Jump to content


Photo
- - - - -

ด่วน!! มติตลก.ศาลรธน.เสียงข้างมาก 6:3 ...


  • Please log in to reply
63 ความเห็นในกระทู้นี้

#51 PHOENiiX

PHOENiiX

    ปู 4ssโกงชาวนา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 9,226 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:02

มันจะเอาฮาไปถึงไหน    ไม่อายด้วย :lol:  :lol:  :lol:

 

http://www.khaosod.c...9PQ==

ขณะ ที่พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งทะเล่อทะล่าบอยคอตเลือกตั้ง 2 ก.พ. ก็แถลง เช่นกัน ระบุสาเหตุที่พรรคเพื่อไทยไม่ยอมให้การเลือกตั้ง 2 ก.พ. เป็นโมฆะ

ก็เพราะกลัวว่าเมื่อมีการเลือกตั้งใหม่แล้ว จะแพ้พรรคประชาธิปัตย์ !?

 

จาฤก, on 21 Mar 2014 - 18:33, said:snapback.png

 

PHOENiiX, on 21 Mar 2014 - 18:17, said:snapback.png

 

จาฤก, on 21 Mar 2014 - 18:15, said:snapback.png

 

PHOENiiX, on 21 Mar 2014 - 18:13, said:snapback.png

 

จาฤก, on 21 Mar 2014 - 18:08, said:snapback.png

2550

 

อ้าง รธน ปี 2550 แล้วที่เผาไทยของปูประกาศไม่ยอมรับ

 

เป็น รธน ของปีใหนเหรอท่านจาฤก :D :D

 

ไม่ได้ปฎิเสธ  รธน.  แต่ปฎิเสธ  ตุลาการ

 

 

640_c97jebcaaaaa8a9jdk5bi.jpg

 

แล้วตุลาการ ก็อ้างกฏจาก รธน มันต่างกันตรงใหน :lol:

 

ต่างที่จิตสำนึกของคน  ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี

 

 

แล้วตลาการตัดสินผิดตรงไหนเหรอ มีตรงไหนที่พวกนี้ไม่ผิดจริง

 

เสียบบัตรแทนกันผิดมั้ย

 

ปลอมแปลงสารส่งถวายในหลวงผิดมั้ย เฉพาะข้อนี้อิปูควรหัวขาดติดคุก

 

ตั้งนานแล้ว

 

กู้ 2.2 ล้านโดยมีเอกสารแค่หกแผ่น แล้วไม่ยอมให้มีการตรวจสอบผิดมั้ย

 

พรบ นิรโทษกรรมที่คนค้านกันทั่วประเทศ ผิดมั้ย

 

แล้วจำนำข้าวโกงกันจนชาติเสียหายไปแล้ว 7.8 แสนล้าน ยังเป็นหนี้

 

ชาวนาอีก 1.3 แสนล้านจะผิดมั้ย เลวมั้ย อิปูเคยคิดจะรับผิดอะไรบ้างหรือ

 

เปล่า นอกจากบีบน้ำตา ชาวนาฆ่าตัวตายไปสิบกว่าคนแล้วอิปูเคยไปหา

 

เคยคิดไปเยียวยาเขาบ้างมั้ย

 

 

 

 

ตอบด้วยค่ะ



#52 HiddenMan

HiddenMan

    Long Live The King

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,023 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:07

มันจะเอาฮาไปถึงไหน    ไม่อายด้วย :lol:  :lol:  :lol:

 

http://www.khaosod.c...9PQ==

ขณะ ที่พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งทะเล่อทะล่าบอยคอตเลือกตั้ง 2 ก.พ. ก็แถลง เช่นกัน ระบุสาเหตุที่พรรคเพื่อไทยไม่ยอมให้การเลือกตั้ง 2 ก.พ. เป็นโมฆะ

ก็เพราะกลัวว่าเมื่อมีการเลือกตั้งใหม่แล้ว จะแพ้พรรคประชาธิปัตย์ !?

 

^_^ ขอ Link ที่ ปชป แถลงว่าแบบนี้หน่อยครับ อยากอ่านฉบับเต็ม...


“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.”  - Mahatma Gandhi

 

สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด

https://www.facebook...denman.serithai


#53 เรื่อยๆเอื่อยๆ

เรื่อยๆเอื่อยๆ

    There is a face beneath this mask, but it isn't me.

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,223 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:08

ผมเซ็งกับไอ้พวกตั้งธงว่า ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ไม่เป็นธรรม 

ถ้าแย้งเหตุผลเขาไม่ได้ว่า ที่เขาตัดสินมันผิดยังไงก็หุบปากไปซะ 



#54 vnvankav

vnvankav

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 209 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:12

เอาละ ตอนนี้ถึงเวลาใกล้เผด็จศึกแล้ว

 

เลือกตั้งก้อโฆฆะ เลือกนายกก้อไม่ได้

 

การเมืองเป็นสูญญากาศ แล้ว

 

ตอนนี้คืนอำนาจให้ ประชาชน

 

จากนั้นก้อใช้ มาตรา 7 ผ่านมาตรา 3 ได้

ขออณุญาตินะครับ ผมว่าสิ่งที่ท่าน กล่าวถึงไม่น่าใช่คืนอำนาจ ให้ประชาชนนะครับ

น่าจะเรียกว่า ยกอำนาจให้ประชาชนชนกลุ่มหนึ่งมากกว่านะครับ

 

ท่านสุเทพเค้าบอกเองว่าจะเป็น รัฏฐาธิปัตย์ ด้วยน่ะ

 

“รัฏฐาธิปัตย์” คืออะไร

 
รัฏฐาธิปัตย์ หมายความว่า


๑) รัฏฐาธิปัตย์
เมื่อกล่าวถึง ปรัชญากฎหมายก็ต้องกล่าวถึง “กฎหมาย” และเมื่อกล่าวถึง กฎหมาย ก็จำเป็นต้องกล่าวถึงรัฏฐาธิปัตย์ (soverign) ซึ่งสำนักความคิดกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองอธิบายว่าเป็นผู้ทำให้เกิดกฎหมายดังที่ จอห์น ออสติน (John Ausyin) อธิบายว่ากฎหมาย คือ คำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์

ความหมายของรัฏฐาธิปัตย์
สำนัก ฝ่ายกฎหมายบ้านเมืองให้ความสำคัญมากโดยอธิบายว่า รัฏฐาธิปัตย์ คือผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน ส่วนจะเป็นใครก็สุดแท้แต่ว่าเป็นผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดินหรือบ้านเมืองใด มีระบอบการปกครองอย่างไร ถ้าเป็นในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รัฏฐาธิปัตย์ คือ พระมหากษัตริย์

อำนาจของรัฏฐาธิปัตย์ ก็คือการมีอำนาจอธิปไตยนั่นเอง ซึ่งก่อให้เกิดผลดังนี้ คือ
๑. ผลของการมีอำนาจอธิปไตยทำให้ รัฏฐาธิปัตย์ อยู่ในฐานะสูงสุดในแผ่นดิน และไม่ต้องเชื่อฟังผู้อื่นอีก
ข้อ นี้อาจไม่ถูกต้องในเวลานี้แล้วก็เป็นได้ เพราะในระบบประชาธิปไตย รัฏฐาธิปัตย์ อาจอยู่ใต้ข้อจำกัดอำนาจบางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามทฤษฎีว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้น เมื่อประชาชนแต่ละคนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ประชาชนแต่ละคนย่อมเป็น รัฏฐาธิปัตย์ แต่ไม่มีประชาชนคนใดอยู่ในฐานะสูงสุดโดยไม่ต้องฟังคำสั่งผู้อื่น
๒. ผลประการแรกทำให้เกิดผลประการที่สองขึ้นมา กฎหมายระหว่างประเทศอันเป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ ไม่มีสภาพเป็นกฎหมาย เพราะเมื่อรัฐต่างๆ มีฐานะเท่าเทียมกันก็ไม่มีรัฏฐาธิปัตย์ผู้ใดมีอำนาจบังคับบัญชาให้รัฏ ฐาธิปัตย์ผู้อื่นอยู่ในฐานะจำยอมได้ และจะเอาผิดถ้ามีการฝ่าฝืนกฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้ ความผูกพันระหว่างรัฐต่อรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศจึงเป็นเรื่องถ้อยที่ถ้อย อาศัยกันเท่านั้น
ปัจจุบันทฤษฎีดังกล่าวของ ออสตินเสื่อมความนิยมแล้ว
๓. ข้อจำกัดอำนาจของรัฏฐาธิปัตย์
ใน สมัยที่เชื่อกันว่าอำนาจสูงสุดเป็นของพระผู้เป็นเจ้าหรือพระผู้ทรงเป็นใหญ่ เพราะทรงเป็น “ที่สุดของสิ่งที่สุดทั้งปวง” (The Absoluteness) หรือสมบูรณัตถ์ จึงไม่มีข้อจำกัดขัดขวางของอำนาจของพระองค์แต่อย่างใด ครั้นต่อมาเชื่อกันว่าพระสันตะปาปาทรงเป็นใหญ่ หรือองค์อธิปัตย์อยู่เหนือกษัตริย์ทั้งหลายแต่อำนาจของอธิปัตย์องค์นี้ย่อม ถูกจำกัดเพราะพระสันตะปาปาจะออกกฎหมายใดให้ขัดหรือแย้งกับกฎของพระผู้เป็น เจ้ามิได้

นักกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองต่างถือกันว่า กษัตริย์ทรงเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดอย่างแท้จริงโดยไม่อยู่ใต้อำนาจรัฏฐาธิปัต ย์ หากถือว่าแม้กษัตริย์เป็นรัฏฐาธิปัตย์แต่ก็เป็นรัฏฐาธิปัตย์ที่เกิดจากความ ยินยอมหรือการยอมรับนับถือของประชาชน ฉะนั้น จะใช้อำนาจผิดทำนองคลองธรรมมิได้ เพราะถ้าใช้อำนาจผิดธรรมนองคลองธรรมราษฎรก็จะเสื่อศรัทธา และคลายความจงรักภักดี ซึ่งในที่สุดอาจนำไปสู่การล้มล้างอำนาจรัฏฐาธิปัตย์ก็เป็นได้

สำหรับ ทฤษฎีที่ถือว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้นประชาชนย่อมเป็นรัฏฐาธิปัตย์ แต่รัฏฐาธิปัตย์เช่นนี้ย่อมถูกจำกัดด้วยอำนาจรัฏฐาธิปัตย์คนอื่นๆ ซึ่งก็มีอำนาจอธิปไตยเท่าเทียมกัน เช่น พระเจ้าแผ่นดินของรัฐ ก. จะทำการใดก้าวก่ายอำนาจอธิปไตยของพระเจ้าแผ่นดินแห่งรัฐ ข. มิได้ เพราะต่างมีอำนาจอธิปไตยเช่นกันฉันใด ราษฎร ก. จะใช้อำนาจอธิปไตยของตนก้าวก่ายอธิปไตยของรัฐ ข. ไม่ได้ฉันนั้น

ใน อังกฤษ รัฐสภา เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดหรืออีกนัยหนึ่งรัฐสภาเป็นรัฏฐาธิปัตย์แทนประชาชนตาม ทฤษฎีว่าด้วยความมีอำนาจสูงสุดของรัฐสภา (supremacy of parliament) “รัฐสภา” มีความหมายพิเศษเพราะประกอบด้วยองค์อำนาจสามประการคือ
๑. สภาสามัญ
๒. สภาขุนนาง
๓. พระมหากษัตริย์
สำหรับ พระมหากษัตริย์นั้น แม้โดยทั่วไปไม่ถือว่าเป็นสถาบันรัฐสภา (parliamentary - institution) ดุจดังสภาทั้งสองที่กล่าวข้างต้น แต่เมื่อกล่าวถึงรัฐสภาอังกฤษเป็นองค์อำนาจสูงสุด ตามทฤษฎีเรื่องสภาวะสูงสุดของรัฐสภา คำว่ารัฐสภาในที่นี้ย่อมหมายถึงพระมหากษัตริย์ด้วย (King or Queen in Parliament) เพราะลำพังสภาทั้งสองหาทรงไว้ซึ่งอำนาจสูงสุดไม่
สำหรับ ปัญหาที่ว่า ทฤษฎีเรื่องสภาวะสูงสุดของรัฐสภาหมายความว่าอย่างไร นักกฎหมาย รัฐธรรมนูญ อังกฤษอธิบายว่ามีความหมายพิเศษสองประการคือ
๑. การมีอำนาจนิติบัญญัติล้นพ้นหาที่สุดมิได้ ดังที่เดอลอล์ม (De Lolme) ได้อธิบายสรุปไว้ทำนองประชดประชันว่า “นักกฎหมายอังกฤษพึงรำลึกไว้เถิดว่ารัฐสภาอังกฤษมีอำนาจบันดาลได้สารพัดใน ปฐพี จะมียกเว้นก็แต่การแปลงหญิงให้เป็นชาย หรือการแปลงชายให้เป็นหญิงเท่านั้น”
๒. การทรงไว้ซึ่งอำนาจนิติบัญญัติแต่ผู้เดียว องค์กรหนึ่งๆ ของรัฐสภา เช่น สภาสามัญ หรือสภาขุนนาง อาจมีอำนาจนิติบัญญัติเอกเทศ แต่ก็เป็นการมอบอำนาจให้โดยรัฐสภา ซึ่งจะเรียกกลับเสียเมื่อใดก็ได้ ยิ่งกว่านั้นเมื่อรัฐสภาออกกฎหมายใด สถาบันอื่นใด เช่นศาลจะกล่าวหาว่ากฎหมายนั้นขัดต่อรัฐธรรมนูญมิได้ เพราะแท้จริงแล้วกฎหมายนั้นอาจมีผลเป็นรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ยกเลิกฉบับเก่า ก็ได้ตามกฎหมายใหม่ยกเลิกกฎหมายเก่า (lex posterior derogat legi priori)

ข้อจำกัดอำนาจในทางทฤษฎีอาจแบ่งออกได้ดังนี้
๑. กฎหมายธรรมชาติ กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายแห่งศีลธรรม (Natural law, international law, rule of morality ) ไดซีย์อธิบายว่าแม้รัฐสภามีอำนาจสูงสุด แต่รัฐสภาจะออกกฎหมายที่ฝ่าฝืนมโนธรรม ศีลธรรมจรรยา กฎหมายธรรมชาติ หรือกฎหมายระหว่างประเทศมิได้
๒. พระราชอำนาจ (Royal prrerogative) ไดซีย์อธิบายว่าพระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจทางการเมือง (political power) และอำนาจทางสังคม (social power) ทรงเป็นที่เคารพรักของประชาชน ถ้าทรงไม่เห็นด้วยกับการร่างกฎหมายใดหรือทรงทักท้วงความข้อใดรัฐสภาควรโอ อนอ่อนผ่อนตามพระราชประสงค์
๓. กฎหมายพื้นฐาน (Fundamental law) ไดซีย์กล่าวว่าในกรณีที่รัฐสภาออกกฎหมายสำคัญๆ ที่เป็นพื้นฐานทางสังคม เช่น กฎหมายคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนรัฐสภาสมัยหลังๆ จะรีบด่วนออกกฎหมายเปลี่ยนแปลงกฎหมายพื้นฐานไม่ได้

กระนั้นก็ตามทางปฏิบัติ รัฐสภาอาจตกอยู่ใต้อำนาจข้อจำกัดอำนาจบางข้อโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัวซึ่งไดซีย์อธิบายดังนี้
๑. ทฤษฎีเจ้าของอำนาจอธิปไตย (doctrine of sovereignty) ไดซีย์อ้างความเห็นของออสติน ที่ว่าแม้อำนาจนิติบัญญัติจะถูกใช้โดยรัฐสภาซึ่งประกอบด้วย สภาสามัญ สภาขุนนาง และ พระมหากษัตริย์ แต่เจ้าของอำนาจนิติบัญญัติที่แท้จริงได้แก่ประชาชนอยู่นั่นเอง เพราะฉะนั้นจะถือว่ารัฐสภาเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดได้อย่างไร ในเมื่อประชาชนเป็นผู้เลือกสมาชิกสภาสามัญ และเป็นผู้ให้ความเห็นชอบการเสวยราชสมบัติของพระมหากษัตริย์
๒. เหตุภายนอกอันอาจจูงใจสมาชิกรัฐสภา ไม่ให้ใช้อำนาจมาก (external limitation) ไดซีย์กล่าว่า พลังของประชาชนหรือกลุ่มอิทธิพล (Pressure group) เช่นกลุ่มนักศึกษา กลุ่มเกษตรกร กลุ่มนักวิชาการ อาจมีอิทธิพลเหนือสมาชิกรัฐสภา มิให้ใช้อำนาจสูงสุดของตนในทางที่ผิดทำนองคลองธรรมได้ เช่น สมาชิกรัฐสภาอาจอาจเกรงว่าถ้าออกกฎหมายประเภทนี้ไปแล้วอาจถกหนังสือพิมพ์ วิพากษ์วิจารณ์ อาจถูกมติมหาชนคัดค้าน อาจถูกโต้ตอบโดยนักวิชาการ หรืออาจถูกประชาชนเดินขบวนวางหรีดประท้วง เป็นต้น
๓. เหตุภายในอันอาจจูงใจสมาชิกรัฐสภาไม่ให้ใช้อำนาจมาก (intetnal limitation) เหตุภายในหมายถึง ทัศนคติ การศึกษาอบรม พื้นเพทางสังคมและการเมือง ตลอดจนค่านิยมของสมาชิกรัฐสภา เหตุเหล่านี้ย่อมกล่อมเกลาจิตใจของผู้นั้นให้เป็นไปในแนวทางที่ตนมีพื้นเพมา

แม้รัฐสภาจะมีอำนาจสูงสุด แต่ก็ไม่ต้องกลัวว่ารัฐสภาจะใช้อำนาจบาทใหญ่คุกคามประชาชน เพราะรัฐสภาย่อมกลัวพลังของประชาชน และสมาชิกสภาเองต่างก็มีที่มาจากสังคมนั้นๆ จึงมีจิตสำนึกทางกรเมืองสูง และมีวิญญาณของสุภาพชนในระบอบประชาธิปไตยอย่างครบถ้วน จึงเป็นที่หวังได้ว่าจะไม่ใช้อำนาจของตนออกนอกรีตนอกรอย

Edited by vnvankav, 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:13.

ข้าพเจ้าเป็น ไอ้ร้อยล็อกอินเรียบร้อย :(

 

 

สามสิบลิขิตฟ้า เจ็ดสิบต้องฝ่าฟัน


#55 PHOENiiX

PHOENiiX

    ปู 4ssโกงชาวนา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 9,226 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:15

 

เอาละ ตอนนี้ถึงเวลาใกล้เผด็จศึกแล้ว

 

เลือกตั้งก้อโฆฆะ เลือกนายกก้อไม่ได้

 

การเมืองเป็นสูญญากาศ แล้ว

 

ตอนนี้คืนอำนาจให้ ประชาชน

 

จากนั้นก้อใช้ มาตรา 7 ผ่านมาตรา 3 ได้

ขออณุญาตินะครับ ผมว่าสิ่งที่ท่าน กล่าวถึงไม่น่าใช่คืนอำนาจ ให้ประชาชนนะครับ

น่าจะเรียกว่า ยกอำนาจให้ประชาชนชนกลุ่มหนึ่งมากกว่านะครับ

 

ท่านสุเทพเค้าบอกเองว่าจะเป็น รัฏฐาธิปัตย์ ด้วยน่ะ

 

“รัฏฐาธิปัตย์” คืออะไร

 
รัฏฐาธิปัตย์ หมายความว่า


๑) รัฏฐาธิปัตย์
เมื่อกล่าวถึง ปรัชญากฎหมายก็ต้องกล่าวถึง “กฎหมาย” และเมื่อกล่าวถึง กฎหมาย ก็จำเป็นต้องกล่าวถึงรัฏฐาธิปัตย์ (soverign) ซึ่งสำนักความคิดกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองอธิบายว่าเป็นผู้ทำให้เกิดกฎหมายดังที่ จอห์น ออสติน (John Ausyin) อธิบายว่ากฎหมาย คือ คำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์

ความหมายของรัฏฐาธิปัตย์
สำนัก ฝ่ายกฎหมายบ้านเมืองให้ความสำคัญมากโดยอธิบายว่า รัฏฐาธิปัตย์ คือผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน ส่วนจะเป็นใครก็สุดแท้แต่ว่าเป็นผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดินหรือบ้านเมืองใด มีระบอบการปกครองอย่างไร ถ้าเป็นในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รัฏฐาธิปัตย์ คือ พระมหากษัตริย์

อำนาจของรัฏฐาธิปัตย์ ก็คือการมีอำนาจอธิปไตยนั่นเอง ซึ่งก่อให้เกิดผลดังนี้ คือ
๑. ผลของการมีอำนาจอธิปไตยทำให้ รัฏฐาธิปัตย์ อยู่ในฐานะสูงสุดในแผ่นดิน และไม่ต้องเชื่อฟังผู้อื่นอีก
ข้อ นี้อาจไม่ถูกต้องในเวลานี้แล้วก็เป็นได้ เพราะในระบบประชาธิปไตย รัฏฐาธิปัตย์ อาจอยู่ใต้ข้อจำกัดอำนาจบางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามทฤษฎีว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้น เมื่อประชาชนแต่ละคนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ประชาชนแต่ละคนย่อมเป็น รัฏฐาธิปัตย์ แต่ไม่มีประชาชนคนใดอยู่ในฐานะสูงสุดโดยไม่ต้องฟังคำสั่งผู้อื่น
๒. ผลประการแรกทำให้เกิดผลประการที่สองขึ้นมา กฎหมายระหว่างประเทศอันเป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ ไม่มีสภาพเป็นกฎหมาย เพราะเมื่อรัฐต่างๆ มีฐานะเท่าเทียมกันก็ไม่มีรัฏฐาธิปัตย์ผู้ใดมีอำนาจบังคับบัญชาให้รัฏ ฐาธิปัตย์ผู้อื่นอยู่ในฐานะจำยอมได้ และจะเอาผิดถ้ามีการฝ่าฝืนกฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้ ความผูกพันระหว่างรัฐต่อรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศจึงเป็นเรื่องถ้อยที่ถ้อย อาศัยกันเท่านั้น
ปัจจุบันทฤษฎีดังกล่าวของ ออสตินเสื่อมความนิยมแล้ว
๓. ข้อจำกัดอำนาจของรัฏฐาธิปัตย์
ใน สมัยที่เชื่อกันว่าอำนาจสูงสุดเป็นของพระผู้เป็นเจ้าหรือพระผู้ทรงเป็นใหญ่ เพราะทรงเป็น “ที่สุดของสิ่งที่สุดทั้งปวง” (The Absoluteness) หรือสมบูรณัตถ์ จึงไม่มีข้อจำกัดขัดขวางของอำนาจของพระองค์แต่อย่างใด ครั้นต่อมาเชื่อกันว่าพระสันตะปาปาทรงเป็นใหญ่ หรือองค์อธิปัตย์อยู่เหนือกษัตริย์ทั้งหลายแต่อำนาจของอธิปัตย์องค์นี้ย่อม ถูกจำกัดเพราะพระสันตะปาปาจะออกกฎหมายใดให้ขัดหรือแย้งกับกฎของพระผู้เป็น เจ้ามิได้

นักกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองต่างถือกันว่า กษัตริย์ทรงเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดอย่างแท้จริงโดยไม่อยู่ใต้อำนาจรัฏฐาธิปัต ย์ หากถือว่าแม้กษัตริย์เป็นรัฏฐาธิปัตย์แต่ก็เป็นรัฏฐาธิปัตย์ที่เกิดจากความ ยินยอมหรือการยอมรับนับถือของประชาชน ฉะนั้น จะใช้อำนาจผิดทำนองคลองธรรมมิได้ เพราะถ้าใช้อำนาจผิดธรรมนองคลองธรรมราษฎรก็จะเสื่อศรัทธา และคลายความจงรักภักดี ซึ่งในที่สุดอาจนำไปสู่การล้มล้างอำนาจรัฏฐาธิปัตย์ก็เป็นได้

สำหรับ ทฤษฎีที่ถือว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้นประชาชนย่อมเป็นรัฏฐาธิปัตย์ แต่รัฏฐาธิปัตย์เช่นนี้ย่อมถูกจำกัดด้วยอำนาจรัฏฐาธิปัตย์คนอื่นๆ ซึ่งก็มีอำนาจอธิปไตยเท่าเทียมกัน เช่น พระเจ้าแผ่นดินของรัฐ ก. จะทำการใดก้าวก่ายอำนาจอธิปไตยของพระเจ้าแผ่นดินแห่งรัฐ ข. มิได้ เพราะต่างมีอำนาจอธิปไตยเช่นกันฉันใด ราษฎร ก. จะใช้อำนาจอธิปไตยของตนก้าวก่ายอธิปไตยของรัฐ ข. ไม่ได้ฉันนั้น

ใน อังกฤษ รัฐสภา เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดหรืออีกนัยหนึ่งรัฐสภาเป็นรัฏฐาธิปัตย์แทนประชาชนตาม ทฤษฎีว่าด้วยความมีอำนาจสูงสุดของรัฐสภา (supremacy of parliament) “รัฐสภา” มีความหมายพิเศษเพราะประกอบด้วยองค์อำนาจสามประการคือ
๑. สภาสามัญ
๒. สภาขุนนาง
๓. พระมหากษัตริย์
สำหรับ พระมหากษัตริย์นั้น แม้โดยทั่วไปไม่ถือว่าเป็นสถาบันรัฐสภา (parliamentary - institution) ดุจดังสภาทั้งสองที่กล่าวข้างต้น แต่เมื่อกล่าวถึงรัฐสภาอังกฤษเป็นองค์อำนาจสูงสุด ตามทฤษฎีเรื่องสภาวะสูงสุดของรัฐสภา คำว่ารัฐสภาในที่นี้ย่อมหมายถึงพระมหากษัตริย์ด้วย (King or Queen in Parliament) เพราะลำพังสภาทั้งสองหาทรงไว้ซึ่งอำนาจสูงสุดไม่
สำหรับ ปัญหาที่ว่า ทฤษฎีเรื่องสภาวะสูงสุดของรัฐสภาหมายความว่าอย่างไร นักกฎหมาย รัฐธรรมนูญ อังกฤษอธิบายว่ามีความหมายพิเศษสองประการคือ
๑. การมีอำนาจนิติบัญญัติล้นพ้นหาที่สุดมิได้ ดังที่เดอลอล์ม (De Lolme) ได้อธิบายสรุปไว้ทำนองประชดประชันว่า “นักกฎหมายอังกฤษพึงรำลึกไว้เถิดว่ารัฐสภาอังกฤษมีอำนาจบันดาลได้สารพัดใน ปฐพี จะมียกเว้นก็แต่การแปลงหญิงให้เป็นชาย หรือการแปลงชายให้เป็นหญิงเท่านั้น”
๒. การทรงไว้ซึ่งอำนาจนิติบัญญัติแต่ผู้เดียว องค์กรหนึ่งๆ ของรัฐสภา เช่น สภาสามัญ หรือสภาขุนนาง อาจมีอำนาจนิติบัญญัติเอกเทศ แต่ก็เป็นการมอบอำนาจให้โดยรัฐสภา ซึ่งจะเรียกกลับเสียเมื่อใดก็ได้ ยิ่งกว่านั้นเมื่อรัฐสภาออกกฎหมายใด สถาบันอื่นใด เช่นศาลจะกล่าวหาว่ากฎหมายนั้นขัดต่อรัฐธรรมนูญมิได้ เพราะแท้จริงแล้วกฎหมายนั้นอาจมีผลเป็นรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ยกเลิกฉบับเก่า ก็ได้ตามกฎหมายใหม่ยกเลิกกฎหมายเก่า (lex posterior derogat legi priori)

ข้อจำกัดอำนาจในทางทฤษฎีอาจแบ่งออกได้ดังนี้
๑. กฎหมายธรรมชาติ กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายแห่งศีลธรรม (Natural law, international law, rule of morality ) ไดซีย์อธิบายว่าแม้รัฐสภามีอำนาจสูงสุด แต่รัฐสภาจะออกกฎหมายที่ฝ่าฝืนมโนธรรม ศีลธรรมจรรยา กฎหมายธรรมชาติ หรือกฎหมายระหว่างประเทศมิได้
๒. พระราชอำนาจ (Royal prrerogative) ไดซีย์อธิบายว่าพระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจทางการเมือง (political power) และอำนาจทางสังคม (social power) ทรงเป็นที่เคารพรักของประชาชน ถ้าทรงไม่เห็นด้วยกับการร่างกฎหมายใดหรือทรงทักท้วงความข้อใดรัฐสภาควรโอ อนอ่อนผ่อนตามพระราชประสงค์
๓. กฎหมายพื้นฐาน (Fundamental law) ไดซีย์กล่าวว่าในกรณีที่รัฐสภาออกกฎหมายสำคัญๆ ที่เป็นพื้นฐานทางสังคม เช่น กฎหมายคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนรัฐสภาสมัยหลังๆ จะรีบด่วนออกกฎหมายเปลี่ยนแปลงกฎหมายพื้นฐานไม่ได้

กระนั้นก็ตามทางปฏิบัติ รัฐสภาอาจตกอยู่ใต้อำนาจข้อจำกัดอำนาจบางข้อโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัวซึ่งไดซีย์อธิบายดังนี้
๑. ทฤษฎีเจ้าของอำนาจอธิปไตย (doctrine of sovereignty) ไดซีย์อ้างความเห็นของออสติน ที่ว่าแม้อำนาจนิติบัญญัติจะถูกใช้โดยรัฐสภาซึ่งประกอบด้วย สภาสามัญ สภาขุนนาง และ พระมหากษัตริย์ แต่เจ้าของอำนาจนิติบัญญัติที่แท้จริงได้แก่ประชาชนอยู่นั่นเอง เพราะฉะนั้นจะถือว่ารัฐสภาเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดได้อย่างไร ในเมื่อประชาชนเป็นผู้เลือกสมาชิกสภาสามัญ และเป็นผู้ให้ความเห็นชอบการเสวยราชสมบัติของพระมหากษัตริย์
๒. เหตุภายนอกอันอาจจูงใจสมาชิกรัฐสภา ไม่ให้ใช้อำนาจมาก (external limitation) ไดซีย์กล่าว่า พลังของประชาชนหรือกลุ่มอิทธิพล (Pressure group) เช่นกลุ่มนักศึกษา กลุ่มเกษตรกร กลุ่มนักวิชาการ อาจมีอิทธิพลเหนือสมาชิกรัฐสภา มิให้ใช้อำนาจสูงสุดของตนในทางที่ผิดทำนองคลองธรรมได้ เช่น สมาชิกรัฐสภาอาจอาจเกรงว่าถ้าออกกฎหมายประเภทนี้ไปแล้วอาจถกหนังสือพิมพ์ วิพากษ์วิจารณ์ อาจถูกมติมหาชนคัดค้าน อาจถูกโต้ตอบโดยนักวิชาการ หรืออาจถูกประชาชนเดินขบวนวางหรีดประท้วง เป็นต้น
๓. เหตุภายในอันอาจจูงใจสมาชิกรัฐสภาไม่ให้ใช้อำนาจมาก (intetnal limitation) เหตุภายในหมายถึง ทัศนคติ การศึกษาอบรม พื้นเพทางสังคมและการเมือง ตลอดจนค่านิยมของสมาชิกรัฐสภา เหตุเหล่านี้ย่อมกล่อมเกลาจิตใจของผู้นั้นให้เป็นไปในแนวทางที่ตนมีพื้นเพมา

แม้รัฐสภาจะมีอำนาจสูงสุด แต่ก็ไม่ต้องกลัวว่ารัฐสภาจะใช้อำนาจบาทใหญ่คุกคามประชาชน เพราะรัฐสภาย่อมกลัวพลังของประชาชน และสมาชิกสภาเองต่างก็มีที่มาจากสังคมนั้นๆ จึงมีจิตสำนึกทางกรเมืองสูง และมีวิญญาณของสุภาพชนในระบอบประชาธิปไตยอย่างครบถ้วน จึงเป็นที่หวังได้ว่าจะไม่ใช้อำนาจของตนออกนอกรีตนอกรอย

 

ไม่เคยได้ยินว่า ลุงกำนันห้ามอาชีพใดอาชีพหนึ่งร่วมปฏิรูปประเทศไทย



#56 จาฤก

จาฤก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:16

 

มันจะเอาฮาไปถึงไหน    ไม่อายด้วย :lol:  :lol:  :lol:

 

http://www.khaosod.c...9PQ==

ขณะ ที่พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งทะเล่อทะล่าบอยคอตเลือกตั้ง 2 ก.พ. ก็แถลง เช่นกัน ระบุสาเหตุที่พรรคเพื่อไทยไม่ยอมให้การเลือกตั้ง 2 ก.พ. เป็นโมฆะ

ก็เพราะกลัวว่าเมื่อมีการเลือกตั้งใหม่แล้ว จะแพ้พรรคประชาธิปัตย์ !?

 

จาฤก, on 21 Mar 2014 - 18:33, said:snapback.png

 

PHOENiiX, on 21 Mar 2014 - 18:17, said:snapback.png

 

จาฤก, on 21 Mar 2014 - 18:15, said:snapback.png

 

PHOENiiX, on 21 Mar 2014 - 18:13, said:snapback.png

 

จาฤก, on 21 Mar 2014 - 18:08, said:snapback.png

2550

 

อ้าง รธน ปี 2550 แล้วที่เผาไทยของปูประกาศไม่ยอมรับ

 

เป็น รธน ของปีใหนเหรอท่านจาฤก :D :D

 

ไม่ได้ปฎิเสธ  รธน.  แต่ปฎิเสธ  ตุลาการ

 

 

640_c97jebcaaaaa8a9jdk5bi.jpg

 

แล้วตุลาการ ก็อ้างกฏจาก รธน มันต่างกันตรงใหน :lol:

 

ต่างที่จิตสำนึกของคน  ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี

 

 

แล้วตลาการตัดสินผิดตรงไหนเหรอ มีตรงไหนที่พวกนี้ไม่ผิดจริง

 

เสียบบัตรแทนกันผิดมั้ย

 

ปลอมแปลงสารส่งถวายในหลวงผิดมั้ย เฉพาะข้อนี้อิปูควรหัวขาดติดคุก

 

ตั้งนานแล้ว

 

กู้ 2.2 ล้านโดยมีเอกสารแค่หกแผ่น แล้วไม่ยอมให้มีการตรวจสอบผิดมั้ย

 

พรบ นิรโทษกรรมที่คนค้านกันทั่วประเทศ ผิดมั้ย

 

แล้วจำนำข้าวโกงกันจนชาติเสียหายไปแล้ว 7.8 แสนล้าน ยังเป็นหนี้

 

ชาวนาอีก 1.3 แสนล้านจะผิดมั้ย เลวมั้ย อิปูเคยคิดจะรับผิดอะไรบ้างหรือ

 

เปล่า นอกจากบีบน้ำตา ชาวนาฆ่าตัวตายไปสิบกว่าคนแล้วอิปูเคยไปหา

 

เคยคิดไปเยียวยาเขาบ้างมั้ย

 

 

 

 

ตอบด้วยค่ะ

 

  เขียนด้วยความรู้สึกล้วนๆ  ถ้าใช้ความรู้สึกตอบ    ก็ไม่น่าจะมีประโยชน์อะไร

ส่วนคำตอบที่เป็นหลักเกณฑ์หรือข้อกฎหมาย  ตอบไปเยอะแล้วครับ   ในหลายกระทู้

ลองหากระทู้เก่าๆดูซิครับ


เลือกตั้ง =ทางออก .......นายกฯเถื่อน  คือทางตัน

 


#57 vnvankav

vnvankav

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 209 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:17

 

 

เอาละ ตอนนี้ถึงเวลาใกล้เผด็จศึกแล้ว

 

เลือกตั้งก้อโฆฆะ เลือกนายกก้อไม่ได้

 

การเมืองเป็นสูญญากาศ แล้ว

 

ตอนนี้คืนอำนาจให้ ประชาชน

 

จากนั้นก้อใช้ มาตรา 7 ผ่านมาตรา 3 ได้

ขออณุญาตินะครับ ผมว่าสิ่งที่ท่าน กล่าวถึงไม่น่าใช่คืนอำนาจ ให้ประชาชนนะครับ

น่าจะเรียกว่า ยกอำนาจให้ประชาชนชนกลุ่มหนึ่งมากกว่านะครับ

 

ท่านสุเทพเค้าบอกเองว่าจะเป็น รัฏฐาธิปัตย์ ด้วยน่ะ

 

“รัฏฐาธิปัตย์” คืออะไร

 
รัฏฐาธิปัตย์ หมายความว่า


๑) รัฏฐาธิปัตย์
เมื่อกล่าวถึง ปรัชญากฎหมายก็ต้องกล่าวถึง “กฎหมาย” และเมื่อกล่าวถึง กฎหมาย ก็จำเป็นต้องกล่าวถึงรัฏฐาธิปัตย์ (soverign) ซึ่งสำนักความคิดกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองอธิบายว่าเป็นผู้ทำให้เกิดกฎหมายดังที่ จอห์น ออสติน (John Ausyin) อธิบายว่ากฎหมาย คือ คำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์

ความหมายของรัฏฐาธิปัตย์
สำนัก ฝ่ายกฎหมายบ้านเมืองให้ความสำคัญมากโดยอธิบายว่า รัฏฐาธิปัตย์ คือผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน ส่วนจะเป็นใครก็สุดแท้แต่ว่าเป็นผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดินหรือบ้านเมืองใด มีระบอบการปกครองอย่างไร ถ้าเป็นในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รัฏฐาธิปัตย์ คือ พระมหากษัตริย์

อำนาจของรัฏฐาธิปัตย์ ก็คือการมีอำนาจอธิปไตยนั่นเอง ซึ่งก่อให้เกิดผลดังนี้ คือ
๑. ผลของการมีอำนาจอธิปไตยทำให้ รัฏฐาธิปัตย์ อยู่ในฐานะสูงสุดในแผ่นดิน และไม่ต้องเชื่อฟังผู้อื่นอีก
ข้อ นี้อาจไม่ถูกต้องในเวลานี้แล้วก็เป็นได้ เพราะในระบบประชาธิปไตย รัฏฐาธิปัตย์ อาจอยู่ใต้ข้อจำกัดอำนาจบางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามทฤษฎีว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้น เมื่อประชาชนแต่ละคนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ประชาชนแต่ละคนย่อมเป็น รัฏฐาธิปัตย์ แต่ไม่มีประชาชนคนใดอยู่ในฐานะสูงสุดโดยไม่ต้องฟังคำสั่งผู้อื่น
๒. ผลประการแรกทำให้เกิดผลประการที่สองขึ้นมา กฎหมายระหว่างประเทศอันเป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ ไม่มีสภาพเป็นกฎหมาย เพราะเมื่อรัฐต่างๆ มีฐานะเท่าเทียมกันก็ไม่มีรัฏฐาธิปัตย์ผู้ใดมีอำนาจบังคับบัญชาให้รัฏ ฐาธิปัตย์ผู้อื่นอยู่ในฐานะจำยอมได้ และจะเอาผิดถ้ามีการฝ่าฝืนกฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้ ความผูกพันระหว่างรัฐต่อรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศจึงเป็นเรื่องถ้อยที่ถ้อย อาศัยกันเท่านั้น
ปัจจุบันทฤษฎีดังกล่าวของ ออสตินเสื่อมความนิยมแล้ว
๓. ข้อจำกัดอำนาจของรัฏฐาธิปัตย์
ใน สมัยที่เชื่อกันว่าอำนาจสูงสุดเป็นของพระผู้เป็นเจ้าหรือพระผู้ทรงเป็นใหญ่ เพราะทรงเป็น “ที่สุดของสิ่งที่สุดทั้งปวง” (The Absoluteness) หรือสมบูรณัตถ์ จึงไม่มีข้อจำกัดขัดขวางของอำนาจของพระองค์แต่อย่างใด ครั้นต่อมาเชื่อกันว่าพระสันตะปาปาทรงเป็นใหญ่ หรือองค์อธิปัตย์อยู่เหนือกษัตริย์ทั้งหลายแต่อำนาจของอธิปัตย์องค์นี้ย่อม ถูกจำกัดเพราะพระสันตะปาปาจะออกกฎหมายใดให้ขัดหรือแย้งกับกฎของพระผู้เป็น เจ้ามิได้

นักกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองต่างถือกันว่า กษัตริย์ทรงเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดอย่างแท้จริงโดยไม่อยู่ใต้อำนาจรัฏฐาธิปัต ย์ หากถือว่าแม้กษัตริย์เป็นรัฏฐาธิปัตย์แต่ก็เป็นรัฏฐาธิปัตย์ที่เกิดจากความ ยินยอมหรือการยอมรับนับถือของประชาชน ฉะนั้น จะใช้อำนาจผิดทำนองคลองธรรมมิได้ เพราะถ้าใช้อำนาจผิดธรรมนองคลองธรรมราษฎรก็จะเสื่อศรัทธา และคลายความจงรักภักดี ซึ่งในที่สุดอาจนำไปสู่การล้มล้างอำนาจรัฏฐาธิปัตย์ก็เป็นได้

สำหรับ ทฤษฎีที่ถือว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้นประชาชนย่อมเป็นรัฏฐาธิปัตย์ แต่รัฏฐาธิปัตย์เช่นนี้ย่อมถูกจำกัดด้วยอำนาจรัฏฐาธิปัตย์คนอื่นๆ ซึ่งก็มีอำนาจอธิปไตยเท่าเทียมกัน เช่น พระเจ้าแผ่นดินของรัฐ ก. จะทำการใดก้าวก่ายอำนาจอธิปไตยของพระเจ้าแผ่นดินแห่งรัฐ ข. มิได้ เพราะต่างมีอำนาจอธิปไตยเช่นกันฉันใด ราษฎร ก. จะใช้อำนาจอธิปไตยของตนก้าวก่ายอธิปไตยของรัฐ ข. ไม่ได้ฉันนั้น

ใน อังกฤษ รัฐสภา เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดหรืออีกนัยหนึ่งรัฐสภาเป็นรัฏฐาธิปัตย์แทนประชาชนตาม ทฤษฎีว่าด้วยความมีอำนาจสูงสุดของรัฐสภา (supremacy of parliament) “รัฐสภา” มีความหมายพิเศษเพราะประกอบด้วยองค์อำนาจสามประการคือ
๑. สภาสามัญ
๒. สภาขุนนาง
๓. พระมหากษัตริย์
สำหรับ พระมหากษัตริย์นั้น แม้โดยทั่วไปไม่ถือว่าเป็นสถาบันรัฐสภา (parliamentary - institution) ดุจดังสภาทั้งสองที่กล่าวข้างต้น แต่เมื่อกล่าวถึงรัฐสภาอังกฤษเป็นองค์อำนาจสูงสุด ตามทฤษฎีเรื่องสภาวะสูงสุดของรัฐสภา คำว่ารัฐสภาในที่นี้ย่อมหมายถึงพระมหากษัตริย์ด้วย (King or Queen in Parliament) เพราะลำพังสภาทั้งสองหาทรงไว้ซึ่งอำนาจสูงสุดไม่
สำหรับ ปัญหาที่ว่า ทฤษฎีเรื่องสภาวะสูงสุดของรัฐสภาหมายความว่าอย่างไร นักกฎหมาย รัฐธรรมนูญ อังกฤษอธิบายว่ามีความหมายพิเศษสองประการคือ
๑. การมีอำนาจนิติบัญญัติล้นพ้นหาที่สุดมิได้ ดังที่เดอลอล์ม (De Lolme) ได้อธิบายสรุปไว้ทำนองประชดประชันว่า “นักกฎหมายอังกฤษพึงรำลึกไว้เถิดว่ารัฐสภาอังกฤษมีอำนาจบันดาลได้สารพัดใน ปฐพี จะมียกเว้นก็แต่การแปลงหญิงให้เป็นชาย หรือการแปลงชายให้เป็นหญิงเท่านั้น”
๒. การทรงไว้ซึ่งอำนาจนิติบัญญัติแต่ผู้เดียว องค์กรหนึ่งๆ ของรัฐสภา เช่น สภาสามัญ หรือสภาขุนนาง อาจมีอำนาจนิติบัญญัติเอกเทศ แต่ก็เป็นการมอบอำนาจให้โดยรัฐสภา ซึ่งจะเรียกกลับเสียเมื่อใดก็ได้ ยิ่งกว่านั้นเมื่อรัฐสภาออกกฎหมายใด สถาบันอื่นใด เช่นศาลจะกล่าวหาว่ากฎหมายนั้นขัดต่อรัฐธรรมนูญมิได้ เพราะแท้จริงแล้วกฎหมายนั้นอาจมีผลเป็นรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ยกเลิกฉบับเก่า ก็ได้ตามกฎหมายใหม่ยกเลิกกฎหมายเก่า (lex posterior derogat legi priori)

ข้อจำกัดอำนาจในทางทฤษฎีอาจแบ่งออกได้ดังนี้
๑. กฎหมายธรรมชาติ กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายแห่งศีลธรรม (Natural law, international law, rule of morality ) ไดซีย์อธิบายว่าแม้รัฐสภามีอำนาจสูงสุด แต่รัฐสภาจะออกกฎหมายที่ฝ่าฝืนมโนธรรม ศีลธรรมจรรยา กฎหมายธรรมชาติ หรือกฎหมายระหว่างประเทศมิได้
๒. พระราชอำนาจ (Royal prrerogative) ไดซีย์อธิบายว่าพระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจทางการเมือง (political power) และอำนาจทางสังคม (social power) ทรงเป็นที่เคารพรักของประชาชน ถ้าทรงไม่เห็นด้วยกับการร่างกฎหมายใดหรือทรงทักท้วงความข้อใดรัฐสภาควรโอ อนอ่อนผ่อนตามพระราชประสงค์
๓. กฎหมายพื้นฐาน (Fundamental law) ไดซีย์กล่าวว่าในกรณีที่รัฐสภาออกกฎหมายสำคัญๆ ที่เป็นพื้นฐานทางสังคม เช่น กฎหมายคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนรัฐสภาสมัยหลังๆ จะรีบด่วนออกกฎหมายเปลี่ยนแปลงกฎหมายพื้นฐานไม่ได้

กระนั้นก็ตามทางปฏิบัติ รัฐสภาอาจตกอยู่ใต้อำนาจข้อจำกัดอำนาจบางข้อโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัวซึ่งไดซีย์อธิบายดังนี้
๑. ทฤษฎีเจ้าของอำนาจอธิปไตย (doctrine of sovereignty) ไดซีย์อ้างความเห็นของออสติน ที่ว่าแม้อำนาจนิติบัญญัติจะถูกใช้โดยรัฐสภาซึ่งประกอบด้วย สภาสามัญ สภาขุนนาง และ พระมหากษัตริย์ แต่เจ้าของอำนาจนิติบัญญัติที่แท้จริงได้แก่ประชาชนอยู่นั่นเอง เพราะฉะนั้นจะถือว่ารัฐสภาเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดได้อย่างไร ในเมื่อประชาชนเป็นผู้เลือกสมาชิกสภาสามัญ และเป็นผู้ให้ความเห็นชอบการเสวยราชสมบัติของพระมหากษัตริย์
๒. เหตุภายนอกอันอาจจูงใจสมาชิกรัฐสภา ไม่ให้ใช้อำนาจมาก (external limitation) ไดซีย์กล่าว่า พลังของประชาชนหรือกลุ่มอิทธิพล (Pressure group) เช่นกลุ่มนักศึกษา กลุ่มเกษตรกร กลุ่มนักวิชาการ อาจมีอิทธิพลเหนือสมาชิกรัฐสภา มิให้ใช้อำนาจสูงสุดของตนในทางที่ผิดทำนองคลองธรรมได้ เช่น สมาชิกรัฐสภาอาจอาจเกรงว่าถ้าออกกฎหมายประเภทนี้ไปแล้วอาจถกหนังสือพิมพ์ วิพากษ์วิจารณ์ อาจถูกมติมหาชนคัดค้าน อาจถูกโต้ตอบโดยนักวิชาการ หรืออาจถูกประชาชนเดินขบวนวางหรีดประท้วง เป็นต้น
๓. เหตุภายในอันอาจจูงใจสมาชิกรัฐสภาไม่ให้ใช้อำนาจมาก (intetnal limitation) เหตุภายในหมายถึง ทัศนคติ การศึกษาอบรม พื้นเพทางสังคมและการเมือง ตลอดจนค่านิยมของสมาชิกรัฐสภา เหตุเหล่านี้ย่อมกล่อมเกลาจิตใจของผู้นั้นให้เป็นไปในแนวทางที่ตนมีพื้นเพมา

แม้รัฐสภาจะมีอำนาจสูงสุด แต่ก็ไม่ต้องกลัวว่ารัฐสภาจะใช้อำนาจบาทใหญ่คุกคามประชาชน เพราะรัฐสภาย่อมกลัวพลังของประชาชน และสมาชิกสภาเองต่างก็มีที่มาจากสังคมนั้นๆ จึงมีจิตสำนึกทางกรเมืองสูง และมีวิญญาณของสุภาพชนในระบอบประชาธิปไตยอย่างครบถ้วน จึงเป็นที่หวังได้ว่าจะไม่ใช้อำนาจของตนออกนอกรีตนอกรอย

 

ไม่เคยได้ยินว่า ลุงกำนันห้ามอาชีพใดอาชีพหนึ่งร่วมปฏิรูปประเทศไทย

 

ประเด็นคือ การเข้าถึง ในการปฏิรูปจะทั่วถึง และเข้าถึงความต้องการได้มากกว่า การเลือกตั้งไหม น่ะซิครับ


ข้าพเจ้าเป็น ไอ้ร้อยล็อกอินเรียบร้อย :(

 

 

สามสิบลิขิตฟ้า เจ็ดสิบต้องฝ่าฟัน


#58 PHOENiiX

PHOENiiX

    ปู 4ssโกงชาวนา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 9,226 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:22

 

 

 

เอาละ ตอนนี้ถึงเวลาใกล้เผด็จศึกแล้ว

 

เลือกตั้งก้อโฆฆะ เลือกนายกก้อไม่ได้

 

การเมืองเป็นสูญญากาศ แล้ว

 

ตอนนี้คืนอำนาจให้ ประชาชน

 

จากนั้นก้อใช้ มาตรา 7 ผ่านมาตรา 3 ได้

ขออณุญาตินะครับ ผมว่าสิ่งที่ท่าน กล่าวถึงไม่น่าใช่คืนอำนาจ ให้ประชาชนนะครับ

น่าจะเรียกว่า ยกอำนาจให้ประชาชนชนกลุ่มหนึ่งมากกว่านะครับ

 

ท่านสุเทพเค้าบอกเองว่าจะเป็น รัฏฐาธิปัตย์ ด้วยน่ะ

 

“รัฏฐาธิปัตย์” คืออะไร

 
รัฏฐาธิปัตย์ หมายความว่า


๑) รัฏฐาธิปัตย์
เมื่อกล่าวถึง ปรัชญากฎหมายก็ต้องกล่าวถึง “กฎหมาย” และเมื่อกล่าวถึง กฎหมาย ก็จำเป็นต้องกล่าวถึงรัฏฐาธิปัตย์ (soverign) ซึ่งสำนักความคิดกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองอธิบายว่าเป็นผู้ทำให้เกิดกฎหมายดังที่ จอห์น ออสติน (John Ausyin) อธิบายว่ากฎหมาย คือ คำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์

ความหมายของรัฏฐาธิปัตย์
สำนัก ฝ่ายกฎหมายบ้านเมืองให้ความสำคัญมากโดยอธิบายว่า รัฏฐาธิปัตย์ คือผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน ส่วนจะเป็นใครก็สุดแท้แต่ว่าเป็นผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดินหรือบ้านเมืองใด มีระบอบการปกครองอย่างไร ถ้าเป็นในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รัฏฐาธิปัตย์ คือ พระมหากษัตริย์

อำนาจของรัฏฐาธิปัตย์ ก็คือการมีอำนาจอธิปไตยนั่นเอง ซึ่งก่อให้เกิดผลดังนี้ คือ
๑. ผลของการมีอำนาจอธิปไตยทำให้ รัฏฐาธิปัตย์ อยู่ในฐานะสูงสุดในแผ่นดิน และไม่ต้องเชื่อฟังผู้อื่นอีก
ข้อ นี้อาจไม่ถูกต้องในเวลานี้แล้วก็เป็นได้ เพราะในระบบประชาธิปไตย รัฏฐาธิปัตย์ อาจอยู่ใต้ข้อจำกัดอำนาจบางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามทฤษฎีว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้น เมื่อประชาชนแต่ละคนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ประชาชนแต่ละคนย่อมเป็น รัฏฐาธิปัตย์ แต่ไม่มีประชาชนคนใดอยู่ในฐานะสูงสุดโดยไม่ต้องฟังคำสั่งผู้อื่น
๒. ผลประการแรกทำให้เกิดผลประการที่สองขึ้นมา กฎหมายระหว่างประเทศอันเป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ ไม่มีสภาพเป็นกฎหมาย เพราะเมื่อรัฐต่างๆ มีฐานะเท่าเทียมกันก็ไม่มีรัฏฐาธิปัตย์ผู้ใดมีอำนาจบังคับบัญชาให้รัฏ ฐาธิปัตย์ผู้อื่นอยู่ในฐานะจำยอมได้ และจะเอาผิดถ้ามีการฝ่าฝืนกฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้ ความผูกพันระหว่างรัฐต่อรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศจึงเป็นเรื่องถ้อยที่ถ้อย อาศัยกันเท่านั้น
ปัจจุบันทฤษฎีดังกล่าวของ ออสตินเสื่อมความนิยมแล้ว
๓. ข้อจำกัดอำนาจของรัฏฐาธิปัตย์
ใน สมัยที่เชื่อกันว่าอำนาจสูงสุดเป็นของพระผู้เป็นเจ้าหรือพระผู้ทรงเป็นใหญ่ เพราะทรงเป็น “ที่สุดของสิ่งที่สุดทั้งปวง” (The Absoluteness) หรือสมบูรณัตถ์ จึงไม่มีข้อจำกัดขัดขวางของอำนาจของพระองค์แต่อย่างใด ครั้นต่อมาเชื่อกันว่าพระสันตะปาปาทรงเป็นใหญ่ หรือองค์อธิปัตย์อยู่เหนือกษัตริย์ทั้งหลายแต่อำนาจของอธิปัตย์องค์นี้ย่อม ถูกจำกัดเพราะพระสันตะปาปาจะออกกฎหมายใดให้ขัดหรือแย้งกับกฎของพระผู้เป็น เจ้ามิได้

นักกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองต่างถือกันว่า กษัตริย์ทรงเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดอย่างแท้จริงโดยไม่อยู่ใต้อำนาจรัฏฐาธิปัต ย์ หากถือว่าแม้กษัตริย์เป็นรัฏฐาธิปัตย์แต่ก็เป็นรัฏฐาธิปัตย์ที่เกิดจากความ ยินยอมหรือการยอมรับนับถือของประชาชน ฉะนั้น จะใช้อำนาจผิดทำนองคลองธรรมมิได้ เพราะถ้าใช้อำนาจผิดธรรมนองคลองธรรมราษฎรก็จะเสื่อศรัทธา และคลายความจงรักภักดี ซึ่งในที่สุดอาจนำไปสู่การล้มล้างอำนาจรัฏฐาธิปัตย์ก็เป็นได้

สำหรับ ทฤษฎีที่ถือว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้นประชาชนย่อมเป็นรัฏฐาธิปัตย์ แต่รัฏฐาธิปัตย์เช่นนี้ย่อมถูกจำกัดด้วยอำนาจรัฏฐาธิปัตย์คนอื่นๆ ซึ่งก็มีอำนาจอธิปไตยเท่าเทียมกัน เช่น พระเจ้าแผ่นดินของรัฐ ก. จะทำการใดก้าวก่ายอำนาจอธิปไตยของพระเจ้าแผ่นดินแห่งรัฐ ข. มิได้ เพราะต่างมีอำนาจอธิปไตยเช่นกันฉันใด ราษฎร ก. จะใช้อำนาจอธิปไตยของตนก้าวก่ายอธิปไตยของรัฐ ข. ไม่ได้ฉันนั้น

ใน อังกฤษ รัฐสภา เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดหรืออีกนัยหนึ่งรัฐสภาเป็นรัฏฐาธิปัตย์แทนประชาชนตาม ทฤษฎีว่าด้วยความมีอำนาจสูงสุดของรัฐสภา (supremacy of parliament) “รัฐสภา” มีความหมายพิเศษเพราะประกอบด้วยองค์อำนาจสามประการคือ
๑. สภาสามัญ
๒. สภาขุนนาง
๓. พระมหากษัตริย์
สำหรับ พระมหากษัตริย์นั้น แม้โดยทั่วไปไม่ถือว่าเป็นสถาบันรัฐสภา (parliamentary - institution) ดุจดังสภาทั้งสองที่กล่าวข้างต้น แต่เมื่อกล่าวถึงรัฐสภาอังกฤษเป็นองค์อำนาจสูงสุด ตามทฤษฎีเรื่องสภาวะสูงสุดของรัฐสภา คำว่ารัฐสภาในที่นี้ย่อมหมายถึงพระมหากษัตริย์ด้วย (King or Queen in Parliament) เพราะลำพังสภาทั้งสองหาทรงไว้ซึ่งอำนาจสูงสุดไม่
สำหรับ ปัญหาที่ว่า ทฤษฎีเรื่องสภาวะสูงสุดของรัฐสภาหมายความว่าอย่างไร นักกฎหมาย รัฐธรรมนูญ อังกฤษอธิบายว่ามีความหมายพิเศษสองประการคือ
๑. การมีอำนาจนิติบัญญัติล้นพ้นหาที่สุดมิได้ ดังที่เดอลอล์ม (De Lolme) ได้อธิบายสรุปไว้ทำนองประชดประชันว่า “นักกฎหมายอังกฤษพึงรำลึกไว้เถิดว่ารัฐสภาอังกฤษมีอำนาจบันดาลได้สารพัดใน ปฐพี จะมียกเว้นก็แต่การแปลงหญิงให้เป็นชาย หรือการแปลงชายให้เป็นหญิงเท่านั้น”
๒. การทรงไว้ซึ่งอำนาจนิติบัญญัติแต่ผู้เดียว องค์กรหนึ่งๆ ของรัฐสภา เช่น สภาสามัญ หรือสภาขุนนาง อาจมีอำนาจนิติบัญญัติเอกเทศ แต่ก็เป็นการมอบอำนาจให้โดยรัฐสภา ซึ่งจะเรียกกลับเสียเมื่อใดก็ได้ ยิ่งกว่านั้นเมื่อรัฐสภาออกกฎหมายใด สถาบันอื่นใด เช่นศาลจะกล่าวหาว่ากฎหมายนั้นขัดต่อรัฐธรรมนูญมิได้ เพราะแท้จริงแล้วกฎหมายนั้นอาจมีผลเป็นรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ยกเลิกฉบับเก่า ก็ได้ตามกฎหมายใหม่ยกเลิกกฎหมายเก่า (lex posterior derogat legi priori)

ข้อจำกัดอำนาจในทางทฤษฎีอาจแบ่งออกได้ดังนี้
๑. กฎหมายธรรมชาติ กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายแห่งศีลธรรม (Natural law, international law, rule of morality ) ไดซีย์อธิบายว่าแม้รัฐสภามีอำนาจสูงสุด แต่รัฐสภาจะออกกฎหมายที่ฝ่าฝืนมโนธรรม ศีลธรรมจรรยา กฎหมายธรรมชาติ หรือกฎหมายระหว่างประเทศมิได้
๒. พระราชอำนาจ (Royal prrerogative) ไดซีย์อธิบายว่าพระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจทางการเมือง (political power) และอำนาจทางสังคม (social power) ทรงเป็นที่เคารพรักของประชาชน ถ้าทรงไม่เห็นด้วยกับการร่างกฎหมายใดหรือทรงทักท้วงความข้อใดรัฐสภาควรโอ อนอ่อนผ่อนตามพระราชประสงค์
๓. กฎหมายพื้นฐาน (Fundamental law) ไดซีย์กล่าวว่าในกรณีที่รัฐสภาออกกฎหมายสำคัญๆ ที่เป็นพื้นฐานทางสังคม เช่น กฎหมายคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนรัฐสภาสมัยหลังๆ จะรีบด่วนออกกฎหมายเปลี่ยนแปลงกฎหมายพื้นฐานไม่ได้

กระนั้นก็ตามทางปฏิบัติ รัฐสภาอาจตกอยู่ใต้อำนาจข้อจำกัดอำนาจบางข้อโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัวซึ่งไดซีย์อธิบายดังนี้
๑. ทฤษฎีเจ้าของอำนาจอธิปไตย (doctrine of sovereignty) ไดซีย์อ้างความเห็นของออสติน ที่ว่าแม้อำนาจนิติบัญญัติจะถูกใช้โดยรัฐสภาซึ่งประกอบด้วย สภาสามัญ สภาขุนนาง และ พระมหากษัตริย์ แต่เจ้าของอำนาจนิติบัญญัติที่แท้จริงได้แก่ประชาชนอยู่นั่นเอง เพราะฉะนั้นจะถือว่ารัฐสภาเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดได้อย่างไร ในเมื่อประชาชนเป็นผู้เลือกสมาชิกสภาสามัญ และเป็นผู้ให้ความเห็นชอบการเสวยราชสมบัติของพระมหากษัตริย์
๒. เหตุภายนอกอันอาจจูงใจสมาชิกรัฐสภา ไม่ให้ใช้อำนาจมาก (external limitation) ไดซีย์กล่าว่า พลังของประชาชนหรือกลุ่มอิทธิพล (Pressure group) เช่นกลุ่มนักศึกษา กลุ่มเกษตรกร กลุ่มนักวิชาการ อาจมีอิทธิพลเหนือสมาชิกรัฐสภา มิให้ใช้อำนาจสูงสุดของตนในทางที่ผิดทำนองคลองธรรมได้ เช่น สมาชิกรัฐสภาอาจอาจเกรงว่าถ้าออกกฎหมายประเภทนี้ไปแล้วอาจถกหนังสือพิมพ์ วิพากษ์วิจารณ์ อาจถูกมติมหาชนคัดค้าน อาจถูกโต้ตอบโดยนักวิชาการ หรืออาจถูกประชาชนเดินขบวนวางหรีดประท้วง เป็นต้น
๓. เหตุภายในอันอาจจูงใจสมาชิกรัฐสภาไม่ให้ใช้อำนาจมาก (intetnal limitation) เหตุภายในหมายถึง ทัศนคติ การศึกษาอบรม พื้นเพทางสังคมและการเมือง ตลอดจนค่านิยมของสมาชิกรัฐสภา เหตุเหล่านี้ย่อมกล่อมเกลาจิตใจของผู้นั้นให้เป็นไปในแนวทางที่ตนมีพื้นเพมา

แม้รัฐสภาจะมีอำนาจสูงสุด แต่ก็ไม่ต้องกลัวว่ารัฐสภาจะใช้อำนาจบาทใหญ่คุกคามประชาชน เพราะรัฐสภาย่อมกลัวพลังของประชาชน และสมาชิกสภาเองต่างก็มีที่มาจากสังคมนั้นๆ จึงมีจิตสำนึกทางกรเมืองสูง และมีวิญญาณของสุภาพชนในระบอบประชาธิปไตยอย่างครบถ้วน จึงเป็นที่หวังได้ว่าจะไม่ใช้อำนาจของตนออกนอกรีตนอกรอย

 

ไม่เคยได้ยินว่า ลุงกำนันห้ามอาชีพใดอาชีพหนึ่งร่วมปฏิรูปประเทศไทย

 

ประเด็นคือ การเข้าถึง ในการปฏิรูปจะทั่วถึง และเข้าถึงความต้องการได้มากกว่า การเลือกตั้งไหม น่ะซิครับ

 

อย่างน้อยก็ได้กฏหมายหลายข้อที่นักการเมืองกันเองไม่กล้าออกมา แม้แต่ปชป ก็เถอะ

 

อย่างว่านักการเมืองไม่ว่าพรรคใหน ก็ไม่กล้าออกกฏหมายฆ่าตัวเอง แต่สภา ปชช สามารถออกได้

 

เพราะไม่มีส่วนได้เสียส่วนตัวในอนาคต เช่นกฏหมายตัดเบี้ยบำนาญ สส สว

 

หรือที่เราอยากได้ก็การมีกฏหมายให้นักการเมืองรับผิดชอบนโยบายที่ทำให้ชาตเสียหาย



#59 จาฤก

จาฤก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:22

 

มันจะเอาฮาไปถึงไหน    ไม่อายด้วย :lol:  :lol:  :lol:

 

http://www.khaosod.c...9PQ==

ขณะ ที่พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งทะเล่อทะล่าบอยคอตเลือกตั้ง 2 ก.พ. ก็แถลง เช่นกัน ระบุสาเหตุที่พรรคเพื่อไทยไม่ยอมให้การเลือกตั้ง 2 ก.พ. เป็นโมฆะ

ก็เพราะกลัวว่าเมื่อมีการเลือกตั้งใหม่แล้ว จะแพ้พรรคประชาธิปัตย์ !?

 

^_^ ขอ Link ที่ ปชป แถลงว่าแบบนี้หน่อยครับ อยากอ่านฉบับเต็ม...

 

ไม่มีครับ  ผมอ่านจาก  ลิงค์ข่าวสดนั่นแหละ

กำลังจะบอกผมว่า  ปชป. ไม่ได้แถลงแบบนั้น  ข่าวสดเขียนเองใช่มั้ยครับ

อืม...ก็แล้วแต่ข้อเท็จจริง


เลือกตั้ง =ทางออก .......นายกฯเถื่อน  คือทางตัน

 


#60 HiddenMan

HiddenMan

    Long Live The King

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,023 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:25

 

 

มันจะเอาฮาไปถึงไหน    ไม่อายด้วย :lol:  :lol:  :lol:

 

http://www.khaosod.c...9PQ==

ขณะ ที่พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งทะเล่อทะล่าบอยคอตเลือกตั้ง 2 ก.พ. ก็แถลง เช่นกัน ระบุสาเหตุที่พรรคเพื่อไทยไม่ยอมให้การเลือกตั้ง 2 ก.พ. เป็นโมฆะ

ก็เพราะกลัวว่าเมื่อมีการเลือกตั้งใหม่แล้ว จะแพ้พรรคประชาธิปัตย์ !?

 

^_^ ขอ Link ที่ ปชป แถลงว่าแบบนี้หน่อยครับ อยากอ่านฉบับเต็ม...

 

ไม่มีครับ  ผมอ่านจาก  ลิงค์ข่าวสดนั่นแหละ

กำลังจะบอกผมว่า  ปชป. ไม่ได้แถลงแบบนั้น  ข่าวสดเขียนเองใช่มั้ยครับ

อืม...ก็แล้วแต่ข้อเท็จจริง

 

 

:D ผมไม่ทราบไงครับ... จาฤก ยกมาอ้างอิง ผมถึงถามไง


“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.”  - Mahatma Gandhi

 

สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด

https://www.facebook...denman.serithai


#61 เรื่อยๆเอื่อยๆ

เรื่อยๆเอื่อยๆ

    There is a face beneath this mask, but it isn't me.

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,223 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:26

เอารัฐธรรมนูญมาตรา 216 มาให้อ่าน  คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นเด็ดขาด

 

pcRJsbU.png

OQKFsEb.png



#62 emujack

emujack

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 463 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:50

140321010339.png

ผมไม่เป็นห่วง กกต.เท่าไหร เพราะพวกเขาก็บอกเเล้วว่าไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งเเล้วก็เเนะนำให้รัฐบาลเลื้อนไปเเล้ว เเต่รัฐบาลดันทุรังที่จะเลือกตั้ง+ขู่ กกต.มาตรา 157 (เลขท้าย3ตัว) เเละ กกต.ก็ออกสื่อด้วยทุกคนที่ตามข่าวก็คงทราบ



#63 PHOENiiX

PHOENiiX

    ปู 4ssโกงชาวนา

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 9,226 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:15

 

 

มันจะเอาฮาไปถึงไหน    ไม่อายด้วย :lol:  :lol:  :lol:

 

http://www.khaosod.c...9PQ==

ขณะ ที่พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งทะเล่อทะล่าบอยคอตเลือกตั้ง 2 ก.พ. ก็แถลง เช่นกัน ระบุสาเหตุที่พรรคเพื่อไทยไม่ยอมให้การเลือกตั้ง 2 ก.พ. เป็นโมฆะ

ก็เพราะกลัวว่าเมื่อมีการเลือกตั้งใหม่แล้ว จะแพ้พรรคประชาธิปัตย์ !?

 

จาฤก, on 21 Mar 2014 - 18:33, said:snapback.png

 

PHOENiiX, on 21 Mar 2014 - 18:17, said:snapback.png

 

จาฤก, on 21 Mar 2014 - 18:15, said:snapback.png

 

PHOENiiX, on 21 Mar 2014 - 18:13, said:snapback.png

 

จาฤก, on 21 Mar 2014 - 18:08, said:snapback.png

2550

 

อ้าง รธน ปี 2550 แล้วที่เผาไทยของปูประกาศไม่ยอมรับ

 

เป็น รธน ของปีใหนเหรอท่านจาฤก :D :D

 

ไม่ได้ปฎิเสธ  รธน.  แต่ปฎิเสธ  ตุลาการ

 

 

640_c97jebcaaaaa8a9jdk5bi.jpg

 

แล้วตุลาการ ก็อ้างกฏจาก รธน มันต่างกันตรงใหน :lol:

 

ต่างที่จิตสำนึกของคน  ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี

 

 

แล้วตลาการตัดสินผิดตรงไหนเหรอ มีตรงไหนที่พวกนี้ไม่ผิดจริง

 

เสียบบัตรแทนกันผิดมั้ย

 

ปลอมแปลงสารส่งถวายในหลวงผิดมั้ย เฉพาะข้อนี้อิปูควรหัวขาดติดคุก

 

ตั้งนานแล้ว

 

กู้ 2.2 ล้านโดยมีเอกสารแค่หกแผ่น แล้วไม่ยอมให้มีการตรวจสอบผิดมั้ย

 

พรบ นิรโทษกรรมที่คนค้านกันทั่วประเทศ ผิดมั้ย

 

แล้วจำนำข้าวโกงกันจนชาติเสียหายไปแล้ว 7.8 แสนล้าน ยังเป็นหนี้

 

ชาวนาอีก 1.3 แสนล้านจะผิดมั้ย เลวมั้ย อิปูเคยคิดจะรับผิดอะไรบ้างหรือ

 

เปล่า นอกจากบีบน้ำตา ชาวนาฆ่าตัวตายไปสิบกว่าคนแล้วอิปูเคยไปหา

 

เคยคิดไปเยียวยาเขาบ้างมั้ย

 

 

 

 

ตอบด้วยค่ะ

 

  เขียนด้วยความรู้สึกล้วนๆ  ถ้าใช้ความรู้สึกตอบ    ก็ไม่น่าจะมีประโยชน์อะไร

ส่วนคำตอบที่เป็นหลักเกณฑ์หรือข้อกฎหมาย  ตอบไปเยอะแล้วครับ   ในหลายกระทู้

ลองหากระทู้เก่าๆดูซิครับ

 

คำตอบสุดยอดแถเลยค่ะ คุณภาพแดงได้แค่นี้เองเหรอ :lol:



#64 wat

wat

    เนตังมะมะ เนโสหะมัสมิ นะเมโสอัตตา.

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,542 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:39

1959810_375812509224813_1788580052_n.jpg

 

:D


:) Sometime...Sun shine through the rain...




ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน