Jump to content


Photo
- - - - -

ลองมารวบรวมกันดูเพื่อศึกษาถึงความน่าจะเป็นของ 'กรรม' ที่กำลังตามสนองคนคิดชั่นกันนะคะ


  • Please log in to reply
44 ความเห็นในกระทู้นี้

#1 SeraphUriel

SeraphUriel

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 393 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 15:34

ใครจะว่างมงายก็เถอะนะคะ แต่ดิฉันเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรมเอามากๆ

แล้วก็คิดว่าคนที่ทำกรรมกับประเทศชาติจะต้องมีจุดจบไม่ธรรมดา

 

ทุกคนคงเคยได้ยินที่เขาว่ากันว่า 'มะเร็ง' เป็นโรคกรรมกันบ้างนะคะ

โดยมาก ที่ดิฉันเห็นก็มักจะเกิดกับคนที่ทำกรรมฆ่าสัตว์ตัดชีวิตเป็นหลัก

แต่หลังๆ นี่ไม่รู้ทำไมรู้สึกเหมือนแกนนำเสื้อแดงหลายๆ คนพากันล้มป่วยด้วยโรคมะเร็งจนถี่กว่าคนปกติทั่วไปนะคะ

ไหนใครว่างๆ มาช่วยกันรวบรวมรายชื่อหน่อยจิ๊

จะได้ช่วยกันวิเคราะห์ว่ามันเป็นแค่ความบังเอิญหรืออะไรยังไง เริ่มจาก พี่ขี้ คนแรกนี่แหละค่ะ



#2 ต้นหอม

ต้นหอม

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,472 posts

ตอบ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 15:48

เชื่อในเรื่องกรรมเหมือนกันค่ะ

 

แต่คิดว่าเนื่องจากพี่กี้ป่วยสาเหตุน่าจะมาจากความเครียด คนโลภมากอยากได้ทุกอย่างมันก็อย่างนี้น่ะค่ะ คนเคยได้อะไรมาโดยง่าย ได้มาโดยใช้ชีิวิตคนอื่นแลกมามันจะไม่รู้จักอดทนและปล่อยวางค่ะ อันไหนเอาเปรียบได้มันทำทั้งนั้น แต่ความจริงของโลกมันมีอยู่ว่ามันไม่มีใครยอมใครไปตลอด พอมันมาเจอคนที่ไม่ยอมและแข็งแกร่งเข้าความเครียดจะเข้าหาได้ง่าย พี่ตู่กับพี่เต้น(ซึ่งน่าจะแอบอ่านอยู่)ก็คงไม่รอดเช่นกัน

 

สุดท้ายขอให้พี่กี้ พี่ตู่ พี่เต้น และครอบครัวใช้ชีวิตอย่างสงบจวบจนวาระสุดท้ายนะคะ


มันจะทำให้เราคิดก่อนพูดได้ดีขึ้น เมื่อเชื่อว่าคำพูดที่ออกไปเหล่านั้นคือคำที่เราจะได้ยินเองในอนาคต

และถ้าเราจะทำดีได้มากขึ้น เมื่อเชื่อว่าเราจะได้เจอสิ่งดีๆในอนาคต

แม้ว่าวันนี้เราจะยังไม่เห็นว่ามันดีอย่างไรแต่อย่างน้อยทำให้เราผ่านวันนี้ไปได้อย่างราบรื่น


#3 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 01:14

*
POPULAR

ผมเชื่อเรื่องกรรม 

แต่การจะบอกว่าคนป่วยเป็นมะเร็งเพราะตอบแทนผลการทำชั่วก็คงง่ายไป

เพราะเรื่องร้ายๆสามารถเกิดกับคนดีได้เช่นกัน

 

นี่คือหลัก "ผลของกรรม" ในศาสนาพุทธครับ

อาจทำให้เราไม่สรุปอะไรง่ายๆ

 

 

กรรม ๑๒ กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ

หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่
๑. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้
๒. อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า
๓. อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป
๔. อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล

หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือ จำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่
๕. ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด
๖. อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม
๗. อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า
๘. อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว
 

หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือ จำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่
๙. ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน
๑๐. พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา
๑๑. อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น
๑๒. กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล

 

 

 

โสณกสูตร ติ. อํ. (๕๔๐)

 

ปัญหา คน ๒ คน ทำกรรมอย่างเดียวกัน แต่ได้รับผลต่างกันมีหรือไม่ ?


พุทธดำรัสตอบ

“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดแลพึงกล่าวอย่างนี้ว่า บุรุษนี้ทำกรรมไว้อย่างไร? เขาจะต้องเสวยกรรมนั้นอย่างนั้น ๆ เมื่อเป็นเช่นนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ ของผู้นั้นย่อมมีไม่ได้ โอกาสที่จะทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบย่อมไม่ปรากฏ

ส่วนผู้ใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า บุรุษนี้ทำกรรมที่จะต้องเสวยผลไว้ด้วยอาการใดๆ เขาจะต้องเสวยวิบากของกรรมนั้นด้วยอาการนั้น ๆ เมื่อเป็นเช่นนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ของผู้นั้นย่อมมีได้ โอกาสที่จะทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบย่อมปรากฏ


“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย

บุคคลบางคลในโลกนี้ทำบาปกรรมแม้เล็กน้อย บาปกรรมนั้นก็นำเขาเข้านรก ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ทำบาปกรรมเพียงเล็กน้อยเช่นนั้นแหละ บาปกรรมนั้นย่อมได้ผลทันตาเห็น แต่ส่วนน้อยไม่ปรากฏ ปรากฏเฉพาะส่วนที่มาก บุคคลเช่นไร ทำบาปกรรมแม้เล็กน้อย บาปกรรมนั้นก็นำเขาเข้านรก


“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้ไม่อบรมกาย ไม่อบรมศีล ไม่อบรมจิต ไม่อบรมปัญญา มีคุณน้อย มีอัตตภาพเล็ก มีอัตตภาพอยู่เป็นทุกข์เพราะวิบากเล็กน้อย บุคคลเห็นปานนี้ทำบาปกรรมแม้เล็กน้อย บาปกรรมนั้นก็นำเขาเข้านรก
“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลเช่นไรเล่า ทำบาปกรรมเล็กน้อยเช่นนั้น เหมือนกัน บาปกรรมนั้นให้ผลทันตาเห็น แต่ส่วนน้อยไม่ปรากฏ ปรากฏเฉพาะส่วนมาก


“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้อบรมกาย อบรมศีล อบรมจิต อบรมปัญญา มีคุณไม่น้อย มีอัตตภาพใหญ่ มีธรรมเป็นเครื่องอยู่หาประมาณมิได้ บุคคลเช่นนี้ ทำบาปกรรมเช่นนั้นเหมือนกัน บาปกรรมนั้นให้ผลทันตาเห็น แต่ส่วนน้อยไม่ปรากกฎ ปรากฏเฉพาะแต่ส่วนมาก  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษพึงใส่ก้อนเกลือลงในขันใบน้อย.... น้ำในขันเล็กน้อยนั้น พึงมีรสเค็ม ดื่มกินไม่ได้ (ส่วนบาปกรรมเล็กน้อยของบุคคลผู้อบรมกายเป็นต้นแล้วนั้น) เปรียบเหมือนบุรุษพึงใส่ก้อนเกลือลงในแม่น้ำคงคา (น้ำในแม่น้ำคงคาก็คงไม่เค็ม ดื่มกินได้ เพราะเป็นห้วงน้ำใหญ่....”


gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#4 pooyong

pooyong

    สมาชิกขั้นไม่สูง แต่สูงอายุ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,292 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 04:49

ตกรถ ขาเจ็บ อาจตกงานด้วย

 

1456568_2666371835.jpg


การรับใช้แผ่นดิน คือความเบิกบาน

#5 นางเงือกน้อยตบหน้าตบหลัง

นางเงือกน้อยตบหน้าตบหลัง

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 108 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 05:25


นั่งเครียดหน้าเฟสบุ๊ค อันนี้ถือเป็นกรรมไหมค่ะ แดงในเฟสบุ๊คน่าจะเป็นกันเยอะ เห็นตั้งแต่เรื่องปธ วุฒิสภา

เห็นตั้งสเตตัสกันร้อนแรง อย่างกะใครเอาน้ำร้อนไปลวก
-- ดีใจได้บอร์ดคืน --

#6 แสงดาวแห่งศรัทธา

แสงดาวแห่งศรัทธา

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 951 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 10:11

เชื่อเรื่องกรรมค่ะ. ในส่วนของโรคมะเร็งมันมีหลายปัจจัยมากกว่าเรื่องกรรมด้วยค่ะ บางคนเป็นมะเร็งแล้วทรมานไม่นานแถมสิ้นลมโดยสงบ อาจเป็นเพราะเค้าเหล่านั้นไม่ได้ทําบาป
ที่เชื่อแน่ๆคือคนที่ทําบาปหนักมักไม่ตายดี ไม่ตายสบาย แถมมีหลายวิธีตายด้วย

#7 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 16:39

^

^

ชอบรูปอวทาร์มากๆเลยครับ  นักกีฬาพาราลิมปิกใช่ไหมครับ

...นับถือสุดๆเลย  Triumph of the human spirit


gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#8 ลุงเชย

ลุงเชย

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 249 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:22

กระทู้ถูกใจคนแก่ ขอแจมด้วย

อานิสงค์ (ผล) ที่เกิดแก่คนทุศีล

 

1.เสื่อมโภคทรัพย์

2.ชื่อเสียงอันเลวทรามจะกระฉ่อนไป

3.ไปในที่ประชุมชนก็เก้อๆเขินๆเข้าไป

4.ตอนตายจะตั้งสติไม่ได้

5.ตายแล้วไปทุคติ (ทุกข์) วินิบาต (โทษ) นรก

 

ลองพิจารณาดู 1-2-3 กำลังเกิดกับใคร  ส่วน 4-5 ก็ขอให้เชื่อเถิดว่าคนเหล่านั้นจะได้รับมันแน่นอน



#9 ลุงเชย

ลุงเชย

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 249 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:25

ทำไมคนชั่วถึงยังทำชั่วอยู่ได้...ก็เพราะคนชั่วเขลาเกินไปจนไม่ตระหนักเมื่อกรรมตามทันมันจะให้ผลเผ็ดร้อนนัก



#10 ลุงเชย

ลุงเชย

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 249 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:51

พระรักเกียรติท่านเคยเล่าให้สื่อฟัง วันหนึ่งท่านตอนเป็นยังเติร์กพรรคกิจสังคม อายุแค่ 29 ปี ซินแสแก่ๆเคยทำนายทายทักไว้ว่า ""อีเป็นคนดวงแกว่ง เวลาดวงดีจะดีสุดๆ เวลาดวงขึ้นจะขึ้นแบบพุ่งพรวดๆ เวลาดวงลงจะลงแบบหัวคะมำเลยทีเดียว ตอนอายุ 50ปีบริบูรณ์ดวงจะตกมากๆ ถ้าไม่ตายก็ถึงกับติดคุกติดตะราง" และวันที่ท่านอายุ 50 ปีคำทำนายก็เป็นจริง  ยัง  ยังมีอีกสิ่งที่ซินแสได้ทำนายไว้ให้นายตำรวจติดตามนายปรีดา พัฒนถาบุตรที่ชื่อทักษิณ ชินวัตร "อีเป็นคนดวงแปลกมากนะ แปลกที่อีจะรวย รวยมากๆ รวยจนไม่มีที่จะเก็บเงิน แต่อีกลับไม่มีแผ่นดินจะอยู่"  ... นี่ขนาดคำทำนายของซินแซนะครับยังซัดคนสองคนซะขนาดนี้  แล้วกรรมล่ะเวลาตามทันมันจะน่ากลัวขนาดไหน  บรื้อ แค่คิดก็ขนพองสยองเกล้าแทนทักษิณคนที่กรรมยังเพิ่งเริ่มจะตามสนองประมาณ 10 % เท่านั้นเอง


Edited by ลุงเชย, 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:13.


#11 ละมั่ง

ละมั่ง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 235 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:00

กลุ่มคน ที่รวมกันเป็น

พรรค ประชาจิกกัด แพ้การเลือกตั้งบ่อยๆ

เพราะกรรม ประเภททใหน ค่ะ

 

อาจารย์เจ้าขา


Edited by ละมั่ง, 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:00.

ถึงจะเจ็บ ถึงจะปวด จะขอสู้  เพราะว่ารู้ว่าเราสู้เพื่อ สิ่งถูกต้อง ความเท่าเทียมกัน ในศักดิ์ ในศรี และเสรีภาพของคน


#12 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:08

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ


Edited by akincana, 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:12.


#13 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:15

กลุ่มคน ที่รวมกันเป็น

พรรค ประชาจิกกัด แพ้การเลือกตั้งบ่อยๆ

เพราะกรรม ประเภททใหน ค่ะ

 

อาจารย์เจ้าขา

คำถามนี้มาจากมโนกรรมอันชั่วร้ายแน่นวลลลลล

:P :D :lol:



#14 ศรอรชุน

ศรอรชุน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,103 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:16

*
POPULAR

กลุ่มคน ที่รวมกันเป็น

พรรค ประชาจิกกัด แพ้การเลือกตั้งบ่อยๆ

เพราะกรรม ประเภททใหน ค่ะ

 

อาจารย์เจ้าขา

 

เพราะ "กรรมของประเทศ" ครับ

 

กรรม... ที่ประเทศไทยมีประชากรส่วนหนึ่ง ไม่รู้จักคิด

ไปส่งเสริมคนชั่ว คนโกง คนโกหก ให้ได้มีอำนาจในการปกครองประเทศ

 

กรรม... ที่คนกลุ่มนี้มีประชาติ๊บไตแต่ปาก โดยไม่รู้ความหมายที่แท้จริงของประชาธิปไตย

กรรม... ที่คนกลุ่มนี้คิดเพียงแต่ว่าการเลือกตั้งแต่อย่างเดียวเท่านั้น คือ ประชาติ๊บไต

กรรม... ที่คนกลุ่มนี้เชื่อว่าเสียงส่วนใหญ่คือความถูกต้อง คือที่สุดของทั้งสามโลก

กรรม... ที่คนกลุ่มนี้เชื่อว่าเมืองไทยมีมือที่มองไม่เห็น

กรรม... ที่คนพวกนี้หลงลืมกำพืด และที่มาว่ากว่าจะเป็นประเทศไทยที่มั่นคง บรรพบุรุษต้องเสียสละขนาดไหน

กรรม... ที่คนกลุ่มนี้ เชื่อว่าตัวเองเป็น "ไพร่" มีอำหมาดค่อยกลั่นแกล้ง ทั้งที่แกนนำที่ค่อยพูดกรอกหูแย่งกันไปเป็นอำหมาด ร่ำรวยหมดแล้ว

กรรม... ที่คนกลุ่มนี้เห็นแก่ตัว มากกว่าประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติ

กรรม... ที่คนกลุ่มนี้เหมือนควายให้ทักษิณสนตะพาย แม้จะถีบหัว ผลักไส หักหลัง หลอกใช้มากี่ครั้ง แต่พอโดนยุ โดนหลอกก็ร้องมอ ตาขวาง ขวิดอีกฝ่ายได้ทันที

กรรม... ที่คนกลุ่มนี้เชื่อว่าอำมาดยิงปืนใหญ่แกล้งให้ฝนตกใส่การชุมนุม

กรรม... ที่คนกลุ่มนี้แยกแยะไม่ออกระหว่างถังแก๊สกับถังดับเพลิง

กรรม... ที่คนกลุ่มนี้ที่อ้างว่าตัวเองเป็นไพร่ กลับไม่รู้สึกรู้สากับการที่รัฐบาลโกงเงินชาวนาจนผูกคอตายไปหลายราย

 

ฯลฯ

 

กรรม... ของประเทศ  ที่มี ควาย มากกว่า คน ครับ


"ควาย" ในความหมายของผม คือ คนที่มีความคิด เล่นเน็ตเป็น แต่แยกแยะ ดี ชั่ว ถูก ผิด ไม่ได้  

              มิได้หมายถึง ชาวรากหญ้า ที่เป็นเหยื่อในสงครามทางความคิดครั้งนี้

 

"คนชั่ว" จะถูกปราบราบคาบสิ้น แผ่นดินเดือดสูญหายไร้ปัญหา... อยากให้ถึงวรรคท้ายของคำทำนาย ไวๆ ว่ะ...


#15 แสงดาวแห่งศรัทธา

แสงดาวแห่งศรัทธา

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 951 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:08

กลุ่มคน ที่รวมกันเป็น
พรรค ประชาจิกกัด แพ้การเลือกตั้งบ่อยๆ
เพราะกรรม ประเภททใหน ค่ะ
 
อาจารย์เจ้าขา

 
เพราะ "กรรมของประเทศ" ครับ
 
กรรม... ที่ประเทศไทยมีประชากรส่วนหนึ่ง ไม่รู้จักคิด
ไปส่งเสริมคนชั่ว คนโกง คนโกหก ให้ได้มีอำนาจในการปกครองประเทศ
 
กรรม... ที่คนกลุ่มนี้มีประชาติ๊บไตแต่ปาก โดยไม่รู้ความหมายที่แท้จริงของประชาธิปไตย
กรรม... ที่คนกลุ่มนี้คิดเพียงแต่ว่าการเลือกตั้งแต่อย่างเดียวเท่านั้น คือ ประชาติ๊บไต
กรรม... ที่คนกลุ่มนี้เชื่อว่าเสียงส่วนใหญ่คือความถูกต้อง คือที่สุดของทั้งสามโลก
กรรม... ที่คนกลุ่มนี้เชื่อว่าเมืองไทยมีมือที่มองไม่เห็น
กรรม... ที่คนพวกนี้หลงลืมกำพืด และที่มาว่ากว่าจะเป็นประเทศไทยที่มั่นคง บรรพบุรุษต้องเสียสละขนาดไหน
กรรม... ที่คนกลุ่มนี้ เชื่อว่าตัวเองเป็น "ไพร่" มีอำหมาดค่อยกลั่นแกล้ง ทั้งที่แกนนำที่ค่อยพูดกรอกหูแย่งกันไปเป็นอำหมาด ร่ำรวยหมดแล้ว
กรรม... ที่คนกลุ่มนี้เห็นแก่ตัว มากกว่าประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติ
กรรม... ที่คนกลุ่มนี้เหมือนควายให้ทักษิณสนตะพาย แม้จะถีบหัว ผลักไส หักหลัง หลอกใช้มากี่ครั้ง แต่พอโดนยุ โดนหลอกก็ร้องมอ ตาขวาง ขวิดอีกฝ่ายได้ทันที
กรรม... ที่คนกลุ่มนี้เชื่อว่าอำมาดยิงปืนใหญ่แกล้งให้ฝนตกใส่การชุมนุม
กรรม... ที่คนกลุ่มนี้แยกแยะไม่ออกระหว่างถังแก๊สกับถังดับเพลิง
กรรม... ที่คนกลุ่มนี้ที่อ้างว่าตัวเองเป็นไพร่ กลับไม่รู้สึกรู้สากับการที่รัฐบาลโกงเงินชาวนาจนผูกคอตายไปหลายราย
 
ฯลฯ
 
กรรม... ของประเทศ  ที่มี ควาย มากกว่า คน ครับ


เคลียร์มั้ยค่ะ น้องละมั่งคนสวย. งานช่วงนี้หายยุ่งแล้วหรือคะ คิดถึงจัง

#16 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:20

เคลียร์มั้ยค่ะ น้องละมั่งคนสวย. งานช่วงนี้หายยุ่งแล้วหรือคะ คิดถึงจัง

 

 

โอ๊ะ...อย่าน้า............ม่ายน้าาาาาาาาาาาาา!!!!

 

maoตกใจ.png

gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#17 ธีรเดชน้อย

ธีรเดชน้อย

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,659 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:22

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

 

คนบาปอย่างผมไม่รู้เรื่อง ทางธรรมเท่าไหร่ครับ แต่เป็นทางโลก น่าจะเป็นเรื่องของเจตนาหรือเปล่าครับ 

 

แบบเดียวกับนางยกฯของประเทศนึงบอกไว้ และเคส 1 เป็นเรื่องของการช่วยชีวิตด้วย( ทำบุญ )

 

เหมือน ศาลรธน. ที่ชี้ความผิดเป็นข้อๆ ( มั่ว )  :P


" จุดเริ่มของการรัฐประหาร 22 พ.ค. 2557 หลังจากรัฐบาลเพื่อไทยได้บริหารประเทศล้มเหลวมาตลอด 2 ปีเศษ มีการทุจริตคอรัปชั่นมากมาย มีการนำพรบ.นิรโทษกรรมมาอนุมัติผ่านสภาฯเพื่อช่วยเหลือ น.ช. ทักษิณ ทำให้มวลมหาประชาชนลุกขึ้นประท้วงต่อต้าน แม้จนกระทั่ง ศาลรัฐธรรมนูญและปปช. ได้ตัดสินและชี้มูลความผิดจนต้องพ้นออกจากตำแหน่งแล้วก็ตาม ทำให้ประเทศชาติต้องหยุดนิ่ง สุดท้ายเมื่อ พลเอก ประยุทธ ผบ.ทบ.ได้เรียกทุกฝ่ายเข้ามาคุยเพื่อหาทางออกแล้ว โดยขอให้ ครม.ที่ยังคงเหลือลาออกเพื่อตั้งนายกฯเพื่อการปฎิรูปประเทศ แต่ไร้ซึ่งการตอบสนองและการเสียสละ ทำให้พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา จำเป็นต้องประกาศยึดอำนาจ   "

 

 


#18 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:31

 

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

 

คนบาปอย่างผมไม่รู้เรื่อง ทางธรรมเท่าไหร่ครับ แต่เป็นทางโลก น่าจะเป็นเรื่องของเจตนาหรือเปล่าครับ 

 

แบบเดียวกับนางยกฯของประเทศนึงบอกไว้ และเคส 1 เป็นเรื่องของการช่วยชีวิตด้วย( ทำบุญ )

 

เหมือน ศาลรธน. ที่ชี้ความผิดเป็นข้อๆ ( มั่ว )  :P

 

ผมก็เข้าใจอย่างคุณธีรเดชครับ

ถ้าเจตนาดี เจตนาน่าจะอยู่เหนือผล

แต่ถ้าเจตนาร้าย อาจจะต้องดูผลประกอบด้วย

...

ส่วนของนางยกนั่นหลับตาพูดครับ ไม่ดูอะไรทั้งสิ้น :D


Edited by akincana, 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:33.


#19 ลุงเชย

ลุงเชย

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 249 posts

ตอบ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:38

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

ขออนุญาตออกความเห็นครับ เรื่องข้างต้นไม่ใช่คณิตศาสตร์จึงนำมาบวกลบกันไม่ได้  

กรรมสมบูรณ์ได้ด้วยเจตนา เจตนามาก่อนถึงจะนับว่าผิดหรือไม่ผิด

แล้วได้ตั้งใจไว้แล้วล่ะ นั่นก็หมายความว่าเริ่มนับ 1 ล่ะครับ ถ้าทำสำเร็จก็ 2-3-4-5 เลย (ทำไม่สำเร็จเลยเบา)


Edited by ลุงเชย, 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:40.


#20 annykun

annykun

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,567 posts

ตอบ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 08:42

กรรมมีจริงหรือไม่ไม่ทราบ  แต่หลักวิทยาศาสตร์ทั่วไปเกี่ยวกับสุขภาพ  คนชั่ว  มักอยู่ในสภาวะอารมณ์ที่มีความเครียดสูงเสมอๆ

ความเครียดมีผลทำให้ร่างกายทรุดโทรม  ระบบต่างๆ ในร่างกายรวนบ่อยๆ  ยิ่งถ้าชั่ว  แล้วยังโง่ซ้ำ  อะไรๆ  ก็จะไม่เป็นดังใจ

ไม่เป็นตามที่คาดหวัง  ก็ยิ่งเครียดหนัก  ร่างกายยิ่งทรุดโทรมเร็ว  หนักเข้าไปอีก  

 

เรื่องที่น่าสนใจ  ยิ่งคนชั่ว -โง่  แล้วยังอยู่ในสภาวะหลงตัวเองแแบบสุดกู่  ตามสถิติ  ยิ่งไม่ดูแลสุขภาพ  ยิ่งปล่อยเนื้อปล่อยตัว

ไม่ออกกำลังกาย  มีปัญหาโรคอ้วน  โรคหัวใจ  เบาหวาน  ความดันจะถามหา  เมื่อยามมีเรื่องเครียดสูง  ก็ยิ่งส่งผลให้ทุกอย่างเลว

ร้ายลงเป็นทวีคูณ  และคนเหล่านี้  แก้ไขปัญหาสุขภาพยาก  ด้วยทัศนคติของเขาเองที่มัก  พอใจที่จะทำตามใจของตัวเองมากกว่า

และไม่อาจ  อดทนต่อการต้องมีวินัย  ในเรื่องการรักษาสุขภาพได้  

 

นี่อาจจะเป็น  คำอธิบายทางวิทยาศาสตร์  ที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงที่สุด  ของสิ่งที่เรียกว่า " กรรม "  ก็ได้


Edited by annykun, 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:21.

คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม  คือ   ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง

คุณธรรมที่พร้ำสอน  ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา   ส่วน  ประชาธิปไตยน่ะรึ  เอาเข้าจริงๆ  สำคัญอันใด?? 

 


#21 annykun

annykun

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,567 posts

ตอบ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 09:32

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

 

คำถามน่าสนใจ  จนผมย้อนคิดไปว่า  " ความโง่ "  ถือเป็นบาป  หรือเปล่าว?

เพราะในชีวิตจริง  หากเราเจตนาดี  แต่โง่  ทำความเสียหายให้แก่ผู้อื่น  ดูจะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต

มากกว่า  เจตนาร้ายแต่ไม่ได้ลงมือทำซะอีก  ดูกรณี  คุณปูก็ได้  ถ้าสมมุติว่า  เรารู้ว่า  เธอโง่จริง  แต่เธอเจตนาดีจริงๆ

แต่ทำประเทศชิบหาย  แน่นนอน  ชัวร์    เราจะยังโกรธแล้วไล่เธออยู่รึเปล่าว?  (คำตอบคือ.....  จะเหลือหรอ)

 

ความโง่  ไม่รู้ตัวว่าทำผิด  ในทางธรรม  มันคือ  โมหะ  ใช่รึเปล่าว  โมหะคือบาปอันร้ายแรงที่สุด  ใช่มั๊ย?

 

แต่ในกรณีตัวอย่างที่คุณยกมา  ปัจจัยอย่างนึง  ที่ต้องเอามาคิดด้วยแน่ๆ  คือ  "เจตนา"

เจตนา  ที่ดีย่อม  มีแนวโน้มในการทำผิดน้อยลง  หรือหยุดการกระทำที่ผิดนั้นไว้แค่นั้น  (อนาคตบาปคงจะไม่มากไปกว่าปัจจุบัน)

เจตนาชั่ว  ย่อมมีแนวโน้ม  ที่จะกระทำผิดซ้ำ  มากขึ้นเรื่อย  ไปจนกว่าจะมีปัจจัยให้หยุด  (อนาคตมีแนวโน้มจะบาปมากกว่าปัจจุบัน)

 

ดังนั้น  ภิกษุที่พยายามขโมยบาตรของพระรูปอื่น  จึงผิดมากกว่า

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 

แต่เมื่อมองออกนอกมุม  ศาสนา  พระที่ปล่อยกวาง  ส่งผลอะไร?

- นายพรานไม่รู้ >>>>>  นายพรานโชคร้าย  ไม่ได้กวาง  ก็แค่นั้น

- นายพรานรู้และโกรธพระ  แต่ก็มีวิธีมากมาย  ที่จะยุติความขัดแย้งได้  ไม่ว่า    1. นายพรานถือว่าทำบุญ   2.เจรจาเรียกค่าเสียหายจากพระ  3. ด่าว่าจนพอใจแล้วจากไป   และเมื่อพระ  รับรู้ถึงความผิดแล้ว  พระที่เจตคติที่ดีจะ  ปล่อยวางมากขึ้น  และไม่ทำผิดซ้ำสอง   คราวหน้าหากพระต้องการทำแบบนี้อีก  บุญที่สมบูรณ์แบบที่สุด  คือ  พระ    ควรนั่งรอนายพราน  แล้วเจรจาของไถ่ชีวิตกวาง  พรานให้ก็ดีไป  พรานไม่ให้ก็ถือเป็นกรรมของกวาง  พระทำดีที่สุดแล้ว  (พระก็ได้บุญไป  แม้กวางจะไม่รอดก็ตาม)

- นายพรานโกรธพระ  แล้วยิงพระตาย  โอกาสเกิดน้อยมาก  เพราะพรานจะเดือดร้อนเอง  เป็นบาปติดตัวแก่นายพราน

- พระที่ปล่อยกวาง  ย่อมเป็นทุกข์  ข้อหาขโมย(แบบไม่ตั้งใจ)อยู่เป็นชั่วครู่  ก่อนจะเรียนรู้  และกลับมาปฎิบัติธรรมอย่างเป็นสุขอีกครั้ง  

 

แล้วพระที่  ขโมยบาตร  พระล่ะ?

-  ไม่ว่าจะขโมยได้  หรือไม่ได้   หรือ  ถูกจับได้ หรือจับไม่ได้  พระรูปนั้นที่มีเจคติชั่ว  ย่อมมีแนวโน้ม  ขโมยบาตรพระไปเรื่อยๆ

-  และย่อมมีแนวโน้ม  ที่จะไม่จำกัดแค่บาตรพระ  แต่อาจเป็นของอะไรที่มากกว่้านั้น 

-  เมื่อขโมยหลายครั้ง  ย่อมมีซักครั้งที่สำเร็จ  และจะมีอีกหลายๆ  ครั้งที่  สร้างความเดือดร้อนให้ชาวบ้าน

-  เมื่อขโมยหลายๆ  ครั้ง  ย่อมมีซักครั้ง  ที่ถูกจับได้  และเมื่อนั้น  เค้าจะอยู่ในสังคมนั้นไม่ได้

-  เมื่ออยู่ไม่ได้  พระรูปนั้น   ย่อมต้องเดือดร้อนกาย  ร้อนใจ  และเป็นทุกข์  เรื่อยไป  จนกว่าจะมีปัญญาพอที่จะหยุดได้

 

เรื่อง  กรรม  บุญบาป  มันค่อนข้างซับซ้อน  แต่ถ้าลองใช้ปัญญาคิดให้ดี  ก็จะพบว่า

พระที่ปล่อยกวาง  ย่อมมีแนวโน้มเป็นทุกข์  น้อยกว่า  พระขี้ขโมย   ดังนั้น  คำตัดสินขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้านั้น  จึงถูกต้องที่สุดแล้ว


Edited by annykun, 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 09:34.

คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม  คือ   ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง

คุณธรรมที่พร้ำสอน  ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา   ส่วน  ประชาธิปไตยน่ะรึ  เอาเข้าจริงๆ  สำคัญอันใด?? 

 


#22 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:55

 

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

 

คำถามน่าสนใจ  จนผมย้อนคิดไปว่า  " ความโง่ "  ถือเป็นบาป  หรือเปล่าว?

เพราะในชีวิตจริง  หากเราเจตนาดี  แต่โง่  ทำความเสียหายให้แก่ผู้อื่น  ดูจะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต

มากกว่า  เจตนาร้ายแต่ไม่ได้ลงมือทำซะอีก  ดูกรณี  คุณปูก็ได้  ถ้าสมมุติว่า  เรารู้ว่า  เธอโง่จริง  แต่เธอเจตนาดีจริงๆ

แต่ทำประเทศชิบหาย  แน่นนอน  ชัวร์    เราจะยังโกรธแล้วไล่เธออยู่รึเปล่าว?  (คำตอบคือ.....  จะเหลือหรอ)

 

ความโง่  ไม่รู้ตัวว่าทำผิด  ในทางธรรม  มันคือ  โมหะ  ใช่รึเปล่าว  โมหะคือบาปอันร้ายแรงที่สุด  ใช่มั๊ย?

 

แต่ในกรณีตัวอย่างที่คุณยกมา  ปัจจัยอย่างนึง  ที่ต้องเอามาคิดด้วยแน่ๆ  คือ  "เจตนา"

เจตนา  ที่ดีย่อม  มีแนวโน้มในการทำผิดน้อยลง  หรือหยุดการกระทำที่ผิดนั้นไว้แค่นั้น  (อนาคตบาปคงจะไม่มากไปกว่าปัจจุบัน)

เจตนาชั่ว  ย่อมมีแนวโน้ม  ที่จะกระทำผิดซ้ำ  มากขึ้นเรื่อย  ไปจนกว่าจะมีปัจจัยให้หยุด  (อนาคตมีแนวโน้มจะบาปมากกว่าปัจจุบัน)

 

ดังนั้น  ภิกษุที่พยายามขโมยบาตรของพระรูปอื่น  จึงผิดมากกว่า

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 

แต่เมื่อมองออกนอกมุม  ศาสนา  พระที่ปล่อยกวาง  ส่งผลอะไร?

- นายพรานไม่รู้ >>>>>  นายพรานโชคร้าย  ไม่ได้กวาง  ก็แค่นั้น

- นายพรานรู้และโกรธพระ  แต่ก็มีวิธีมากมาย  ที่จะยุติความขัดแย้งได้  ไม่ว่า    1. นายพรานถือว่าทำบุญ   2.เจรจาเรียกค่าเสียหายจากพระ  3. ด่าว่าจนพอใจแล้วจากไป   และเมื่อพระ  รับรู้ถึงความผิดแล้ว  พระที่เจตคติที่ดีจะ  ปล่อยวางมากขึ้น  และไม่ทำผิดซ้ำสอง   คราวหน้าหากพระต้องการทำแบบนี้อีก  บุญที่สมบูรณ์แบบที่สุด  คือ  พระ    ควรนั่งรอนายพราน  แล้วเจรจาของไถ่ชีวิตกวาง  พรานให้ก็ดีไป  พรานไม่ให้ก็ถือเป็นกรรมของกวาง  พระทำดีที่สุดแล้ว  (พระก็ได้บุญไป  แม้กวางจะไม่รอดก็ตาม)

- นายพรานโกรธพระ  แล้วยิงพระตาย  โอกาสเกิดน้อยมาก  เพราะพรานจะเดือดร้อนเอง  เป็นบาปติดตัวแก่นายพราน

- พระที่ปล่อยกวาง  ย่อมเป็นทุกข์  ข้อหาขโมย(แบบไม่ตั้งใจ)อยู่เป็นชั่วครู่  ก่อนจะเรียนรู้  และกลับมาปฎิบัติธรรมอย่างเป็นสุขอีกครั้ง  

 

แล้วพระที่  ขโมยบาตร  พระล่ะ?

-  ไม่ว่าจะขโมยได้  หรือไม่ได้   หรือ  ถูกจับได้ หรือจับไม่ได้  พระรูปนั้นที่มีเจคติชั่ว  ย่อมมีแนวโน้ม  ขโมยบาตรพระไปเรื่อยๆ

-  และย่อมมีแนวโน้ม  ที่จะไม่จำกัดแค่บาตรพระ  แต่อาจเป็นของอะไรที่มากกว่้านั้น 

-  เมื่อขโมยหลายครั้ง  ย่อมมีซักครั้งที่สำเร็จ  และจะมีอีกหลายๆ  ครั้งที่  สร้างความเดือดร้อนให้ชาวบ้าน

-  เมื่อขโมยหลายๆ  ครั้ง  ย่อมมีซักครั้ง  ที่ถูกจับได้  และเมื่อนั้น  เค้าจะอยู่ในสังคมนั้นไม่ได้

-  เมื่ออยู่ไม่ได้  พระรูปนั้น   ย่อมต้องเดือดร้อนกาย  ร้อนใจ  และเป็นทุกข์  เรื่อยไป  จนกว่าจะมีปัญญาพอที่จะหยุดได้

 

เรื่อง  กรรม  บุญบาป  มันค่อนข้างซับซ้อน  แต่ถ้าลองใช้ปัญญาคิดให้ดี  ก็จะพบว่า

พระที่ปล่อยกวาง  ย่อมมีแนวโน้มเป็นทุกข์  น้อยกว่า  พระขี้ขโมย   ดังนั้น  คำตัดสินขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้านั้น  จึงถูกต้องที่สุดแล้ว

 

ขอบคุณครับ

ผมคิดว่าสิ่งที่ผมสงสัยน่าจะกระจ่างขึ้นแล้ว



#23 Bourne

Bourne

    สายลับ ๆ ล่อ ๆ หัดเกรียน

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,471 posts

ตอบ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 12:05

ไม่เชื่อ ก็ต้องเชื่อ 

เพราะเรื่อง "กรรม" มันเป็นวิทยาศาสตร์ในตัวมันเองอยู่แล้ว

ผล ย่อมเกิดจาก เหตุหรือการกระทำ


ภาระกิจหลักของผมบนบอร์ดเสรีไทย คือ ด่าควายครับ เรื่องคิดต่างผมรับได้ แต่เรื่องคิดชั่วผมรับไม่ไหวครัช

#24 annykun

annykun

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,567 posts

ตอบ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 16:20

 

 

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

 

แต่ในกรณีตัวอย่างที่คุณยกมา  ปัจจัยอย่างนึง  ที่ต้องเอามาคิดด้วยแน่ๆ  คือ  "เจตนา"

เจตนา  ที่ดีย่อม  มีแนวโน้มในการทำผิดน้อยลง  หรือหยุดการกระทำที่ผิดนั้นไว้แค่นั้น  (อนาคตบาปคงจะไม่มากไปกว่าปัจจุบัน)

เจตนาชั่ว  ย่อมมีแนวโน้ม  ที่จะกระทำผิดซ้ำ  มากขึ้นเรื่อย  ไปจนกว่าจะมีปัจจัยให้หยุด  (อนาคตมีแนวโน้มจะบาปมากกว่าปัจจุบัน)

 

ดังนั้น  ภิกษุที่พยายามขโมยบาตรของพระรูปอื่น  จึงผิดมากกว่า

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 

ขอบคุณครับ

ผมคิดว่าสิ่งที่ผมสงสัยน่าจะกระจ่างขึ้นแล้ว

 

 

มันน่าจะแบบนี้  ไม่ใช่หรอครับ 

 

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย(พรานไม่ได้กวาง) -1 ผลดี(กวางรอด) +1  =  +1

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย 0  =   -1

 

 

หากรวมบุญ  -  บาป  ไปด้วยล่ะ

 

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย(พรานไม่ได้กวาง) -1  บาป (ไม่รู้ว่าเป็นการขโมยของนายพราน) -1   ผลดี(กวางรอด) +1   บุญ(กวางรอด)  +1   =  +1

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย 0  บาป(ลงมือขโมย) -1  =   -2

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 2 กรณี  ความเสียหายไม่เท่ากันด้วย  โดย  ปล่อยกวาง  น่าจะนำความเสียหายให้แก่ตนเอง  และผู้อื่น  น้อยกว่า  ขโมยบาตรนะ  ปล่อยกวาง -1  ขโมยบาตร-2  ฯลฯ

เห็นด้วยมั๊ยว่า  ช่วยชีวิตกวาง  น่าจะเป็นผลดี/ได้บุญ  มากกว่า  ผลเสีย/บาป  จากการที่พรานจะไม่ได้กวาง นะ  ผลดี/บุญที่กวางรอด  +3   บาปขโมยกวางอาจ  -1 อะไรแบบเนี้ย

 

เล่นๆ  ขำๆ  นะครับ  บุญบาป  เอามาคำนวนทางคณิตศาตร์ไม่ได้อยู่แล้ว


คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม  คือ   ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง

คุณธรรมที่พร้ำสอน  ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา   ส่วน  ประชาธิปไตยน่ะรึ  เอาเข้าจริงๆ  สำคัญอันใด?? 

 


#25 ชายน้ำ

ชายน้ำ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,256 posts

ตอบ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:21

ชอบกระทู้นี่ครับแต่ภูมิธรรมไม่พอที่จะร่วมเสวนากับเพื่อนๆสมาชิก

 

อ่านแล้วรู้สึกดีครับ



#26 chackrapbong

chackrapbong

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,057 posts

ตอบ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:30

กลุ่มคน ที่รวมกันเป็น

พรรค ประชาจิกกัด แพ้การเลือกตั้งบ่อยๆ

เพราะกรรม ประเภททใหน ค่ะ

 

อาจารย์เจ้าขา

 

 

 

คำถามนี้มาจากมโนกรรมอันชั่วร้ายแน่นวลลลลล

:P :D :lol:

 

 

 

 

 

 
กรรม... ของประเทศ  ที่มี ควาย มากกว่า คน ครับ


 

เรื่องน่าสนใจกว่านั้น เกี่ยวกับกรรมคือ นิรโทษกรรม

 

นิรโทษกรรม หมายถึง การกระทำที่ทำให้ไม่มีโทษ การไม่ผูกโกรธไม่จองเวร ด้วยอกุศล แต่เป็น

การให้อภัยกัน เป็นการยกโทษ ให้อภัย เมตตาต่อกันในผู้ที่ทำผิดเป็น นิรโทษกรรม ต่อกัน

นี่คือความหมายนิรโทษกรรม ในความหมายหนึ่ง

 

นิรโทษกรรม คือ การกระทำผิดของพระภิกษุในพระวินัยบัญญัติแล้ว

เห็นโทษโดยความเป็นโทษ แล้วแสดงคืน ตามพระธรรมวินัย คือ การปลงอาบัติ ตาม

ข้อวินัยที่ล่วง  ก็ชื่อว่า  เป็นการกระทำที่ไม่มีโทษต่อข้อวินัยบัญญัติ ที่ได้ล่วงไปแล้ว

นี้ก็เป็น นิรโทษกรรมอีก ความหมายหนึ่ง

 

นิรโทษกรรม หมายถึง  การกระทำที่ไม่มีโทษ อันพ้นจากกรรมนั้น

ในความเป็นจริงแล้วต้องพิจารณาว่ากรรมใดที่ทำแล้วมีโทษ คือ อะไร

กรรมคือ เจตนาที่เป็นความตั้งใจที่เป็นไปในการทำบาป ทำอกุศล เป็นกรรมที่มีโทษ 

กรรมใดที่ทำถึงความเป็นอกุศลกรรมบถ มีการฆ่าสัตว์  ลักทรัพย์ ทุจริต มีความเห็นผิดเป็นต้น เป็นการทำบาป

ตราบใดที่ยังมีการการกระทำที่ไม่ดีเหล่านั้น แม้จะขอโทษ อดโทษกับผู้อื่น แม้จะมีการให้อภัยกัน

และแม้พระภิกษุ จะปลงอาบัติแล้ว แต่ถ้ามีการทำบาป ทำกรรมที่ไม่ดี ที่เป็นอกุศลธรรมที่มีโทษแล้ว

กรรมนั้นย่อมให้ผล  ไม่เวลาใด เวลาหนึ่ง เมื่อเหตุปัจจัยพร้อม    ดังนั้นนิรโทษกรรมคือ กรรมที่ทำให้ไม่มีโทษ

หากตราบใดที่ยังมีกิเลสแล้ว กรรมที่ทำแล้วย่อมไม่ยกโทษล้างผิดได้ด้วยกรรมนั้น เพราะเมื่อทำอกุศลกรรมแล้ว 

ก็ย่อมให้ผลแน่นอนเมื่อเหตุปัจจัยพร้อม  เพราะฉะนั้น การยกโทษล้างความผิด  ด้วยการกระทำสมมติของชาวโลกที่เป็นกฎหมาย

ก็เป็นเพียง สมมติว่าเป็นการล้างความผิดแล้วแต่แท้จริง โทษมีตั้งแต่การทำอกุศลกรรมแล้ว และย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดผล คือ วิบากที่ไม่ดี

มีการเกิดในอบายภูมิ  เป็นต้น   เป็นกรรมที่ไม่สามารถนิรโทษได้เลย  เพราะสร้างเหตุที่ไม่ดีแล้ว

 

การจะเป็นนิรโทษกรรม คือ การกระทำกรรมที่ไม่มีโทษ ก็ด้วยการละกิเลส ที่จะทำให้เกิด กรรมที่ไม่มีโทษ

ด้วยการศึกษาธรรม อบรมปัญญา ปัญญาจะทำหน้าที่ละกิเลส และ เมื่อดับกิเลสหมดสิ้นแล้ว ถึงการไม่เกิดอีก

ก็ไม่มี อกุศลกรรมที่ตามมาให้ผลได้ กรรมที่ทำแล้ว ก็ไม่มีโทษกับผู้ที่ไม่เกิดอีกเพราะ ไม่มีขันธ์ 5 ให้เกิดโทษ

ไม่มีเรา ไม่มีสัตว์ บุคคลให้เกิดโทษอีกต่อไป

 

พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต-ทุกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๒ - หน้าที่ 345 ว่าด้วยคนพาล ๒ จำพวก

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาล ๒ จำพวก ๒ จำพวกเป็นไฉน คือ

คนที่ไม่เห็นโทษโดยความเป็นโทษ ๑

คนที่ไม่รับรองตามธรรม เมื่อผู้อื่นแสดงโทษ ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาล ๒ จำพวกนี้แล

 

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัณฑิต ๒ จำพวก ๒ จำพวกเป็นไฉน คือ

คนที่เห็นโทษโดยความเป็นโทษ ๑

คนที่รับรองตามธรรม เมื่อผู้อื่นแสดงโทษ ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัณฑิต ๒ จำพวกนี้แล.

 

กรรมเป็นเรื่องที่มีจริงมีความสลับซับซ้อนมาก และเป็นเรื่องปกปิดไม่มีผู้ใดสามารถพยากรณ์เรื่องกรรมได้นอกจากพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า

มีทั้งกรรมที่ได้กระทำแล้ว (อโหสิกรรม) และกรรมในปัจจุบัน

ท่านพระสารีบุตรได้จำแนกกรรมเป็น ๑๒ ประเภท คืออโหสิกรรม ๖ และ กรรมในปัจจุบัน ๖ รวมเป็น กรรม ๑๒

 

สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน

เป็นทายาทแห่งกรรม

มีกรรมเป็นกำเนิด

มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์

มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย

กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีต. 


Everyone thinks of changing the world, but no one thinks of changing himself. Leo Tolstoy


#27 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:19

 

กลุ่มคน ที่รวมกันเป็น

พรรค ประชาจิกกัด แพ้การเลือกตั้งบ่อยๆ

เพราะกรรม ประเภททใหน ค่ะ

 

อาจารย์เจ้าขา

 

 

 

คำถามนี้มาจากมโนกรรมอันชั่วร้ายแน่นวลลลลล

:P :D :lol:

 

 

 

 

 

 
กรรม... ของประเทศ  ที่มี ควาย มากกว่า คน ครับ


 

เรื่องน่าสนใจกว่านั้น เกี่ยวกับกรรมคือ นิรโทษกรรม

 

นิรโทษกรรม หมายถึง การกระทำที่ทำให้ไม่มีโทษ การไม่ผูกโกรธไม่จองเวร ด้วยอกุศล แต่เป็น

การให้อภัยกัน เป็นการยกโทษ ให้อภัย เมตตาต่อกันในผู้ที่ทำผิดเป็น นิรโทษกรรม ต่อกัน

นี่คือความหมายนิรโทษกรรม ในความหมายหนึ่ง

 

นิรโทษกรรม คือ การกระทำผิดของพระภิกษุในพระวินัยบัญญัติแล้ว

เห็นโทษโดยความเป็นโทษ แล้วแสดงคืน ตามพระธรรมวินัย คือ การปลงอาบัติ ตาม

ข้อวินัยที่ล่วง  ก็ชื่อว่า  เป็นการกระทำที่ไม่มีโทษต่อข้อวินัยบัญญัติ ที่ได้ล่วงไปแล้ว

นี้ก็เป็น นิรโทษกรรมอีก ความหมายหนึ่ง

 

นิรโทษกรรม หมายถึง  การกระทำที่ไม่มีโทษ อันพ้นจากกรรมนั้น

ในความเป็นจริงแล้วต้องพิจารณาว่ากรรมใดที่ทำแล้วมีโทษ คือ อะไร

กรรมคือ เจตนาที่เป็นความตั้งใจที่เป็นไปในการทำบาป ทำอกุศล เป็นกรรมที่มีโทษ 

กรรมใดที่ทำถึงความเป็นอกุศลกรรมบถ มีการฆ่าสัตว์  ลักทรัพย์ ทุจริต มีความเห็นผิดเป็นต้น เป็นการทำบาป

ตราบใดที่ยังมีการการกระทำที่ไม่ดีเหล่านั้น แม้จะขอโทษ อดโทษกับผู้อื่น แม้จะมีการให้อภัยกัน

และแม้พระภิกษุ จะปลงอาบัติแล้ว แต่ถ้ามีการทำบาป ทำกรรมที่ไม่ดี ที่เป็นอกุศลธรรมที่มีโทษแล้ว

กรรมนั้นย่อมให้ผล  ไม่เวลาใด เวลาหนึ่ง เมื่อเหตุปัจจัยพร้อม    ดังนั้นนิรโทษกรรมคือ กรรมที่ทำให้ไม่มีโทษ

หากตราบใดที่ยังมีกิเลสแล้ว กรรมที่ทำแล้วย่อมไม่ยกโทษล้างผิดได้ด้วยกรรมนั้น เพราะเมื่อทำอกุศลกรรมแล้ว 

ก็ย่อมให้ผลแน่นอนเมื่อเหตุปัจจัยพร้อม  เพราะฉะนั้น การยกโทษล้างความผิด  ด้วยการกระทำสมมติของชาวโลกที่เป็นกฎหมาย

ก็เป็นเพียง สมมติว่าเป็นการล้างความผิดแล้วแต่แท้จริง โทษมีตั้งแต่การทำอกุศลกรรมแล้ว และย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดผล คือ วิบากที่ไม่ดี

มีการเกิดในอบายภูมิ  เป็นต้น   เป็นกรรมที่ไม่สามารถนิรโทษได้เลย  เพราะสร้างเหตุที่ไม่ดีแล้ว

 

การจะเป็นนิรโทษกรรม คือ การกระทำกรรมที่ไม่มีโทษ ก็ด้วยการละกิเลส ที่จะทำให้เกิด กรรมที่ไม่มีโทษ

ด้วยการศึกษาธรรม อบรมปัญญา ปัญญาจะทำหน้าที่ละกิเลส และ เมื่อดับกิเลสหมดสิ้นแล้ว ถึงการไม่เกิดอีก

ก็ไม่มี อกุศลกรรมที่ตามมาให้ผลได้ กรรมที่ทำแล้ว ก็ไม่มีโทษกับผู้ที่ไม่เกิดอีกเพราะ ไม่มีขันธ์ 5 ให้เกิดโทษ

ไม่มีเรา ไม่มีสัตว์ บุคคลให้เกิดโทษอีกต่อไป

 

พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต-ทุกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๒ - หน้าที่ 345 ว่าด้วยคนพาล ๒ จำพวก

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาล ๒ จำพวก ๒ จำพวกเป็นไฉน คือ

คนที่ไม่เห็นโทษโดยความเป็นโทษ ๑

คนที่ไม่รับรองตามธรรม เมื่อผู้อื่นแสดงโทษ ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาล ๒ จำพวกนี้แล

 

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัณฑิต ๒ จำพวก ๒ จำพวกเป็นไฉน คือ

คนที่เห็นโทษโดยความเป็นโทษ ๑

คนที่รับรองตามธรรม เมื่อผู้อื่นแสดงโทษ ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัณฑิต ๒ จำพวกนี้แล.

 

กรรมเป็นเรื่องที่มีจริงมีความสลับซับซ้อนมาก และเป็นเรื่องปกปิดไม่มีผู้ใดสามารถพยากรณ์เรื่องกรรมได้นอกจากพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า

มีทั้งกรรมที่ได้กระทำแล้ว (อโหสิกรรม) และกรรมในปัจจุบัน

ท่านพระสารีบุตรได้จำแนกกรรมเป็น ๑๒ ประเภท คืออโหสิกรรม ๖ และ กรรมในปัจจุบัน ๖ รวมเป็น กรรม ๑๒

 

สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน

เป็นทายาทแห่งกรรม

มีกรรมเป็นกำเนิด

มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์

มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย

กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีต. 

 

เป็นเช่นนั้นครับ

และหวังว่า นิรโทษกรรมทางวินัยอาจใช้เป็นจุดตั้งต้นที่จะสำนึกรู้ไปสู่นิรโทษกรรมตามกฎธรรมชาติได้



#28 blue

blue

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,979 posts

ตอบ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:44

อาบัติของพระนี่ น่าจะเป็นกฎกติกาของพระที่ห้ามประพฤติปฏิบัติ มากกว่า บางเรื่อง

ประพฤติผิดกฎกติกา แต่อาจไม่บาป บางเรื่องประพฤติผิดกฎกติกา แล้วบาปด้วย ก็มี

 

ที่พระพุทธเจ้าตอบพระสององค์นี่น่าจะตอบในแง่ของ กฎกติกาของพระเท่านั้น

ไม่เกี่ยวกับบาปบุญคุณโทษ เพราะบาปบุญคุณโทษนั้นต้องไปว่ากันอีกเรื่องหนึ่ง

 

พระที่คิดจะขะโมยของเขา แค่คิดก็บาปแล้ว เป็นมโนกรรมชั่ว ส่วนกายกรรมก็ขะโมยแล้ว

แต่ดันหยิบผิด นี่บาปทั้ง มโนกรรม และกายกรรม เลย จะยกเว้นก็คือ วจีกรรมเท่านั้นที่ไม่ได้

ด่าตัวเองตอนรู้ว่าหยิบผิดมา

 

พระพุทธเจ้าบอกอาบัติทุกกฎ นั่นคือกฎกติกาของพระ เพราะพระองค์นั้นไปถามแค่

กฎกติกา ไม่ได้ถามว่าแล้วตายไปจะตกนรกหรือเปล่าด้วย

 

พระอีกองค์หนึ่ง ไปปล่อยกวางของนายพราน พระพุทธเจ้าบอกไม่อาบัติ ก็ทำนองเดียวกัน

กับองค์แรก คือถามเฉพาะเรื่องกฎกติกา ที่ไม่อาบัติเพราะ คิดเมตตากวางไม่ได้คิดขะโมยกวาง

เป็นมโนกรรมดี แถมกายกรรมยังดีอีก คือไปปล่อยกวางเป็นอิสระ ยกเว้นวจีกรรมเหมือนกันเพราะ

ไม่ได้พูดอะไรกับใคร

 

สองกรณีนี้ กรณีแรกผิดกฏกติกา กรณีหลังไม่ผิดกฎกติกา แต่เรื่องบาปบุญคุณโทษ น่าจะมีทั้งสองกรณี

 

กรณีแรกมันบาปชัดเจน เพราะผิดศีล  5 อยู่แล้ว เป็นพระถือศีลตั้งสองร้อยกว่าข้อ แค่ศีล 5 ยังรักษาไม่ได้เลย

 

กรณีที่สอง คิดก็ดี ทำก็ดี ทำไมถึงบาป มันบาปตรงการคิดดี ทำดี แต่มันไปทำให้คนอื่นเดือดร้อนนั่นแหละ

สงสารกวาง ปล่อยกวางเป็นอิสระ บุญตรงนี้ก็รับไปเต็ม ๆ  นายพรานไม่ได้กวาง เดือดร้อน อาจไม่มีอาหารกิน

ลูกเมียพลอยอดไปด้วย บาปตรงนี้ก็ต้องรับไปเต็ม ๆ  อย่าเอาบาปที่นายพรานฆ่าสัตว์ตัดชีวิต มาหักล้างกับ

การปล่อยกวางของพรานไป ไม่ได้นะครับ เรื่องบาปบุญคุณโทษนี้ มันเป็นการกระทำเฉพาะตัวครับ นายพราน

ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ก็รับบาปไป พระไปปล่อยกวางของนายพรานทำให้นายพรานเดือดร้อน ก็รับบาปไป

 

แบบ ใครทำอย่างไรก็ได้ผลอย่างนั้น แต่ เผาบ้านเผาเมืองแล้วได้ผลเป็นมะเร็ง นี่ดูมันแหม่ง ๆ พิกลนะครับ

 

ไอ้นี่ไม่ใช่พระ อาบัติไม่ได้ ก็ต้องดูตามกฎกติกาบ้านเมือง คือ ติดคุก ส่วนกรรมที่จะได้รับนั้นคงไม่มีใครรู้ได้

ว่าใช่หรือเปล่า เพราะมันมีทั้งกรรมที่ติดมาจากชาติที่แล้ว และกรรมที่ทำอยู่ในปัจจุบัน ไม่รู้อันไหนเป็นอันไหน

ละครับ มะเร็งมันอาจเป็นวิบากกรรมมาจากชาติที่แล้วก็ได้ ซึ่งถ้าเป็นเช่นนั้น กรรมในชาตินี้ อาจต้องรอคิวไป

ชาติหน้าอีกแหละครับ



#29 DarkSwan

DarkSwan

    Reporter Activated

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,689 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:12

แต่ส่วนใหญ่พวกเลวๆ ชั่วๆ ตัวใหญ่ ก็ไม่ค่อยได้ผลกรรมในชาตินี้กันบ้าง

มันก็เลยเป็นคำถามว่าแล้วกรรมจะสนองเมื่อไหร่ สนองอย่างไร

เพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้เห็น เพราะถ้าได้เห็นผลของกรรมบ้าง ว่าทำแล้วเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ คนเราคงทำความดีมากกว่าที่จะทำเลว

แต่ส่วนใหญ่ก็ไม่ได้เห็น ไม่รู้ว่ามันจะได้รับกันชาติไหน อาจไม่ใช่ชาติหน้าก็ได้

 

อย่าว่างั้นว่างี้เลยนะครับ

อย่างไอ้พวกชั่วๆ ในบ้านในเมืองนี้ ผมว่า สุดท้ายหลายๆ ตัวเราก็คงจะไม่ได้เห็นอยู่ดีว่ามันจะได้รับผลกรรมอย่างไร

<_<

 

มันก็เลยเป็นคำถามว่า ทำไมคนทำเลวถึงไม่ได้รับผลกรรมบ้าง เห็นมันเจริญเอา เจริญเอา ไม่ได้รับผลสักที บางทียังสงสัยอยู่ว่า

ไอ้ที่ว่ากรรมมันยังไม่สนอง กับมันทำกรรมมาดี นี่มันเชื่อได้จริงหรือเปล่า 

 

ช่วงหลังๆ คิดเรื่องพวกนี้แล้วเซ็ง

เรื่องเหตุเรื่องผล เรื่องหลักธรรมอ่านแล้วก็พอเข้าใจ แต่มันรู้สึกยอมรับไม่ค่อยได้ และรู้สึกมีข้อสงสัยเป็น วิจิกิจฉา ขึ้นมา

-_-


Edited by DarkSwan, 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:15.

ถ้าอยากได้ความเท่าเทียม

ก็ปีนป่ายขึ้นไปให้อยู่เทียบเท่ากับคนอื่นเค้า

อย่าได้กระชากฉุดให้คนอื่นเขาลงมาตกต่ำเท่ากับตน


#30 wat

wat

    เนตังมะมะ เนโสหะมัสมิ นะเมโสอัตตา.

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,542 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:47

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

 

^_^  แสดงความเห็นส่วนหนึ่งด้วยโพสของท่านผึ้งฯนี้ เฉพาะในส่วนพุทธวจนขอรับ...

 

 

ผมเชื่อเรื่องกรรม 

แต่การจะบอกว่าคนป่วยเป็นมะเร็งเพราะตอบแทนผลการทำชั่วก็คงง่ายไป

เพราะเรื่องร้ายๆสามารถเกิดกับคนดีได้เช่นกัน

 

นี่คือหลัก "ผลของกรรม" ในศาสนาพุทธครับ

อาจทำให้เราไม่สรุปอะไรง่ายๆ

 

 

หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่

๑. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ตามพุทธวจนหมายถึงให้ผลปัจจุบันกาล
๒. อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ตามพุทธวจนหมายถึงให้ผลในเวลาต่อมา
๓. อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ตามพุทธวจนหมายถึงให้ผลในเวลาถัดต่อๆไปอีก

 

 

พระสูตรนี้ว่าด้วยนางมิคสาลาตรัสถามพระอานนท์ถึงคำตรัสพระตถาคตเรื่องการที่บุคคลสองคน คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ แล้วอีกคนหนึ่งไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพียงแต่ยินดีในภรรยาของตน ทำไมได้ไปเกิดเป็นสกิทาคามีเหมือนกัน อยู่สวรรค์ชั้นเดียวกัน (มิคสาลาสูตร)


พุทธดำรัสตอบ

“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดแลพึงกล่าวอย่างนี้ว่า บุรุษนี้ทำกรรมไว้อย่างไร? เขาจะต้องเสวยกรรมนั้นอย่างนั้น ๆ เมื่อเป็นเช่นนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ ของผู้นั้นย่อมมีไม่ได้ โอกาสที่จะทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบย่อมไม่ปรากฏ

ส่วนผู้ใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า บุรุษนี้ทำกรรมที่จะต้องเสวยผลไว้ด้วยอาการใดๆ เขาจะต้องเสวยวิบากของกรรมนั้นด้วยอาการนั้น ๆ เมื่อเป็นเช่นนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ของผู้นั้นย่อมมีได้ โอกาสที่จะทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบย่อมปรากฏ


“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย

บุคคลบางคลในโลกนี้ทำบาปกรรมแม้เล็กน้อย บาปกรรมนั้นก็นำเขาเข้านรก ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ทำบาปกรรมเพียงเล็กน้อยเช่นนั้นแหละ บาปกรรมนั้นย่อมได้ผลทันตาเห็น แต่ส่วนน้อยไม่ปรากฏ ปรากฏเฉพาะส่วนที่มาก บุคคลเช่นไร ทำบาปกรรมแม้เล็กน้อย บาปกรรมนั้นก็นำเขาเข้านรก


“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้ไม่อบรมกาย ไม่อบรมศีล ไม่อบรมจิต ไม่อบรมปัญญา มีคุณน้อย มีอัตตภาพเล็ก มีอัตตภาพอยู่เป็นทุกข์เพราะวิบากเล็กน้อย บุคคลเห็นปานนี้ทำบาปกรรมแม้เล็กน้อย บาปกรรมนั้นก็นำเขาเข้านรก
“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลเช่นไรเล่า ทำบาปกรรมเล็กน้อยเช่นนั้น เหมือนกัน บาปกรรมนั้นให้ผลทันตาเห็น แต่ส่วนน้อยไม่ปรากฏ ปรากฏเฉพาะส่วนมาก


“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้อบรมกาย อบรมศีล อบรมจิต อบรมปัญญา มีคุณไม่น้อย มีอัตตภาพใหญ่ มีธรรมเป็นเครื่องอยู่หาประมาณมิได้ บุคคลเช่นนี้ ทำบาปกรรมเช่นนั้นเหมือนกัน บาปกรรมนั้นให้ผลทันตาเห็น แต่ส่วนน้อยไม่ปรากกฎ ปรากฏเฉพาะแต่ส่วนมาก  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษพึงใส่ก้อนเกลือลงในขันใบน้อย.... น้ำในขันเล็กน้อยนั้น พึงมีรสเค็ม ดื่มกินไม่ได้ (ส่วนบาปกรรมเล็กน้อยของบุคคลผู้อบรมกายเป็นต้นแล้วนั้น) เปรียบเหมือนบุรุษพึงใส่ก้อนเกลือลงในแม่น้ำคงคา (น้ำในแม่น้ำคงคาก็คงไม่เค็ม ดื่มกินได้ เพราะเป็นห้วงน้ำใหญ่....”

 

 

^_^  กรรมพระตถาคตตรัสคือเจตนา โดยมีที่มาจากผัสสะขอรับ กรรมไม่เจตนาไม่มี ตามข้อ 1 ถ้าพิจารณาตามคำตรัสพระตถาคตก็เข้าหลักเจตนา เหมือนพระสูตรหนึ่งที่มีเหตุสงฆ์สาวกผู้หนึ่งกำลังส่งไม้ต่อๆกันขึ้นไปแล้วพลาดทำไม้ตกลงมาถูกเพื่อนสงฆ์ด้วยกันข้างล่างตาย หมู่สงฆ์ก็โจทย์สงฆ์สาวกนั้นว่าเป็นปาราชิก ความถึงพระตถาคต จึงเรียกสงฆ์สาวกผู้นั้นมาสอบถาม... ในตอนเธอส่งไม้นั้น เธอคิดอย่างไร? สงฆ์สาวกผู้นั้นก็ตอบว่าไม่ได้คิดอะไร ก็คิดแค่ส่งไม้ไปเฉยๆ... พระตถาคตจึงตัดสินว่า ไม่ใช่ปาราชิก...

 

... ตามกรณีที่ 2 นั่นก็ถูกปรับตามเจตนาจะลักขโมย แม้ไม่สำเร็จผล และยังมีสำนึกไปทูลถามพระองค์ จึงมีโทษตามนั้นขอรับ...

 

ตามความพุทธวจนที่อ้างถึง กระพ๊มก็มองตาม "เจตนา" ดังคำบัญญัติของพระศาสดานั่นแลขอรับ...


:) Sometime...Sun shine through the rain...

#31 wat

wat

    เนตังมะมะ เนโสหะมัสมิ นะเมโสอัตตา.

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,542 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:48

แต่ส่วนใหญ่พวกเลวๆ ชั่วๆ ตัวใหญ่ ก็ไม่ค่อยได้ผลกรรมในชาตินี้กันบ้าง

มันก็เลยเป็นคำถามว่าแล้วกรรมจะสนองเมื่อไหร่ สนองอย่างไร

เพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้เห็น เพราะถ้าได้เห็นผลของกรรมบ้าง ว่าทำแล้วเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ คนเราคงทำความดีมากกว่าที่จะทำเลว

แต่ส่วนใหญ่ก็ไม่ได้เห็น ไม่รู้ว่ามันจะได้รับกันชาติไหน อาจไม่ใช่ชาติหน้าก็ได้

 

อย่าว่างั้นว่างี้เลยนะครับ

อย่างไอ้พวกชั่วๆ ในบ้านในเมืองนี้ ผมว่า สุดท้ายหลายๆ ตัวเราก็คงจะไม่ได้เห็นอยู่ดีว่ามันจะได้รับผลกรรมอย่างไร

<_<

 

มันก็เลยเป็นคำถามว่า ทำไมคนทำเลวถึงไม่ได้รับผลกรรมบ้าง เห็นมันเจริญเอา เจริญเอา ไม่ได้รับผลสักที บางทียังสงสัยอยู่ว่า

ไอ้ที่ว่ากรรมมันยังไม่สนอง กับมันทำกรรมมาดี นี่มันเชื่อได้จริงหรือเปล่า 

 

ช่วงหลังๆ คิดเรื่องพวกนี้แล้วเซ็ง

เรื่องเหตุเรื่องผล เรื่องหลักธรรมอ่านแล้วก็พอเข้าใจ แต่มันรู้สึกยอมรับไม่ค่อยได้ และรู้สึกมีข้อสงสัยเป็น วิจิกิจฉา ขึ้นมา

-_-

 

 

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

 

^_^  แสดงความเห็นส่วนหนึ่งด้วยโพสของท่านผึ้งฯนี้ เฉพาะในส่วนพุทธวจนขอรับ...

 

 

ผมเชื่อเรื่องกรรม 

แต่การจะบอกว่าคนป่วยเป็นมะเร็งเพราะตอบแทนผลการทำชั่วก็คงง่ายไป

เพราะเรื่องร้ายๆสามารถเกิดกับคนดีได้เช่นกัน

 

นี่คือหลัก "ผลของกรรม" ในศาสนาพุทธครับ

อาจทำให้เราไม่สรุปอะไรง่ายๆ

 

 

หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่

๑. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ตามพุทธวจนหมายถึงให้ผลปัจจุบันกาล
๒. อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ตามพุทธวจนหมายถึงให้ผลในเวลาต่อมา
๓. อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ตามพุทธวจนหมายถึงให้ผลในเวลาถัดต่อๆไปอีก

 

 

พระสูตรนี้ว่าด้วยนางมิคสาลาตรัสถามพระอานนท์ถึงคำตรัสพระตถาคตเรื่องการที่บุคคลสองคน คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ แล้วอีกคนหนึ่งไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพียงแต่ยินดีในภรรยาของตน ทำไมได้ไปเกิดเป็นสกิทาคามีเหมือนกัน อยู่สวรรค์ชั้นเดียวกัน (มิคสาลาสูตร)


พุทธดำรัสตอบ

“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดแลพึงกล่าวอย่างนี้ว่า บุรุษนี้ทำกรรมไว้อย่างไร? เขาจะต้องเสวยกรรมนั้นอย่างนั้น ๆ เมื่อเป็นเช่นนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ ของผู้นั้นย่อมมีไม่ได้ โอกาสที่จะทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบย่อมไม่ปรากฏ

ส่วนผู้ใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า บุรุษนี้ทำกรรมที่จะต้องเสวยผลไว้ด้วยอาการใดๆ เขาจะต้องเสวยวิบากของกรรมนั้นด้วยอาการนั้น ๆ เมื่อเป็นเช่นนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ของผู้นั้นย่อมมีได้ โอกาสที่จะทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบย่อมปรากฏ


“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย

บุคคลบางคลในโลกนี้ทำบาปกรรมแม้เล็กน้อย บาปกรรมนั้นก็นำเขาเข้านรก ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ทำบาปกรรมเพียงเล็กน้อยเช่นนั้นแหละ บาปกรรมนั้นย่อมได้ผลทันตาเห็น แต่ส่วนน้อยไม่ปรากฏ ปรากฏเฉพาะส่วนที่มาก บุคคลเช่นไร ทำบาปกรรมแม้เล็กน้อย บาปกรรมนั้นก็นำเขาเข้านรก


“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้ไม่อบรมกาย ไม่อบรมศีล ไม่อบรมจิต ไม่อบรมปัญญา มีคุณน้อย มีอัตตภาพเล็ก มีอัตตภาพอยู่เป็นทุกข์เพราะวิบากเล็กน้อย บุคคลเห็นปานนี้ทำบาปกรรมแม้เล็กน้อย บาปกรรมนั้นก็นำเขาเข้านรก
“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลเช่นไรเล่า ทำบาปกรรมเล็กน้อยเช่นนั้น เหมือนกัน บาปกรรมนั้นให้ผลทันตาเห็น แต่ส่วนน้อยไม่ปรากฏ ปรากฏเฉพาะส่วนมาก


“.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้อบรมกาย อบรมศีล อบรมจิต อบรมปัญญา มีคุณไม่น้อย มีอัตตภาพใหญ่ มีธรรมเป็นเครื่องอยู่หาประมาณมิได้ บุคคลเช่นนี้ ทำบาปกรรมเช่นนั้นเหมือนกัน บาปกรรมนั้นให้ผลทันตาเห็น แต่ส่วนน้อยไม่ปรากกฎ ปรากฏเฉพาะแต่ส่วนมาก  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษพึงใส่ก้อนเกลือลงในขันใบน้อย.... น้ำในขันเล็กน้อยนั้น พึงมีรสเค็ม ดื่มกินไม่ได้ (ส่วนบาปกรรมเล็กน้อยของบุคคลผู้อบรมกายเป็นต้นแล้วนั้น) เปรียบเหมือนบุรุษพึงใส่ก้อนเกลือลงในแม่น้ำคงคา (น้ำในแม่น้ำคงคาก็คงไม่เค็ม ดื่มกินได้ เพราะเป็นห้วงน้ำใหญ่....”

 

 

^_^  กรรมพระตถาคตตรัสคือเจตนา โดยมีที่มาจากผัสสะขอรับ กรรมไม่เจตนาไม่มี ตามข้อ 1 ถ้าพิจารณาตามคำตรัสพระตถาคตก็เข้าหลักเจตนา เหมือนพระสูตรหนึ่งที่มีเหตุสงฆ์สาวกผู้หนึ่งกำลังส่งไม้ต่อๆกันขึ้นไปแล้วพลาดทำไม้ตกลงมาถูกเพื่อนสงฆ์ด้วยกันข้างล่างตาย หมู่สงฆ์ก็โจทย์สงฆ์สาวกนั้นว่าเป็นปาราชิก ความถึงพระตถาคต จึงเรียกสงฆ์สาวกผู้นั้นมาสอบถาม... ในตอนเธอส่งไม้นั้น เธอคิดอย่างไร? สงฆ์สาวกผู้นั้นก็ตอบว่าไม่ได้คิดอะไร ก็คิดแค่ส่งไม้ไปเฉยๆ... พระตถาคตจึงตัดสินว่า ไม่ใช่ปาราชิก...

 

... ตามกรณีที่ 2 นั่นก็ถูกปรับตามเจตนาจะลักขโมย แม้ไม่สำเร็จผล และยังมีสำนึกไปทูลถามพระองค์ จึงมีโทษตามนั้นขอรับ...

 

ตามความพุทธวจนที่อ้างถึง กระพ๊มก็มองตาม "เจตนา" ดังคำบัญญัติของพระศาสดานั่นแลขอรับ...

 

 

^_^  ตามนี้เลยขอรับ... แต่ก่อนก็คิดอย่างนี้แหละ ลองพิจารณาดูขอรับ...


:) Sometime...Sun shine through the rain...

#32 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:24

อาบัติของพระนี่ น่าจะเป็นกฎกติกาของพระที่ห้ามประพฤติปฏิบัติ มากกว่า บางเรื่อง

ประพฤติผิดกฎกติกา แต่อาจไม่บาป บางเรื่องประพฤติผิดกฎกติกา แล้วบาปด้วย ก็มี

 

ที่พระพุทธเจ้าตอบพระสององค์นี่น่าจะตอบในแง่ของ กฎกติกาของพระเท่านั้น

ไม่เกี่ยวกับบาปบุญคุณโทษ เพราะบาปบุญคุณโทษนั้นต้องไปว่ากันอีกเรื่องหนึ่ง

 

พระที่คิดจะขะโมยของเขา แค่คิดก็บาปแล้ว เป็นมโนกรรมชั่ว ส่วนกายกรรมก็ขะโมยแล้ว

แต่ดันหยิบผิด นี่บาปทั้ง มโนกรรม และกายกรรม เลย จะยกเว้นก็คือ วจีกรรมเท่านั้นที่ไม่ได้

ด่าตัวเองตอนรู้ว่าหยิบผิดมา

 

พระพุทธเจ้าบอกอาบัติทุกกฎ นั่นคือกฎกติกาของพระ เพราะพระองค์นั้นไปถามแค่

กฎกติกา ไม่ได้ถามว่าแล้วตายไปจะตกนรกหรือเปล่าด้วย

 

พระอีกองค์หนึ่ง ไปปล่อยกวางของนายพราน พระพุทธเจ้าบอกไม่อาบัติ ก็ทำนองเดียวกัน

กับองค์แรก คือถามเฉพาะเรื่องกฎกติกา ที่ไม่อาบัติเพราะ คิดเมตตากวางไม่ได้คิดขะโมยกวาง

เป็นมโนกรรมดี แถมกายกรรมยังดีอีก คือไปปล่อยกวางเป็นอิสระ ยกเว้นวจีกรรมเหมือนกันเพราะ

ไม่ได้พูดอะไรกับใคร

 

สองกรณีนี้ กรณีแรกผิดกฏกติกา กรณีหลังไม่ผิดกฎกติกา แต่เรื่องบาปบุญคุณโทษ น่าจะมีทั้งสองกรณี

 

กรณีแรกมันบาปชัดเจน เพราะผิดศีล  5 อยู่แล้ว เป็นพระถือศีลตั้งสองร้อยกว่าข้อ แค่ศีล 5 ยังรักษาไม่ได้เลย

 

กรณีที่สอง คิดก็ดี ทำก็ดี ทำไมถึงบาป มันบาปตรงการคิดดี ทำดี แต่มันไปทำให้คนอื่นเดือดร้อนนั่นแหละ

สงสารกวาง ปล่อยกวางเป็นอิสระ บุญตรงนี้ก็รับไปเต็ม ๆ  นายพรานไม่ได้กวาง เดือดร้อน อาจไม่มีอาหารกิน

ลูกเมียพลอยอดไปด้วย บาปตรงนี้ก็ต้องรับไปเต็ม ๆ  อย่าเอาบาปที่นายพรานฆ่าสัตว์ตัดชีวิต มาหักล้างกับ

การปล่อยกวางของพรานไป ไม่ได้นะครับ เรื่องบาปบุญคุณโทษนี้ มันเป็นการกระทำเฉพาะตัวครับ นายพราน

ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ก็รับบาปไป พระไปปล่อยกวางของนายพรานทำให้นายพรานเดือดร้อน ก็รับบาปไป

 

แบบ ใครทำอย่างไรก็ได้ผลอย่างนั้น แต่ เผาบ้านเผาเมืองแล้วได้ผลเป็นมะเร็ง นี่ดูมันแหม่ง ๆ พิกลนะครับ

 

ไอ้นี่ไม่ใช่พระ อาบัติไม่ได้ ก็ต้องดูตามกฎกติกาบ้านเมือง คือ ติดคุก ส่วนกรรมที่จะได้รับนั้นคงไม่มีใครรู้ได้

ว่าใช่หรือเปล่า เพราะมันมีทั้งกรรมที่ติดมาจากชาติที่แล้ว และกรรมที่ทำอยู่ในปัจจุบัน ไม่รู้อันไหนเป็นอันไหน

ละครับ มะเร็งมันอาจเป็นวิบากกรรมมาจากชาติที่แล้วก็ได้ ซึ่งถ้าเป็นเช่นนั้น กรรมในชาตินี้ อาจต้องรอคิวไป

ชาติหน้าอีกแหละครับ

จะเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ

* ถ้าเป็นเจตนาดี เจตนาจะอยู่เหนือ (overrule) ผลที่เกิดขึ้น พระปล่อยกวางก็เลยไม่ต้องอาบัติ

(ผมเข้าใจว่าตอนปล่อย พระท่านคงไม่ทันคิดเรื่องว่าจะทำให้นายพรานเสียหาย แต่ถ้าท่านคิดแล้วยังทำลงไป พระพุทธเจ้าอาจปรับอาบัติก็ได้)

* ถ้าเป็นเจตนาร้าย อาจจะต้องดูผลประกอบด้วย พระขโมยบาตรไม่สำเร็จเลยโดนแค่ทุกกฏ เพราะผลไม่ตรงกับเจตนา

แต่ถ้าผลตรงกับเจตนา คือขโมยสำเร็จ ก็เป็นปาราชิกแน่นอน


Edited by akincana, 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:25.

  • wat likes this

#33 wat

wat

    เนตังมะมะ เนโสหะมัสมิ นะเมโสอัตตา.

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,542 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:43

 

อาบัติของพระนี่ น่าจะเป็นกฎกติกาของพระที่ห้ามประพฤติปฏิบัติ มากกว่า บางเรื่อง

ประพฤติผิดกฎกติกา แต่อาจไม่บาป บางเรื่องประพฤติผิดกฎกติกา แล้วบาปด้วย ก็มี

 

ที่พระพุทธเจ้าตอบพระสององค์นี่น่าจะตอบในแง่ของ กฎกติกาของพระเท่านั้น

ไม่เกี่ยวกับบาปบุญคุณโทษ เพราะบาปบุญคุณโทษนั้นต้องไปว่ากันอีกเรื่องหนึ่ง

 

พระที่คิดจะขะโมยของเขา แค่คิดก็บาปแล้ว เป็นมโนกรรมชั่ว ส่วนกายกรรมก็ขะโมยแล้ว

แต่ดันหยิบผิด นี่บาปทั้ง มโนกรรม และกายกรรม เลย จะยกเว้นก็คือ วจีกรรมเท่านั้นที่ไม่ได้

ด่าตัวเองตอนรู้ว่าหยิบผิดมา

 

พระพุทธเจ้าบอกอาบัติทุกกฎ นั่นคือกฎกติกาของพระ เพราะพระองค์นั้นไปถามแค่

กฎกติกา ไม่ได้ถามว่าแล้วตายไปจะตกนรกหรือเปล่าด้วย

 

พระอีกองค์หนึ่ง ไปปล่อยกวางของนายพราน พระพุทธเจ้าบอกไม่อาบัติ ก็ทำนองเดียวกัน

กับองค์แรก คือถามเฉพาะเรื่องกฎกติกา ที่ไม่อาบัติเพราะ คิดเมตตากวางไม่ได้คิดขะโมยกวาง

เป็นมโนกรรมดี แถมกายกรรมยังดีอีก คือไปปล่อยกวางเป็นอิสระ ยกเว้นวจีกรรมเหมือนกันเพราะ

ไม่ได้พูดอะไรกับใคร

 

สองกรณีนี้ กรณีแรกผิดกฏกติกา กรณีหลังไม่ผิดกฎกติกา แต่เรื่องบาปบุญคุณโทษ น่าจะมีทั้งสองกรณี

 

กรณีแรกมันบาปชัดเจน เพราะผิดศีล  5 อยู่แล้ว เป็นพระถือศีลตั้งสองร้อยกว่าข้อ แค่ศีล 5 ยังรักษาไม่ได้เลย

 

กรณีที่สอง คิดก็ดี ทำก็ดี ทำไมถึงบาป มันบาปตรงการคิดดี ทำดี แต่มันไปทำให้คนอื่นเดือดร้อนนั่นแหละ

สงสารกวาง ปล่อยกวางเป็นอิสระ บุญตรงนี้ก็รับไปเต็ม ๆ  นายพรานไม่ได้กวาง เดือดร้อน อาจไม่มีอาหารกิน

ลูกเมียพลอยอดไปด้วย บาปตรงนี้ก็ต้องรับไปเต็ม ๆ  อย่าเอาบาปที่นายพรานฆ่าสัตว์ตัดชีวิต มาหักล้างกับ

การปล่อยกวางของพรานไป ไม่ได้นะครับ เรื่องบาปบุญคุณโทษนี้ มันเป็นการกระทำเฉพาะตัวครับ นายพราน

ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ก็รับบาปไป พระไปปล่อยกวางของนายพรานทำให้นายพรานเดือดร้อน ก็รับบาปไป

 

แบบ ใครทำอย่างไรก็ได้ผลอย่างนั้น แต่ เผาบ้านเผาเมืองแล้วได้ผลเป็นมะเร็ง นี่ดูมันแหม่ง ๆ พิกลนะครับ

 

ไอ้นี่ไม่ใช่พระ อาบัติไม่ได้ ก็ต้องดูตามกฎกติกาบ้านเมือง คือ ติดคุก ส่วนกรรมที่จะได้รับนั้นคงไม่มีใครรู้ได้

ว่าใช่หรือเปล่า เพราะมันมีทั้งกรรมที่ติดมาจากชาติที่แล้ว และกรรมที่ทำอยู่ในปัจจุบัน ไม่รู้อันไหนเป็นอันไหน

ละครับ มะเร็งมันอาจเป็นวิบากกรรมมาจากชาติที่แล้วก็ได้ ซึ่งถ้าเป็นเช่นนั้น กรรมในชาตินี้ อาจต้องรอคิวไป

ชาติหน้าอีกแหละครับ

จะเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ

* ถ้าเป็นเจตนาดี เจตนาจะอยู่เหนือ (overrule) ผลที่เกิดขึ้น พระปล่อยกวางก็เลยไม่ต้องอาบัติ

(ผมเข้าใจว่าตอนปล่อย พระท่านคงไม่ทันคิดเรื่องว่าจะทำให้นายพรานเสียหาย แต่ถ้าท่านคิดแล้วยังทำลงไป พระพุทธเจ้าอาจปรับอาบัติก็ได้)

* ถ้าเป็นเจตนาร้าย อาจจะต้องดูผลประกอบด้วย พระขโมยบาตรไม่สำเร็จเลยโดนแค่ทุกกฏ เพราะผลไม่ตรงกับเจตนา

แต่ถ้าผลตรงกับเจตนา คือขโมยสำเร็จ ก็เป็นปาราชิกแน่นอน

 

 

^_^  ลองพินาแยกประเด็นสักนิดนะขอรับ ขอเสนอให้พินา...

 

ตามโพสที่อ้างถึง กระพ๊มว่าก็ถูกส่วนหนึ่งขอรับ... ศีลพระทั้งหมด (สองพันกว่าข้อ... ไม่ใช่สองร้อยกว่าข้อ, มีสามส่วนแปลง่ายๆคือก่อนบัญญัติปาติโมกข์ ส่วนปาติโมกข์ และส่วนมารยาทและโคจรที่มีมากกว่าพันเก้าร้อยข้อ) คือกติกาการอยู่ร่วมกัน หรือการดำรงความเป็น "สงฆ์สาวก" ซึ่งในคำว่าปาราชิกอันเป็นโทษสูงสุดคือขับออกจากความเป็นสงฆ์ โดยไม่ให้กลับเข้ามาอีก... ไม่ได้หมายความว่าจะไม่สามารถกระทำบุญบารมีได้นะขอรับ... ทำในนามของฆราวาสก็ได้ เพียงแต่ความประพฤติไม่เหมาะจะเป็น "สงฆ์สาวก" ตามบัญญัติพระศาสดาขอรับ 

 

"เรากล่าวซึ่งเจตนาว่าเป็นกรรม" นั่นคือบัญญัติถึงความหมายโดยรวมของกรรมตามคำพระตถาคตขอรับ ซึ่งพระองค์ก็จำแนกไว้ให้ทราบได้พอสังเขปก็ตามโพสก่อนหน้านี้ก็เป็นตัวอย่างส่วนหนึ่ง หลักในการพิจารณาตัดสินว่านี้คือกรรมดีหรือชั่ว พระตถาคตให้ใช้ "ศีลห้า" เป็นตัวพิจารณาขอรับ ในส่วนการตัดสินของพระตถาคตตามที่ถาม กระพ๊มมองว่าเป็นการตัดสินโดยหลักเจตนาและศีลของสงฆ์สาวกขอรับ แต่ในการไปชี้ว่าการกระทำนั้นเป็นกรรมใด ส่งผลใดนั้น... พระศาสดาตรัสไว้ว่าให้ทราบหลักการทำงานของกรรมก็พอแล้ว เพราะมีแต่พระองค์หรือผู้เหมือนพระองค์เท่านั้นที่สามารถจำแนกกรรมตลอดทั้งสังสารวัฏของหมู่สัตว์ได้ คิดไปก็บ้าเปล่าๆขอรับ... 

 

... กรรมไม่ได้เกิดจากตนเองบันดาล

... กรรมไม่ได้เกิดจากผู้อื่นบันดาล

... กรรมไม่ได้เกิดจากตนเอง และผู้อื่นบันดาล

... กรรมไม่ได้เกิดขึ้นเองลอยๆ

 

... หลักการพินาเรื่องกรรม พระศาสดาก็ให้เราพินาในกรอบนี้แหละขอรับ...

 

:D


:) Sometime...Sun shine through the rain...

#34 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:52

 

 

อาบัติของพระนี่ น่าจะเป็นกฎกติกาของพระที่ห้ามประพฤติปฏิบัติ มากกว่า บางเรื่อง

ประพฤติผิดกฎกติกา แต่อาจไม่บาป บางเรื่องประพฤติผิดกฎกติกา แล้วบาปด้วย ก็มี

 

ที่พระพุทธเจ้าตอบพระสององค์นี่น่าจะตอบในแง่ของ กฎกติกาของพระเท่านั้น

ไม่เกี่ยวกับบาปบุญคุณโทษ เพราะบาปบุญคุณโทษนั้นต้องไปว่ากันอีกเรื่องหนึ่ง

 

พระที่คิดจะขะโมยของเขา แค่คิดก็บาปแล้ว เป็นมโนกรรมชั่ว ส่วนกายกรรมก็ขะโมยแล้ว

แต่ดันหยิบผิด นี่บาปทั้ง มโนกรรม และกายกรรม เลย จะยกเว้นก็คือ วจีกรรมเท่านั้นที่ไม่ได้

ด่าตัวเองตอนรู้ว่าหยิบผิดมา

 

พระพุทธเจ้าบอกอาบัติทุกกฎ นั่นคือกฎกติกาของพระ เพราะพระองค์นั้นไปถามแค่

กฎกติกา ไม่ได้ถามว่าแล้วตายไปจะตกนรกหรือเปล่าด้วย

 

พระอีกองค์หนึ่ง ไปปล่อยกวางของนายพราน พระพุทธเจ้าบอกไม่อาบัติ ก็ทำนองเดียวกัน

กับองค์แรก คือถามเฉพาะเรื่องกฎกติกา ที่ไม่อาบัติเพราะ คิดเมตตากวางไม่ได้คิดขะโมยกวาง

เป็นมโนกรรมดี แถมกายกรรมยังดีอีก คือไปปล่อยกวางเป็นอิสระ ยกเว้นวจีกรรมเหมือนกันเพราะ

ไม่ได้พูดอะไรกับใคร

 

สองกรณีนี้ กรณีแรกผิดกฏกติกา กรณีหลังไม่ผิดกฎกติกา แต่เรื่องบาปบุญคุณโทษ น่าจะมีทั้งสองกรณี

 

กรณีแรกมันบาปชัดเจน เพราะผิดศีล  5 อยู่แล้ว เป็นพระถือศีลตั้งสองร้อยกว่าข้อ แค่ศีล 5 ยังรักษาไม่ได้เลย

 

กรณีที่สอง คิดก็ดี ทำก็ดี ทำไมถึงบาป มันบาปตรงการคิดดี ทำดี แต่มันไปทำให้คนอื่นเดือดร้อนนั่นแหละ

สงสารกวาง ปล่อยกวางเป็นอิสระ บุญตรงนี้ก็รับไปเต็ม ๆ  นายพรานไม่ได้กวาง เดือดร้อน อาจไม่มีอาหารกิน

ลูกเมียพลอยอดไปด้วย บาปตรงนี้ก็ต้องรับไปเต็ม ๆ  อย่าเอาบาปที่นายพรานฆ่าสัตว์ตัดชีวิต มาหักล้างกับ

การปล่อยกวางของพรานไป ไม่ได้นะครับ เรื่องบาปบุญคุณโทษนี้ มันเป็นการกระทำเฉพาะตัวครับ นายพราน

ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ก็รับบาปไป พระไปปล่อยกวางของนายพรานทำให้นายพรานเดือดร้อน ก็รับบาปไป

 

แบบ ใครทำอย่างไรก็ได้ผลอย่างนั้น แต่ เผาบ้านเผาเมืองแล้วได้ผลเป็นมะเร็ง นี่ดูมันแหม่ง ๆ พิกลนะครับ

 

ไอ้นี่ไม่ใช่พระ อาบัติไม่ได้ ก็ต้องดูตามกฎกติกาบ้านเมือง คือ ติดคุก ส่วนกรรมที่จะได้รับนั้นคงไม่มีใครรู้ได้

ว่าใช่หรือเปล่า เพราะมันมีทั้งกรรมที่ติดมาจากชาติที่แล้ว และกรรมที่ทำอยู่ในปัจจุบัน ไม่รู้อันไหนเป็นอันไหน

ละครับ มะเร็งมันอาจเป็นวิบากกรรมมาจากชาติที่แล้วก็ได้ ซึ่งถ้าเป็นเช่นนั้น กรรมในชาตินี้ อาจต้องรอคิวไป

ชาติหน้าอีกแหละครับ

จะเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ

* ถ้าเป็นเจตนาดี เจตนาจะอยู่เหนือ (overrule) ผลที่เกิดขึ้น พระปล่อยกวางก็เลยไม่ต้องอาบัติ

(ผมเข้าใจว่าตอนปล่อย พระท่านคงไม่ทันคิดเรื่องว่าจะทำให้นายพรานเสียหาย แต่ถ้าท่านคิดแล้วยังทำลงไป พระพุทธเจ้าอาจปรับอาบัติก็ได้)

* ถ้าเป็นเจตนาร้าย อาจจะต้องดูผลประกอบด้วย พระขโมยบาตรไม่สำเร็จเลยโดนแค่ทุกกฏ เพราะผลไม่ตรงกับเจตนา

แต่ถ้าผลตรงกับเจตนา คือขโมยสำเร็จ ก็เป็นปาราชิกแน่นอน

 

 

^_^  ลองพินาแยกประเด็นสักนิดนะขอรับ ขอเสนอให้พินา...

 

ตามโพสที่อ้างถึง กระพ๊มว่าก็ถูกส่วนหนึ่งขอรับ... ศีลพระทั้งหมด (สองพันกว่าข้อ... ไม่ใช่สองร้อยกว่าข้อ, มีสามส่วนแปลง่ายๆคือก่อนบัญญัติปาติโมกข์ ส่วนปาติโมกข์ และส่วนมารยาทและโคจรที่มีมากกว่าพันเก้าร้อยข้อ) คือกติกาการอยู่ร่วมกัน หรือการดำรงความเป็น "สงฆ์สาวก" ซึ่งในคำว่าปาราชิกอันเป็นโทษสูงสุดคือขับออกจากความเป็นสงฆ์ โดยไม่ให้กลับเข้ามาอีก... ไม่ได้หมายความว่าจะไม่สามารถกระทำบุญบารมีได้นะขอรับ... ทำในนามของฆราวาสก็ได้ เพียงแต่ความประพฤติไม่เหมาะจะเป็น "สงฆ์สาวก" ตามบัญญัติพระศาสดาขอรับ 

 

"เรากล่าวซึ่งเจตนาว่าเป็นกรรม" นั่นคือบัญญัติถึงความหมายโดยรวมของกรรมตามคำพระตถาคตขอรับ ซึ่งพระองค์ก็จำแนกไว้ให้ทราบได้พอสังเขปก็ตามโพสก่อนหน้านี้ก็เป็นตัวอย่างส่วนหนึ่ง หลักในการพิจารณาตัดสินว่านี้คือกรรมดีหรือชั่ว พระตถาคตให้ใช้ "ศีลห้า" เป็นตัวพิจารณาขอรับ ในส่วนการตัดสินของพระตถาคตตามที่ถาม กระพ๊มมองว่าเป็นการตัดสินโดยหลักเจตนาและศีลของสงฆ์สาวกขอรับ แต่ในการไปชี้ว่าการกระทำนั้นเป็นกรรมใด ส่งผลใดนั้น... พระศาสดาตรัสไว้ว่าให้ทราบหลักการทำงานของกรรมก็พอแล้ว เพราะมีแต่พระองค์หรือผู้เหมือนพระองค์เท่านั้นที่สามารถจำแนกกรรมตลอดทั้งสังสารวัฏของหมู่สัตว์ได้ คิดไปก็บ้าเปล่าๆขอรับ... 

 

... กรรมไม่ได้เกิดจากตนเองบันดาล

... กรรมไม่ได้เกิดจากผู้อื่นบันดาล

... กรรมไม่ได้เกิดจากตนเอง และผู้อื่นบันดาล

... กรรมไม่ได้เกิดขึ้นเองลอยๆ

 

... หลักการพินาเรื่องกรรม พระศาสดาก็ให้เราพินาในกรอบนี้แหละขอรับ...

 

:D

 

ขอบคุณสำหรับข้อคิดครับ

เจริญในธรรมครับ



#35 คลำปม

คลำปม

    สลิ่มเต็มขั้นจ้า

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,657 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:58

ผมก็เชื่อในกฎแห่งกรรมสุดๆครับ

 

และในเรื่องของโรคมะเร็ง  ผมเห็นว่าก็เป็นไปตามกรรม   ซึ่งกรรมคือการกระทำ

 

อาหารที่ทานเป็นอย่างไร  สูบบุหรี่หรือไม่  รักษาสุขภาพหรือไม่

 

อยู่ในสภาพแวดล้อมแบบไหน  สิ่งเหล่านี้เป็นเหตุปัจจัยให้เป็นโรคร้ายได้ทั้งนั้นแหละครับ

 

ยิ่งโดยเฉพาะสตรีที่มีระบบภายในซับซ้อน  ทานอาหารในปัจจุบันที่มีสารก่อมะเร็งมาก

 

ก็เป็นมะเร็งมดลูกกันเยอะครับ

 

 

กรรมอย่างไรก็ก่อให้เกิดผลอย่างนั้น  ความชั่วของกี้ ก็ทำให้คนดีมีสามัญสำนึกรังเกียจ  ไม่คบหา

 

ส่วนโรคทางกายก็เป็นไปตามเหตุปัจจัยของมัน  ซึ่งอาจเชื่อมโยงกันหรือไม่ก็เป็นได้ทั้งสิ้น

 

 

คนดีตายเร็ว  คนชั่วตายช้าก็มีถมถืดไปครับ  ผมว่าเราสรุปอะไรหยาบๆคงไม่ได้

 

ที่คนเราตายก็เพราะคนเราล้วนต้องตาย  มันก็เท่านั้น


Edited by คลำปม, 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:59.

วิธีการยุติระบอบทักษิณ

ก็แค่เพียงทำให้คนไทยส่วนใหญ่ "ฉลาด"


#36 แสนคำนึง นลินกุลเศฐ

แสนคำนึง นลินกุลเศฐ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 271 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:05

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

 

ขอร่วมวงสนทนาด้วย   ผิดถูกไม่ว่ากันนะครับ....

กรรมนั้นเกิดได้สามทางคือ  ทางกาย , ทางวาจา  และทางใจ (การทวาร , วจีทวาร , มโนทวาร )

กรรมดีก็ดี   กรรมชั่วก็ดี  จะเรียกว่าเป็นกรรมก็ต้องประกอบด้วยความจงใจ ( มโนสัญเจตนา )

ที่พูดกันว่า  “ ใจเป็นนาย กายเป็นบ่าว “ คือใจสั่งกายและวาจาโดยเจตนา

กรรมดีเรียกว่า “ กุศลกรรม “ ก็ได้  กรรมชั่วเรียกว่า  “ อกุศลกรรม “ ก็ได้

จะจัดกรรมว่าเป็นกรรมดีกรรมชั่ว ( กุศลกรรมหรืออกุศลกรรม ) นั้นต้องดำเนินไป

จนครบกระบวนธรรมที่เรียกว่า  “ กรรมบถ “   ( คัลลองหรือทางแห่งกรรม )

กรรมบถฝ่ายดีเรียกว่า “ กุศลกรรมบถ “  กรรมบถฝ่ายชั่วเรียกว่า “ อกุศลกรรมบถ “

ขอกล่าวถึงกุศลกรรมบถก่อน     กุศลกรรมบถมี ๑๐  คือ...

  ๑.  ปาณาติบาต    ๒.  อทินนาทาน   ๓.  กาเมสุมิจฉาจาร   ( เกิดทางกาย )

  ๔.  มุสาวาท   ๕. ผรุสวาจา   ๖.  ปิสุณวาจา   ๗. สัมผัปปลาป  (เกิดทางวาจา )

   ๘.  อภิชฌา     ๙.  พยาบาท       ๑๐.  มิจฉาทิฏฐิ                 (  เกิดทางใจ )

อกุศลกรรมบถแต่ละอย่างนั้นต้องมีองค์ประกอบครบถ้วนจึงจะจัดเป็นกรรมบถนั้นๆได้

ขอกล่าวถึงอกุศลกรรมบถเพียงสองอย่างนะครับ คือ ปาณาติบาต  และอทินนาทาน

เพราะจะนำมาพิจารณาสองกรณีนี้ และใช้พิจารณาถึงอาบัติของพระด้วย    

  ปาณาติบาตมีองค์ประกอบที่จะทำให้เป็นอกุศลกรรมบถ  ๕  องค์  คือ..

 ๑. ปาโณ  ( สัตว์มีชีวิต )    ๒. ปาณสัญญิตา  ( ความเป็นผู้รู้ว่าสัตว์มีชีวิต )

 ๓.  วธกเจตนา ( เจตนาคิดจะฆ่า )   ๔.  อุปักกโม ( ลงมือฆ่าด้วยความพยายาม )

 ๕.  เตนะ มรณัง  ( สัตว์ตายด้วยความพยายามลงมือนั้น )

อทินนาทานมีองค์ประกอบที่จะทำให้เป็นอกุศลกรรมบถ  ๕ องค์เหมือนกัน คือ..

  ๑. ปรปริคคหิตัง ( วัตถุมีเจ้าของหวง )   ๒.  ปรปริคคหิตสัญญิตา ( รู้ว่าวัตถุนั้นมีเจ้าของ)

  ๓.  เถยยจิต ( มีความคิดที่จะลัก )    ๔.  อุปักกโม ( ลงมือลักวัตถุนั้น )

   ๕.  เตนะ  หรณัง  ( ลักวัตถุนั้นมาได้สำเร็จ ) 

อย่าเพิ่งเบื่อนะครับ เพราะเราต้องตั้งองค์ประกอบเหล่านี้ไว้เป็นหลักเพื่อพิจารณา

กรณีที่ ๑  พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่ ?

กวางตัวนั้นโดยสมมติทางโลกว่าเป็นสมบัติของนายพราน  แต่โดยสัจจะแท้จริงแล้วไม่ใช่

เพราะไม่มีใครเป็นเจ้าของชีวิตใครได้  เราเองยังไม่ใช่เจ้าของชีวิตของเราเลย

มีแต่กระบวนธรรมที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย   แต่เมื่อถือว่ากวางที่ติดบ่วงเป็นของนายพราน

ก็มาพิจารณาถึงองค์ประกอบของอทินนาทานข้อที่ ๓   คือจิตคิดจะลักมาเป็นของตน

พระท่านไม่มีไถยยจิต ท่านปล่อยกวางไปเพราะกรุณาธรรม ไม่ได้คิดจะครอบครองกวาง

อกุศลกรรมบถว่าด้วยอทินนาทานจึงไม่ครบองค์ประกอบ  พระท่านจึงไม่ต้องอาบัติปาราชิก

พิจารณากันตรงๆตามนี้ล่ะครับง่ายๆ ส่วนจะมีผลที่เกิดจากการกระทำของท่านขอไม่กล่าวถึง

เพราะมันมีเหตุปัจจัยที่เป็นตัวแปรได้หลายอย่าง    แต่ขอเล่าเรื่องๆหนึ่งนะครับ....

   ครั้งหนึ่งเจ้าชายเทวทัตใช้ธนูยิงนกตัวหนึ่งที่บินอยู่ตกลงมา นกนั้นตกลงเบื้องพระพักต์เจ้าชาย

สิทธัตถะๆทรงเก็บนกตัวนั้นไปรักษาบาดแผลและทรงดำริจะปล่อยไป  เจ้าชายเทวทัตมาทวงถาม

โดยอ้างว่ายิงนกได้นกนั้นต้องเป็นของตน   เจ้าชายสิทธัตถะทรงปฏิเสธไม่ให้นกแก่เจ้าชายเทวทัต

ทรงให้เหตุผลว่า เจ้าชายเทวทัตเป็นผู้ทำลายชีวิต แต่พระองค์เป็นผู้ช่วยชีวิต  เจ้าชายเทวทัตจึง-

ไม่มีสิทธิ์ในชีวิตนกนั้น  พระองค์ต่างหากที่มีสิทธิ์เพราะทรงให้ชีวิตมัน....

  กรณีที่ ๒ พระมีไถยยจิตคิดจะลักบาตรของเพื่อนภิกษุ เกิดอภิชฌาคือความโลภอยากได้ในใจ

จัดเป็นอกุศลกรรมบถทางมโนทวารแล้ว  ครั้นพอลงมือลักด้วยความพยายาม และลักสำเร็จด้วย

แต่เป็นการลักบาตรผิดใบ คือบาตรของตนเองซึ่งไม่ใช่วัตถุที่ผู้อื่นหวง จึงขาดองค์ประกอบแรก

  ( ปรปริคคหิต = วัตถุที่เป็นของผู้อื่นและผู้อื่นหวงไม่ให้ )  พระรูปนี้ยังไม่ต้องอาบัติปาราชิก

แต่ก็เกิดโทษทั้งทางกายวาจาใจแล้ว  กายลงมือลักแต่โทษไม่ถึงอันติมะวัตถุเพราะไม่ใช่ของผู้อื่น

วาจาเป็นวจีทุจจริตเพราะด่าที่ลักบาตรมาผิดใบ  แต่ทั้งหมดก็มาจากมโนทุจริตคือความโลภ...

 พระพุทธเจ้าทรงตัดสินชอบธรรมแล้วครับ  ขอแสดงความความคิดเห็นเพียงเท่านี้ก่อนครับ....    



#37 แสงดาวแห่งศรัทธา

แสงดาวแห่งศรัทธา

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 951 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:15

อ่านมู้นี้แล้วรู้สึกว่าความรู้ทางธรรมเรากลายเป็นเด็กอนุบาลหนึ่งเลยวุ้ย

#38 blue

blue

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,979 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 22:27

คุณ akincana

 

กรณีนี้ ถ้าเราอ่านตามเนื้อหา แล้วมันจะรู้สึกคลางแครงใจว่า ทำไมคนหนึ่งทำแต่ไม่สำเร็จ

ไปปรับอาบัติทุกกฏ หรือคิดลักทรัพย์เขาทำไมแค่อาบัติทุกกฎ น่าจะปาราชิก ขณะที่อีกคนหนึ่ง

ทำแล้วสำเร็จแล้ว กลับไม่ต้องอาบัติ ไปปล่อยกวางของเขาดื้อ ๆ ก็ผิดอยู่แล้ว ทำไมไม่ผิด

ถ้าปล่อยกวางไปแล้วไม่ผิด แล้วไม่คิดว่าพรานจะเดือดร้อนหรือทำให้คนอื่นเดือดร้อนไม่ผิดหรือ

 

พระทั้งสององค์นี้ไปถามพระพุทธเจ้าเรื่องวินัย หรือกฎกติกาของพระว่าที่ทำไปนั้นผิดหรือไม่

เข้าใจว่ายุคนั้นยังไม่มีการเขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร จึงต้องไปถาม พระพุทธเจ้า ซึ่ง

พระพุทธเจ้าก็ถามถึงเจตนาก่อนเลย ว่าที่ทำไปนั้นคิดอย่างไร เมื่อองค์หนึ่งมีเจตนาทุจริต ก็

บอกว่าอาบัติทุกกฎ อีกองค์หนึ่งมีเจตนาสุจริต ก็ไม่อาบัติ

 

สองกรณีนี้ผมมองว่าเขายกมาเทียบเคียงกันเพื่อจะบอกว่า ธรรม ในศาสนาพุทธ เน้นที่ เจตนา

เป็นหลักครับ การกระทำทุกอย่างอยู่ที่เจตนา แต่ถ้าทำไปแล้วผิด โทษตามกฎกติกาจะหนักเบา

แค่ไหน อันนี้ไม่ทราบจริง ๆ ครับ รายละเอียดที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้อาจมีมากกว่านี้ แต่เขาอาจ

ค้นคว้ามาได้แค่นี้ หรือตัดรายละเอียดออกไป เพราะต้องการเน้นแค่เรื่อง เจตนา เราก็ไม่รู้ได้

ผมถึงยกเอาเรื่อง บาป บุญ มาด้วย เพราะมองว่า สองกรณีนี้ น่าจะบาปทั้งคู่ แม้กรณีหนึ่ง

จะอาบัติ และอีกกรณีหนึ่งไม่อาบัติ



#39 แสนคำนึง นลินกุลเศฐ

แสนคำนึง นลินกุลเศฐ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 271 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 22:51

 

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

 

ขอร่วมวงสนทนาด้วย   ผิดถูกไม่ว่ากันนะครับ....

กรรมนั้นเกิดได้สามทางคือ  ทางกาย , ทางวาจา  และทางใจ (การทวาร , วจีทวาร , มโนทวาร )

กรรมดีก็ดี   กรรมชั่วก็ดี  จะเรียกว่าเป็นกรรมก็ต้องประกอบด้วยความจงใจ ( มโนสัญเจตนา )

ที่พูดกันว่า  “ ใจเป็นนาย กายเป็นบ่าว “ คือใจสั่งกายและวาจาโดยเจตนา

กรรมดีเรียกว่า “ กุศลกรรม “ ก็ได้  กรรมชั่วเรียกว่า  “ อกุศลกรรม “ ก็ได้

จะจัดกรรมว่าเป็นกรรมดีกรรมชั่ว ( กุศลกรรมหรืออกุศลกรรม ) นั้นต้องดำเนินไป

จนครบกระบวนธรรมที่เรียกว่า  “ กรรมบถ “   ( คัลลองหรือทางแห่งกรรม )

กรรมบถฝ่ายดีเรียกว่า “ กุศลกรรมบถ “  กรรมบถฝ่ายชั่วเรียกว่า “ อกุศลกรรมบถ “

ขอกล่าวถึงอกุศลกรรมบถก่อน     อกุศลกรรมบถมี ๑๐  คือ...

  ๑.  ปาณาติบาต    ๒.  อทินนาทาน   ๓.  กาเมสุมิจฉาจาร   ( เกิดทางกาย )

  ๔.  มุสาวาท   ๕. ผรุสวาจา   ๖.  ปิสุณวาจา   ๗. สัมผัปปลาป  (เกิดทางวาจา )

   ๘.  อภิชฌา     ๙.  พยาบาท       ๑๐.  มิจฉาทิฏฐิ                 (  เกิดทางใจ )

อกุศลกรรมบถแต่ละอย่างนั้นต้องมีองค์ประกอบครบถ้วนจึงจะจัดเป็นกรรมบถนั้นๆได้

ขอกล่าวถึงอกุศลกรรมบถเพียงสองอย่างนะครับ คือ ปาณาติบาต  และอทินนาทาน

เพราะจะนำมาพิจารณาสองกรณีนี้ และใช้พิจารณาถึงอาบัติของพระด้วย    

  ปาณาติบาตมีองค์ประกอบที่จะทำให้เป็นอกุศลกรรมบถ  ๕  องค์  คือ..

 ๑. ปาโณ  ( สัตว์มีชีวิต )    ๒. ปาณสัญญิตา  ( ความเป็นผู้รู้ว่าสัตว์มีชีวิต )

 ๓.  วธกเจตนา ( เจตนาคิดจะฆ่า )   ๔.  อุปักกโม ( ลงมือฆ่าด้วยความพยายาม )

 ๕.  เตนะ มรณัง  ( สัตว์ตายด้วยความพยายามลงมือนั้น )

อทินนาทานมีองค์ประกอบที่จะทำให้เป็นอกุศลกรรมบถ  ๕ องค์เหมือนกัน คือ..

  ๑. ปรปริคคหิตัง ( วัตถุมีเจ้าของหวง )   ๒.  ปรปริคคหิตสัญญิตา ( รู้ว่าวัตถุนั้นมีเจ้าของ)

  ๓.  เถยยจิต ( มีความคิดที่จะลัก )    ๔.  อุปักกโม ( ลงมือลักวัตถุนั้น )

   ๕.  เตนะ  หรณัง  ( ลักวัตถุนั้นมาได้สำเร็จ ) 

อย่าเพิ่งเบื่อนะครับ เพราะเราต้องตั้งองค์ประกอบเหล่านี้ไว้เป็นหลักเพื่อพิจารณา

กรณีที่ ๑  พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่ ?

กวางตัวนั้นโดยสมมติทางโลกว่าเป็นสมบัติของนายพราน  แต่โดยสัจจะแท้จริงแล้วไม่ใช่

เพราะไม่มีใครเป็นเจ้าของชีวิตใครได้  เราเองยังไม่ใช่เจ้าของชีวิตของเราเลย

มีแต่กระบวนธรรมที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย   แต่เมื่อถือว่ากวางที่ติดบ่วงเป็นของนายพราน

ก็มาพิจารณาถึงองค์ประกอบของอทินนาทานข้อที่ ๓   คือจิตคิดจะลักมาเป็นของตน

พระท่านไม่มีไถยยจิต ท่านปล่อยกวางไปเพราะกรุณาธรรม ไม่ได้คิดจะครอบครองกวาง

อกุศลกรรมบถว่าด้วยอทินนาทานจึงไม่ครบองค์ประกอบ  พระท่านจึงไม่ต้องอาบัติปาราชิก

พิจารณากันตรงๆตามนี้ล่ะครับง่ายๆ ส่วนจะมีผลที่เกิดจากการกระทำของท่านขอไม่กล่าวถึง

เพราะมันมีเหตุปัจจัยที่เป็นตัวแปรได้หลายอย่าง    แต่ขอเล่าเรื่องๆหนึ่งนะครับ....

   ครั้งหนึ่งเจ้าชายเทวทัตใช้ธนูยิงนกตัวหนึ่งที่บินอยู่ตกลงมา นกนั้นตกลงเบื้องพระพักต์เจ้าชาย

สิทธัตถะๆทรงเก็บนกตัวนั้นไปรักษาบาดแผลและทรงดำริจะปล่อยไป  เจ้าชายเทวทัตมาทวงถาม

โดยอ้างว่ายิงนกได้นกนั้นต้องเป็นของตน   เจ้าชายสิทธัตถะทรงปฏิเสธไม่ให้นกแก่เจ้าชายเทวทัต

ทรงให้เหตุผลว่า เจ้าชายเทวทัตเป็นผู้ทำลายชีวิต แต่พระองค์เป็นผู้ช่วยชีวิต  เจ้าชายเทวทัตจึง-

ไม่มีสิทธิ์ในชีวิตนกนั้น  พระองค์ต่างหากที่มีสิทธิ์เพราะทรงให้ชีวิตมัน....

  กรณีที่ ๒ พระมีไถยยจิตคิดจะลักบาตรของเพื่อนภิกษุ เกิดอภิชฌาคือความโลภอยากได้ในใจ

จัดเป็นอกุศลกรรมบถทางมโนทวารแล้ว  ครั้นพอลงมือลักด้วยความพยายาม และลักสำเร็จด้วย

แต่เป็นการลักบาตรผิดใบ คือบาตรของตนเองซึ่งไม่ใช่วัตถุที่ผู้อื่นหวง จึงขาดองค์ประกอบแรก

  ( ปรปริคคหิต = วัตถุที่เป็นของผู้อื่นและผู้อื่นหวงไม่ให้ )  พระรูปนี้ยังไม่ต้องอาบัติปาราชิก

แต่ก็เกิดโทษทั้งทางกายวาจาใจแล้ว  กายลงมือลักแต่โทษไม่ถึงอันติมะวัตถุเพราะไม่ใช่ของผู้อื่น

วาจาเป็นวจีทุจจริตเพราะด่าที่ลักบาตรมาผิดใบ  แต่ทั้งหมดก็มาจากมโนทุจริตคือความโลภ...

 พระพุทธเจ้าทรงตัดสินชอบธรรมแล้วครับ  ขอแสดงความความคิดเห็นเพียงเท่านี้ก่อนครับ....    

 

 

ขอแก้คำผิดสองคำ แก้คำว่า " กุศลกรรมบถ "  เป็น " อกุศลกรรมบถ "  ที่คำว่า " ขอกล่าวถึงกุศลกรรมบถ ฯ "



#40 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 23:23

คุณ akincana

 

กรณีนี้ ถ้าเราอ่านตามเนื้อหา แล้วมันจะรู้สึกคลางแครงใจว่า ทำไมคนหนึ่งทำแต่ไม่สำเร็จ

ไปปรับอาบัติทุกกฏ หรือคิดลักทรัพย์เขาทำไมแค่อาบัติทุกกฎ น่าจะปาราชิก ขณะที่อีกคนหนึ่ง

ทำแล้วสำเร็จแล้ว กลับไม่ต้องอาบัติ ไปปล่อยกวางของเขาดื้อ ๆ ก็ผิดอยู่แล้ว ทำไมไม่ผิด

ถ้าปล่อยกวางไปแล้วไม่ผิด แล้วไม่คิดว่าพรานจะเดือดร้อนหรือทำให้คนอื่นเดือดร้อนไม่ผิดหรือ

 

พระทั้งสององค์นี้ไปถามพระพุทธเจ้าเรื่องวินัย หรือกฎกติกาของพระว่าที่ทำไปนั้นผิดหรือไม่

เข้าใจว่ายุคนั้นยังไม่มีการเขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร จึงต้องไปถาม พระพุทธเจ้า ซึ่ง

พระพุทธเจ้าก็ถามถึงเจตนาก่อนเลย ว่าที่ทำไปนั้นคิดอย่างไร เมื่อองค์หนึ่งมีเจตนาทุจริต ก็

บอกว่าอาบัติทุกกฎ อีกองค์หนึ่งมีเจตนาสุจริต ก็ไม่อาบัติ

 

สองกรณีนี้ผมมองว่าเขายกมาเทียบเคียงกันเพื่อจะบอกว่า ธรรม ในศาสนาพุทธ เน้นที่ เจตนา

เป็นหลักครับ การกระทำทุกอย่างอยู่ที่เจตนา แต่ถ้าทำไปแล้วผิด โทษตามกฎกติกาจะหนักเบา

แค่ไหน อันนี้ไม่ทราบจริง ๆ ครับ รายละเอียดที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้อาจมีมากกว่านี้ แต่เขาอาจ

ค้นคว้ามาได้แค่นี้ หรือตัดรายละเอียดออกไป เพราะต้องการเน้นแค่เรื่อง เจตนา เราก็ไม่รู้ได้

ผมถึงยกเอาเรื่อง บาป บุญ มาด้วย เพราะมองว่า สองกรณีนี้ น่าจะบาปทั้งคู่ แม้กรณีหนึ่ง

จะอาบัติ และอีกกรณีหนึ่งไม่อาบัติ

ผมคิดว่าคำตอบของคุณ Blue ตรงกับสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในคาถาธรรมบทว่า "ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า"

เพราะท้ายที่สุดแล้ว เจตนาหรือกรรมทางใจก็ต้องเป็นหัวใจหลักของธรรม

ขอให้เจริญในธรรมครับ

:)



#41 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 23:27

 

ผมก็เชื่อเรื่องกรรม

ผมเคยอ่านพระไตรปิฎกแล้วพบเรื่องบางอย่างที่น่าสนใจ

อยากนำมาให้ช่วยกันวินิจฉัยครับ

 

(1) พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยมันไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่

เพราะโดยรูปแบบแล้วก็คือทำให้นายพรานเสียทรัพย์ (กวางที่ติดกับดักแล้วต้องถือว่าเป็นทรัพย์ของนายพราน)

(**วินัยสงฆ์ระบุว่า ถ้าขโมยหรือทำให้ทรัพย์สินคนอื่นเสียหายตั้งแต่ 5 มาสกขึ้นไป จะถูกปรับปาราชิก)

ท่านจึงไปถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ซักว่าตอนปล่อยคิดอย่างไร

ท่านตอบว่าสงสาร พระพุทธเจ้าเลยวินิจฉัยว่าไม่ต้องอาบัติใดๆ ทั้งสิ้น

 

(2) บ่ายวันหนึ่ง พระ ข. เห็นบาตรของพระ ค. สวย อยากได้ เลยตั้งใจว่าคืนนี้จะแอบไปขโมย

แต่ตอนขโมยดันทะลึ่งหยิบบาตรของตัวเองไป (เข้าใจว่าบาตรของพระทั้งสองคงวางใกล้กัน แล้วมันมืด)

พระ ข. สงสัยว่าอย่างนี้เป็นอาบัติหรือไม่ เลยไปถามพระพุทธเจ้า

พอพระพุทธเจ้าไล่เลียงแล้วก็วินิจฉัยว่าไม่ปาราชิก แต่อาบัติทุกกฏ (ความผิดสถานเบา)

 

ข้อสังเกตคือ ถ้าเอาสองเคสนี้มาเทียบก็จะเห็นว่ามีความลักลั่นกัน

เคส (1) เจตนาดี แต่คนอื่นเสียหาย

เคส (2) เจตนาร้าย แต่คนอื่นไม่เสียหาย

ถ้าสมมติให้คะแนนว่า

เคส (1) เจตนาดี +1 ผลเสีย -1 = 0

เคส (2) เจตนาร้าย -1 ไม่มีผลเสีย +1 = 0

ทั้งสองเคสจะคะแนนเท่ากัน แต่ทำไมเคส (1) ไม่ผิด

อย่างน้อยก็น่าจะปรับอาบัติทุกกฏเหมือนกัน ในฐานะชดเชยค่าเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์

 

ผมเองก็ตอบไม่ได้ หรืออาจจะเข้าใจอะไรผิดไปก็ได้

ใครอ่านแล้วมีความเห็นอย่างไรช่วยกันวินิจฉัยด้วยครับ

 

ขอร่วมวงสนทนาด้วย   ผิดถูกไม่ว่ากันนะครับ....

กรรมนั้นเกิดได้สามทางคือ  ทางกาย , ทางวาจา  และทางใจ (การทวาร , วจีทวาร , มโนทวาร )

กรรมดีก็ดี   กรรมชั่วก็ดี  จะเรียกว่าเป็นกรรมก็ต้องประกอบด้วยความจงใจ ( มโนสัญเจตนา )

ที่พูดกันว่า  “ ใจเป็นนาย กายเป็นบ่าว “ คือใจสั่งกายและวาจาโดยเจตนา

กรรมดีเรียกว่า “ กุศลกรรม “ ก็ได้  กรรมชั่วเรียกว่า  “ อกุศลกรรม “ ก็ได้

จะจัดกรรมว่าเป็นกรรมดีกรรมชั่ว ( กุศลกรรมหรืออกุศลกรรม ) นั้นต้องดำเนินไป

จนครบกระบวนธรรมที่เรียกว่า  “ กรรมบถ “   ( คัลลองหรือทางแห่งกรรม )

กรรมบถฝ่ายดีเรียกว่า “ กุศลกรรมบถ “  กรรมบถฝ่ายชั่วเรียกว่า “ อกุศลกรรมบถ “

ขอกล่าวถึงกุศลกรรมบถก่อน     กุศลกรรมบถมี ๑๐  คือ...

  ๑.  ปาณาติบาต    ๒.  อทินนาทาน   ๓.  กาเมสุมิจฉาจาร   ( เกิดทางกาย )

  ๔.  มุสาวาท   ๕. ผรุสวาจา   ๖.  ปิสุณวาจา   ๗. สัมผัปปลาป  (เกิดทางวาจา )

   ๘.  อภิชฌา     ๙.  พยาบาท       ๑๐.  มิจฉาทิฏฐิ                 (  เกิดทางใจ )

อกุศลกรรมบถแต่ละอย่างนั้นต้องมีองค์ประกอบครบถ้วนจึงจะจัดเป็นกรรมบถนั้นๆได้

ขอกล่าวถึงอกุศลกรรมบถเพียงสองอย่างนะครับ คือ ปาณาติบาต  และอทินนาทาน

เพราะจะนำมาพิจารณาสองกรณีนี้ และใช้พิจารณาถึงอาบัติของพระด้วย    

  ปาณาติบาตมีองค์ประกอบที่จะทำให้เป็นอกุศลกรรมบถ  ๕  องค์  คือ..

 ๑. ปาโณ  ( สัตว์มีชีวิต )    ๒. ปาณสัญญิตา  ( ความเป็นผู้รู้ว่าสัตว์มีชีวิต )

 ๓.  วธกเจตนา ( เจตนาคิดจะฆ่า )   ๔.  อุปักกโม ( ลงมือฆ่าด้วยความพยายาม )

 ๕.  เตนะ มรณัง  ( สัตว์ตายด้วยความพยายามลงมือนั้น )

อทินนาทานมีองค์ประกอบที่จะทำให้เป็นอกุศลกรรมบถ  ๕ องค์เหมือนกัน คือ..

  ๑. ปรปริคคหิตัง ( วัตถุมีเจ้าของหวง )   ๒.  ปรปริคคหิตสัญญิตา ( รู้ว่าวัตถุนั้นมีเจ้าของ)

  ๓.  เถยยจิต ( มีความคิดที่จะลัก )    ๔.  อุปักกโม ( ลงมือลักวัตถุนั้น )

   ๕.  เตนะ  หรณัง  ( ลักวัตถุนั้นมาได้สำเร็จ ) 

อย่าเพิ่งเบื่อนะครับ เพราะเราต้องตั้งองค์ประกอบเหล่านี้ไว้เป็นหลักเพื่อพิจารณา

กรณีที่ ๑  พระ ก. เข้าไปในป่าแล้วเจอกวางติดกับดักของนายพราน ท่านสงสารก็เลยปล่อยไป

พอปล่อยแล้วท่านก็สงสัยว่าการกระทำของท่านจะเป็นอาบัติปาราชิกหรือไม่ ?

กวางตัวนั้นโดยสมมติทางโลกว่าเป็นสมบัติของนายพราน  แต่โดยสัจจะแท้จริงแล้วไม่ใช่

เพราะไม่มีใครเป็นเจ้าของชีวิตใครได้  เราเองยังไม่ใช่เจ้าของชีวิตของเราเลย

มีแต่กระบวนธรรมที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย   แต่เมื่อถือว่ากวางที่ติดบ่วงเป็นของนายพราน

ก็มาพิจารณาถึงองค์ประกอบของอทินนาทานข้อที่ ๓   คือจิตคิดจะลักมาเป็นของตน

พระท่านไม่มีไถยยจิต ท่านปล่อยกวางไปเพราะกรุณาธรรม ไม่ได้คิดจะครอบครองกวาง

อกุศลกรรมบถว่าด้วยอทินนาทานจึงไม่ครบองค์ประกอบ  พระท่านจึงไม่ต้องอาบัติปาราชิก

พิจารณากันตรงๆตามนี้ล่ะครับง่ายๆ ส่วนจะมีผลที่เกิดจากการกระทำของท่านขอไม่กล่าวถึง

เพราะมันมีเหตุปัจจัยที่เป็นตัวแปรได้หลายอย่าง    แต่ขอเล่าเรื่องๆหนึ่งนะครับ....

   ครั้งหนึ่งเจ้าชายเทวทัตใช้ธนูยิงนกตัวหนึ่งที่บินอยู่ตกลงมา นกนั้นตกลงเบื้องพระพักต์เจ้าชาย

สิทธัตถะๆทรงเก็บนกตัวนั้นไปรักษาบาดแผลและทรงดำริจะปล่อยไป  เจ้าชายเทวทัตมาทวงถาม

โดยอ้างว่ายิงนกได้นกนั้นต้องเป็นของตน   เจ้าชายสิทธัตถะทรงปฏิเสธไม่ให้นกแก่เจ้าชายเทวทัต

ทรงให้เหตุผลว่า เจ้าชายเทวทัตเป็นผู้ทำลายชีวิต แต่พระองค์เป็นผู้ช่วยชีวิต  เจ้าชายเทวทัตจึง-

ไม่มีสิทธิ์ในชีวิตนกนั้น  พระองค์ต่างหากที่มีสิทธิ์เพราะทรงให้ชีวิตมัน....

  กรณีที่ ๒ พระมีไถยยจิตคิดจะลักบาตรของเพื่อนภิกษุ เกิดอภิชฌาคือความโลภอยากได้ในใจ

จัดเป็นอกุศลกรรมบถทางมโนทวารแล้ว  ครั้นพอลงมือลักด้วยความพยายาม และลักสำเร็จด้วย

แต่เป็นการลักบาตรผิดใบ คือบาตรของตนเองซึ่งไม่ใช่วัตถุที่ผู้อื่นหวง จึงขาดองค์ประกอบแรก

  ( ปรปริคคหิต = วัตถุที่เป็นของผู้อื่นและผู้อื่นหวงไม่ให้ )  พระรูปนี้ยังไม่ต้องอาบัติปาราชิก

แต่ก็เกิดโทษทั้งทางกายวาจาใจแล้ว  กายลงมือลักแต่โทษไม่ถึงอันติมะวัตถุเพราะไม่ใช่ของผู้อื่น

วาจาเป็นวจีทุจจริตเพราะด่าที่ลักบาตรมาผิดใบ  แต่ทั้งหมดก็มาจากมโนทุจริตคือความโลภ...

 พระพุทธเจ้าทรงตัดสินชอบธรรมแล้วครับ  ขอแสดงความความคิดเห็นเพียงเท่านี้ก่อนครับ....    

 

"เจ้าชายเทวทัตเป็นผู้ทำลายชีวิต แต่พระองค์เป็นผู้ช่วยชีวิต  เจ้าชายเทวทัตจึง-

ไม่มีสิทธิ์ในชีวิตนกนั้น  พระองค์ต่างหากที่มีสิทธิ์เพราะทรงให้ชีวิตมัน...."

 

ผมชอบตรงนี้ครับ



#42 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 23:28

อ่านมู้นี้แล้วรู้สึกว่าความรู้ทางธรรมเรากลายเป็นเด็กอนุบาลหนึ่งเลยวุ้ย

:D :D



#43 คลำปม

คลำปม

    สลิ่มเต็มขั้นจ้า

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,657 posts

ตอบ 26 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 03:28

กลับมาอ่านกระทู้นี้อีกรอบถึงเห็นเรื่องกวางครับ

 

 

อ่านความเห็นเพื่อนสมาชิกแล้วก็อยากมีความเห็นเสริมดังนี้ครับ

 

คำตัดสินของพระพุทธเจ้า  เป็นคำตัดสินทางธรรม 

 

ในโลกของธรรม เจตนาเป็นใหญ่ครับ

 

จะต้องอาบัติปาราชิกหรือไม่นั้นเกิดจากใจเป็นตัวตั้งครับ  เมื่อมิได้คิดลักขโมย  จึงมิได้ปาราชิกฐานลักขโมย

 

แต่ถ้าใจมุ่งขโมย  แม้นขโมยไม่สำเร็จก็ถือว่าอาบัติ

 

 

การตัดสินนี้ถูกต้องในทางธรรมทุกประการ  แม้นในทางโลกก็นำมาปรับใช้มากมาย

 

ยกตัวอย่างการจ้างวานฆ่า  ถึงยังกระทำการไม่สำเร็จแต่ก็มีความผิดตามกฎหมายครับ

 

 

ทว่าในส่วนที่ไม่เป็นเจตนาแต่ส่งผลเสียหาย

 

เช่นปล่อยกวางทั้งที่เป็นทรัพย์ของคนอื่น  ในทางธรรมถือเป็นความเมตตา

 

แต่ในทางโลกก็ต้องชดใช้ครับ

 

เช่นหากนายพรานโกรธ มาทำร้ายในภายหลังก็ถือว่าเป็นผลกรรมสืบเนื่องกันไป

 

 

กรรมที่เรากระทำไม่ว่าจะส่งผลดีหรือร้ายล้วนมีผลสืบเนื่องทั้งสิ้นครับ 

 

มันเป็นความซับซ้อนของกรรม  ซึ่งเรามนุษย์ปุถุชนไม่อาจหยั่งคำนวนได้

 

 

ผมยกตัวอย่างนะครับ

  

 

- สมมุติเราปล่อยนก  แล้วนกไปวางไข่ใกล้หน้าต่างบ้านหลังหนึ่ง

 

งูจะไปกินไข่  ปรากฎว่าเลื้อยเลยเข้าไปในบ้านฉกคนตาย  อย่างนี้เราผิดหรือไม่?

 

รู้กันเลยใช่ไหมครับว่าไม่ผิด  เพราะเรื่องมันเกินกว่าที่เราจะเล็งเห็นผลได้

 

 

อีกตัวอย่างครับ

 

- สมมุติเราให้อาหารช้างตัวนึงบ่อยๆ  (เป็นช้างป่าครับเรียกเป็นตัว)

 

เขาจำเราได้ก็มารับอาหารจากเราบ่อยๆ  แต่แล้วเราป่วยไม่ได้มาให้อาหาร

 

ช้างสงสัยออกตามหาบุกเข้ามาในเรือกสวนไร่นา  ชาวบ้านเสียหายรวมตัวกันสู้กับช้าง

 

สุดท้ายช้างถูกฆ่าตาย  ชาวบ้านทั้งบาดเจ็บและเสียชีวิต  แบบนี้เราบาปไหมครับ?

 

เริ่มตอบยากแล้วใช่ไหมครับ? 

 

กรรมมันเป็นเรื่องซับซ้อนครับ  ทำดีได้ผลร้ายก็ได้  ทำร้ายได้ผลดีก็มี

 

แต่พระพุทธเจ้าท่านให้เพ่งโทษเฉพาะ "เจตนา" เพราะในทางธรรมเจตนาเป็นหลักใหญ่ครับ

 

ทว่าผลสืบเนื่องมาอย่างไรก็ต้องรับผลนั้นทั้งในทางโลกและทางธรรมเช่นกัน

 

 

นายกปูไม่มีความสามารถพอ  แต่อาสามาเป็นนายกฯแล้วบ้านเมืองเสียหาย  เธอผิดไหม?

 

ในทางธรรม  ก็ต้องมองไปที่ใจเธอเองว่ามีเจตนาเช่นไร  เธอทำหน้าที่ด้วยความสุจริต 

 

ประเมินความสามารถของตัวเองกับหน้าที่ได้เหมาะสมหรือไม่?  เธอด้อยสติปัญญาจริงไหม?

 

จิตใจเธอเครื่องชี้เองครับว่าเธอทำดีหรือทำชั่ว

 

 

แต่ผลเสียหายเกิดขึ้นมากมาย  เธอก็ต้องรับผลในทางโลก

 

ยิ่งมีผู้สนับสนุนเธอออกมากล่าวหาองค์กรตรวจสอบด้วยท่าทีผิดกฎหมาย 

 

เธอกลับไม่คิดออกมาห้ามปราม  ทำเป็นไม่รู้

 

สาธุชนมองเห็นก็ย่อมรังเกียจชิงชังพฤติกรรมของเธอ  ผมจึงเห็นว่านายกฯปูก่อแต่กรรมชั่วมากมายเกินไปครับ

 

มากจนความอดทนต่อผู้คนที่ให้โอกาสเธอถึงขีดสุด   รับกับพฤติกรรมแบบนี้ไม่ได้อีกต่อไป

 

จะมองว่าเธอทำดีต่อมิตรประเทศ  ทำให้ตลาดข้าวโลกเปลี่ยนแปลง 

 

เวียดนามกับอินเดีย  ขายข้าวได้เพิ่มขึ้น  เกษตรกร 2 ประเทศนี้อยู่ดีกินดีขึ้นมีความสุขมากมาย

 

เป็นความเมตตาดีกว่าปล่อยกวางตั้งร้อยตั้งพัน

 

ท่านใดจะมองแบบนั้นก็มองได้ครับ  แต่ผมเห็นว่าไม่ใช่เจตนา  เป็นความด้อยสามารถของนายกฯเสียมากกว่า

 

ชาวนาเราต้องฆ่าตัวตายนับสิบ  เซ่นนโยบายที่มุ่งเพียงคะแนนนิยมของเธอ

 

แต่เราๆท่านๆหรือใครจะมองถูก-ผิด 

 

ใครจะรู้ครับถ้าไม่ได้ปฏิบัติธรรมมากพอจนดวงตาเห็นธรรม  พ้นจากนิวรณ์ และไร้อคติอย่างแท้จริง

 

 

ดังนั้นในเรื่องการเมืองผมไม่รู้เจตนาใคร  ผมจึงมุ่งมองที่ผลทางโลกครับ

 

เพราะเมื่อผลกระทบเป็นวงกว้าง  เกิดแก่ประชาชนทุกหมู่เหล่า

 

ก็คงไม่มาถามถึงเจตนาเฉพาะตนหรอกครับ  ดูจากผลเลยจะง่ายกว่าสำหรับผม

 

 

(ยกตัวอย่างเช่น  ถ้ามีนักการเมืองปฏิบัติดี  แต่ไร้ความสามารถผมก็ไม่เลือก

เพราะผมเลือกมาบริหารประเทศไม่ได้เลือกมาปฏิบัติธรรมครับ)


วิธีการยุติระบอบทักษิณ

ก็แค่เพียงทำให้คนไทยส่วนใหญ่ "ฉลาด"


#44 blue

blue

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,979 posts

ตอบ 26 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 10:51

ขออนุญาต นำมาเสริมท่าน คลำปม และ เพื่อให้ท่าน จขกท สบายใจว่า ท่านไม่ได้

งมงายหรอกครับในเรื่อง กรรม เพราะมีแน่นอน เพียงแต่เราไม่รู้ว่าสิ่งที่เราเห็น มันใช่

หรือเปล่า เพราะภูมิปัญญาเรายังไม่ถึง ส่วนใหญ่เราก็เลยใช้จินตนาการกันเอาเอง เพราะ

บางทีจินตนาการไปแล้วมันทำให้เรารู้สึกดี รู้สึกสบายใจ รู้สึกว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว

มันเป็นจริง

 

ผมนำที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ในทุจริตวรรค มาฝากให้พิจารณา และเป็นการเสริมที่ท่าน

คลำปมยกตัวอย่างมาให้ดู เพราะดูแล้วเหมือนจะเข้ากันได้ดี ซึ่งก็คงแล้วแต่

ว่าแต่ละท่านจะนำไปพิจารณานะครับ

 

ทุจริตวรรค

 

ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนพาลผู้ประกอบด้วยธรรม 4 ประการ เป็นผู้ไม่ฉลาด เป็นอสัปบุรุษ

ย่อมบริหารตนให้ถูกขจัด ถูกทำลาย เป็นคนมีโทษ วิญญููชนติเตียน และย่อมประสบ กรรม

มิใช่บุญเป็นอันมาก

ธรรม 4 ประการเป็นไฉน คือ กายทุจริต 1 วจีทุจริต 1 มโนทุจริต 1 มิจฉาทิฐิ 1

 

ผมมองว่าที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ นี้  มีคนบางคนเข้าสเปค และกำลังรับผลอยู่นะครับ

 

อีกอันหนึ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ใน นิรยสูตร ผมว่าน่าสนใจมาก อ่านแล้วรู้สึกสบายใจ

 

ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม 4 ประการ ย่อมเกิดใน นรก เหมือนถูกนำมาโยนลง

ธรรม 4 ประการเป็นไฉน คือ เป็นผู้ฆ่าสัตว์ 1 ลักทรัพย์ 1 ประพฤติผิดในกาม 1 พูดเท็จ 1

ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม 4 ประการนี้แล ย่อมเกิดในนรกเหมือนถูกนำมาโยนลง

 

อันนี้ผมชอบมาก เพราะรู้สึกว่า โดนโยนลงนรกยกแก๊งเลย ปัญหาก็คือ เราจะจินตนาการ นรก เป็น

อย่างไร อย่างกระทู้ของท่าน จขกท นั่นแหละครับ



#45 akincana

akincana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 255 posts

ตอบ 26 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 14:29

ผมโดน warning points ได้ไงเนี่ย

spamming คืออะไรเหรอครับ :(






ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน