของพนักงานการประปานคาหลวงทุกคน วิธีสุ่มตัวอย่างซึ่งหน่วยตัวอย่างทุก ๆ หน่วยมีโอกาสถูกเลือกมาเป็นตัวอย่างเท่า ๆ กันสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

          - การสุ่มโดยวิธีจับสลาก นิยมใช้กับกลุ่มที่มีจำนวนหน่วยตัวอย่างน้อย

          - การสุ่มโดยใช้ตารางเลขสุ่ม (table of random numbers) นิยมใช้กับกลุ่มที่มีจำนวนหน่วยตัวอย่างมาก

          - การสุ่มอย่างเป็นระบบ (systematic sampling) นิยมใช้กับกรอบตัวอย่างที่มีหน่วยตัวอย่างเรียงกันหรือจัดให้เรียงกันได้ เช่น รายชื่อพนักงานบริษัทที่เรียงตามลำดับการเข้าทำงานก่อนหลัง ในการสุ่มตัวอย่างอาจใช้การสุ่มจากผู้ที่อยู่ในอันดับที่หารด้วย 5 ลงตัวทุกคน

 

          การเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่มีกรอบตัวอย่างครบถ้วนสมบูรณ์และสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ได้ตามเขตที่อยู่อาศัยของผู้ตอบ (ประเทศแบ่งเป็นภาค จังหวัด อำเภอ เขต ตำบล แขวง  ในเขตเทศบาลนอกเขตเทศบาล กระทรวงแบ่งเป็น กรม กอง แผนก บริษัทแบ่งเป็นฝ่าย

 ส่วน แผนก หรือแบ่งตามลักษณะของผู้ตอบ ( เพศ อายุระดับการศึกษา รายได้ อาชีพ สถานภาพสมรส) โดยกำหนดให้แต่ละชั้นภูมิเป็นภาคต่างๆ ของประเทศกรมต่างๆ ของกระทรวง วัยต่างๆ ของอายุ ระดับต่างๆ ของการศึกษา ฯลฯ และเลือกตัวอย่างจากแต่ละชั้นภูมิซึ่งอาจใช้สุ่มหรือวิธีอื่นๆ ก็ได้สำเร็จ ความคิดเห็นดดยใช้วิธี

เลือกตัวอย่างแบบมีข้อดีคือสามารถสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการจำแนกตามกลุ่มต่างๆ ที่แบ่งได้ เช่น

จำแนกตามภาค จำแนกตามเขต จำแนกตามเพศ จำแนกตามอาชีพ

        

          การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้น เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็น  จากกลุ่มที่สามารถ

แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ  ได้หลายชั้น ( ประเทศแบ่งขั้นที่ 1 เป็นภาค ภาคแบ่งขั้นที่ 2 เป็นจังหวัด จังหวัดแบ่งขั้นที่ 3

 เป็นอำเภอ อำเภอบ่งขั้นที่ 4 เป็นตำบล ตำบลแบ่งขั้นที่ 5 เป็นหมู่บ้าน กระทรวง  เบ่งขั้นที่ 1 เป็นกรม กรมแบ่งขั้นที่ 2 เป็นกอง กองแบ่งขั้นที่ 3 เป็นแผนก มหาวิทยาลัยแบ่งขั้นที่ 1 เป็นคณะ คณะ คณะแบ่งขั้นที่ 2 เป็นภาควิชา )

โดยกำหนดให้เลือกตัวอย่างมาจากแต่ละขั้น เช่น ขั้นที่ 1 เลือกกรมตัวอย่างจากกระทรวง ขั้นที่ 2 เลือกกองตัวอย่าง

จากกรมตัวอย่าง และ ขั้นที่ 3 เลือกแผนกตัวอย่างจากกองตัวอย่างของกรมตัวอย่าง ข้อดีของการเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นก็คือไม่จำเป็นต้องมีกรอบตัวอย่างที่สมบูรณ์ในทุกๆ ขั้น ให้มีกรอบตัวอย่างที่สมบูรณ์ในตัวอย่างของแต่ละขั้นก็เป็นการเพียงพอ นอกจากนี้การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นยังสามารถประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลเมื่อเทียบกับการเลือกตัวอย่างวิธีอื่นๆ ที่นิยมใช้กันทั่วไปอีกด้วย

 

           การเลือกัวอย่างแบบกำหนดโควตา  เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่ไม่มีกรอบตัวอย่าง หรือมีกรอบตัวอย่างที่ไม่สมบูรณ์  โดยการกำหนดคุณสมบัติของตัวอย่างตามลักษณะของตัวอย่างที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจ  เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน

 เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ลักษณะของประชาชนซึ่งน่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด คอ เพศ อายุ และรายได้ ดังนั้น คุณสมบัติของตัวอย่างที่ควรจะนำมากำหนดสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าวคือ เพศ อายุ และรายได้ กล่าวคือ จะต้องมีตัวอย่างหรือตัวแทน

ของประชาชนทุกเพศ ทุกช่วงอายุ และทุกระดับรายได้ หรือการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล  คุณสมบัติของตัวอย่างที่สำคัญซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล คือ บริเวณที่อยู่อาศัย ( อยู่เหนือเขื่อนหรืออยู่ใต้เขื่อน) ซึ่งมีผลกระทบต่อประโยชน์ได้เสียในการเปิด ปิด  เขื่อนที่แตกต่างกัน

ดังนั้นคุณสมบัติของตัวอย่างที่จะควรนำมากำหนดสำหรับการรวบรวมข้อมูลดังกล่าว คือ บริเวณที่อยู่อาศัย

วึ่งเกี่ยวข้อง 3 อำเภอ คือ อำเภอพิบูลมังสาหาร อำเภอโขงเจียม และอำเภอสิรินธร กล่าวคือจะต้องเลือกตัวอย่าง

หนือประชาชนในแต่ละอำเภอของ 3 อำเภอ ข้างต้นมาสอบถามความคิดเห็น โดยที่ตัวอย่างประชาชน ในแต่ละอำเภอควรจะต้องมีทั้งประชาชนที่ได้รับผลกระทบมาก ได้รับผลกระทบปานกลาง และได้รับผลกระทบน้อย

          ส่วนจำนวนตัวอย่างที่จะนำมาใช้ในการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ควรเป็นเรื่องเท่าไหร่นั้น

ขึ้นอญุ่กับปัจจัยที่สำคัญต่อไปนี้

-                    จำนวนของกลุ่มบุคคลทั้งหมดที่จะสำรวจความคิดเห็น

-                    การจำแนกกลุ่มย่อยของผลการสำรวจความคิดเห็น

-                    ความแตกต่างระดับการศึกษาของกลุ่มบุคคลที่ทำการสำรวจ

-                    ความแตกต่างระหว่างการได้เสียประโยชน์ของกลุ่มบุคคลที่ทำการสำรวจ

-                    ความถูกต้องเชื่อถือได้ของผลการสำรวจที่ต้องการ

          กล่าวคือ จำนวนตัวอย่างหรือตัวแทนในการสำรวจความคิดเห็นจะต้องมากขึ้นตามจำนวนกลุ่มบุคคลทั้งหมดที่มากขึ้นตามจำนวนกลุ่มที่ต้องการจำแนกผลการสำเร็จตามขนาดความแตกต่างระหว่าระดับการศึกษา

 และการได้เสียประโยชน์ของกลุ่มบุคคลที่สำรวจ และตามขนาดของความน่าเชื่อถือได้ของผลการสำเร็จีท่มากขึ้น

         

 

 

ที่มา : http://www.vcharkarn...iew.php?id=1554  (คัดลอกมาบางส่วน)


Edited by mongdoodee, 25 January 2014 - 10:42.


#25 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:40

1.png

คณิตศาสตร์
 
วิธีสำรวจความคิดเห็น
สร้างเมื่อ 15 พ.ค. 2556 14:39:04
  • ระดับม.5
  • 10,208 view

 

การสำรวจความคิดเห็น

          การสำรวจความคิดเห็นของกลุ่มบุคคลเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งก็คือการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยวิธีการสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวจากกลุ่มบุคคลนั้นข้อมูลที่ได้จากความคิดเห็นของแต่ละบุคคลในเรื่องใด ๆ มิใช่ข้อเท็จจริงของเรื่องนั้น ๆ ทั้งหมด จะมีความแตกต่างกันเนื่องจากตัวผู้ตอบด้วย ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจความคิดเห็นในเรื่องเดียวกัน อาจจะแตกต่างกันเนื่องจากเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ อาชีพ สถานภสพสมรส ศาสนา หรือพื้นที่อยู่อาศัยก็ได้ การสรุปผลความคิดเห็นของกลุ่มบุคคล จึงนิยมสรุปผลจำแนกตามลักษณะต่าง ๆ ของกลุ่มผู้ตอบด้วย เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล จะจำแนกตามภาค (ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ กรุงเทพมหานครและปรมณฑล)เขตการปกครอง (เขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล) เพศ (ชาย หญิง) ระดับการศึกษา (ประถมศึกษาและต่ำกว่า มัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา) อาชีพ (ลูกจ้างรัฐบาล ลูกจ้างเอกชน เกษตรกร อาชีพอิสระ) การสรุปผลการสำรวจความคิดเห็นจำแนกตามลักษณะต่าง ๆ ของตัวผู้ตอบข้างต้นจะทำให้สามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาและกำหนดนโยบายของรัฐบาลให้เหมาะสมกับกลุ่มบุคคลในแต่ละลักษณะได้

 

3.1 วิธีสำรวจความคิดเห็น

          ขั้นตอนและวิธีการที่สำคัญในการสำรวจความคิดเห็น มีดังต่อไปนี้

 

         3.1.1 ขอบเขตของการสำรวจ

          ในการสำรวจความคิดเห็นต้องกำหนดของเขตของการสำรวจความคิดเห็นให้ชัดเจน ขอบเขตของการสำรวจความคิดเห็นอาจกำหนดได้หลายแบบ เช่น

          1. กำหนดด้วยพื้นที่ เช่น พื้นที่รวมทั้งประเทศ พื้นที่ภาคเหนือ พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พื้นที่อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก

          2. กำหนดด้วยลักษณะส่วนตัวของผู้ตอบ เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้

          3. กำหนดด้วยการมีส่วนได้ส่วนเสียกับเรื่องที่จะทำการสำรวจ เช่น ผู้ที่มีส่วนได้เสียกับการเปิดหรือปิดเขื่อนปากมูล จังหวัดอุบลราชธานี

 

          3.1.2 วิธีเลือกตัวอย่าง

          ในการสำรวจความคิดเห็นต้องกำหนดวิธีเลือกตัวอย่างหรือตัวแทนกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่งจะนำมาเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวอย่างหรือตัวแทนกลุ่มบุคคลที่จะเลือกมาเก็บรวบรวมข้อมูลควรจะมีลักษณะดังต่อไปนี้

          1. มีตัวอย่างหรือตัวแทนครบทุกลักษณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะที่สำคัญซึ่งจะมีผลทำให้ความคิดเห็นแตกต่างกัน เช่น พื้นที่ที่อยู่อาศัย ลักษณะส่วนตัวของผู้ตอบ หรือระดับการมีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเรื่องที่สำรวจความคิดเห็น

          2. มีจำนวนตัวอย่างหรือตัวแทนในแต่ละลักษณะตามข้อ 1 มากพอและสอดคล้องกับจำนวนทั้งหมดที่มีอยู่จริงในลักษณะนั้น ๆ เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศเกี่ยวกับการบริจาคดวงตาภายหลังการเสียชีวิต จะต้องใช้จำนวนประชาชนที่เป็นเพศชาย และเพศหญิง เป็นจำนวนเพศละ 3000 คน เท่ากัน เพราะปัจจุบันประชากรชายและหญิงมีจำนวนใกล้เคียงกัน

          สำหรับวิธีเลือกตัวอย่างหรือตัวแทนของกลุ่มบุคคลมาใช้ในการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ที่นิยมใช้กันทั่วไปมีหลายวิธี เช่น การสุ่มตัวอย่าง(random sampling) การเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (stratified sampling) การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้น (multi-stage sampling) และการเลือกตัวอย่างแบบกำหนดโควตา ( quota  sampling ) การเลือกตัวอย่าวแต่ละวิธีเพื่อนำมาใช้ในการสำรวจความคิดเห็นต่างข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป  ดังนี้

 

         การสุ่มตัวอย่าง  เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่มีกรอบตัวอย่าง ( sampling frame )ครบถ้วนสมบูรณ์ และมีขอบเขตของกลุ่มที่ไม่กว้างขวางมากนัก เช่นการสำรวจความคิดเห็นของพนักงานบริษัทซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดหนึ่งและไม่มีสาขาอื่น ๆ นอกจังหวัดหรือนอกประเทศ เกี่ยวกับสวัสดิการด้านรถรับส่งมาทำงานในบริษัทนั้น หรือการสำรวจความคิดเห็นของพนักงานการประปานครหลวงเกี่ยวกับการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีกรอบตัวอย่างเป็นรายชื่อของพนักงานการประปานคาหลวงทุกคน วิธีสุ่มตัวอย่างซึ่งหน่วยตัวอย่างทุก ๆ หน่วยมีโอกาสถูกเลือกมาเป็นตัวอย่างเท่า ๆ กันสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

          - การสุ่มโดยวิธีจับสลาก นิยมใช้กับกลุ่มที่มีจำนวนหน่วยตัวอย่างน้อย

          - การสุ่มโดยใช้ตารางเลขสุ่ม (table of random numbers) นิยมใช้กับกลุ่มที่มีจำนวนหน่วยตัวอย่างมาก

          - การสุ่มอย่างเป็นระบบ (systematic sampling) นิยมใช้กับกรอบตัวอย่างที่มีหน่วยตัวอย่างเรียงกันหรือจัดให้เรียงกันได้ เช่น รายชื่อพนักงานบริษัทที่เรียงตามลำดับการเข้าทำงานก่อนหลัง ในการสุ่มตัวอย่างอาจใช้การสุ่มจากผู้ที่อยู่ในอันดับที่หารด้วย 5 ลงตัวทุกคน

 

          การเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่มีกรอบตัวอย่างครบถ้วนสมบูรณ์และสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ได้ตามเขตที่อยู่อาศัยของผู้ตอบ (ประเทศแบ่งเป็นภาค จังหวัด อำเภอ เขต ตำบล แขวง  ในเขตเทศบาลนอกเขตเทศบาล กระทรวงแบ่งเป็น กรม กอง แผนก บริษัทแบ่งเป็นฝ่าย

 ส่วน แผนก หรือแบ่งตามลักษณะของผู้ตอบ ( เพศ อายุระดับการศึกษา รายได้ อาชีพ สถานภาพสมรส) โดยกำหนดให้แต่ละชั้นภูมิเป็นภาคต่างๆ ของประเทศกรมต่างๆ ของกระทรวง วัยต่างๆ ของอายุ ระดับต่างๆ ของการศึกษา ฯลฯ และเลือกตัวอย่างจากแต่ละชั้นภูมิซึ่งอาจใช้สุ่มหรือวิธีอื่นๆ ก็ได้สำเร็จ ความคิดเห็นดดยใช้วิธี

เลือกตัวอย่างแบบมีข้อดีคือสามารถสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการจำแนกตามกลุ่มต่างๆ ที่แบ่งได้ เช่น

จำแนกตามภาค จำแนกตามเขต จำแนกตามเพศ จำแนกตามอาชีพ

        

          การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้น เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็น  จากกลุ่มที่สามารถ

แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ  ได้หลายชั้น ( ประเทศแบ่งขั้นที่ 1 เป็นภาค ภาคแบ่งขั้นที่ 2 เป็นจังหวัด จังหวัดแบ่งขั้นที่ 3

 เป็นอำเภอ อำเภอบ่งขั้นที่ 4 เป็นตำบล ตำบลแบ่งขั้นที่ 5 เป็นหมู่บ้าน กระทรวง  เบ่งขั้นที่ 1 เป็นกรม กรมแบ่งขั้นที่ 2 เป็นกอง กองแบ่งขั้นที่ 3 เป็นแผนก มหาวิทยาลัยแบ่งขั้นที่ 1 เป็นคณะ คณะ คณะแบ่งขั้นที่ 2 เป็นภาควิชา )

โดยกำหนดให้เลือกตัวอย่างมาจากแต่ละขั้น เช่น ขั้นที่ 1 เลือกกรมตัวอย่างจากกระทรวง ขั้นที่ 2 เลือกกองตัวอย่าง

จากกรมตัวอย่าง และ ขั้นที่ 3 เลือกแผนกตัวอย่างจากกองตัวอย่างของกรมตัวอย่าง ข้อดีของการเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นก็คือไม่จำเป็นต้องมีกรอบตัวอย่างที่สมบูรณ์ในทุกๆ ขั้น ให้มีกรอบตัวอย่างที่สมบูรณ์ในตัวอย่างของแต่ละขั้นก็เป็นการเพียงพอ นอกจากนี้การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นยังสามารถประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลเมื่อเทียบกับการเลือกตัวอย่างวิธีอื่นๆ ที่นิยมใช้กันทั่วไปอีกด้วย

 

           การเลือกัวอย่างแบบกำหนดโควตา  เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่ไม่มีกรอบตัวอย่าง หรือมีกรอบตัวอย่างที่ไม่สมบูรณ์  โดยการกำหนดคุณสมบัติของตัวอย่างตามลักษณะของตัวอย่างที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจ  เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน

 เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ลักษณะของประชาชนซึ่งน่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด คอ เพศ อายุ และรายได้ ดังนั้น คุณสมบัติของตัวอย่างที่ควรจะนำมากำหนดสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าวคือ เพศ อายุ และรายได้ กล่าวคือ จะต้องมีตัวอย่างหรือตัวแทน

ของประชาชนทุกเพศ ทุกช่วงอายุ และทุกระดับรายได้ หรือการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล  คุณสมบัติของตัวอย่างที่สำคัญซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล คือ บริเวณที่อยู่อาศัย ( อยู่เหนือเขื่อนหรืออยู่ใต้เขื่อน) ซึ่งมีผลกระทบต่อประโยชน์ได้เสียในการเปิด ปิด  เขื่อนที่แตกต่างกัน

ดังนั้นคุณสมบัติของตัวอย่างที่จะควรนำมากำหนดสำหรับการรวบรวมข้อมูลดังกล่าว คือ บริเวณที่อยู่อาศัย

วึ่งเกี่ยวข้อง 3 อำเภอ คือ อำเภอพิบูลมังสาหาร อำเภอโขงเจียม และอำเภอสิรินธร กล่าวคือจะต้องเลือกตัวอย่าง

หนือประชาชนในแต่ละอำเภอของ 3 อำเภอ ข้างต้นมาสอบถามความคิดเห็น โดยที่ตัวอย่างประชาชน ในแต่ละอำเภอควรจะต้องมีทั้งประชาชนที่ได้รับผลกระทบมาก ได้รับผลกระทบปานกลาง และได้รับผลกระทบน้อย

          ส่วนจำนวนตัวอย่างที่จะนำมาใช้ในการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ควรเป็นเรื่องเท่าไหร่นั้น

ขึ้นอญุ่กับปัจจัยที่สำคัญต่อไปนี้

-                    จำนวนของกลุ่มบุคคลทั้งหมดที่จะสำรวจความคิดเห็น

-                    การจำแนกกลุ่มย่อยของผลการสำรวจความคิดเห็น

-                    ความแตกต่างระดับการศึกษาของกลุ่มบุคคลที่ทำการสำรวจ

-                    ความแตกต่างระหว่างการได้เสียประโยชน์ของกลุ่มบุคคลที่ทำการสำรวจ

-                    ความถูกต้องเชื่อถือได้ของผลการสำรวจที่ต้องการ

          กล่าวคือ จำนวนตัวอย่างหรือตัวแทนในการสำรวจความคิดเห็นจะต้องมากขึ้นตามจำนวนกลุ่มบุคคลทั้งหมดที่มากขึ้นตามจำนวนกลุ่มที่ต้องการจำแนกผลการสำเร็จตามขนาดความแตกต่างระหว่าระดับการศึกษา

 และการได้เสียประโยชน์ของกลุ่มบุคคลที่สำรวจ และตามขนาดของความน่าเชื่อถือได้ของผลการสำเร็จีท่มากขึ้น

          สำหรับขนาดตัวอย่างกลุ่มบุคคลที่สำนักงานสถิติแห่งชาติใช้ในการสำรวจ ความคิดเห็นเพื่อเสนอผลในระดับต่างๆ ( ประเทศ ภาค  จังหวัด ) เป็นดังนี้

 

ระดับเสนอผล

จำนวนตัวอย่าง

ระดับจังหวัดอย่างเดียว

1,100 ถึง 4,800

ระดับประเทศอย่างเดียว

2,000

ทั้งระดับประเทศและภาค

5,600 ถึง 10,000

ทั้งระดับจังหวัด ภาค และประเทศ

31,000 ถึง 62,000

 

 

         

3.1.3การสร้างแบบรวจความคิดเห็น

          แบบสำรวจความคิดเห็นที่ดีควรจะมีลักษณะต่างๆ ที่สำคัญดังต่อไปนี้

             1. แบบสำรวจควรปนะกอบด้วย 3 ส่วนเป็นอย่างน้อย ดังนี้

ส่วนแรกคือ ลักษณะของผู้ตอบที่คาดว่าจะมีผลทำให้คำตอบที่แสดงความคิดเห็น แตกต่างกันจากผู้ที่มีลักษณะอื่น

 เช่นพื้นที่อยู่อาศัย  เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้อาชีพฯ

          ส่วนที่สองคือความคิดเห็นของผู้ตอบในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น เช่นคำถามในการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับพึงพอใจในการใช้บริการการประกันสุขภาพถ้วนหน้า  คำถามที่ใช้ถามอาจเกี่ยวกับด้านการบริหารการ/ การดูแลเอาใจใส่การตรวจรักษาของแพทย์/พยาบาล อุปกรณ์ทางการแพทย์ และคุณภาพยาส่วนการวัดระดับความพึงพอใจในแต่ละด้าน นิยมใช้มาตรประเมินค่า 5 ระดับ ได้แก่ พึงพอใจมาก พึงพอใจค่อนข้างมาก พึงพอใจปานกลาง พึงพอใจค่อนข้างน้อย และพึงพอใจน้อย หรือในกรณีที่ต้องการวัดระดับความพึงพอใจอย่างหยาล ๆ หรือคร่าว ๆ อาจใช้มาตรประเมินค่าเพียง 2 ระดับ คือ พึงพอใจ และไม่พึงพอใจ หรือใช้มาตรประเมินค่า 3 ระดับ คือ พึงพอใจมาก พึงพอใจปานกลาง และพึงพอใจน้อย

          ส่วนที่สาม คือ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ของผู้ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่สำรวจความคิดเห็นนั้น ๆ

          2. คำถามเกี่ยวกับความคิดเห็นในเรื่องที่สำรวจต้องไม่เป็นคำถามนำหรือคำถามที่พยายามชักนำให้ผู้ตอบตามที่ผู้สำรวจต้องการ เช่น ท่านไม่พึงพอใจในการบริการการประกันสุขภาพถ้วนหน้าใช่ไหม หรือท่านเห็นด้วยกับบริการการประกันสุขภาพถ้วนหน้าของรัฐบาลใช่หรือไม่

          3. จำนวนคำถามไม่ควรมีมากเกินไป เพราะจะทำให้ผู้ตอบร่วมมือในการตอบคำถามน้อยลง และคำตอบมีจำนวนเกินความจำเป็นในการนำไปใช้ประโยชน์ทำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น

          4. ผู้ตอบแบบสำรวจความคิดเห็นควรจะมีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจเป็นอย่างดี มิฉะนั้นความคิดเห็นที่สำรวจได้จากผู้ตอบดังกล่าวจะไม่สามารถนำไปใช้ในการสรุปผลร่วมกับคำตอบของผู้ตอบรายอื่น ๆ ได้

 

          3.1.4 การประมวลผลปละวิเคราะห์ความคิดเห็น

          การประมวลผลและวิเคราะห์ผลการสำรวจความคิดเห็นโดยทั้ว ๆ ไป จะประกอบด้วย

          1. ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจความคิดเห็นในแต่ละด้านที่เกี่ยวข้องฃ

          - ในกรณีที่ถามเกี่ยวกับความคิดเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จะจำแนกตามระดับความคิดเห็น ได้แก่ เห็นด้วย ค่อนข้างเห็นด้วย เห็นด้วยปานกลาง ค่อนข้างไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรือเห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น ไม่เห็นด้วย

          - ในกรณีที่ถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจ จะจำแนกตามระดับความพึงพอใจ ได้แก่ พอใจมาก พอใจค่อนข้างมาก พอใจปานกลาง พอใจค่อนข้างน้อย พอใจน้อย

          - ในกรณีที่ถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความสนใจหรือความต้องการ จะจำแนกตามระดับความสนใจหรือความต้องการ ได้แก่ สนใจมาก สนใจค่อนข้างมาก สนใจปานกลาง สนใจค่อนข้างน้อย สนใจน้อย

          2. ระดับความคิดเห็นเฉลี่ย โดยแทนค่าระดับความคิดเห็นในแต่ละด้านของผู้ตอบแต่ละคน ดังนี้

                        เห็นด้วย                                     แทนด้วยค่า   5

                        ค่อนข้างเห็นด้วย                       แทนด้วยค่า   4 

                        เห็นด้วยปานกลาง                     แทนด้วยค่า   3

                        ค่อนข้างไม่เห็นด้วย              แทนด้วยค่า   2  

                        ไม่เห็นด้วย                                แทนด้วยค่า   1

          สำหรับค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นที่คำนวณได้ อาจมีความหมายดังนี้

ค่าเฉลี่ยความคิดเห็น

ความหมาย

1.00 - 1.80

ไม่เห็นด้วย

1.81 - 2.60

ค่อนข้างไม่เห็นด้วย

2.61 - 3.40

เห็นด้วยปานกลาง

3.41 - 4.20

ค่อนข้างเห็นด้วย

4.21 - 5.00

เห็นด้วย

 

                                                                          

          ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในทุก ๆ ด้าน ของผู้ตอบแต่ละคน เมื่อนำมาหาระดับความสัมพันธ์กับลักษณะต่าง ๆ ของผู้ตอบ เช่น พื้นที่อยู่อาศัย เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ อาชีพฯ จะทำให้ทราบว่าลักษณะใดของผู้ตอบที่มีผลทำให้ระดับความคิดเห็นแตกต่างกัน และลักษณะใดที่ส่งผลกระทบต่อระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจมากน้อยกว่ากัน เช่น ระดับการศึกษาของผู้ตอบส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่สำรวจนั้นมากกว่าเพศและ อายุ โดยที่อาชีพไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจเลย

 

3.2 ตัวอย่างเรื่องที่เคยมีการสำรวจความคิดเห็นจากหน่วยงานต่าง ๆ

          การสำรวจความคิดเห็นสามารถทำได้ในทุก ๆ เรื่องโดยเฉพาะเรื่องที่ต้องการให้กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาหรือกำหนดแนวทางหรือนโยบายด้านต่าง ๆ ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น

 

          ด้านการเมือง

-                    เรื่องการใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฯ

-                    เรื่องคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้งประเภทต่าง ๆ ที่ต้องการ

-                    เรื่องการซึ้อเสียง และการขายสิทธิการเลือกตั้ง

-                    เรื่องทรัพย์สินของนักการเมือง

 

          ด้านเศรษฐกิจ

-                    เรื่องภาวะเศรษฐกิจของประเทศ

-                    เรื่องหวยใต้ดิน

-                    เรื่องบัตรเครดิต การซึ้อสินค้าเงินผ่อน

-                    เรื่องการคอร์รัปชัน

 

 

          ด้านกฎหมาย

-                    เรื่อง การผสมเทียม

-                    เรื่องการครอบครองอาวุธปืน อาวุธสงคราม

-                    เรื่องการทำแท้ง

-                    เรื่องการค้าเสรี

 

          ด้านวัฒนธรรมประเพณี

-                    เรื่องวันวาเลนไทน์

-                    เรื่องการทำบุญ

-                    เรื่องการบวชพระ

-                    เรื่องประเพณีสงกรานต์

 

          ด้านอาหารและยา

-                    เรื่องยาแผนโบราณ สมุนไพร

-                    เรื่องอาหารเสริม อาหารจานด่วน

-                    เรื่องเครื่องดื่มชูกำลัง น้ำดื่มบรรจุขวด

-                    เรื่องนมผง นมสด

 

          ด้านกีฬา

-                    เรื่องการพนันฟุตบอล

-                    เรื่องการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกม กีฬาโอลิมปิกของนักกีฬาไทย

-                    เรื่องการออกกำลังกายของเยาวชนและผู้สูงอายุ

-                    เรื่องกีฬาตีไก่ ชนวัว

 

           ด้านสิ่งแวดล้อม

-                    เรื่องการทิ่งขยะ

-                    เรื่องการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ

-                    เรื่องท่อไอเสียรถยนต์ รถมอเตอร์ไซค์

-                    เรื่องการปล่อยน้ำเสียลงแม่น้ำลำคลอง

 

          สำหรับการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อนโยบายหลักของรัฐบาลเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการดำเนินนโยบายที่สำคัญของภาครัฐซึ่งจัดทำโดยกองสถิติประชามติ สำนักงานสถิติแห่งชาติ ในปีงบประมาณ 2546 มีทั้งหมด 21 เรื่อง ได้แก่

1)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการพักชำระหนี้และลดภาระหนี้แก่เกษตรกรรายย่อย พ.ศ. 2546

2)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล พ.ศ. 2546 (เมื่อบริหารงานครบ 2 ปี)

3)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชยที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ไอซีทีเพื่อคนไทย พ.ศ. 2546

4)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อการทำงานของรัฐสภา รัฐบาล องค์กรอิสระ และประเด็นอื่น ๆ พ.ศ. 2546

5)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการปรับเวลาของประเทศไทยให้เร็วขึ้น 1 ชั่วโมง พ.ศ. 2545

6)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลังการประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ. 2546

7)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชัน พ.ศ. 2546

8)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ. 2546

9)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล พ.ศ. 2546

10)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับสวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546

11)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) พ.ศ. 2546

12)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล พ.ศ. 2546 (เมื่อบริหารงานครบ 2 ปี 6 เดือน)

13)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์เรื่องโรคเอดส์ พ.ศ. 2546

14)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริจาคดวงตา(ภายหลังการเสียชีวิต) พ.ศ. 2546

15)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับของขวัญปีใหม่ที่ต้องการจากรัฐบาล พ.ศ. 2546

16)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล อำเภอพิบูลมังสาหาร โขงเจียม สิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

17)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของผู้ปกครองเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เนตหรือคอมพิวเตอร์ของบุตรหลาน / สมาชิกในครัวเรือน ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

18)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริหารของภาครัฐทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

19)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการตรึงราคา / กำหนดระดับราคาน้ำมัน พ.ศ. 2546

20)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนผู้ใช้บริการเกี่ยวกับรถตู้โดยสารที่วิ่งระหว่างกรุงเทพมหานคร - ต่างจังหวัด พ.ศ. 2546

21)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

           3.1.4 การประมวลผลปละวิเคราะห์ความคิดเห็น

          การประมวลผลและวิเคราะห์ผลการสำรวจความคิดเห็นโดยทั้ว ๆ ไป จะประกอบด้วย

          1. ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจความคิดเห็นในแต่ละด้านที่เกี่ยวข้องฃ

          - ในกรณีที่ถามเกี่ยวกับความคิดเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จะจำแนกตามระดับความคิดเห็น ได้แก่ เห็นด้วย ค่อนข้างเห็นด้วย เห็นด้วยปานกลาง ค่อนข้างไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรือเห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น ไม่เห็นด้วย

          - ในกรณีที่ถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจ จะจำแนกตามระดับความพึงพอใจ ได้แก่ พอใจมาก พอใจค่อนข้างมาก พอใจปานกลาง พอใจค่อนข้างน้อย พอใจน้อย

          - ในกรณีที่ถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความสนใจหรือความต้องการ จะจำแนกตามระดับความสนใจหรือความต้องการ ได้แก่ สนใจมาก สนใจค่อนข้างมาก สนใจปานกลาง สนใจค่อนข้างน้อย สนใจน้อย

          2. ระดับความคิดเห็นเฉลี่ย โดยแทนค่าระดับความคิดเห็นในแต่ละด้านของผู้ตอบแต่ละคน ดังนี้

                        เห็นด้วย                                     แทนด้วยค่า   5

                        ค่อนข้างเห็นด้วย                       แทนด้วยค่า   4 

                        เห็นด้วยปานกลาง                     แทนด้วยค่า   3

                        ค่อนข้างไม่เห็นด้วย              แทนด้วยค่า   2  

                        ไม่เห็นด้วย                                แทนด้วยค่า   1

          สำหรับค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นที่คำนวณได้ อาจมีความหมายดังนี้

ค่าเฉลี่ยความคิดเห็น

ความหมาย

1.00 - 1.80

ไม่เห็นด้วย

1.81 - 2.60

ค่อนข้างไม่เห็นด้วย

2.61 - 3.40

เห็นด้วยปานกลาง

3.41 - 4.20

ค่อนข้างเห็นด้วย

4.21 - 5.00

เห็นด้วย

 

                                                                          

          ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในทุก ๆ ด้าน ของผู้ตอบแต่ละคน เมื่อนำมาหาระดับความสัมพันธ์กับลักษณะต่าง ๆ ของผู้ตอบ เช่น พื้นที่อยู่อาศัย เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ อาชีพฯ จะทำให้ทราบว่าลักษณะใดของผู้ตอบที่มีผลทำให้ระดับความคิดเห็นแตกต่างกัน และลักษณะใดที่ส่งผลกระทบต่อระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจมากน้อยกว่ากัน เช่น ระดับการศึกษาของผู้ตอบส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่สำรวจนั้นมากกว่าเพศและ อายุ โดยที่อาชีพไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจเลย

 

3.2 ตัวอย่างเรื่องที่เคยมีการสำรวจความคิดเห็นจากหน่วยงานต่าง ๆ

          การสำรวจความคิดเห็นสามารถทำได้ในทุก ๆ เรื่องโดยเฉพาะเรื่องที่ต้องการให้กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาหรือกำหนดแนวทางหรือนโยบายด้านต่าง ๆ ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น

 

          ด้านการเมือง

-                    เรื่องการใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฯ

-                    เรื่องคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้งประเภทต่าง ๆ ที่ต้องการ

-                    เรื่องการซึ้อเสียง และการขายสิทธิการเลือกตั้ง

-                    เรื่องทรัพย์สินของนักการเมือง

 

          ด้านเศรษฐกิจ

-                    เรื่องภาวะเศรษฐกิจของประเทศ

-                    เรื่องหวยใต้ดิน

-                    เรื่องบัตรเครดิต การซึ้อสินค้าเงินผ่อน

-                    เรื่องการคอร์รัปชัน

 

 

          ด้านกฎหมาย

-                    เรื่อง การผสมเทียม

-                    เรื่องการครอบครองอาวุธปืน อาวุธสงคราม

-                    เรื่องการทำแท้ง

-                    เรื่องการค้าเสรี

 

          ด้านวัฒนธรรมประเพณี

-                    เรื่องวันวาเลนไทน์

-                    เรื่องการทำบุญ

-                    เรื่องการบวชพระ

-                    เรื่องประเพณีสงกรานต์

 

          ด้านอาหารและยา

-                    เรื่องยาแผนโบราณ สมุนไพร

-                    เรื่องอาหารเสริม อาหารจานด่วน

-                    เรื่องเครื่องดื่มชูกำลัง น้ำดื่มบรรจุขวด

-                    เรื่องนมผง นมสด

 

          ด้านกีฬา

-                    เรื่องการพนันฟุตบอล

-                    เรื่องการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกม กีฬาโอลิมปิกของนักกีฬาไทย

-                    เรื่องการออกกำลังกายของเยาวชนและผู้สูงอายุ

-                    เรื่องกีฬาตีไก่ ชนวัว

 

           ด้านสิ่งแวดล้อม

-                    เรื่องการทิ่งขยะ

-                    เรื่องการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ

-                    เรื่องท่อไอเสียรถยนต์ รถมอเตอร์ไซค์

-                    เรื่องการปล่อยน้ำเสียลงแม่น้ำลำคลอง

 

          สำหรับการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อนโยบายหลักของรัฐบาลเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการดำเนินนโยบายที่สำคัญของภาครัฐซึ่งจัดทำโดยกองสถิติประชามติ สำนักงานสถิติแห่งชาติ ในปีงบประมาณ 2546 มีทั้งหมด 21 เรื่อง ได้แก่

1)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการพักชำระหนี้และลดภาระหนี้แก่เกษตรกรรายย่อย พ.ศ. 2546

2)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล พ.ศ. 2546 (เมื่อบริหารงานครบ 2 ปี)

3)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชยที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ไอซีทีเพื่อคนไทย พ.ศ. 2546

4)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อการทำงานของรัฐสภา รัฐบาล องค์กรอิสระ และประเด็นอื่น ๆ พ.ศ. 2546

5)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการปรับเวลาของประเทศไทยให้เร็วขึ้น 1 ชั่วโมง พ.ศ. 2545

6)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลังการประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ. 2546

7)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชัน พ.ศ. 2546

8)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ. 2546

9)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล พ.ศ. 2546

10)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับสวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546

11)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) พ.ศ. 2546

12)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล พ.ศ. 2546 (เมื่อบริหารงานครบ 2 ปี 6 เดือน)

13)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์เรื่องโรคเอดส์ พ.ศ. 2546

14)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริจาคดวงตา(ภายหลังการเสียชีวิต) พ.ศ. 2546

15)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับของขวัญปีใหม่ที่ต้องการจากรัฐบาล พ.ศ. 2546

16)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล อำเภอพิบูลมังสาหาร โขงเจียม สิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

17)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของผู้ปกครองเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เนตหรือคอมพิวเตอร์ของบุตรหลาน / สมาชิกในครัวเรือน ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

18)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริหารของภาครัฐทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

19)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการตรึงราคา / กำหนดระดับราคาน้ำมัน พ.ศ. 2546

20)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนผู้ใช้บริการเกี่ยวกับรถตู้โดยสารที่วิ่งระหว่างกรุงเทพมหานคร - ต่างจังหวัด พ.ศ. 2546

21)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

 กิจกรรม

1.               ให้นักเรียนหากลุ่มเพื่อร่วมกันทำการสำรวจความคิดเห็น โดยมีขั้นตอนทำงานดังนี้

1)              กำหนดหัวข้อหรือเรื่องที่ต้องการสำรวจ พร้อมเหตุผลที่ต้องการสำรวจข้อมูล

2)              กำหนดวิธีการสำรวจข้อมูลที่เหมาะสมกับเรื่องที่ต้องการสำรวจและความรู้ของนักเรียน

3)              เลือวิธีสำรวจข้อมูลโดยศึกษาเรื่องวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลในบทที่ 1

4)              สำรวจข้อมูลและสรุปผลสำรวจข้อมูล

5)              นำเสนอผลการสำรวจความคิดเห็นในรูปของรายงานโปสเตอร์ หรือสื่ออื่นตามความเหมาะสม

 

         ตัวอย่างหัวข้อสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ มีดังนี้

1)              การเรียนพิเศษเพื่อสอบเข้ามหาวิทยาลัยจำเป็นหรือไม่

2)              วิชาหรือสาขาอาชีพที่นักเรียนต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา

3)              นักเรียนที่คิดการเรียนภาษาที่สามเพิ่มเติมจากภาษาไทยและภาษาอังกฤษเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับนักเรียนหรือไม่

4)              อาชีพที่นักเรียนใฝ่ฝันอยากจะทำ

5)              คุณภาพของอาหารและการใช้บริการของโรงอาหารในดรงเรียนเหมาะสมดีและวหรือไม่

6)              ข้อบกพร่องของนักเรียนเองที่ควรปรับปรุง

7)              คุณครูในฝันควรมีคุณสมบัติอย่างไร

8)              ศิลปินที่คุณชื่อนชอบคือใคร

 

2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อช่วยกันหาข้อสรุปที่ได้จากการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องที่น่าสนใจจากสื่อสิ่งพิมพ์อื่นๆ เพื่อมานำเสนอในชั้นเรียน

 

 

ที่มา : http://www.vcharkarn...iew.php?id=1554

 

 

เป็นการประเมินเพื่อให้เห็นแนวทาง คร่าวๆ ค่า

ถ้าไม่เห็นด้วย อย่าไปใส่ใจกับข้อมูลนี้ก็ได้คร่า

 

เดี๋ยว เครียด ตาย เลย คร่า


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#26 jimmydna95

jimmydna95

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 332 posts

Posted 25 January 2014 - 10:41

ไปสำรวจแถวเวทีหรือป่าว

#27 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:43

ไปสำรวจแถวเวทีหรือป่าว

 

ใช้การสุ่ม และเก็บข้อมูลทั้งจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง โดย ตรง และ ทางโทรศัพท์ คร่า

 

คนแถวเวที บางคนที่ถูกสุ่ม อาจได้รับการสัมภาษณ์ ทาง โทรศัพท์ คร่าาา

 

 (กรุงเทพโพลล์)


Edited by เมือกมั่ง, 25 January 2014 - 10:45.

ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#28 sanskrit_shower

sanskrit_shower

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,741 posts

Posted 25 January 2014 - 10:45

 

1.png

คณิตศาสตร์
 
วิธีสำรวจความคิดเห็น
สร้างเมื่อ 15 พ.ค. 2556 14:39:04
  • ระดับม.5
  • 10,208 view

 

การสำรวจความคิดเห็น

          การสำรวจความคิดเห็นของกลุ่มบุคคลเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งก็คือการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยวิธีการสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวจากกลุ่มบุคคลนั้นข้อมูลที่ได้จากความคิดเห็นของแต่ละบุคคลในเรื่องใด ๆ มิใช่ข้อเท็จจริงของเรื่องนั้น ๆ ทั้งหมด จะมีความแตกต่างกันเนื่องจากตัวผู้ตอบด้วย ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจความคิดเห็นในเรื่องเดียวกัน อาจจะแตกต่างกันเนื่องจากเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ อาชีพ สถานภสพสมรส ศาสนา หรือพื้นที่อยู่อาศัยก็ได้ การสรุปผลความคิดเห็นของกลุ่มบุคคล จึงนิยมสรุปผลจำแนกตามลักษณะต่าง ๆ ของกลุ่มผู้ตอบด้วย เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล จะจำแนกตามภาค (ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ กรุงเทพมหานครและปรมณฑล)เขตการปกครอง (เขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล) เพศ (ชาย หญิง) ระดับการศึกษา (ประถมศึกษาและต่ำกว่า มัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา) อาชีพ (ลูกจ้างรัฐบาล ลูกจ้างเอกชน เกษตรกร อาชีพอิสระ) การสรุปผลการสำรวจความคิดเห็นจำแนกตามลักษณะต่าง ๆ ของตัวผู้ตอบข้างต้นจะทำให้สามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาและกำหนดนโยบายของรัฐบาลให้เหมาะสมกับกลุ่มบุคคลในแต่ละลักษณะได้

 

3.1 วิธีสำรวจความคิดเห็น

          ขั้นตอนและวิธีการที่สำคัญในการสำรวจความคิดเห็น มีดังต่อไปนี้

 

         3.1.1 ขอบเขตของการสำรวจ

          ในการสำรวจความคิดเห็นต้องกำหนดของเขตของการสำรวจความคิดเห็นให้ชัดเจน ขอบเขตของการสำรวจความคิดเห็นอาจกำหนดได้หลายแบบ เช่น

          1. กำหนดด้วยพื้นที่ เช่น พื้นที่รวมทั้งประเทศ พื้นที่ภาคเหนือ พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พื้นที่อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก

          2. กำหนดด้วยลักษณะส่วนตัวของผู้ตอบ เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้

          3. กำหนดด้วยการมีส่วนได้ส่วนเสียกับเรื่องที่จะทำการสำรวจ เช่น ผู้ที่มีส่วนได้เสียกับการเปิดหรือปิดเขื่อนปากมูล จังหวัดอุบลราชธานี

 

          3.1.2 วิธีเลือกตัวอย่าง

          ในการสำรวจความคิดเห็นต้องกำหนดวิธีเลือกตัวอย่างหรือตัวแทนกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่งจะนำมาเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวอย่างหรือตัวแทนกลุ่มบุคคลที่จะเลือกมาเก็บรวบรวมข้อมูลควรจะมีลักษณะดังต่อไปนี้

          1. มีตัวอย่างหรือตัวแทนครบทุกลักษณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะที่สำคัญซึ่งจะมีผลทำให้ความคิดเห็นแตกต่างกัน เช่น พื้นที่ที่อยู่อาศัย ลักษณะส่วนตัวของผู้ตอบ หรือระดับการมีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเรื่องที่สำรวจความคิดเห็น

          2. มีจำนวนตัวอย่างหรือตัวแทนในแต่ละลักษณะตามข้อ 1 มากพอและสอดคล้องกับจำนวนทั้งหมดที่มีอยู่จริงในลักษณะนั้น ๆ เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศเกี่ยวกับการบริจาคดวงตาภายหลังการเสียชีวิต จะต้องใช้จำนวนประชาชนที่เป็นเพศชาย และเพศหญิง เป็นจำนวนเพศละ 3000 คน เท่ากัน เพราะปัจจุบันประชากรชายและหญิงมีจำนวนใกล้เคียงกัน

          สำหรับวิธีเลือกตัวอย่างหรือตัวแทนของกลุ่มบุคคลมาใช้ในการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ที่นิยมใช้กันทั่วไปมีหลายวิธี เช่น การสุ่มตัวอย่าง(random sampling) การเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (stratified sampling) การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้น (multi-stage sampling) และการเลือกตัวอย่างแบบกำหนดโควตา ( quota  sampling ) การเลือกตัวอย่าวแต่ละวิธีเพื่อนำมาใช้ในการสำรวจความคิดเห็นต่างข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป  ดังนี้

 

         การสุ่มตัวอย่าง  เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่มีกรอบตัวอย่าง ( sampling frame )ครบถ้วนสมบูรณ์ และมีขอบเขตของกลุ่มที่ไม่กว้างขวางมากนัก เช่นการสำรวจความคิดเห็นของพนักงานบริษัทซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดหนึ่งและไม่มีสาขาอื่น ๆ นอกจังหวัดหรือนอกประเทศ เกี่ยวกับสวัสดิการด้านรถรับส่งมาทำงานในบริษัทนั้น หรือการสำรวจความคิดเห็นของพนักงานการประปานครหลวงเกี่ยวกับการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีกรอบตัวอย่างเป็นรายชื่อของพนักงานการประปานคาหลวงทุกคน วิธีสุ่มตัวอย่างซึ่งหน่วยตัวอย่างทุก ๆ หน่วยมีโอกาสถูกเลือกมาเป็นตัวอย่างเท่า ๆ กันสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

          - การสุ่มโดยวิธีจับสลาก นิยมใช้กับกลุ่มที่มีจำนวนหน่วยตัวอย่างน้อย

          - การสุ่มโดยใช้ตารางเลขสุ่ม (table of random numbers) นิยมใช้กับกลุ่มที่มีจำนวนหน่วยตัวอย่างมาก

          - การสุ่มอย่างเป็นระบบ (systematic sampling) นิยมใช้กับกรอบตัวอย่างที่มีหน่วยตัวอย่างเรียงกันหรือจัดให้เรียงกันได้ เช่น รายชื่อพนักงานบริษัทที่เรียงตามลำดับการเข้าทำงานก่อนหลัง ในการสุ่มตัวอย่างอาจใช้การสุ่มจากผู้ที่อยู่ในอันดับที่หารด้วย 5 ลงตัวทุกคน

 

          การเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่มีกรอบตัวอย่างครบถ้วนสมบูรณ์และสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ได้ตามเขตที่อยู่อาศัยของผู้ตอบ (ประเทศแบ่งเป็นภาค จังหวัด อำเภอ เขต ตำบล แขวง  ในเขตเทศบาลนอกเขตเทศบาล กระทรวงแบ่งเป็น กรม กอง แผนก บริษัทแบ่งเป็นฝ่าย

 ส่วน แผนก หรือแบ่งตามลักษณะของผู้ตอบ ( เพศ อายุระดับการศึกษา รายได้ อาชีพ สถานภาพสมรส) โดยกำหนดให้แต่ละชั้นภูมิเป็นภาคต่างๆ ของประเทศกรมต่างๆ ของกระทรวง วัยต่างๆ ของอายุ ระดับต่างๆ ของการศึกษา ฯลฯ และเลือกตัวอย่างจากแต่ละชั้นภูมิซึ่งอาจใช้สุ่มหรือวิธีอื่นๆ ก็ได้สำเร็จ ความคิดเห็นดดยใช้วิธี

เลือกตัวอย่างแบบมีข้อดีคือสามารถสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการจำแนกตามกลุ่มต่างๆ ที่แบ่งได้ เช่น

จำแนกตามภาค จำแนกตามเขต จำแนกตามเพศ จำแนกตามอาชีพ

        

          การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้น เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็น  จากกลุ่มที่สามารถ

แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ  ได้หลายชั้น ( ประเทศแบ่งขั้นที่ 1 เป็นภาค ภาคแบ่งขั้นที่ 2 เป็นจังหวัด จังหวัดแบ่งขั้นที่ 3

 เป็นอำเภอ อำเภอบ่งขั้นที่ 4 เป็นตำบล ตำบลแบ่งขั้นที่ 5 เป็นหมู่บ้าน กระทรวง  เบ่งขั้นที่ 1 เป็นกรม กรมแบ่งขั้นที่ 2 เป็นกอง กองแบ่งขั้นที่ 3 เป็นแผนก มหาวิทยาลัยแบ่งขั้นที่ 1 เป็นคณะ คณะ คณะแบ่งขั้นที่ 2 เป็นภาควิชา )

โดยกำหนดให้เลือกตัวอย่างมาจากแต่ละขั้น เช่น ขั้นที่ 1 เลือกกรมตัวอย่างจากกระทรวง ขั้นที่ 2 เลือกกองตัวอย่าง

จากกรมตัวอย่าง และ ขั้นที่ 3 เลือกแผนกตัวอย่างจากกองตัวอย่างของกรมตัวอย่าง ข้อดีของการเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นก็คือไม่จำเป็นต้องมีกรอบตัวอย่างที่สมบูรณ์ในทุกๆ ขั้น ให้มีกรอบตัวอย่างที่สมบูรณ์ในตัวอย่างของแต่ละขั้นก็เป็นการเพียงพอ นอกจากนี้การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นยังสามารถประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลเมื่อเทียบกับการเลือกตัวอย่างวิธีอื่นๆ ที่นิยมใช้กันทั่วไปอีกด้วย

 

           การเลือกัวอย่างแบบกำหนดโควตา  เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่ไม่มีกรอบตัวอย่าง หรือมีกรอบตัวอย่างที่ไม่สมบูรณ์  โดยการกำหนดคุณสมบัติของตัวอย่างตามลักษณะของตัวอย่างที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจ  เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน

 เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ลักษณะของประชาชนซึ่งน่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด คอ เพศ อายุ และรายได้ ดังนั้น คุณสมบัติของตัวอย่างที่ควรจะนำมากำหนดสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าวคือ เพศ อายุ และรายได้ กล่าวคือ จะต้องมีตัวอย่างหรือตัวแทน

ของประชาชนทุกเพศ ทุกช่วงอายุ และทุกระดับรายได้ หรือการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล  คุณสมบัติของตัวอย่างที่สำคัญซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล คือ บริเวณที่อยู่อาศัย ( อยู่เหนือเขื่อนหรืออยู่ใต้เขื่อน) ซึ่งมีผลกระทบต่อประโยชน์ได้เสียในการเปิด ปิด  เขื่อนที่แตกต่างกัน

ดังนั้นคุณสมบัติของตัวอย่างที่จะควรนำมากำหนดสำหรับการรวบรวมข้อมูลดังกล่าว คือ บริเวณที่อยู่อาศัย

วึ่งเกี่ยวข้อง 3 อำเภอ คือ อำเภอพิบูลมังสาหาร อำเภอโขงเจียม และอำเภอสิรินธร กล่าวคือจะต้องเลือกตัวอย่าง

หนือประชาชนในแต่ละอำเภอของ 3 อำเภอ ข้างต้นมาสอบถามความคิดเห็น โดยที่ตัวอย่างประชาชน ในแต่ละอำเภอควรจะต้องมีทั้งประชาชนที่ได้รับผลกระทบมาก ได้รับผลกระทบปานกลาง และได้รับผลกระทบน้อย

          ส่วนจำนวนตัวอย่างที่จะนำมาใช้ในการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ควรเป็นเรื่องเท่าไหร่นั้น

ขึ้นอญุ่กับปัจจัยที่สำคัญต่อไปนี้

-                    จำนวนของกลุ่มบุคคลทั้งหมดที่จะสำรวจความคิดเห็น

-                    การจำแนกกลุ่มย่อยของผลการสำรวจความคิดเห็น

-                    ความแตกต่างระดับการศึกษาของกลุ่มบุคคลที่ทำการสำรวจ

-                    ความแตกต่างระหว่างการได้เสียประโยชน์ของกลุ่มบุคคลที่ทำการสำรวจ

-                    ความถูกต้องเชื่อถือได้ของผลการสำรวจที่ต้องการ

          กล่าวคือ จำนวนตัวอย่างหรือตัวแทนในการสำรวจความคิดเห็นจะต้องมากขึ้นตามจำนวนกลุ่มบุคคลทั้งหมดที่มากขึ้นตามจำนวนกลุ่มที่ต้องการจำแนกผลการสำเร็จตามขนาดความแตกต่างระหว่าระดับการศึกษา

 และการได้เสียประโยชน์ของกลุ่มบุคคลที่สำรวจ และตามขนาดของความน่าเชื่อถือได้ของผลการสำเร็จีท่มากขึ้น

          สำหรับขนาดตัวอย่างกลุ่มบุคคลที่สำนักงานสถิติแห่งชาติใช้ในการสำรวจ ความคิดเห็นเพื่อเสนอผลในระดับต่างๆ ( ประเทศ ภาค  จังหวัด ) เป็นดังนี้

 

ระดับเสนอผล

จำนวนตัวอย่าง

ระดับจังหวัดอย่างเดียว

1,100 ถึง 4,800

ระดับประเทศอย่างเดียว

2,000

ทั้งระดับประเทศและภาค

5,600 ถึง 10,000

ทั้งระดับจังหวัด ภาค และประเทศ

31,000 ถึง 62,000

 

 

         

3.1.3การสร้างแบบรวจความคิดเห็น

          แบบสำรวจความคิดเห็นที่ดีควรจะมีลักษณะต่างๆ ที่สำคัญดังต่อไปนี้

             1. แบบสำรวจควรปนะกอบด้วย 3 ส่วนเป็นอย่างน้อย ดังนี้

ส่วนแรกคือ ลักษณะของผู้ตอบที่คาดว่าจะมีผลทำให้คำตอบที่แสดงความคิดเห็น แตกต่างกันจากผู้ที่มีลักษณะอื่น

 เช่นพื้นที่อยู่อาศัย  เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้อาชีพฯ

          ส่วนที่สองคือความคิดเห็นของผู้ตอบในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น เช่นคำถามในการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับพึงพอใจในการใช้บริการการประกันสุขภาพถ้วนหน้า  คำถามที่ใช้ถามอาจเกี่ยวกับด้านการบริหารการ/ การดูแลเอาใจใส่การตรวจรักษาของแพทย์/พยาบาล อุปกรณ์ทางการแพทย์ และคุณภาพยาส่วนการวัดระดับความพึงพอใจในแต่ละด้าน นิยมใช้มาตรประเมินค่า 5 ระดับ ได้แก่ พึงพอใจมาก พึงพอใจค่อนข้างมาก พึงพอใจปานกลาง พึงพอใจค่อนข้างน้อย และพึงพอใจน้อย หรือในกรณีที่ต้องการวัดระดับความพึงพอใจอย่างหยาล ๆ หรือคร่าว ๆ อาจใช้มาตรประเมินค่าเพียง 2 ระดับ คือ พึงพอใจ และไม่พึงพอใจ หรือใช้มาตรประเมินค่า 3 ระดับ คือ พึงพอใจมาก พึงพอใจปานกลาง และพึงพอใจน้อย

          ส่วนที่สาม คือ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ของผู้ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่สำรวจความคิดเห็นนั้น ๆ

          2. คำถามเกี่ยวกับความคิดเห็นในเรื่องที่สำรวจต้องไม่เป็นคำถามนำหรือคำถามที่พยายามชักนำให้ผู้ตอบตามที่ผู้สำรวจต้องการ เช่น ท่านไม่พึงพอใจในการบริการการประกันสุขภาพถ้วนหน้าใช่ไหม หรือท่านเห็นด้วยกับบริการการประกันสุขภาพถ้วนหน้าของรัฐบาลใช่หรือไม่

          3. จำนวนคำถามไม่ควรมีมากเกินไป เพราะจะทำให้ผู้ตอบร่วมมือในการตอบคำถามน้อยลง และคำตอบมีจำนวนเกินความจำเป็นในการนำไปใช้ประโยชน์ทำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น

          4. ผู้ตอบแบบสำรวจความคิดเห็นควรจะมีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจเป็นอย่างดี มิฉะนั้นความคิดเห็นที่สำรวจได้จากผู้ตอบดังกล่าวจะไม่สามารถนำไปใช้ในการสรุปผลร่วมกับคำตอบของผู้ตอบรายอื่น ๆ ได้

 

          3.1.4 การประมวลผลปละวิเคราะห์ความคิดเห็น

          การประมวลผลและวิเคราะห์ผลการสำรวจความคิดเห็นโดยทั้ว ๆ ไป จะประกอบด้วย

          1. ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจความคิดเห็นในแต่ละด้านที่เกี่ยวข้องฃ

          - ในกรณีที่ถามเกี่ยวกับความคิดเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จะจำแนกตามระดับความคิดเห็น ได้แก่ เห็นด้วย ค่อนข้างเห็นด้วย เห็นด้วยปานกลาง ค่อนข้างไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรือเห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น ไม่เห็นด้วย

          - ในกรณีที่ถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจ จะจำแนกตามระดับความพึงพอใจ ได้แก่ พอใจมาก พอใจค่อนข้างมาก พอใจปานกลาง พอใจค่อนข้างน้อย พอใจน้อย

          - ในกรณีที่ถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความสนใจหรือความต้องการ จะจำแนกตามระดับความสนใจหรือความต้องการ ได้แก่ สนใจมาก สนใจค่อนข้างมาก สนใจปานกลาง สนใจค่อนข้างน้อย สนใจน้อย

          2. ระดับความคิดเห็นเฉลี่ย โดยแทนค่าระดับความคิดเห็นในแต่ละด้านของผู้ตอบแต่ละคน ดังนี้

                        เห็นด้วย                                     แทนด้วยค่า   5

                        ค่อนข้างเห็นด้วย                       แทนด้วยค่า   4 

                        เห็นด้วยปานกลาง                     แทนด้วยค่า   3

                        ค่อนข้างไม่เห็นด้วย              แทนด้วยค่า   2  

                        ไม่เห็นด้วย                                แทนด้วยค่า   1

          สำหรับค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นที่คำนวณได้ อาจมีความหมายดังนี้

ค่าเฉลี่ยความคิดเห็น

ความหมาย

1.00 - 1.80

ไม่เห็นด้วย

1.81 - 2.60

ค่อนข้างไม่เห็นด้วย

2.61 - 3.40

เห็นด้วยปานกลาง

3.41 - 4.20

ค่อนข้างเห็นด้วย

4.21 - 5.00

เห็นด้วย

 

                                                                          

          ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในทุก ๆ ด้าน ของผู้ตอบแต่ละคน เมื่อนำมาหาระดับความสัมพันธ์กับลักษณะต่าง ๆ ของผู้ตอบ เช่น พื้นที่อยู่อาศัย เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ อาชีพฯ จะทำให้ทราบว่าลักษณะใดของผู้ตอบที่มีผลทำให้ระดับความคิดเห็นแตกต่างกัน และลักษณะใดที่ส่งผลกระทบต่อระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจมากน้อยกว่ากัน เช่น ระดับการศึกษาของผู้ตอบส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่สำรวจนั้นมากกว่าเพศและ อายุ โดยที่อาชีพไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจเลย

 

3.2 ตัวอย่างเรื่องที่เคยมีการสำรวจความคิดเห็นจากหน่วยงานต่าง ๆ

          การสำรวจความคิดเห็นสามารถทำได้ในทุก ๆ เรื่องโดยเฉพาะเรื่องที่ต้องการให้กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาหรือกำหนดแนวทางหรือนโยบายด้านต่าง ๆ ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น

 

          ด้านการเมือง

-                    เรื่องการใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฯ

-                    เรื่องคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้งประเภทต่าง ๆ ที่ต้องการ

-                    เรื่องการซึ้อเสียง และการขายสิทธิการเลือกตั้ง

-                    เรื่องทรัพย์สินของนักการเมือง

 

          ด้านเศรษฐกิจ

-                    เรื่องภาวะเศรษฐกิจของประเทศ

-                    เรื่องหวยใต้ดิน

-                    เรื่องบัตรเครดิต การซึ้อสินค้าเงินผ่อน

-                    เรื่องการคอร์รัปชัน

 

 

          ด้านกฎหมาย

-                    เรื่อง การผสมเทียม

-                    เรื่องการครอบครองอาวุธปืน อาวุธสงคราม

-                    เรื่องการทำแท้ง

-                    เรื่องการค้าเสรี

 

          ด้านวัฒนธรรมประเพณี

-                    เรื่องวันวาเลนไทน์

-                    เรื่องการทำบุญ

-                    เรื่องการบวชพระ

-                    เรื่องประเพณีสงกรานต์

 

          ด้านอาหารและยา

-                    เรื่องยาแผนโบราณ สมุนไพร

-                    เรื่องอาหารเสริม อาหารจานด่วน

-                    เรื่องเครื่องดื่มชูกำลัง น้ำดื่มบรรจุขวด

-                    เรื่องนมผง นมสด

 

          ด้านกีฬา

-                    เรื่องการพนันฟุตบอล

-                    เรื่องการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกม กีฬาโอลิมปิกของนักกีฬาไทย

-                    เรื่องการออกกำลังกายของเยาวชนและผู้สูงอายุ

-                    เรื่องกีฬาตีไก่ ชนวัว

 

           ด้านสิ่งแวดล้อม

-                    เรื่องการทิ่งขยะ

-                    เรื่องการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ

-                    เรื่องท่อไอเสียรถยนต์ รถมอเตอร์ไซค์

-                    เรื่องการปล่อยน้ำเสียลงแม่น้ำลำคลอง

 

          สำหรับการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อนโยบายหลักของรัฐบาลเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการดำเนินนโยบายที่สำคัญของภาครัฐซึ่งจัดทำโดยกองสถิติประชามติ สำนักงานสถิติแห่งชาติ ในปีงบประมาณ 2546 มีทั้งหมด 21 เรื่อง ได้แก่

1)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการพักชำระหนี้และลดภาระหนี้แก่เกษตรกรรายย่อย พ.ศ. 2546

2)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล พ.ศ. 2546 (เมื่อบริหารงานครบ 2 ปี)

3)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชยที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ไอซีทีเพื่อคนไทย พ.ศ. 2546

4)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อการทำงานของรัฐสภา รัฐบาล องค์กรอิสระ และประเด็นอื่น ๆ พ.ศ. 2546

5)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการปรับเวลาของประเทศไทยให้เร็วขึ้น 1 ชั่วโมง พ.ศ. 2545

6)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลังการประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ. 2546

7)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชัน พ.ศ. 2546

8)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ. 2546

9)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล พ.ศ. 2546

10)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับสวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546

11)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) พ.ศ. 2546

12)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล พ.ศ. 2546 (เมื่อบริหารงานครบ 2 ปี 6 เดือน)

13)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์เรื่องโรคเอดส์ พ.ศ. 2546

14)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริจาคดวงตา(ภายหลังการเสียชีวิต) พ.ศ. 2546

15)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับของขวัญปีใหม่ที่ต้องการจากรัฐบาล พ.ศ. 2546

16)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล อำเภอพิบูลมังสาหาร โขงเจียม สิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

17)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของผู้ปกครองเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เนตหรือคอมพิวเตอร์ของบุตรหลาน / สมาชิกในครัวเรือน ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

18)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริหารของภาครัฐทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

19)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการตรึงราคา / กำหนดระดับราคาน้ำมัน พ.ศ. 2546

20)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนผู้ใช้บริการเกี่ยวกับรถตู้โดยสารที่วิ่งระหว่างกรุงเทพมหานคร - ต่างจังหวัด พ.ศ. 2546

21)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

           3.1.4 การประมวลผลปละวิเคราะห์ความคิดเห็น

          การประมวลผลและวิเคราะห์ผลการสำรวจความคิดเห็นโดยทั้ว ๆ ไป จะประกอบด้วย

          1. ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจความคิดเห็นในแต่ละด้านที่เกี่ยวข้องฃ

          - ในกรณีที่ถามเกี่ยวกับความคิดเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จะจำแนกตามระดับความคิดเห็น ได้แก่ เห็นด้วย ค่อนข้างเห็นด้วย เห็นด้วยปานกลาง ค่อนข้างไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรือเห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น ไม่เห็นด้วย

          - ในกรณีที่ถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจ จะจำแนกตามระดับความพึงพอใจ ได้แก่ พอใจมาก พอใจค่อนข้างมาก พอใจปานกลาง พอใจค่อนข้างน้อย พอใจน้อย

          - ในกรณีที่ถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความสนใจหรือความต้องการ จะจำแนกตามระดับความสนใจหรือความต้องการ ได้แก่ สนใจมาก สนใจค่อนข้างมาก สนใจปานกลาง สนใจค่อนข้างน้อย สนใจน้อย

          2. ระดับความคิดเห็นเฉลี่ย โดยแทนค่าระดับความคิดเห็นในแต่ละด้านของผู้ตอบแต่ละคน ดังนี้

                        เห็นด้วย                                     แทนด้วยค่า   5

                        ค่อนข้างเห็นด้วย                       แทนด้วยค่า   4 

                        เห็นด้วยปานกลาง                     แทนด้วยค่า   3

                        ค่อนข้างไม่เห็นด้วย              แทนด้วยค่า   2  

                        ไม่เห็นด้วย                                แทนด้วยค่า   1

          สำหรับค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นที่คำนวณได้ อาจมีความหมายดังนี้

ค่าเฉลี่ยความคิดเห็น

ความหมาย

1.00 - 1.80

ไม่เห็นด้วย

1.81 - 2.60

ค่อนข้างไม่เห็นด้วย

2.61 - 3.40

เห็นด้วยปานกลาง

3.41 - 4.20

ค่อนข้างเห็นด้วย

4.21 - 5.00

เห็นด้วย

 

                                                                          

          ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในทุก ๆ ด้าน ของผู้ตอบแต่ละคน เมื่อนำมาหาระดับความสัมพันธ์กับลักษณะต่าง ๆ ของผู้ตอบ เช่น พื้นที่อยู่อาศัย เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ อาชีพฯ จะทำให้ทราบว่าลักษณะใดของผู้ตอบที่มีผลทำให้ระดับความคิดเห็นแตกต่างกัน และลักษณะใดที่ส่งผลกระทบต่อระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจมากน้อยกว่ากัน เช่น ระดับการศึกษาของผู้ตอบส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่สำรวจนั้นมากกว่าเพศและ อายุ โดยที่อาชีพไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจเลย

 

3.2 ตัวอย่างเรื่องที่เคยมีการสำรวจความคิดเห็นจากหน่วยงานต่าง ๆ

          การสำรวจความคิดเห็นสามารถทำได้ในทุก ๆ เรื่องโดยเฉพาะเรื่องที่ต้องการให้กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาหรือกำหนดแนวทางหรือนโยบายด้านต่าง ๆ ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น

 

          ด้านการเมือง

-                    เรื่องการใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฯ

-                    เรื่องคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้งประเภทต่าง ๆ ที่ต้องการ

-                    เรื่องการซึ้อเสียง และการขายสิทธิการเลือกตั้ง

-                    เรื่องทรัพย์สินของนักการเมือง

 

          ด้านเศรษฐกิจ

-                    เรื่องภาวะเศรษฐกิจของประเทศ

-                    เรื่องหวยใต้ดิน

-                    เรื่องบัตรเครดิต การซึ้อสินค้าเงินผ่อน

-                    เรื่องการคอร์รัปชัน

 

 

          ด้านกฎหมาย

-                    เรื่อง การผสมเทียม

-                    เรื่องการครอบครองอาวุธปืน อาวุธสงคราม

-                    เรื่องการทำแท้ง

-                    เรื่องการค้าเสรี

 

          ด้านวัฒนธรรมประเพณี

-                    เรื่องวันวาเลนไทน์

-                    เรื่องการทำบุญ

-                    เรื่องการบวชพระ

-                    เรื่องประเพณีสงกรานต์

 

          ด้านอาหารและยา

-                    เรื่องยาแผนโบราณ สมุนไพร

-                    เรื่องอาหารเสริม อาหารจานด่วน

-                    เรื่องเครื่องดื่มชูกำลัง น้ำดื่มบรรจุขวด

-                    เรื่องนมผง นมสด

 

          ด้านกีฬา

-                    เรื่องการพนันฟุตบอล

-                    เรื่องการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกม กีฬาโอลิมปิกของนักกีฬาไทย

-                    เรื่องการออกกำลังกายของเยาวชนและผู้สูงอายุ

-                    เรื่องกีฬาตีไก่ ชนวัว

 

           ด้านสิ่งแวดล้อม

-                    เรื่องการทิ่งขยะ

-                    เรื่องการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ

-                    เรื่องท่อไอเสียรถยนต์ รถมอเตอร์ไซค์

-                    เรื่องการปล่อยน้ำเสียลงแม่น้ำลำคลอง

 

          สำหรับการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อนโยบายหลักของรัฐบาลเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการดำเนินนโยบายที่สำคัญของภาครัฐซึ่งจัดทำโดยกองสถิติประชามติ สำนักงานสถิติแห่งชาติ ในปีงบประมาณ 2546 มีทั้งหมด 21 เรื่อง ได้แก่

1)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการพักชำระหนี้และลดภาระหนี้แก่เกษตรกรรายย่อย พ.ศ. 2546

2)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล พ.ศ. 2546 (เมื่อบริหารงานครบ 2 ปี)

3)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชยที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ไอซีทีเพื่อคนไทย พ.ศ. 2546

4)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อการทำงานของรัฐสภา รัฐบาล องค์กรอิสระ และประเด็นอื่น ๆ พ.ศ. 2546

5)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการปรับเวลาของประเทศไทยให้เร็วขึ้น 1 ชั่วโมง พ.ศ. 2545

6)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลังการประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ. 2546

7)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชัน พ.ศ. 2546

8)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ. 2546

9)              โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล พ.ศ. 2546

10)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับสวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546

11)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) พ.ศ. 2546

12)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล พ.ศ. 2546 (เมื่อบริหารงานครบ 2 ปี 6 เดือน)

13)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์เรื่องโรคเอดส์ พ.ศ. 2546

14)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริจาคดวงตา(ภายหลังการเสียชีวิต) พ.ศ. 2546

15)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับของขวัญปีใหม่ที่ต้องการจากรัฐบาล พ.ศ. 2546

16)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล อำเภอพิบูลมังสาหาร โขงเจียม สิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

17)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของผู้ปกครองเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เนตหรือคอมพิวเตอร์ของบุตรหลาน / สมาชิกในครัวเรือน ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

18)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริหารของภาครัฐทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

19)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการตรึงราคา / กำหนดระดับราคาน้ำมัน พ.ศ. 2546

20)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนผู้ใช้บริการเกี่ยวกับรถตู้โดยสารที่วิ่งระหว่างกรุงเทพมหานคร - ต่างจังหวัด พ.ศ. 2546

21)        โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546

 กิจกรรม

1.               ให้นักเรียนหากลุ่มเพื่อร่วมกันทำการสำรวจความคิดเห็น โดยมีขั้นตอนทำงานดังนี้

1)              กำหนดหัวข้อหรือเรื่องที่ต้องการสำรวจ พร้อมเหตุผลที่ต้องการสำรวจข้อมูล

2)              กำหนดวิธีการสำรวจข้อมูลที่เหมาะสมกับเรื่องที่ต้องการสำรวจและความรู้ของนักเรียน

3)              เลือวิธีสำรวจข้อมูลโดยศึกษาเรื่องวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลในบทที่ 1

4)              สำรวจข้อมูลและสรุปผลสำรวจข้อมูล

5)              นำเสนอผลการสำรวจความคิดเห็นในรูปของรายงานโปสเตอร์ หรือสื่ออื่นตามความเหมาะสม

 

         ตัวอย่างหัวข้อสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ มีดังนี้

1)              การเรียนพิเศษเพื่อสอบเข้ามหาวิทยาลัยจำเป็นหรือไม่

2)              วิชาหรือสาขาอาชีพที่นักเรียนต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา

3)              นักเรียนที่คิดการเรียนภาษาที่สามเพิ่มเติมจากภาษาไทยและภาษาอังกฤษเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับนักเรียนหรือไม่

4)              อาชีพที่นักเรียนใฝ่ฝันอยากจะทำ

5)              คุณภาพของอาหารและการใช้บริการของโรงอาหารในดรงเรียนเหมาะสมดีและวหรือไม่

6)              ข้อบกพร่องของนักเรียนเองที่ควรปรับปรุง

7)              คุณครูในฝันควรมีคุณสมบัติอย่างไร

8)              ศิลปินที่คุณชื่อนชอบคือใคร

 

2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อช่วยกันหาข้อสรุปที่ได้จากการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องที่น่าสนใจจากสื่อสิ่งพิมพ์อื่นๆ เพื่อมานำเสนอในชั้นเรียน

 

 

ที่มา : http://www.vcharkarn...iew.php?id=1554

 

 

เป็นการประเมินเพื่อให้เห็นแนวทาง คร่าวๆ ค่า

ถ้าไม่เห็นด้วย อย่าไปใส่ใจกับข้อมูลนี้ก็ได้คร่า

 

เดี๋ยว เครียด ตาย เลย คร่า

 

เพื่อให้เห็นแนวทางคร่าวๆอย่างกรณีเลือกตั้งผู้ว่าคราวที่แล้ว คร่า

 

โพลเชื่อถือได้จริงๆคร่า

 



#29 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

Posted 25 January 2014 - 10:45

 

ปากาด

อ่าน คร่า

 

รายได้ของประเทศไทยแยกตามประเภทของภาษีประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556

รายได้แยกตามประเภท ล้านบาท % ภาษีมูลค่าเพิ่ม 698,087 27% ภาษีเงินได้นิติบุคคล 592,499 23% ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 299,034 12% ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 113,291 4% ภาษีอื่นๆของสรรพากร 61,796 2% ภาษีสรรพสามิต (น้ำมัน รถ เบียร์ ยาสูบ ฯลฯ) 432,868 17% ภาษีกรมศุลกากร 113,382 4% รายได้รัฐวิสาหกิจ 101,448 4% รายได้หน่วยงานอื่น 159,016 6% รวมรายได้ประจำปีงบประมาณ 2556 2,571,421 100%

http://thaienews.blo...-post_2328.html

 

ตัวเลขรายรับจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีนิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีปิโตรเลี่ยม ฯลฯ นี้ หักเงินขอคืนภาษี หรือยัง

ภาษีสรรพสามิต จากน้ำมัน  รถ เบียร์ ยาสูบ ฯลฯ ภาษีกรมศุลกากร รายได้รัฐวิสาหกิจ รายได้หน่วยงานอืนๆ  มีการขอคืนภาษีไหม

 

 

สำนักจุฬาราชมนตรี ออกแถลงการณ์ ตำหนิม็อบ กปปส. โดย เมือกมั่ง, เมื่อวาน, 10:43

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#30 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:49

 

 

ปากาด

อ่าน คร่า

 

รายได้ของประเทศไทยแยกตามประเภทของภาษีประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556

รายได้แยกตามประเภท ล้านบาท % ภาษีมูลค่าเพิ่ม 698,087 27% ภาษีเงินได้นิติบุคคล 592,499 23% ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 299,034 12% ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 113,291 4% ภาษีอื่นๆของสรรพากร 61,796 2% ภาษีสรรพสามิต (น้ำมัน รถ เบียร์ ยาสูบ ฯลฯ) 432,868 17% ภาษีกรมศุลกากร 113,382 4% รายได้รัฐวิสาหกิจ 101,448 4% รายได้หน่วยงานอื่น 159,016 6% รวมรายได้ประจำปีงบประมาณ 2556 2,571,421 100%

http://thaienews.blo...-post_2328.html

 

ตัวเลขรายรับจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีนิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีปิโตรเลี่ยม ฯลฯ นี้ หักเงินขอคืนภาษี หรือยัง

ภาษีสรรพสามิต จากน้ำมัน  รถ เบียร์ ยาสูบ ฯลฯ ภาษีกรมศุลกากร รายได้รัฐวิสาหกิจ รายได้หน่วยงานอืนๆ  มีการขอคืนภาษีไหม

 

 

สำนักจุฬาราชมนตรี ออกแถลงการณ์ ตำหนิม็อบ กปปส. โดย เมือกมั่ง, เมื่อวาน, 10:43

 

 

อารมณ์ เสีย มาแต่ใหน หรือ คร่า

อารมณ์ ค้าง เหรอ ต๊ะเอง

 

ท่านใดอยาก อ่าน เต็มๆ เชิญ ทัศนา ตาม สดวก คร่าาา

 

 

คลิก คะ คลิก เข้าไปอ่าน (ประมาน หน้า 2 คร่า)

สำนักจุฬาราชมนตรี ออกแถลงการณ์ ตำหนิม็อบ กปปส.  

http://webboard.seri...ร/#entry1026069


Edited by เมือกมั่ง, 25 January 2014 - 10:51.

ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#31 templar

templar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,180 posts

Posted 25 January 2014 - 10:50

 

 

 

 

1. ความคิดเห็นของประชาชน กับ การเลือกตั้งในวันที่ 2 ก.พ.ที่จะถึงนี้

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%

 

แสดงว่าคนที่เห็นด้วยให้มีเลือกตั้งวันที่ 2  (อักษรสีแดง) มี 37.34 %   

 

คนที่เห็นด้วยให้ยืดออกไปก่อน  (อักษรสีน้ำเงิน) 47.26 %  

 

ส่วนคนที่ไม่แน่ใจเกี่ยวกับวันที่เลือกตั้ง (อักษรสีม่วง) 15.40 %    

 

สรุป  คนเห็นควรให้ยืดไปก่อนมากกว่าครับ  47 กับ  37  เปอร์เซ็นต์

 

 

 

ตรงใหนบอกว่า ยืด คร่า

 

 

คุณดูโจทย์ที่เขาถามสิครับ  ความคิดเห็นของประชาชน กับ การเลือกตั้งในวันที่ 2 ก.พ.ที่จะถึงนี้

 

 

จะเลือกตั้งวันที่สองทำไม   แก้ปัญหาขัดแย้งการเมืองก่อนดีไหม

 

จะเลือกตั้งวันที่สองทำไม   ในเมื่อสถานการณ์มันจะรุนแรงขึ้น

 

จะเลือกตั้งวันที่สองทำไม   คนออกมาใช้สิทธิ์น้อยแน่นอน

 

 

ทั้ง  3 ข้อนี้มีคนทุกสี  อยู่ในทุกข้อครับ  แต่ความคิดของคนทั้งสามกลุ่มนี้  คือ  จำเป็นไหมจะต้องเลือกตั้งวันที่สอง

 

กลัวไรล่ะ  แม่คนส่วนใหญ่ของประเทศ  ให้นายกทำสัตยาบรรณ  หรือ  ไม่ก็ยื่นให้ สว  ออกกฎหมายคอรัปชั่นไม่มีอายุความ  ซื้อเสียงติดคุก

 

แค่นั้นเองรับรองว่า  คนเห็นด้วยกับการเลือกตั้งเพิ่มขึ้นแน่นอน


Edited by templar, 25 January 2014 - 10:52.

อย่ามาเห่าว่ากรูมาจากการเลือกตั้ง  เพราะการเลือกตั้งไม่ใช่ทุกอย่างของประชาธิปไตย

การตรวจสอบบ้านเมืองอย่างเข้มข้น  ทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ  จำเป็นสำหรับประเทศไทย

 

สิ่งที่บ่งบอกว่าประเทศไหนพัฒนาแล้วไม่ได้ดูที่  มีตึกสูงมากเท่าไร  มีห้างเยอะไหม  มีจีดีพีสูงแค่ไหน

แต่ดูที่การศึกษา  และ คุณภาพของบุคลากรภายในประเทศ


#32 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:52

 

 

 

 

 

1. ความคิดเห็นของประชาชน กับ การเลือกตั้งในวันที่ 2 ก.พ.ที่จะถึงนี้

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%

 

แสดงว่าคนที่เห็นด้วยให้มีเลือกตั้งวันที่ 2  (อักษรสีแดง) มี 37.34 %   

 

คนที่เห็นด้วยให้ยืดออกไปก่อน  (อักษรสีน้ำเงิน) 47.26 %  

 

ส่วนคนที่ไม่แน่ใจเกี่ยวกับวันที่เลือกตั้ง (อักษรสีม่วง) 15.40 %    

 

สรุป  คนเห็นควรให้ยืดไปก่อนมากกว่าครับ  47 กับ  37  เปอร์เซ็นต์

 

 

 

ตรงใหนบอกว่า ยืด คร่า

 

 

คุณดูโจทย์ที่เขาถามสิครับ  ความคิดเห็นของประชาชน กับ การเลือกตั้งในวันที่ 2 ก.พ.ที่จะถึงนี้

 

 

จะเลือกตั้งวันที่สองทำไม   แก้ปัญหาขัดแย้งการเมืองก่อนดีไหม

 

จะเลือกตั้งวันที่สองทำไม   ในเมื่อสถานการณ์มันจะรุนแรงขึ้น

 

จะเลือกตั้งวันที่สองทำไม   คนออกมาใช้สิทธิ์น้อยแน่นอน

 

 

ทั้ง  3 ข้อนี้มีคนทุกสี  อยู่ในทุกข้อครับ  แต่ความคิดของคนทั้งสามกลุ่มนี้  คือ  จำเป็นไหมจะต้องเลือกตั้งวันที่สอง

 

กลัวไรล่ะ  แม่คนส่วนใหญ่ของประเทศ  ให้นายกทำสัตยาบรรณ  หรือ  ไม่ก็ยื่นให้ สว  ออกกฎหมายคอรัปชั่นไม่มีอายุความ  ซื้อเสียงติดคุก

 

แค่นั้นเองรับรองว่า  วันที่สองทุกคนจะไปเลือกตั้งอย่างที่คุณว่าครับ  

 

 

ไม่จำเป็น คร่า

 

แต่ถ้าวันที่ 2 กพ คนส่วนใหญ ก็ จะไป นะ คร้าาาาาาา


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#33 robbo

robbo

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 580 posts

Posted 25 January 2014 - 10:55

79.6% นี่ถ้าจำไม่ผิดเยอะกว่าที่ออกไปเลือกตั้งช่วงปกติอีกนะเนี่ย

 

ใช่แล้วครับ

 

สงสัยไปสอบถามแถวๆที่เขาจุดเทียนกันซะส่วนใหญ่ละม้าง  :D  :D 



#34 sanskrit_shower

sanskrit_shower

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,741 posts

Posted 25 January 2014 - 10:56

 

 

 

 

 

 

1. ความคิดเห็นของประชาชน กับ การเลือกตั้งในวันที่ 2 ก.พ.ที่จะถึงนี้

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%

 

แสดงว่าคนที่เห็นด้วยให้มีเลือกตั้งวันที่ 2  (อักษรสีแดง) มี 37.34 %   

 

คนที่เห็นด้วยให้ยืดออกไปก่อน  (อักษรสีน้ำเงิน) 47.26 %  

 

ส่วนคนที่ไม่แน่ใจเกี่ยวกับวันที่เลือกตั้ง (อักษรสีม่วง) 15.40 %    

 

สรุป  คนเห็นควรให้ยืดไปก่อนมากกว่าครับ  47 กับ  37  เปอร์เซ็นต์

 

 

 

ตรงใหนบอกว่า ยืด คร่า

 

 

คุณดูโจทย์ที่เขาถามสิครับ  ความคิดเห็นของประชาชน กับ การเลือกตั้งในวันที่ 2 ก.พ.ที่จะถึงนี้

 

 

จะเลือกตั้งวันที่สองทำไม   แก้ปัญหาขัดแย้งการเมืองก่อนดีไหม

 

จะเลือกตั้งวันที่สองทำไม   ในเมื่อสถานการณ์มันจะรุนแรงขึ้น

 

จะเลือกตั้งวันที่สองทำไม   คนออกมาใช้สิทธิ์น้อยแน่นอน

 

 

ทั้ง  3 ข้อนี้มีคนทุกสี  อยู่ในทุกข้อครับ  แต่ความคิดของคนทั้งสามกลุ่มนี้  คือ  จำเป็นไหมจะต้องเลือกตั้งวันที่สอง

 

กลัวไรล่ะ  แม่คนส่วนใหญ่ของประเทศ  ให้นายกทำสัตยาบรรณ  หรือ  ไม่ก็ยื่นให้ สว  ออกกฎหมายคอรัปชั่นไม่มีอายุความ  ซื้อเสียงติดคุก

 

แค่นั้นเองรับรองว่า  วันที่สองทุกคนจะไปเลือกตั้งอย่างที่คุณว่าครับ  

 

 

ไม่จำเป็น คร่า

 

แต่ถ้าวันที่ 2 กพ คนส่วนใหญ ก็ จะไป นะ คร้าาาาาาา

 

ผลโพลบอกว่าไปเลือกตั้งเยอะ  ก็ต้องเชื่อตามนั้นคร่า



#35 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:56

 

79.6% นี่ถ้าจำไม่ผิดเยอะกว่าที่ออกไปเลือกตั้งช่วงปกติอีกนะเนี่ย

 

ใช่แล้วครับ

 

สงสัยไปสอบถามแถวๆที่เขาจุดเทียนกันซะส่วนใหญ่ละม้าง  :D  :D 

 

 

ถ้าเชื่อ แล้วมีความสุข ตามสบาย คร่าาาา


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#36 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

Posted 25 January 2014 - 10:56

 

 

 

ปากาด

อ่าน คร่า

 

รายได้ของประเทศไทยแยกตามประเภทของภาษีประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556

รายได้แยกตามประเภท ล้านบาท % ภาษีมูลค่าเพิ่ม 698,087 27% ภาษีเงินได้นิติบุคคล 592,499 23% ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 299,034 12% ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 113,291 4% ภาษีอื่นๆของสรรพากร 61,796 2% ภาษีสรรพสามิต (น้ำมัน รถ เบียร์ ยาสูบ ฯลฯ) 432,868 17% ภาษีกรมศุลกากร 113,382 4% รายได้รัฐวิสาหกิจ 101,448 4% รายได้หน่วยงานอื่น 159,016 6% รวมรายได้ประจำปีงบประมาณ 2556 2,571,421 100%

http://thaienews.blo...-post_2328.html

 

ตัวเลขรายรับจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีนิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีปิโตรเลี่ยม ฯลฯ นี้ หักเงินขอคืนภาษี หรือยัง

ภาษีสรรพสามิต จากน้ำมัน  รถ เบียร์ ยาสูบ ฯลฯ ภาษีกรมศุลกากร รายได้รัฐวิสาหกิจ รายได้หน่วยงานอืนๆ  มีการขอคืนภาษีไหม

 

 

สำนักจุฬาราชมนตรี ออกแถลงการณ์ ตำหนิม็อบ กปปส. โดย เมือกมั่ง, เมื่อวาน, 10:43 <--- นี่ก็อ่านได้จ๊ะ อีหนู 

 

 

อารมณ์ เสีย มาแต่ใหน หรือ คร่า

อารมณ์ ค้าง เหรอ ต๊ะเอง

 

ท่านใดอยาก อ่าน เต็มๆ เชิญ ทัศนา ตาม สดวก คร่าาา

 

 

คลิก คะ คลิก เข้าไปอ่าน

สำนักจุฬาราชมนตรี ออกแถลงการณ์ ตำหนิม็อบ กปปส.  

http://webboard.seri...ร/#entry1026069

 

 

ผลรายได้สุทธิของปี  56 สรุปได้อย่างไร   ในเมื่อตอนนี้กำลังขอคืนภาษีกันอยู่เลย พวกโรงงานผลิต บ.ขายของ เขาทำเรื่องขอคืน VAT ได้เงินคืนไปหรือยัง เอาไปเปรียบเทียบกับภาษีที่ไม่มีการขอคืนภาษีได้อย่างไร อีหนู


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#37 sanskrit_shower

sanskrit_shower

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,741 posts

Posted 25 January 2014 - 10:56

 

79.6% นี่ถ้าจำไม่ผิดเยอะกว่าที่ออกไปเลือกตั้งช่วงปกติอีกนะเนี่ย

 

ใช่แล้วครับ

 

สงสัยไปสอบถามแถวๆที่เขาจุดเทียนกันซะส่วนใหญ่ละม้าง  :D  :D 

 

โพลว่ายังไง ต้องเชื่อตามนั้นคร่า


Edited by sanskrit_shower, 25 January 2014 - 10:57.


#38 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 10:58

 

 

79.6% นี่ถ้าจำไม่ผิดเยอะกว่าที่ออกไปเลือกตั้งช่วงปกติอีกนะเนี่ย

 

ใช่แล้วครับ

 

สงสัยไปสอบถามแถวๆที่เขาจุดเทียนกันซะส่วนใหญ่ละม้าง  :D  :D 

 

โพลว่ายังไง ต้องเชื่อตามนั้นคร่า

 

เป็นการประเมินเพื่อให้เห็นแนวทาง คร่าวๆ ค่า

ถ้าไม่เห็นด้วย อย่าไปใส่ใจกับข้อมูลนี้ก็ได้คร่า

 

เดี๋ยว เครียด ตาย เลย คร่า


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#39 templar

templar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,180 posts

Posted 25 January 2014 - 10:59

ไม่จำเป็น คร่า

 

แต่ถ้าวันที่ 2 กพ คนส่วนใหญ ก็ จะไป นะ คร้าาาาาาา

 

ก็ในโพลล์เขาถามวันที่สอง กุมภา  คนเห็นด้วยว่าควรเลื่อน มีมากกว่า คนเห็นว่าไม่ควรเลื่อน  นี่ครับ  


อย่ามาเห่าว่ากรูมาจากการเลือกตั้ง  เพราะการเลือกตั้งไม่ใช่ทุกอย่างของประชาธิปไตย

การตรวจสอบบ้านเมืองอย่างเข้มข้น  ทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ  จำเป็นสำหรับประเทศไทย

 

สิ่งที่บ่งบอกว่าประเทศไหนพัฒนาแล้วไม่ได้ดูที่  มีตึกสูงมากเท่าไร  มีห้างเยอะไหม  มีจีดีพีสูงแค่ไหน

แต่ดูที่การศึกษา  และ คุณภาพของบุคลากรภายในประเทศ


#40 sanskrit_shower

sanskrit_shower

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,741 posts

Posted 25 January 2014 - 10:59

 วั[/size]นที่ 24 [/size]ม.ค.[/size] [/size]ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์)[/size] ได้สำรวจความคิดเห็น ประชาชนเรื่อง "การเลือกตั้งท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมือง" โดยเก็บข้อมูลกับประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,018 คนพบว่า ประชาชนร้อยละ 49.3 ยังไม่เห็นการหาเสียงของผู้สมัคร เห็นเพียง ป้ายหาเสียง และร้อยละ 16.1 ยังไม่เห็นการหาเสียงในรูปแบบใดๆ เลย ขณะที่ร้อยละ 29.7 เห็นการหาเสียงของผู้สมัครแต่ไม่คึกคัก และมีเพียงร้อยละ 4.9 เท่านั้นที่เห็นการหาเสียงของผู้สมัครและคึกคักมาก[/size]
 [/size]
 เมื่อถามว่าสถานการณ์ความรุนแรงและขัดแย้งทางการเมืองมีผลต่อการไปเลือกตั้งในวันที่2ก.พ.ที่จะถึงนี้หรือไม่ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 เห็นว่ามีผลต่อการไปเลือกตั้ง โดยในจำนวนนี้ร้อยละ 34.3 บอกว่ามีผลทำให้ต้องรอดูสถานการณ์ความรุนแรงอีกทีก่อนที่จะตัดสินใจว่าจะไปเลือกตั้งหรือไม่ และร้อยละ 18.3 ทำให้ไม่อยากไปเลือกตั้ง ขณะที่ร้อยละ 47.4 เห็นว่าไม่มีผลต่อการไปเลือกตั้ง โดยในจำนวนนี้ร้อยละ 23.4 ให้เหตุผลว่าต้องไปเลือกตั้งให้ได้อยู่แล้ว และอีกร้อยละ 24.0 ให้เหตุผลว่าไปเลือกเพราะเป็นหน้าที่ [/size]

 เมื่อถามต่อว่า “[/size]หากในวันที่ 2 ก.พ. ที่จะถึงนี้ยังคงมีการเลือกตั้ง ท่านตั้งใจจะออกไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งหรือไม่[/size]”[/size] ร้อยละ 79.6 ตั้งใจจะออกไปใช้สิทธิ์[/size] ขณะที่ร้อยละ 9.9 ตั้งใจจะไม่ออกไปใช้สิทธิ์ และร้อยละ 10.5 ยังไม่แน่ใจ[/size]
 [/size]
 ส่วนความเห็นต่อการจัดการเลือกตั้งในวันที่ 2 ก.พ. ที่จะถึงนี้ ประชาชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 51.5 เห็นว่าควรมีการเดินหน้าเลือกตั้งตามเดิม ขณะที่ร้อยละ 28.1 เห็นว่าควรปฏิรูปก่อนแล้วค่อยเลือกตั้ง และร้อยละ 20.4 เห็นว่าควรเลื่อนการเลือกตั้งออกไปก่อน[/size]
 [/size]
 สุดท้ายเมื่อถามว่า “จากข่าวสถานการณ์ความขัดแย้งรุนแรงที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนทำให้มีผู้บาดเจ็บ และเสียชีวิต ท่านเห็นด้วยหรือไม่หากกองทัพตัดสินใจทำรัฐประหาร เพื่อยุติความขัดแย้งที่เป็นอยู่” ร้อยละ 56.0 ไม่เห็นด้วย ขณะที่ร้อยละ 21.6 เห็นด้วย และร้อยละ 22.4 ไม่แน่ใจ[/size]

 ถ้าเชื่อ แล้วมีความสุข  ตามสบาย คร่าาาา



#41 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

Posted 25 January 2014 - 11:00

 

 

 

79.6% นี่ถ้าจำไม่ผิดเยอะกว่าที่ออกไปเลือกตั้งช่วงปกติอีกนะเนี่ย

 

ใช่แล้วครับ

 

สงสัยไปสอบถามแถวๆที่เขาจุดเทียนกันซะส่วนใหญ่ละม้าง  :D  :D 

 

โพลว่ายังไง ต้องเชื่อตามนั้นคร่า

 

เป็นการประเมินเพื่อให้เห็นแนวทาง คร่าวๆ ค่า

ถ้าไม่เห็นด้วย อย่าไปใส่ใจกับข้อมูลนี้ก็ได้คร่า

 

เดี๋ยว เครียด ตาย เลย คร่า

 

 

เอาข้อมูลมารู้เรื่องหรือเปล่า

 

 

 

 

 

ปากาด

อ่าน คร่า

 

รายได้ของประเทศไทยแยกตามประเภทของภาษีประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556

รายได้แยกตามประเภท ล้านบาท % ภาษีมูลค่าเพิ่ม 698,087 27% ภาษีเงินได้นิติบุคคล 592,499 23% ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 299,034 12% ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 113,291 4% ภาษีอื่นๆของสรรพากร 61,796 2% ภาษีสรรพสามิต (น้ำมัน รถ เบียร์ ยาสูบ ฯลฯ) 432,868 17% ภาษีกรมศุลกากร 113,382 4% รายได้รัฐวิสาหกิจ 101,448 4% รายได้หน่วยงานอื่น 159,016 6% รวมรายได้ประจำปีงบประมาณ 2556 2,571,421 100%

http://thaienews.blo...-post_2328.html

 

ตัวเลขรายรับจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีนิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีปิโตรเลี่ยม ฯลฯ นี้ หักเงินขอคืนภาษี หรือยัง

ภาษีสรรพสามิต จากน้ำมัน  รถ เบียร์ ยาสูบ ฯลฯ ภาษีกรมศุลกากร รายได้รัฐวิสาหกิจ รายได้หน่วยงานอืนๆ  มีการขอคืนภาษีไหม

 

 

สำนักจุฬาราชมนตรี ออกแถลงการณ์ ตำหนิม็อบ กปปส. โดย เมือกมั่ง, เมื่อวาน, 10:43 <--- นี่ก็อ่านได้จ๊ะ อีหนู 

 

 

อารมณ์ เสีย มาแต่ใหน หรือ คร่า

อารมณ์ ค้าง เหรอ ต๊ะเอง

 

ท่านใดอยาก อ่าน เต็มๆ เชิญ ทัศนา ตาม สดวก คร่าาา

 

 

คลิก คะ คลิก เข้าไปอ่าน

สำนักจุฬาราชมนตรี ออกแถลงการณ์ ตำหนิม็อบ กปปส.  

http://webboard.seri...ร/#entry1026069

 

 

ผลรายได้สุทธิของปี  56 สรุปได้อย่างไร   ในเมื่อตอนนี้กำลังขอคืนภาษีกันอยู่เลย พวกโรงงานผลิต บ.ขายของ เขาทำเรื่องขอคืน VAT ได้เงินคืนไปหรือยัง เอาไปเปรียบเทียบกับภาษีที่ไม่มีการขอคืนภาษีได้อย่างไร อีหนู

 


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#42 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 11:01

 

ไม่จำเป็น คร่า

 

แต่ถ้าวันที่ 2 กพ คนส่วนใหญ ก็ จะไป นะ คร้าาาาาาา

 

ก็ในโพลล์เขาถามวันที่สอง กุมภา  คนเห็นด้วยว่าควรเลื่อน มีมากกว่า คนเห็นว่าไม่ควรเลื่อน  นี่ครับ  

 

 

ตรงใหน บอกว่าเลื่อน คร้า

แก้ไข ส่วนแก้ไข ไม่ใช่เลื่อน เช่น กปปส บอกว่าจะไม่ขัดขวาง นี่ แมนมากคร่า

 

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%


Edited by เมือกมั่ง, 25 January 2014 - 11:02.

ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#43 Garfield

Garfield

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,107 posts

Posted 25 January 2014 - 11:06

 

 

 

 

79.6% นี่ถ้าจำไม่ผิดเยอะกว่าที่ออกไปเลือกตั้งช่วงปกติอีกนะเนี่ย

 

ใช่แล้วครับ

 

สงสัยไปสอบถามแถวๆที่เขาจุดเทียนกันซะส่วนใหญ่ละม้าง  :D  :D 

 

โพลว่ายังไง ต้องเชื่อตามนั้นคร่า

 

เป็นการประเมินเพื่อให้เห็นแนวทาง คร่าวๆ ค่า

ถ้าไม่เห็นด้วย อย่าไปใส่ใจกับข้อมูลนี้ก็ได้คร่า

 

เดี๋ยว เครียด ตาย เลย คร่า

 

 

เอาข้อมูลมารู้เรื่องหรือเปล่า

 

 

 

 

 

ปากาด

อ่าน คร่า

 

รายได้ของประเทศไทยแยกตามประเภทของภาษีประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556

รายได้แยกตามประเภท ล้านบาท % ภาษีมูลค่าเพิ่ม 698,087 27% ภาษีเงินได้นิติบุคคล 592,499 23% ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 299,034 12% ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 113,291 4% ภาษีอื่นๆของสรรพากร 61,796 2% ภาษีสรรพสามิต (น้ำมัน รถ เบียร์ ยาสูบ ฯลฯ) 432,868 17% ภาษีกรมศุลกากร 113,382 4% รายได้รัฐวิสาหกิจ 101,448 4% รายได้หน่วยงานอื่น 159,016 6% รวมรายได้ประจำปีงบประมาณ 2556 2,571,421 100%

http://thaienews.blo...-post_2328.html

 

ตัวเลขรายรับจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีนิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีปิโตรเลี่ยม ฯลฯ นี้ หักเงินขอคืนภาษี หรือยัง

ภาษีสรรพสามิต จากน้ำมัน  รถ เบียร์ ยาสูบ ฯลฯ ภาษีกรมศุลกากร รายได้รัฐวิสาหกิจ รายได้หน่วยงานอืนๆ  มีการขอคืนภาษีไหม

 

 

สำนักจุฬาราชมนตรี ออกแถลงการณ์ ตำหนิม็อบ กปปส. โดย เมือกมั่ง, เมื่อวาน, 10:43 <--- นี่ก็อ่านได้จ๊ะ อีหนู 

 

 

อารมณ์ เสีย มาแต่ใหน หรือ คร่า

อารมณ์ ค้าง เหรอ ต๊ะเอง

 

ท่านใดอยาก อ่าน เต็มๆ เชิญ ทัศนา ตาม สดวก คร่าาา

 

 

คลิก คะ คลิก เข้าไปอ่าน

สำนักจุฬาราชมนตรี ออกแถลงการณ์ ตำหนิม็อบ กปปส.  

http://webboard.seri...ร/#entry1026069

 

 

ผลรายได้สุทธิของปี  56 สรุปได้อย่างไร   ในเมื่อตอนนี้กำลังขอคืนภาษีกันอยู่เลย พวกโรงงานผลิต บ.ขายของ เขาทำเรื่องขอคืน VAT ได้เงินคืนไปหรือยัง เอาไปเปรียบเทียบกับภาษีที่ไม่มีการขอคืนภาษีได้อย่างไร อีหนู

 

 

 

คนเราถ้ามันมีสมองมันคงไม่มาเป็นแดงเติมเงินหรอกครับ คงไปหากินทางอื่นแล้ว



#44 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

Posted 25 January 2014 - 11:06

 

 

ไม่จำเป็น คร่า

 

แต่ถ้าวันที่ 2 กพ คนส่วนใหญ ก็ จะไป นะ คร้าาาาาาา

 

ก็ในโพลล์เขาถามวันที่สอง กุมภา  คนเห็นด้วยว่าควรเลื่อน มีมากกว่า คนเห็นว่าไม่ควรเลื่อน  นี่ครับ  

 

 

ตรงใหน บอกว่าเลื่อน คร้า

แก้ไข ส่วนแก้ไข ไม่ใช่เลื่อน เช่น กปปส บอกว่าจะไม่ขัดขวาง นี่ แมนมากคร่า

 

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%

 

 

อีหนู เอ็งไปสัมผัส ความจริงบ้างเหอะ อย่ามาเช้านั่งเทียน เย็นจุดเทียนอยู่เลย ไประดมพวกเอ็ง ทั้งม็อบเสื้อแดง ม็อบลูกโป่ง ม็อบนั่งเทียน ส่งไปรษณียบัตรแค่ 6 ล้านใบ เท่ากับจำนวนกปปส.ที่ออกมา ให้ได้ก็พอแล้ว

 

ไปรษณีย์เชียร์อีปู.jpg


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#45 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 11:09

 

 

 

ไม่จำเป็น คร่า

 

แต่ถ้าวันที่ 2 กพ คนส่วนใหญ ก็ จะไป นะ คร้าาาาาาา

 

ก็ในโพลล์เขาถามวันที่สอง กุมภา  คนเห็นด้วยว่าควรเลื่อน มีมากกว่า คนเห็นว่าไม่ควรเลื่อน  นี่ครับ  

 

 

ตรงใหน บอกว่าเลื่อน คร้า

แก้ไข ส่วนแก้ไข ไม่ใช่เลื่อน เช่น กปปส บอกว่าจะไม่ขัดขวาง นี่ แมนมากคร่า

 

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%

 

 

อีหนู เอ็งไปสัมผัส ความจริงบ้างเหอะ อย่ามาเช้านั่งเทียน เย็นจุดเทียนอยู่เลย ไประดมพวกเอ็ง ทั้งม็อบเสื้อแดง ม็อบลูกโป่ง ม็อบนั่งเทียน ส่งไปรษณียบัตรแค่ 6 ล้านใบ เท่ากับจำนวนกปปส.ที่ออกมา ให้ได้ก็พอแล้ว

 

attachicon.gifไปรษณีย์เชียร์อีปู.jpg

post-14906-0-99584700-1390622715.jpg

 

 

 

 

 

 

ว๊าวว ว    งัดเคล็ด วิชา ก้นหีบ เลย หรือ ค่าาาา

 

อุ้ย ท่า(ตก)ไม้ ตาย 


Edited by เมือกมั่ง, 25 January 2014 - 11:10.

ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#46 poonny

poonny

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

Posted 25 January 2014 - 11:14

ถ้าถามผมอยากเลือกตั้งมั้ย? 

 

ตอบว่า.. อยากเลือกครับ 

 

แต่.. ต้องหลังปฏิรูปนะ 

 

ตอนนี้ไม่อยากไป หรือถ้าไปก็คงทำให้บัตรเสีย คือ ด่าพวกทรราชย์ในบัตรก็แค่นั้น



#47 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 11:14

ถ้าถามผมอยากเลือกตั้งมั้ย? 

 

ตอบว่า.. อยากเลือกครับ 

 

แต่.. ต้องหลังปฏิรูปนะ 

 

ตอนนี้ไม่อยากไป หรือถ้าไปก็คงทำให้บัตรเสีย คือ ด่าพวกทรราชย์ในบัตรก็แค่นั้น

 

เยี่ยม คร่าา


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#48 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

Posted 25 January 2014 - 11:16

 

 

 

 

ไม่จำเป็น คร่า

 

แต่ถ้าวันที่ 2 กพ คนส่วนใหญ ก็ จะไป นะ คร้าาาาาาา

 

ก็ในโพลล์เขาถามวันที่สอง กุมภา  คนเห็นด้วยว่าควรเลื่อน มีมากกว่า คนเห็นว่าไม่ควรเลื่อน  นี่ครับ  

 

 

ตรงใหน บอกว่าเลื่อน คร้า

แก้ไข ส่วนแก้ไข ไม่ใช่เลื่อน เช่น กปปส บอกว่าจะไม่ขัดขวาง นี่ แมนมากคร่า

 

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%

 

 

อีหนู เอ็งไปสัมผัส ความจริงบ้างเหอะ อย่ามาเช้านั่งเทียน เย็นจุดเทียนอยู่เลย ไประดมพวกเอ็ง ทั้งม็อบเสื้อแดง ม็อบลูกโป่ง ม็อบนั่งเทียน ส่งไปรษณียบัตรแค่ 6 ล้านใบ เท่ากับจำนวนกปปส.ที่ออกมา ให้ได้ก็พอแล้ว

 

attachicon.gifไปรษณีย์เชียร์อีปู.jpg

post-14906-0-99584700-1390622715.jpg

 

 

 

 

 

 

ว๊าวว ว    งัดเคล็ด วิชา ก้นหีบ เลย หรือ ค่าาาา

 

อุ้ย ท่า(ตก)ไม้ ตาย 

 

 

นายขนมสาคู หรือ mmmmm และ Rationale หรือ Tam-mic-ra มาตกม้าตายไปสองคนแล้ว ยังจะมาอีกหรือ ไอ้พวกลากดำนา

 

คลิปนี้ เกิดขึ้นที่ตรงไหน วันที่เท่าไร แล้วอะไรเป็นข้อบ่งชี้ว่า ชายชุดดำเป็นคน (คลิก)

 

http://webboard.seri...e-3#entry885064 (คลิก)

 

mmmmm พาออกทะเลไปเรียบร้อยแล้ว  

คลิปนี้ เกิดขึ้นที่ตรงไหน วันที่เท่าไร นี่คือบทสรุปใช่ไหม

 "คุณ mmmmm ฝ่ายแดง   ให้หลักฐานมาว่า เหตุการณ์เกิดตรง ห้างอินทรา ถ.ราชปรารภ

และยิงมาจาก หมวกเหล็ก ลายพราง ที่ประจำอยู่ที่  สะพานลอยข้ามถนน  คืนวันที่ 15 พค53  1.32น.

http://webboard.seri...ัน/#entry879582

ทุกคนไม่มีใครค้านนะครับ    ถือว่ายอมรับเป็นเอกฉันท์" 

 


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#49 เมือกมั่ง

เมือกมั่ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 285 posts

Posted 25 January 2014 - 11:16

 

 

 

 

 

ไม่จำเป็น คร่า

 

แต่ถ้าวันที่ 2 กพ คนส่วนใหญ ก็ จะไป นะ คร้าาาาาาา

 

ก็ในโพลล์เขาถามวันที่สอง กุมภา  คนเห็นด้วยว่าควรเลื่อน มีมากกว่า คนเห็นว่าไม่ควรเลื่อน  นี่ครับ  

 

 

ตรงใหน บอกว่าเลื่อน คร้า

แก้ไข ส่วนแก้ไข ไม่ใช่เลื่อน เช่น กปปส บอกว่าจะไม่ขัดขวาง นี่ แมนมากคร่า

 

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%

 

 

อีหนู เอ็งไปสัมผัส ความจริงบ้างเหอะ อย่ามาเช้านั่งเทียน เย็นจุดเทียนอยู่เลย ไประดมพวกเอ็ง ทั้งม็อบเสื้อแดง ม็อบลูกโป่ง ม็อบนั่งเทียน ส่งไปรษณียบัตรแค่ 6 ล้านใบ เท่ากับจำนวนกปปส.ที่ออกมา ให้ได้ก็พอแล้ว

 

attachicon.gifไปรษณีย์เชียร์อีปู.jpg

post-14906-0-99584700-1390622715.jpg

 

 

 

 

 

 

ว๊าวว ว    งัดเคล็ด วิชา ก้นหีบ เลย หรือ ค่าาาา

 

อุ้ย ท่า(ตก)ไม้ ตาย 

 

 

นายขนมสาคู หรือ mmmmm และ Rationale หรือ Tam-mic-ra มาตกม้าตายไปสองคนแล้ว ยังจะมาอีกหรือ ไอ้พวกลากดำนา

 

คลิปนี้ เกิดขึ้นที่ตรงไหน วันที่เท่าไร แล้วอะไรเป็นข้อบ่งชี้ว่า ชายชุดดำเป็นคน (คลิก)

 

http://webboard.seri...e-3#entry885064 (คลิก)

 

mmmmm พาออกทะเลไปเรียบร้อยแล้ว  

คลิปนี้ เกิดขึ้นที่ตรงไหน วันที่เท่าไร นี่คือบทสรุปใช่ไหม

 "คุณ mmmmm ฝ่ายแดง   ให้หลักฐานมาว่า เหตุการณ์เกิดตรง ห้างอินทรา ถ.ราชปรารภ

และยิงมาจาก หมวกเหล็ก ลายพราง ที่ประจำอยู่ที่  สะพานลอยข้ามถนน  คืนวันที่ 15 พค53  1.32น.

http://webboard.seri...ัน/#entry879582

ทุกคนไม่มีใครค้านนะครับ    ถือว่ายอมรับเป็นเอกฉันท์" 

 

 

 

 

ว๊าวว ว    งัดเคล็ด วิชา ก้นหีบ เลย หรือ ค่าาาา

 

อุ้ย ท่า(ตก)ไม้ ตาย 


ฝากเนื้อ ฝากตัวด้วย นะ คร่าาาาา


#50 templar

templar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,180 posts

Posted 25 January 2014 - 11:18

 

 

ไม่จำเป็น คร่า

 

แต่ถ้าวันที่ 2 กพ คนส่วนใหญ ก็ จะไป นะ คร้าาาาาาา

 

ก็ในโพลล์เขาถามวันที่สอง กุมภา  คนเห็นด้วยว่าควรเลื่อน มีมากกว่า คนเห็นว่าไม่ควรเลื่อน  นี่ครับ  

 

 

ตรงใหน บอกว่าเลื่อน คร้า

แก้ไข ส่วนแก้ไข ไม่ใช่เลื่อน เช่น กปปส บอกว่าจะไม่ขัดขวาง นี่ แมนมากคร่า

 

อันดับ 1   การเลือกตั้งเป็นวิธีการตามระบอบประชาธิปไตย  ควรเคารพการตัดสินใจของประชาชน 37.34%                                                                เชิงบวก

อันดับ 2   ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งควรแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองก่อน 24.02%            เชิงลบ

อันดับ 3   อยากรู้ว่าจะมีการเลื่อนการเลือกตั้งออกไปหรือไม่ 15.40%                                                                                                             เชิงกลาง

อันดับ 4   กังวลว่าจะมีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้น มีการเคลื่อนไหว คัดค้านของกลุ่มต่างๆ 14.10%                                เชิงลบ

อันดับ 5   อาจมีผู้ออกมาใช้สิทธิน้อย ทำให้ต้องเลือกตั้งใหม่  สูญเสียงบประมาณจำนวนมาก 9.14%            เชิงลบ

 

 

2,4,5  มันเป็นความคิดเชิงลบต่อการเลือกตั้งวันที่สองไงครับ  หรือ  คุณคิดว่ามันเป็นเชิงบวก  ถ้าเถียงกันอย่างนี้ก็ไม่จบล่ะครับ  

 

แต่คำถามในใจ 2.4.5 เขาคือ  นางยกเมิงจะเลือกวันที่สอง "เพื่อ"


อย่ามาเห่าว่ากรูมาจากการเลือกตั้ง  เพราะการเลือกตั้งไม่ใช่ทุกอย่างของประชาธิปไตย

การตรวจสอบบ้านเมืองอย่างเข้มข้น  ทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ  จำเป็นสำหรับประเทศไทย

 

สิ่งที่บ่งบอกว่าประเทศไหนพัฒนาแล้วไม่ได้ดูที่  มีตึกสูงมากเท่าไร  มีห้างเยอะไหม  มีจีดีพีสูงแค่ไหน

แต่ดูที่การศึกษา  และ คุณภาพของบุคลากรภายในประเทศ





2 user(s) are reading this topic

0 members, 2 guests, 0 anonymous users