สำหรับผมคิดว่า...
หมาจนตรอก มันทำได้ทุกอย่างนั่นแหล่ะ...
หรือเพื่อนๆ ว่าไง?
Posted 8 May 2014 - 17:10
เป็ด น่าจะรู้อะไรมา ถ้าขืนอยู่ต่อ ... ติดคุกแน่
ชิงลาออกซะ...เข้าตำรา หมาตายเห็บหมัดก็หนีกระเจิง
Posted 8 May 2014 - 17:13
ผมฝันไปว่า คุณ ถวิล เป็น ผอ.ศอ.สร คนใหม่
Posted 8 May 2014 - 17:15
ผมฝันไปว่า คุณ ถวิล เป็น ผอ.ศอ.สร คนใหม่
แกคงไม่ไปเป็น ผอ.ศูนย์เถือนหรอก
Posted 8 May 2014 - 17:32
เป็ด น่าจะรู้อะไรมา ถ้าขืนอยู่ต่อ ... ติดคุกแน่
ชิงลาออกซะ...เข้าตำรา หมาตายเห็บหมัดก็หนีกระเจิง
เป็ดเอ๋ย จำไว้นะ.....
น.ร.ก.ยิ่งลักษณ์ให้ปากคำกับศาลรัฐธรรมนูญว่า รมต.กฤษณา รมต.ประจำสำนักนายกฯเป็นผู้สั่งโอนย้าย....
และรองนายกฯ โกวิท ร่วมดำเนินการ....
ดังนั้น ต้องเอาผิดกับ รมต.และ รองนายกฯ.......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...
Posted 8 May 2014 - 17:40
เหลิมจะออก แต่ปึ้งไม่ให้ออกหรือยังไงกันครับ
“ศอ.รส.” แถลง “เฉลิม” ยังไม่พ้นตำแหน่งผอ. แจง ถูกศร. ตัดสินในขณะเป็นรองนายกฯ ยันไม่ได้ออกแถลงการณ์กดดันศาล
เมื่อวันที่ 8 พ.ค. เวลา 16.00น. ที่บช.ปส. น.ส.สิริมา สุนาวิน คณะทำงานศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) แถลงภายหลังการประชุมศอ.รส. ว่า จากการที่ศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัย เมื่อวันที่ 7 พ.ค. กรณีโยกย้ายนายถวิล เปลี่ยนศรี พ้นเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ และได้วินิจฉัยให้ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง และยังได้วินิจฉัยให้ความเป็นรัฐมนตรีของรัฐมนตรีที่มีส่วนร่วมในการลงมติในคราวนั้น ต้องสิ้นสุดไปด้วยนั้น ในวันนี้(8พ.ค.) ที่ประชุม ศอ.รส. ได้ร่วมกันพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ ศอ.รส. ดังนี้ 1.เกี่ยวกับสถานภาพของ ศอ.รส. ที่ประชุม มีความเห็นว่า ศอ.รส. เป็นหน่วยงานพิเศษที่จัดตั้งขึ้นตามพ.ร.บ.ความมั่นคง ดังนั้นคำวินิจฉัยดังกล่าวของศาลรัฐธรรมนูญจึงไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ ศอ.รส. แต่อย่างใด
2.สถานภาพของ ร.ต.อ. เฉลิม อยู่บำรุง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในฐานะผู้อำนวยการ ศอ.รส. ที่ประชุม ศอ.รส. มีความเห็นว่า การดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ ศอ.รส. ของร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ไม่ได้สิ้นสุดหรือพ้นไปจากผลแห่งคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เนื่องจากการที่ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยให้ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงกรณีกระทำการต้องห้ามตามมาตรา 182 (7) แห่งรัฐธรรมนูญ ย่อมต้องหมายถึงความเป็นรัฐมนตรีในขณะที่ได้ร่วมพิจารณาและมีมติในการประชุมรัฐมนตรีครั้งนั้นๆ แต่ข้อเท็จจริงปรากฏว่า ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง ในขณะนั้นดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ซึ่งต่อมาได้มีการโปรดเกล้าฯ ให้พ้นจากตำแหน่งดังกล่าวแล้ว ฉะนั้นการดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานในภายหลังจนถึงปัจจุบันจึงเป็นการดำรงตำแหน่งที่มิได้เกี่ยวข้องกับการพิจารณาและมีมติในการประชุมคณะรัฐมนตรีครั้งดังกล่าว จึงไม่น่าเป็นเหตุที่ทำให้ความเป็นรัฐมนตรีในตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานต้องสิ้นสุดลงอีก
กรณีดังกล่าวย่อมเป็นผลเช่นเดียวกันกับนายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รองนายกรัฐมนตรี ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานที่ปรึกษา ศอ.รส. ก็ย่อมพ้นไปเฉพาะตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเพียงตำแหน่งเดียว แต่ตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีซึ่งได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งภายหลังอีกตำแหน่งหนึ่ง จึงหาพ้นไปตามผลแห่งคำวินิจฉัยของศาลรัฐมนธรรมนูญแต่อย่างใด
Posted 8 May 2014 - 18:17
ปัญหาอยู่ที่ว่า ข้าราชการจะรับคำสั่งของนักการเมืองที่ถูกสั่งให้พ้นจากตำแหน่งหรือเปล่าครับ
" จุดเริ่มของการรัฐประหาร 22 พ.ค. 2557 หลังจากรัฐบาลเพื่อไทยได้บริหารประเทศล้มเหลวมาตลอด 2 ปีเศษ มีการทุจริตคอรัปชั่นมากมาย มีการนำพรบ.นิรโทษกรรมมาอนุมัติผ่านสภาฯเพื่อช่วยเหลือ น.ช. ทักษิณ ทำให้มวลมหาประชาชนลุกขึ้นประท้วงต่อต้าน แม้จนกระทั่ง ศาลรัฐธรรมนูญและปปช. ได้ตัดสินและชี้มูลความผิดจนต้องพ้นออกจากตำแหน่งแล้วก็ตาม ทำให้ประเทศชาติต้องหยุดนิ่ง สุดท้ายเมื่อ พลเอก ประยุทธ ผบ.ทบ.ได้เรียกทุกฝ่ายเข้ามาคุยเพื่อหาทางออกแล้ว โดยขอให้ ครม.ที่ยังคงเหลือลาออกเพื่อตั้งนายกฯเพื่อการปฎิรูปประเทศ แต่ไร้ซึ่งการตอบสนองและการเสียสละ ทำให้พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา จำเป็นต้องประกาศยึดอำนาจ "
Posted 8 May 2014 - 18:18
เหลิมจะออก แต่ปึ้งไม่ให้ออกหรือยังไงกันครับ
“ศอ.รส.” แถลง “เฉลิม” ยังไม่พ้นตำแหน่งผอ. แจง ถูกศร. ตัดสินในขณะเป็นรองนายกฯ ยันไม่ได้ออกแถลงการณ์กดดันศาล
เมื่อวันที่ 8 พ.ค. เวลา 16.00น. ที่บช.ปส. น.ส.สิริมา สุนาวิน คณะทำงานศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) แถลงภายหลังการประชุมศอ.รส. ว่า จากการที่ศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัย เมื่อวันที่ 7 พ.ค. กรณีโยกย้ายนายถวิล เปลี่ยนศรี พ้นเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ และได้วินิจฉัยให้ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง และยังได้วินิจฉัยให้ความเป็นรัฐมนตรีของรัฐมนตรีที่มีส่วนร่วมในการลงมติในคราวนั้น ต้องสิ้นสุดไปด้วยนั้น ในวันนี้(8พ.ค.) ที่ประชุม ศอ.รส. ได้ร่วมกันพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ ศอ.รส. ดังนี้ 1.เกี่ยวกับสถานภาพของ ศอ.รส. ที่ประชุม มีความเห็นว่า ศอ.รส. เป็นหน่วยงานพิเศษที่จัดตั้งขึ้นตามพ.ร.บ.ความมั่นคง ดังนั้นคำวินิจฉัยดังกล่าวของศาลรัฐธรรมนูญจึงไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ ศอ.รส. แต่อย่างใด
2.สถานภาพของ ร.ต.อ. เฉลิม อยู่บำรุง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในฐานะผู้อำนวยการ ศอ.รส. ที่ประชุม ศอ.รส. มีความเห็นว่า การดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ ศอ.รส. ของร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ไม่ได้สิ้นสุดหรือพ้นไปจากผลแห่งคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เนื่องจากการที่ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยให้ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงกรณีกระทำการต้องห้ามตามมาตรา 182 (7) แห่งรัฐธรรมนูญ ย่อมต้องหมายถึงความเป็นรัฐมนตรีในขณะที่ได้ร่วมพิจารณาและมีมติในการประชุมรัฐมนตรีครั้งนั้นๆ แต่ข้อเท็จจริงปรากฏว่า ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง ในขณะนั้นดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ซึ่งต่อมาได้มีการโปรดเกล้าฯ ให้พ้นจากตำแหน่งดังกล่าวแล้ว ฉะนั้นการดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานในภายหลังจนถึงปัจจุบันจึงเป็นการดำรงตำแหน่งที่มิได้เกี่ยวข้องกับการพิจารณาและมีมติในการประชุมคณะรัฐมนตรีครั้งดังกล่าว จึงไม่น่าเป็นเหตุที่ทำให้ความเป็นรัฐมนตรีในตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานต้องสิ้นสุดลงอีก
กรณีดังกล่าวย่อมเป็นผลเช่นเดียวกันกับนายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รองนายกรัฐมนตรี ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานที่ปรึกษา ศอ.รส. ก็ย่อมพ้นไปเฉพาะตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเพียงตำแหน่งเดียว แต่ตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีซึ่งได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งภายหลังอีกตำแหน่งหนึ่ง จึงหาพ้นไปตามผลแห่งคำวินิจฉัยของศาลรัฐมนธรรมนูญแต่อย่างใด
<a data-ipb="nomediaparse" data-cke-saved-href="http://www.bangkokbi...80995/ศอ.รส.ยัน" href="http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/politics/20140508/580995/%E0%B8%A8%E0%B8%AD.%E0%B8%A3%E0%B8%AA.%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B8%99" %e0%b9%80%e0%b8%89%e0%b8%a5%e0%b8%b4%e0%b8%a1'%e0%b8%a2%e0%b8%b1%e0%b8%87%e0%b9%84%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%9e%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b8%95%e0%b8%b3%e0%b9%81%e0%b8%ab%e0%b8%99%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b8%9c%e0%b8%ad..html"="">bangkokbiznews
ง่ายๆคือถ้าคุณยังเป็นรัฐมนตรีอยู่ยังไงก็โดนครับ ถ้าหากเอาเฉพาะครั้งนั้น ๆ แล้วถ้านายกรัฐมนตรีสิ้นสภาพตั้งแต่ครั้งนั้น ๆ แล้วใครเป็นผู้รับสนองฯในการแต่งตั้งรัฐมนตรีแรงงานครับ
Posted 8 May 2014 - 19:12
ผมว่าวันนี้กับเมื่อวานไม่เห็นนกแสกออกจากรังนะ หรือว่าหนีไปก่อนแล้ว
Posted 8 May 2014 - 19:12
ลาออกทำไมครับเป็ดเหลิม เพราะต้องหลุดโดยโครงสร้างตำแหน่งอยู่แล้ว
ส่วนใครจะทำตามคำสั่งเป็ดเหลิมก็ช่วยตัวเองนะครับ หากโดนคดีขึ้นมา
เรื่องนี้ไม่จำเป็นต้องรอผลประชุม ครม. นัดพิเศษหรอก พวกที่ประชุมย่อมตีความเข้าข้างตัวเองเสมอ แต่กฎหมายคือ กฎหมายครับ
ดูตัวอย่างนางถั่วก็แล้วกัน
Posted 8 May 2014 - 19:25
ปัญหาอยู่ที่ว่า ข้าราชการจะรับคำสั่งของนักการเมืองที่ถูกสั่งให้พ้นจากตำแหน่งหรือเปล่าครับ
อีก 1 ประเด็นร้อน ที่เหลือก็ใช่ว่าจะชอบธรรม
แล้วขรก.จะเอายังไง ถึงตราวคุณบ้างล่ะ
" รัฐธรรมนูญไม่มีมาตราใด อนุญาติให้รัฐบาลที่มาจากประชาธิปไตย โกงบ้านกินเมืองได้โดยไม่ผิดกกหมาย "
Posted 8 May 2014 - 19:31
คงเตรียมทางหนีทีไล่แล้ว
0 members, 0 guests, 0 anonymous users