ไม่เข้าใจเลยว่าพี่น้องเสื้อแดงจะโวยวายเรื่องปฎิวัติไปทำไม ปฎิวัติไม่ดียังงั้นยังงี้ เลวยังงั้นยังงี้
ก็ในเมื่อพ่อมึง ปรีดี ที่รักนักรักหนา เริ่มต้นก็มาจากปฏิวัติ แล้วจะมาบ่นอะไรตอนนี้ ไม่เข้าใจเลยยยยยยยย
ไม่เห็นต่างกัน
ตอบ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 17:41
ไม่เข้าใจเลยว่าพี่น้องเสื้อแดงจะโวยวายเรื่องปฎิวัติไปทำไม ปฎิวัติไม่ดียังงั้นยังงี้ เลวยังงั้นยังงี้
ก็ในเมื่อพ่อมึง ปรีดี ที่รักนักรักหนา เริ่มต้นก็มาจากปฏิวัติ แล้วจะมาบ่นอะไรตอนนี้ ไม่เข้าใจเลยยยยยยยย
ไม่เห็นต่างกัน
รักเสื้อแดง แช่งอำมาตย์ อาฆาตม๊ากนาซี ขอเชิญมาร่วมกันที่นี่เลย!!!!!!
ตอบ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 18:00
อ้าวววววววววว ????
พี่ตกข่าวเหรอครับ 400 บาท เชียวนะ
ซื้อเบียร์ ทาน เมาแอ่นเลยนะครับ
ตอบ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 18:04
ตกข่าวไรหรอครับ
รักเสื้อแดง แช่งอำมาตย์ อาฆาตม๊ากนาซี ขอเชิญมาร่วมกันที่นี่เลย!!!!!!
ตอบ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 20:46
มันไม่เอะใจหรือ ว่าที่ทักมัน อาจเป็นสายสืบ
ตอบ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 21:14
ประชาธิปไตยแดรกได้จริงๆๆๆ โครตเหง้าสักหลาดของมันเป็นเปรตมาเกิดกระมัง ถึงแดรกได้ไม่เลือก จนลืมนึกไปว่าญาติพี่น้องของมันอาจกำลังแดรกใบประทวนอยู่ก็เป็นได้ มีปัญญาเล่นไลน์ แตแม่ง ไม่มีสติหาข้อเท็จจริง เวรกรรมของประเทศไทย ที่มีพวกพยาธิ์นี้มาเกาะอาศัยอยู่
ตอบ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 21:29
กบฏวังหลวง ชื่อเรียกการกบฏที่เกิดขึ้นในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 เกิดขึ้นเมื่อ นายปรีดี พนมยงค์ นำกองกำลังส่วนหนึ่งจากประเทศจีนร่วมกับคณะนายทหารเรือ และอดีตเสรีไทยกลุ่มหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" นำกำลังยึดพระบรมมหาราชวังและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็น กองบัญชาการ (จึงเป็นที่มาของชื่อกบฏในครั้งนี้) ในเวลาประมาณ 16.00 น. เนื่องจากนายปรีดี คุ้นเคยกับสถานที่เหล่านี้มาก่อนในช่วงที่ยังมีอำนาจอยู่ โดยเรียกปฏิบัติการครั้งนี้ว่า "แผนช้างดำ-ช้างน้ำ" จากนั้นในเวลา 21.00 น. ประกาศถอดถอน รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่หลายนาย และได้ประกาศแต่งตั้ง นายดิเรก ชัยนาม ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน และแต่งตั้ง พล.ร.ท.สินธุ์ กมลนาวิน เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด โดยที่ทั้งนายดิเรกและพล.ร.ท.สินธุ์ มิได้มีส่วนรู้เห็นอันใดกับการกบฏครั้งนี้
ในส่วนของนายปรีดีที่หลบหนีออกจากประเทศไปตั้งแต่การรัฐประหารในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ได้แอบเดินทางกลับมาโดยปลอมตัวเป็นทหารเรือและติดหนวดปลอมปะปนเข้ามาพร้อมกับกลุ่มกบฏ แต่มีผู้พบเห็นและจำได้[1] ซึ่งความจริงแล้ว ทางฝ่ายรัฐบาลก็รู้ตัวก่อนล่วงหน้าว่าอาจมีเหตุเกิดขึ้นได้ เพราะ จอมพล ป.ก่อนหน้านั้นได้พูดทิ้งท้ายไว้เป็นนัยทางวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยไว้ถึง 2 ครั้ง เช่น "เลือดไทยเท่านั้น ที่จะล้างเมืองไทยให้สะอาดได้" และได้ออกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินไว้ล่วงหน้าก่อนเกิดเหตุถึง 3 วัน[2] รวมทั้งได้มีการฝึกซ้อมรบด้วยกระสุนจริงของทหารบกที่ตำบลทุ่งเชียงราก จังหวัดปทุมธานี ซึ่งหนังสือพิมพ์ได้ขนานนามการซ้อมรบครั้งนั้นว่า "การประลองยุทธ์ที่ตำบลทุ่งเชียงราก"[3]
ในระยะแรก ฝ่ายกบฏดูเหมือนจะเป็นฝ่ายได้ชัยชนะ เพราะสามารถยึดสถานที่สำคัญและจุดยุทธศาสตร์ไว้ได้หลายจุด แต่ทว่าตกค่ำของคืนวันนั้นเอง ทหารฝ่ายรัฐบาลก็ตั้งตัวติดและสามารถยึดจุดยุทธศาสตร์กลับคืนมาได้ อีกทั้งกองกำลังทหารเรือฝ่ายสนับสนุนกบฏจากฐานทัพเรือสัตหีบก็ ติดอยู่ที่ท่าน้ำบริเวณคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ เพราะน้ำลดขอดเกินกว่าปกติ แพขนานยนต์ไม่สามารถที่จะลำเลียงอาวุธและกำลังคนข้ามฟากไปได้[4] เมื่อน้ำขึ้นก็เป็นเวลาล่วงเข้ากลางคืน กองกำลังทั้งหมดมาถึงพระนครในเวลา 2 ยาม ถึงตอนนั้นฝ่ายกบฏก็เพลี่ยงพล้ำต่อรัฐบาลแล้ว
จุดที่มีการปะทะกันระหว่างทหารบกฝ่ายรัฐบาล และทหารเรือฝ่ายกบฏ เช่น ถนนวิทยุ, ถนนพระราม 4, ถนนสาทร, สี่แยกราชประสงค์ มีการยิงกระสุนข้ามหลังคาบ้านผู้คนในละแวกนั้นไปมาเป็นตับ ๆ มีผู้ได้บาดเจ็บและล้มตายมากมายกันทั้ง 2 ฝ่าย[1]
พล.ต.สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ - ยศในขณะนั้น) ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการปราบปราม มีการสู้รบกันในเขตพระนครอย่างหนักหน่วง โดย พล.ต.สฤษดิ์เป็นผู้ยิงปืนจากรถถังทำลายประตูวิเศษไชยศรีของพระบรมมหาราชวังพังทลายลง จนในที่สุด เวลาเย็นของวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ทั้ง 2 ฝ่ายก็หยุดยิง เมื่อรัฐบาลสามารถควบคุมสถานการณ์ไว้ได้และปราบปรามฝ่ายกบฏได้สำเร็จ นายปรีดี พนมยงค์ เศร้าโศกเสียใจมากกับเหตุการณ์ครั้งนี้ ถึงขนาดจะยิงตัวตาย เพราะที่ผ่านมานับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองมา ไม่เคยมีการกบฏหรือรัฐประหารครั้งไหนที่จะมีผู้บาดเจ็บล้มตายมากขนาดนี้ แต่ทว่าได้ถูกท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ภริยาห้ามไว้[4] และต้องหลบหนีออกนอกประเทศอีกครั้ง และหลังจากนั้นอีกไม่กี่วัน ได้มีการสังหารบุคคลสำคัญทางการเมืองลงหลายคน เช่น พ.ต.อ.บรรจงศักดิ์ ชีพเป็นสุข อดีตผู้บัญชาการตำรวจสันติบาลและ พ.ต.โผน อินทรทัต ผู้อำนวยการโรงงานยาสูบและอดีตเสรีไทย รวมทั้งการสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรีที่ถนนพหลโยธิน กิโลเมตรที่ 11 คือ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์, นายถวิล อุดล, นายจำลอง ดาวเรือง และนายทองเปลว ชลภูมิ ซึ่งเป็นนักการเมืองในสายของนายปรีดี พนมยงค์ เป็นต้น [2][5][3]
Edited by GuoJia, 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 21:30.
“ ...คนชั่วจะถูกปราบราบคาบสิ้น แผ่นดินเดือดสูญหายไร้ปัญหา ,
ประเทศชาติผ่านวิกฤติด้วยศรัทธา ยามเมื่อฟ้าสีทองผ่องอำไพ “
ตอบ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 21:30
อภิวัฒน์ 2475 ผมยังไม่เห็นภาพหรือคำบอกเล่าว่ามีชาวบ้านนำดอกไม้ อาหารและเครื่องดื่มแจกทหารเลย
Edited by อู๋ ฮานามิ, 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 21:31.
ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด
เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน