Jump to content


Photo
- - - - -

ฟังประธานศาลรัฐธรรมนูญชี้แจ้ง จบ ไหม มีปัญหาก็เชิญ ถอดถอน


  • Please log in to reply
57 ความเห็นในกระทู้นี้

#1 เด็กปากดี

เด็กปากดี

    I am Royalist

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,947 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 18:43

*
POPULAR

Posted Image



เมื่อวันที่ 3 มิ.ย. นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ ประธานศาลรัฐธรรมนูญ กล่าวถึงกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับ 5 คำร้องกรณีขอให้วินิจฉัยว่าร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ มีผลเป็นการยกเลิกรัฐธรรมนูญ 50 อันเป็นการกระทำเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจการปกครองประเทศ โดยวิธีการที่มิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญไว้พิจารณาวินิจฉัย ว่า ไม่ใช่เพราะมีเจตนาที่จะขัดขวางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ แต่เนื่องจากมีผู้มาร้องขอให้ศาลดำเนินการตามรัฐธรรมนูญมาตรา 68 ซึ่งศาลก็ต้องไต่สวนให้ได้ข้อเท็จจริงว่าการยกร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองฯ ตามที่มีการกล่าวหาหรือไม่ หากการให้ข้อเท็จจริงทำให้ศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่า การดำเนินการยกร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญของผู้ถูกร้อง ยังไม่มีพฤติการณ์ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ศาลก็ยกคำร้อง


“แม้ขณะนี้ยังไม่มีการยกร่างกันเป็นรายมาตรา และถ้าจะอ้างว่าผู้ที่ยกร่างก็เป็นส.ส.ร.ไม่ใช่สมาชิกรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือ พรรคการเมือง แต่คนเหล่านี้คือผู้ที่จะต้องให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญที่ส.ส.ร.เป็นผู้ยกร่าง จึงถือได้ว่าเป็นอำนาจสุดท้ายในการดำเนินการ อีกทั้งหากส.ส.ร.ทำผิดหลักการขึ้นมาจะทำกันอย่างไร ดังนั้นศาลจึงอยากที่จะรู้ว่า คนเหล่านี้ มีความคิดในเรื่องรูปแบบของการปกครองอย่างไร เช่น ถ้าบอกว่าจะไม่แตะสถาบัน แต่ทำไมถึงไม่ยกเว้นในหมวด 1 หมวด 2 ไว้ อย่างนี้มันต้องชัดเจน และต้องให้ความมั่นใจกับประชาชน และผู้ที่ร้องมา เชื่อว่าประชาชนส่วนใหญ่ก็อยากจะรู้เช่นกัน ซึ่งผู้ที่จะมาชี้แจงในชั้นไต่สวนก็เหมือนกับการให้สัญญาประชาคมกับสังคมและผู้ร้อง ว่า ถ้าหากส.ส.ร.ยกร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ออกมาไม่เป็นไปตามที่ชี้แจงในชั้นไต่สวน คนเหล่านี้ก็จะไม่ยกมือรับร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ แต่ถ้าเขาแถลงอย่างหนึ่ง แต่พอถึงเวลา กลับทำอีกอย่างหนึ่งประชาชนจะได้รู้ว่าใครโกหก ซึ่งเหมือนกับเป็นสัญญาลูกผู้ชาย สัญญาลูกผู้หญิง และเพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจว่า การแก้รัฐธรรมนูญจะไม่เลยเถิดเราต้องตรวจสอบตรงนี้ก่อน ทั้งนี้เพื่อเป็นการถ่วงดุลย์” ประธานศาลรธน. กล่าว


นายวสันต์ ยังกล่าวอีกว่า การรับพิจารณาคำร้องดังกล่าว ไม่ถือว่าศาลเข้าไปแทรกแซงฝ่ายบริหาร หรือไปแทรกแทรงฝ่ายนิติบัญญัติ แต่เป็นการดำเนินการตามที่รัฐธรรมนูญมาตรา 68 ที่ให้อำนาจเอาไว้ ถือเป็นการถ่วงดุลในการตรวจสอบ ไม่ใช่เป็นการใช้อำนาจเข้าไปก้าวล่วงไปกำกับรัฐสภา จึงควรมองในทางบวก ว่าการที่ศาลรับคำร้องและมีการไต่สวน เพื่อทำให้ลดความตรึงเครียด และความหวาดระแวงของสังคมที่มีต่อรัฐบาล และรัฐสภาลงได้ อีกทั้งเป็นผลดีทั้งรัฐบาลและรัฐสภาด้วยซ้ำที่จะได้ใช้โอกาสนี้ในการชี้แจงและสร้างความมั่นใจให้กับสังคมได้ ถ้าพวกเขาแสดงความบริสุทธิ์ใจออกมาว่าไม่มีพฤติการณ์ตามที่เขาสงสัยมาก็จบ ก็เพื่อความสบายใจของทุกฝ่าย และเรื่องนีก็ไม่เกี่ยวกับร่างพ.ร.บ.ปรองดอง ซึ่งคนละเรื่องกันอย่าเอามารวมกัน


เมื่อถามว่า ความรวดเร็วในการรับพิจารณาคำร้องดังกล่าว อีกทั้งการแก้ไขรัฐธรรมนูญยังอยู่ในชั้นของการยกร่างอาจทำให้ศาลรัฐธรรมนูญถูกมองว่า ไปรับงานใครมาหรือไม่ นายวสันต์ กล่าวว่า หมายถึง ใครถ้าหมายถึงพล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี จำได้ว่า เคยพูดกันครั้งเดียว ขนาดไปงานพระราชพิธี เจอและนั่งใกล้กันยังไม่เคยหันหน้าไปพูดกันเลย เพราะไม่ได้รู้จักกันเป็นการส่วนตัว และเห็นว่าขณะนี้ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ กำลังจะผ่านวาระ 3 ซึ่งในเนื้อหาค่อนข้างที่จะชัดเจนแล้วว่าอะไรเป็นอะไร รวมทั้งหากพ้นจากวาระ 3 ไปแล้ว ศาลรัฐธรรมนูญไม่สามารถไปดำเนินการใดๆ ได้แล้ว หรือแม้แต่เมื่อส.ส.ร.ยกร่างเสร็จแล้วเป็นร่างรัฐธรรมนูญ กฎหมายไม่ได้ให้อำนาจศาลรัฐธรรมนูญไปวินิจฉัย


“ศาลรัฐธรรมนูญจะอยู่หรือไม่ ไม่ใช่เรื่องที่เราสนใจ และไม่ใช่ประเด็นที่ผู้ร้องเขาร้องมา แต่ประเด็นอยู่ที่ก่อนการดำเนินการต่อไปต้องชัดเจนก่อนว่ามีการซ่อนรูปแบบการปกครองบางอย่างเอาไว้หรือไม่ และจะเป็นการเอามาใช้แทนรูปแบบการปกครองในปัจจุบันหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องไม่ดีหรือที่ประชาชนจะได้รับทราบพร้อมๆ กันในระหว่างที่ศาลไต่สวน ก่อนที่จะมีการแก้ไขต่อไป และอย่าลืมว่ารัฐธรรมนูญปี 50 นั้นก็ได้ผ่านการทำประชามติมา ก็ถือได้ว่ามาจากประชาชน เพราะฉะนั้นจะเป็นไรไปถ้าหากให้ประชาชนได้ทราบก่อนว่าการแก้ไขจะเป็นอย่างไรไม่ใช่หรือ ศาลไม่ได้ห้ามไม่ให้แก้รัฐธรรมนูญเสียเมื่อไหร่ ” นายวสันต์ กล่าว


ทางด้านนายบุญส่ง กุลบุปผา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กล่าวถึงกรณที่มีนักวิชาการออกมาแสดงความเห็นว่าการทำหน้าที่ของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเกินขอบเขต ใช้อำนาจก้าวก่ายฝ่ายนิติบัญญัติและการออกคำสั่งดังกล่าวนั้นเข้าลักษณะที่อาจถูกถอดถอนได้ ว่า กรณีดังกล่าวเมื่อมีผู้ร้องมาเราก็ดำเนินการพิจารณาและก่อนที่จะลงมติก็ได้มีการพิจารณากันอย่างถี่ถ้วนแล้วว่าสมควรที่จะดำเนินการเช่นนั้น จึงมีหนังสือไปยังเลขาธิการสภา แจ้งต่อประธานสภา และสมาชิก ทราบว่าศาลได้มีคำสั่งให้ชะลอการลงมติในวาระที่ 3 ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยออกมา ซึ่งคำสั่งของศาลรัฐธรรมนูญผูกพันทุกองค์กร ตุลาการฯก็ได้มีการพิจารณากันแล้วว่า การสั่งให้ชะลอการลงมติก็ไม่มีผลอะไร ที่จะก่อให้เกิดความเสียหาย ช้าหน่อย เพื่อความชัดเจนก็เห็นว่าไม่น่าจะเป็นอะไร เแต่เมื่อศาลรัฐธรรมนูญบอกไปแล้วไม่ฟังหากเกิดเรื่องขึ้นมาสภาก็ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ


“เมื่อมีคนร้องขึ้นมาว่า การแก้รัฐธรรมนูญนั้นมันผิดหลักการ เป็นการล้มล้างรัฐธรรมนูญที่มีอยู่ ซึ่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญก็ต้องมาพิจารณาว่า จริงหรือไม่ ไม่ได้เป็นการไปขั้ดขวางไม่ให้แก้รัฐธรรมนูญแต่อย่างใด เพียงแต่ต้องการอย่างทราบความชัดเจนในการดำเนินการว่าผิดหลักการตามที่ผู้ร้องร้องมาหรือไม่ หากไม่มีคนร้องศาลก็ทำไม่ได้ ดังนั้นการดำเนินการออกคำสั่งไปนั้นเป็นการใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญมาตรา 68 ซึ่งก็ได้ให้อำนาจศาลรัฐธรรมนูญไว้ชัดเจน ส่วนใครเห็นว่าเราทำเกินอำนาจหน้าที่อยากจะถอดถอนก็ไม่ได้ว่าอะไร และรัฐธรรมนูญก็ให้สิทธิ์ไว้ก็ดำเนินการไปตามขั้นตอนไป อีกทั้งที่เห็นว่าเป็นการก้าวก่ายก็เป็นเพียวความเห็นของนักวิชาการ หรือใครก็มีความเห็นได้ ไม่ได้ว่าอะไร และขอยืนยันว่าเราดำเนินการตามรัฐธรรมนูญที่ให้ไว้” นายบุญส่ง กล่าว


http://www.dailynews...politics/117854
สจฺ จํ เว อมตา วาจา คำสัตย์แลเป็นวาจาไม่ตาย

#2 Baboonga

Baboonga

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 579 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:21



#3 TH_BorderBoy

TH_BorderBoy

    สมาชิกใหม่มาก

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,484 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:29

ชัดเจน แต่เกิน 3 บรรทัดครับ


ตอนนี้พวกเสื้อแดงไม่สนใจอะไรทั้งนั้น มุ่งจะถอดถอนอย่างเดียว
เพราะธงตั้งไว้แล้ว แกนนำก็ปลุกปั่นกันเต็มที่ มุ่งสู่พรบ.ปรองดอง
คืนทุกสิ่งอย่างให้นายใหญ่ นายใหญ่ได้เงินคืน ไม่ต้องติดคุก ไม่
ต้องถูกดำเนินทุกคดี ส่วนพวกเสื้อแดงที่ตายไปญาติก็ได้รับเงิน
พวกที่ติดคุกก็จะได้ออกจากคุก เสื้อแดงทำเพื่อให้นายใหญ่ได้เสวยสุข
พร้อมจะพลีชีพเพื่อนายใหญ่ เป็นสิบ เป็นร้อย เป็นพัน เป็นหมื่น เป็นแสน
ข้าวของแค่ขึ้นราคา อย่าเรียกว่าของแพง เดี๋ยวเสื้อแดงเขาเคืองเอา

#4 promotion

promotion

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,761 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:34

สุดยอดเลยครับ

#5 อู๋ ฮานามิ

อู๋ ฮานามิ

    สมาชิกหน้าเก่า

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,018 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:40

ชัดเจน แต่เกิน 3 บรรทัดครับ


ตอนนี้พวกเสื้อแดงไม่สนใจอะไรทั้งนั้น มุ่งจะถอดถอนอย่างเดียว
เพราะธงตั้งไว้แล้ว แกนนำก็ปลุกปั่นกันเต็มที่ มุ่งสู่พรบ.ปรองดอง
คืนทุกสิ่งอย่างให้นายใหญ่ นายใหญ่ได้เงินคืน ไม่ต้องติดคุก ไม่
ต้องถูกดำเนินทุกคดี ส่วนพวกเสื้อแดงที่ตายไปญาติก็ได้รับเงิน
พวกที่ติดคุกก็จะได้ออกจากคุก เสื้อแดงทำเพื่อให้นายใหญ่ได้เสวยสุข
พร้อมจะพลีชีพเพื่อนายใหญ่ เป็นสิบ เป็นร้อย เป็นพัน เป็นหมื่น เป็นแสน


แต่เสื้อแดงไม่เคยมองว่า คนสั่งฆ่าประชาชนไม่ต้องรับโทษเพราะกฎหมายฉบับนี้
ไม่สนใจอะไรทั้งนั้นจริงๆ

Edited by อู๋ ฮานามิ, 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:41.

ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด

 

เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ


#6 PookLook

PookLook

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,769 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:45

http://www.youtube.com/watch?v=0ykKdFf8dFk&feature=share


ผมว่าอาจารย์ปิยะบุตรอธิบายชัดเจนแล้วว่า มาตรา 68 ถูกละเมิดอย่างไรในกรณีนี้ แต่เสียดายที่ประธานศาลรัฐธรรมนุญไม่ยอมชี้แจงข้อกฏหมายประเด็นนี้เลย กลับมาวอนให้ประชาชนมองในแง่ดีว่าทำแล้วลดความตึงเครียดได้ แล้วอย่างงี้จะให้ประชาชนคิดอย่างไรครับ?

Edited by PookLook, 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:47.


#7 centrino14

centrino14

    อำมาตย์ตัวพ่อ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,146 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:46


ชัดเจน แต่เกิน 3 บรรทัดครับ


ตอนนี้พวกเสื้อแดงไม่สนใจอะไรทั้งนั้น มุ่งจะถอดถอนอย่างเดียว
เพราะธงตั้งไว้แล้ว แกนนำก็ปลุกปั่นกันเต็มที่ มุ่งสู่พรบ.ปรองดอง
คืนทุกสิ่งอย่างให้นายใหญ่ นายใหญ่ได้เงินคืน ไม่ต้องติดคุก ไม่
ต้องถูกดำเนินทุกคดี ส่วนพวกเสื้อแดงที่ตายไปญาติก็ได้รับเงิน
พวกที่ติดคุกก็จะได้ออกจากคุก เสื้อแดงทำเพื่อให้นายใหญ่ได้เสวยสุข
พร้อมจะพลีชีพเพื่อนายใหญ่ เป็นสิบ เป็นร้อย เป็นพัน เป็นหมื่น เป็นแสน


แต่เสื้อแดงไม่เคยมองว่า คนสั่งฆ่าประชาชนไม่ต้องรับโทษเพราะกฎหมายฉบับนี้
ไม่สนใจอะไรทั้งนั้นจริงๆ


ก็เสื้อแดงมันรู้อยู่แล้วว่า เขาไม่ได้สั่งฆ่า ไอ้พวกที่ตายมันหน้าโง่ ไม่ยอมกลับบ้านเอง
เงินก็ได้ไปแล้ว จะเอาอะไรมากมาย สืบสวนไปมา เดี๋ยวพวกแกนนำ กับพวกเสื้อดำก็ซวย
ดีไม่ดีลากไปถึงตัวบงการอีก :D :D :D
เบื่อพวกเสื้อแดงตอแหล

#8 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:52

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว

ปัญหาอยู่ตรงประโยคนี้แหละว่า ประธานของประโยคคือ ผู้ทราบการกระทำ หรือ อัยการสูงสุด

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#9 nnnn43

nnnn43

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,771 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:53

“ศาลรัฐธรรมนูญจะอยู่หรือไม่ ไม่ใช่เรื่องที่เราสนใจ และไม่ใช่ประเด็นที่ผู้ร้องเขาร้องมา แต่ประเด็นอยู่ที่ก่อนการดำเนินการต่อไปต้องชัดเจนก่อนว่ามีการซ่อนรูปแบบการปกครองบางอย่างเอาไว้หรือไม่ และจะเป็นการเอามาใช้แทนรูปแบบการปกครองในปัจจุบันหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องไม่ดี


รูปแบบใหม่แบบนี้ป่าวครับท่าน :)

newthai1.jpg
ผู้ที่ขาดคุณธรรม ย่อมไม่มีอุดมการณ์อันยิ่งใหญ่ ผู้ที่ขาดความรู้ ย่อมไม่มีสายตาอันกว้างไกล พูดคนฉลาดหนี่งคำ พูดคนโง่ร้อยคำ

#10 kingkong059

kingkong059

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,089 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 19:57


http://www.youtube.com/watch?v=0ykKdFf8dFk&feature=share


ผมว่าอาจารย์ปิยะบุตรอธิบายชัดเจนแล้วว่า มาตรา 68 ถูกละเมิดอย่างไรในกรณีนี้ แต่เสียดายที่ประธานศาลรัฐธรรมนุญไม่ยอมชี้แจงข้อกฏหมายประเด็นนี้เลย กลับมาวอนให้ประชาชนมองในแง่ดีว่าทำแล้วลดความตึงเครียดได้ แล้วอย่างงี้จะให้ประชาชนคิดอย่างไรครับ?


อาจารที่จะล้มระบบกษัตไง จบจากฝรังเศษ ทำซาอยากรู้ว่าหัวข้อทีซีสมันคืออะไร แหมๆๆๆๆ นึกว่าจบเยล อย่ามาแหลงหว่า

#11 pream

pream

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,823 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:10


http://www.youtube.com/watch?v=0ykKdFf8dFk&feature=share


ผมว่าอาจารย์ปิยะบุตรอธิบายชัดเจนแล้วว่า มาตรา 68 ถูกละเมิดอย่างไรในกรณีนี้ แต่เสียดายที่ประธานศาลรัฐธรรมนุญไม่ยอมชี้แจงข้อกฏหมายประเด็นนี้เลย กลับมาวอนให้ประชาชนมองในแง่ดีว่าทำแล้วลดความตึงเครียดได้ แล้วอย่างงี้จะให้ประชาชนคิดอย่างไรครับ?



ตรูว่าแล้ว ว่าเอ็งต้องออกแนวนี้ ยอมรับรึยังว่าพวกเอ็งหัวคิดล้มเจ้า ???

#12 rufer

rufer

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 443 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:19

http://www.meechaith.../ver1/?module=4

ลองไปถาม มีชัย ดูไหม ?

#13 PookLook

PookLook

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,769 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:23

ผมค่อนข้างผิดหวังนะ เพราะถ้าประธานศาลออกมาชี้แจงในประเด็นที่เป็นปัญหาในข้อกฎหมายว่าศาลไม่ได้ละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญจริงๆ ผมเชื่อว่าอาจจะทำให้หลายคนเปลี่ยนใจไม่ไปลงชื่อถอดถอนได้ แต่ศาลกลับมาบอกอย่างเดียวว่าตนเองมีอำนาจทำได้ ทำถูกต้องแล้ว ถ้าไม่เชื่อก็ไปลงชื่อถอดถอนได้แบบนี้ เป็นการท้าทายประชาชนเปล่าๆ ไม่มีประโยชน์และประชาชนก็จะคิดไปเองว่าศาลผิดจึงเลี่ยงที่จะชี้แจงเรื่องนี้สิครับ :(

#14 Bourne

Bourne

    สายลับ ๆ ล่อ ๆ หัดเกรียน

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,471 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:24

ผมค่อนข้างผิดหวังนะ เพราะถ้าประธานศาลออกมาชี้แจงในประเด็นที่เป็นปัญหาในข้อกฎหมายว่าศาลไม่ได้ละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญจริงๆ ผมเชื่อว่าอาจจะทำให้หลายคนเปลี่ยนใจไม่ไปลงชื่อถอดถอนได้ แต่ศาลกลับมาบอกอย่างเดียวว่าตนเองมีอำนาจทำได้ ทำถูกต้องแล้ว ถ้าไม่เชื่อก็ไปลงชื่อถอดถอนได้แบบนี้ เป็นการท้าทายประชาชนเปล่าๆ ไม่มีประโยชน์และประชาชนก็จะคิดไปเองว่าศาลผิดจึงเลี่ยงที่จะชี้แจงเรื่องนี้สิครับ :(


ชี้แจงทำไม ชี้แจงไป มืงมีก้อนเนื้อสมองพอที่จะประมวลผลคำชี้แจงเหรอ
ภาระกิจหลักของผมบนบอร์ดเสรีไทย คือ ด่าควายครับ เรื่องคิดต่างผมรับได้ แต่เรื่องคิดชั่วผมรับไม่ไหวครัช

#15 Ixora

Ixora

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,177 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:28

...รัฐธรรมนูญปี 50 นั้นก็ได้ผ่านการทำประชามติมา ก็ถือได้ว่ามาจากประชาชน
เพราะฉะนั้นจะเป็นไรไปถ้าหากให้ประชาชนได้ทราบก่อนว่าการแก้ไขจะเป็นอย่างไรไม่ใช่หรือ
ศาลไม่ได้ห้ามไม่ให้แก้รัฐธรรมนูญเสียเมื่อไหร่...

แต่ที่ไอ้คางคกคลั่งแทบจะเป็นบ้า และลุกขึ้นมาล่ารายชื่อถอดถอนศาลคงเพราะว่า

มติศาลรัฐธรรมนูญ 7 ต่อ 1 ให้ จตุพร พรหมพันธุ์ สิ้นสภาพ ส.ส.
http://www.thairath....tent/pol/261419
...ความชอบธรรมต้องอยู่บนพื้นฐานของความเป็นธรรม...

#16 Baboonga

Baboonga

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 579 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:31

ผมค่อนข้างผิดหวังนะ เพราะถ้าประธานศาลออกมาชี้แจงในประเด็นที่เป็นปัญหาในข้อกฎหมายว่าศาลไม่ได้ละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญจริงๆ ผมเชื่อว่าอาจจะทำให้หลายคนเปลี่ยนใจไม่ไปลงชื่อถอดถอนได้ แต่ศาลกลับมาบอกอย่างเดียวว่าตนเองมีอำนาจทำได้ ทำถูกต้องแล้ว ถ้าไม่เชื่อก็ไปลงชื่อถอดถอนได้แบบนี้ เป็นการท้าทายประชาชนเปล่าๆ ไม่มีประโยชน์และประชาชนก็จะคิดไปเองว่าศาลผิดจึงเลี่ยงที่จะชี้แจงเรื่องนี้สิครับ :(


โปกครับ ฟังดีๆ ครับ ไอ้ตี๋ล้มเจ้าพูดเองว่าไปเอา วิแพ่งมาตีความ รับเรื่องวินิจฉัยได้ครับ แล้วอำนาจศาล ไอ้ตี๋ล้มเจ้าบอกว่าไม่มีเขียน แต่ในรัฐธรรมนูญมีกำหนดเปิดทางให้ใช้ได้ครับ

ฟังแล้วใช้สมองพิจารณาเยอะๆ ครับ เผื่อจะตาสว่างบ้าง

-_- -_- -_-

Edited by Baboonga, 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:31.


#17 rujikate

rujikate

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 226 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:36

ผมค่อนข้างผิดหวังนะ เพราะถ้าประธานศาลออกมาชี้แจงในประเด็นที่เป็นปัญหาในข้อกฎหมายว่าศาลไม่ได้ละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญจริงๆ ผมเชื่อว่าอาจจะทำให้หลายคนเปลี่ยนใจไม่ไปลงชื่อถอดถอนได้ แต่ศาลกลับมาบอกอย่างเดียวว่าตนเองมีอำนาจทำได้ ทำถูกต้องแล้ว ถ้าไม่เชื่อก็ไปลงชื่อถอดถอนได้แบบนี้ เป็นการท้าทายประชาชนเปล่าๆ ไม่มีประโยชน์และประชาชนก็จะคิดไปเองว่าศาลผิดจึงเลี่ยงที่จะชี้แจงเรื่องนี้สิครับ :(


ท้าทายประชาชนบ้านป้าคุณสิครับ

ปธ.ศาลก็พูดตามที่รัฐธรรมนูญกล่าวไว้ มันท้าทายประชาชนตรงไหน

เค้าทำหน้าที่ของเขา หากใครเห็นว่าเกินอำนาจ รัฐธรรมนูญก็มีบอกไว้ว่า ยื่นเรื่องตรวจสอบได้

งี้รัฐธรรมนูญก็ท้าทายประชาชนใช่ไหมครับ

สมองหนะมีไว้คิดนะครับ คิด

อย่ามีไว้กั้นไม่ให้หูชนกัน ไอ่ควายแดง

#18 nhum

nhum

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,056 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:45

มีเสียงข้างมาก ยังไงก็ผ่าน แค่ผ่านช้าลงหน่อยให้ประชาชนได้รับรู้ว่าขัดไม่ขัดประชาชนได้อะไรแต่เนี้ยะ
ทำเป็นจะเป็นจะตาย
มีไรแอบแฝงรึไง

#19 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:53


ผมค่อนข้างผิดหวังนะ เพราะถ้าประธานศาลออกมาชี้แจงในประเด็นที่เป็นปัญหาในข้อกฎหมายว่าศาลไม่ได้ละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญจริงๆ ผมเชื่อว่าอาจจะทำให้หลายคนเปลี่ยนใจไม่ไปลงชื่อถอดถอนได้ แต่ศาลกลับมาบอกอย่างเดียวว่าตนเองมีอำนาจทำได้ ทำถูกต้องแล้ว ถ้าไม่เชื่อก็ไปลงชื่อถอดถอนได้แบบนี้ เป็นการท้าทายประชาชนเปล่าๆ ไม่มีประโยชน์และประชาชนก็จะคิดไปเองว่าศาลผิดจึงเลี่ยงที่จะชี้แจงเรื่องนี้สิครับ :(


โปกครับ ฟังดีๆ ครับ ไอ้ตี๋ล้มเจ้าพูดเองว่าไปเอา วิแพ่งมาตีความ รับเรื่องวินิจฉัยได้ครับ แล้วอำนาจศาล ไอ้ตี๋ล้มเจ้าบอกว่าไม่มีเขียน แต่ในรัฐธรรมนูญมีกำหนดเปิดทางให้ใช้ได้ครับ

ฟังแล้วใช้สมองพิจารณาเยอะๆ ครับ เผื่อจะตาสว่างบ้าง

-_- -_- -_-

วิแพ่งนะมันเรื่องสั่งคุ้มครอง ส่วนเรื่องที่รับเรื่องนะมาจากการหาประธานของประโยค อันนี้ต้องไปโทษคนร่างรัฐธรรมนุญเองที่ดันเขียนว่า

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว
แทนที่จะเขียนเป็น
ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อให้อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว

ส่วนเรื่องวิแพ่ง

ในระหว่างที่ยังมิได้มีการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจออกข้อกำหนดเกี่ยวกับวิธีพิจารณาและการทำคำวินิจฉัยได้แต่ ทั้งนี้ต้องตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน หนึ่งปี นับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้

ดูท่าปิยบุตรลืมอ่านมาตรานี้กระมัง ถึงได้งงว่าทำไมถึงลากเอา วิแพ่งมาใช้ :lol: :lol: :lol:

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#20 5250401101

5250401101

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 461 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 20:59

ไอ้ตี๋ล้มเจ้า เอ็งคิดว่าความคิดของเอ็งถูกต้องคนเดียวหรือไง คนอื่นคิดเห็นต่างจากพวกเอ็งผิดหมดใช่ไหม ถามความถูกต้องที่เป็นจริงก่อน ไม่ใช่ความถูกต้องของพวกเสื้อแดง มันต่างกันไหม

#21 blue

blue

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,979 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:00

Pooklook กรณีนี้มันเป็นเรื่องของการตีความ Pooklook จะให้ศาลเขามา
เถียงกับนายปิยบุตรหรือ

มาตรา 68 บอกว่าผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุด
ตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิการ
กระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว

นายปิยบุตรตีความว่าต้องยื่นอัยการสูงสุดตรวจสอบก่อน แล้วอัยการสูงสุดยื่นต่อศาลรัฐธรรมนูญ

ผมไม่รู้หรอกว่าศาลรัฐธรรมนูญท่านตีความอย่างไร แต่ผมเองผมมองว่า ไม่จำเป็นต้องยื่นต่ออัยการ
สูงสุดก่อน คือผมมองว่าเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงนั้น น่าจะเป็นเพราะ
ผู้กระทำการอาจทำผิดอาญาด้วย ซึ่งถ้าอัยการตรวจสอบแล้วว่าผิดอาญาก็ฟ้องศาลอาญาไม่ใช่
ศาลรัฐธรรมนูญ ขณะเดียวกันผู้ร้องก็สามารถยื่นเรื่องดังกล่าวให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการ
พร้อมกันไปเลย โดยการยื่นต่อศาลรัฐธรรมนูญจะไม่กระทบกับการดำเนินคดีอาญา

ศาลรัฐธรรมนูญตีความอย่างไรผมไม่รู้ แต่นายปิยบุตรตีความได้ คนอื่นเขาก็ตีความได้ทั้งนั้นแหละ
แต่ใครจะตีความอย่างไร ศาลท่านก็เป็นผู้ใช้ดุลยพินิจของท่าน นายปิยบุตร พูดว่าผู้ร้องหาช่องตาม
มาตรา 68 นั้น Pooklook ไม่ติงนายปิยบุตรบ้างหรือว่า การแก้รัฐธรรมนุญ โดยวิธี แก้ ม 291 เพื่อ
ตั้ง สสร นั้น นายปิยบุตร เห็นว่าเป็นการแก้รัฐธรรมนูญอย่างถูกต้องได้อย่างไร แกล้งโง่ หรือโง่จริง
เพราะถ้าผมเป็นศาลรัฐธรรมนูญ ผมจะอนุญาตให้สภาทาสของ Pooklook แก้ ม 291 ได้เลย ตั้ง
สสร ได้เลย แต่ตั้งแล้วจบแค่นั้น ไม่ใช่เลยเถิดไปเลือก สสร เข้ามาแก้รัฐธรรมนูญอีก เพราะจะแก้
ม 291 มาตราเดียวก็แก้ไป แต่นี่มันไม่ใช่ มันหมกเม็ดแก้ 291 เพื่อจะไปแก้มาตราอื่น แบบนี้นายปิยบุตร
ของ Pooklook ไม่เคยท้วง ไม่เคยแย้งเลยใช่ไหม Pooklook คนดี

#22 เพลิงสีนิล

เพลิงสีนิล

    สมาชิก ชั้น 7 โฟร์ซีซั่น

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,629 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:00

มีเสียงข้างมาก ยังไงก็ผ่าน แค่ผ่านช้าลงหน่อยให้ประชาชนได้รับรู้ว่าขัดไม่ขัดประชาชนได้อะไรแต่เนี้ยะ
ทำเป็นจะเป็นจะตาย
มีไรแอบแฝงรึไง


จะเอาเสียงข้างมากลากไป ก็ทำเถอะ

แต่ ประชาชนได้ประโยชน์อะไรบ้าง

ยกข้อดีมาให้เห็นหน่อย

หวังว่าคงไม่ตอบมาแบบกลวงๆ นะ ไอ้หนู

[color=#0000ff;][font="Tahoma, sans-serif;"]เราจะรู้.....รสชาติของความสุข[/color][font="Tahoma, sans-serif;"]ก็ต่อเมื่อ     เราผ่านความทุกข์มาก่อน[/font][/font]


#23 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:02

เอาควายไปสอนหนังสือ สงสารเด็กธรรมศาสตร์รุ่นนี้จริงๆ

#24 jumpee_001

jumpee_001

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 106 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:03

ต้องดูช่อง 9 กำลังโฆษณาชวนเชื่อ
"ก้าวข้ามความล้มเหลว"

#25 nhum

nhum

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,056 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:22


มีเสียงข้างมาก ยังไงก็ผ่าน แค่ผ่านช้าลงหน่อยให้ประชาชนได้รับรู้ว่าขัดไม่ขัดประชาชนได้อะไรแต่เนี้ยะ
ทำเป็นจะเป็นจะตาย
มีไรแอบแฝงรึไง


จะเอาเสียงข้างมากลากไป ก็ทำเถอะ

แต่ ประชาชนได้ประโยชน์อะไรบ้าง

ยกข้อดีมาให้เห็นหน่อย

หวังว่าคงไม่ตอบมาแบบกลวงๆ นะ ไอ้หนู

ไม่เห็นได้อะไร นอกจากนักการเมือง

#26 nokisara

nokisara

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 669 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:27

ถ้าบอกว่าจะไม่แตะสถาบัน แต่ทำไมถึงไม่ยกเว้นในหมวด 1 หมวด 2 ไว้ อย่างนี้มันต้องชัดเจน และต้องให้ความมั่นใจกับประชาชน
เชื่อว่าประชาชนส่วนใหญ่ก็อยากจะรู้เช่นกัน ซึ่งผู้ที่จะมาชี้แจงในชั้นไต่สวนก็เหมือนกับการให้สัญญาประชาคมกับสังคมและผู้ร้อง


ตรงนี้มังที่ไอ้ตี๋ ต้องรีบออกมาดิ้น

#27 เพลิงสีนิล

เพลิงสีนิล

    สมาชิก ชั้น 7 โฟร์ซีซั่น

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,629 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:28



มีเสียงข้างมาก ยังไงก็ผ่าน แค่ผ่านช้าลงหน่อยให้ประชาชนได้รับรู้ว่าขัดไม่ขัดประชาชนได้อะไรแต่เนี้ยะ
ทำเป็นจะเป็นจะตาย
มีไรแอบแฝงรึไง


จะเอาเสียงข้างมากลากไป ก็ทำเถอะ

แต่ ประชาชนได้ประโยชน์อะไรบ้าง

ยกข้อดีมาให้เห็นหน่อย

หวังว่าคงไม่ตอบมาแบบกลวงๆ นะ ไอ้หนู

ไม่เห็นได้อะไร นอกจากนักการเมือง


นักการเมืองก็ไม่ได้ ที่ได้มีแต่นักโกงเมือง ต่างหาก อิอิ ;)

[color=#0000ff;][font="Tahoma, sans-serif;"]เราจะรู้.....รสชาติของความสุข[/color][font="Tahoma, sans-serif;"]ก็ต่อเมื่อ     เราผ่านความทุกข์มาก่อน[/font][/font]


#28 ssa

ssa

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,120 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:34

ตอนเขาร่างรัฐธรรมนูญ ปิยบุตรเรียนจบหรือยัง ?
เขายื่นโดยมี สสร.ผู้ร่างรัฐธรรมนูญลงชื่อรับรองตั้งกี่คน เด็กน้อยปิยบุตรที่เพิ่งเรียนจบรู้เรื่องหรือไม่ ?

#29 อย่าเอยนามข้า

อย่าเอยนามข้า

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 152 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:40



ผมค่อนข้างผิดหวังนะ เพราะถ้าประธานศาลออกมาชี้แจงในประเด็นที่เป็นปัญหาในข้อกฎหมายว่าศาลไม่ได้ละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญจริงๆ ผมเชื่อว่าอาจจะทำให้หลายคนเปลี่ยนใจไม่ไปลงชื่อถอดถอนได้ แต่ศาลกลับมาบอกอย่างเดียวว่าตนเองมีอำนาจทำได้ ทำถูกต้องแล้ว ถ้าไม่เชื่อก็ไปลงชื่อถอดถอนได้แบบนี้ เป็นการท้าทายประชาชนเปล่าๆ ไม่มีประโยชน์และประชาชนก็จะคิดไปเองว่าศาลผิดจึงเลี่ยงที่จะชี้แจงเรื่องนี้สิครับ :(


โปกครับ ฟังดีๆ ครับ ไอ้ตี๋ล้มเจ้าพูดเองว่าไปเอา วิแพ่งมาตีความ รับเรื่องวินิจฉัยได้ครับ แล้วอำนาจศาล ไอ้ตี๋ล้มเจ้าบอกว่าไม่มีเขียน แต่ในรัฐธรรมนูญมีกำหนดเปิดทางให้ใช้ได้ครับ

ฟังแล้วใช้สมองพิจารณาเยอะๆ ครับ เผื่อจะตาสว่างบ้าง

-_- -_- -_-

วิแพ่งนะมันเรื่องสั่งคุ้มครอง ส่วนเรื่องที่รับเรื่องนะมาจากการหาประธานของประโยค อันนี้ต้องไปโทษคนร่างรัฐธรรมนุญเองที่ดันเขียนว่า

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว
แทนที่จะเขียนเป็น
ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อให้อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว

ส่วนเรื่องวิแพ่ง

ในระหว่างที่ยังมิได้มีการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจออกข้อกำหนดเกี่ยวกับวิธีพิจารณาและการทำคำวินิจฉัยได้แต่ ทั้งนี้ต้องตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน หนึ่งปี นับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้

ดูท่าปิยบุตรลืมอ่านมาตรานี้กระมัง ถึงได้งงว่าทำไมถึงลากเอา วิแพ่งมาใช้ :lol: :lol: :lol:



เห็นด้วยมากๆค่ะคนเรียนกฎหมายจะคุ้นกับประโยคแบบนี้มากๆว่าองค์กรแต่ละองค์กรก็มีสิทธิในการออกระเบียบการทำงานของตนเองทั้งนั้น
ไม่ว่าจะหยิบยกกฎหมายสูงหรือต่ำกว่ามาใช้ และเรื่องของการตีความกฎหมายนั้น กฎหมายอาญากับแพ่งยังใช้วิธีตีความต่างกัน ต้องเป๊ะกับตัวหนังสือ+เจตนารมณ์ของกฎหมาย กับ การตีความตามเจตนาของคู่กรณี+เจตนารมณ์ของกฎหมาย การตีความเป็นคุณให้ตีความอย่างกว้างการตีความ
เป็นโทษต้องตีความอย่างแคบ
การที่จะรักษาระบอบประชาธิปไตยโดยการพิทักษ์ไว้ซึ่งรัฐธรรมนูญเป็นเรื่องสำคัญอันจะเป็นประโยนช์ต่อส่วนรวมอย่าวงมาก ทำไมต้องผ่านอัยการอย่างเดียว ขนาดเรื่องของคดีอาญายังมีการฟ้องเองได้ไม่ต้องผ่านอัยการ อันนี้เรื่องของชาติทำไมต้องให้อัยการเห็นฝ่ายเดียวว่าทำได้หรือไม่ ไม่แฟร์นะ เรื่องนี้มันน่าจะอ้างหลักของหน้าที่ในการพิทักษ์รักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยได้นะเมื่อมีคนสงสัยในจเจตนารมณ์ของร่างแก้ไขว่ามันมีปมแอบแฝงมันต้องตรวจสอบได้ดิ ในเมื่อประชาชนคือ ผู้ถืออำนาจสูงสุดในระบอบประชาธิปไตยอ่ะ เค้าไม่ได้มาเผาบ้านใครแล้วให้ยกเลิกกฎหมายซะหน่อย อีกอย่างทีบอกว่าทีตอน2549 ไม่เห็นโวยวาย หลักของศาลคือผู้ตรวจสอบไม่ใช่สืบสวนสอบสวนเหมือนฝ่ายปกครองนะที่จะได้วิ่งหาคดีมาขึ้นศาล แต่ต้องมีคนมาร้องคดีให้ศาลพิจารณา ก็ในเมื่อตอนนั้นคนเค้าเห็นว่ามันเป็นการดีที่จะยุติ(เพราะถูกไอ้บังมันหลอก)เค้าก็ไม่ร้องดิ ถ้าพวกเอ็งเห็นว่าไม่ถูกทำไมเพิ่งมาร้องว่ะเพิ่งได้ตังค์หรือไง!!! ทีสมัคร สมชาย ยิ่งลักษณ์มาเป็นนายกตาม รธน.โจรเหมือนที่พวกเอ็งว่าเอ็งยังไม่ร้องสักคำ ทั้งๆที่ เมื่อ49 เอ็งว่ามันเป็นต้นไม้พิษ อย่างนี้ไอ้การเลือกตั้งทั้งหมดมันก็เป็นพิษว่ะเพราะมันมาจากการปฏิวัติ49 อะไรเอ็งชอบเอ็งก็ว่าดี เน้อ พรบ.ปรองดองนะเค้าไม่เอาผิดคนที่เอ็งหาว่าสั่งฆ่า91ศพด้วยนะเฮ้ยเอ็งรู้หรือเปล่า เอ็งเอาผิดมาร์คไม่ได้นะถ้า พรบ.นี้ผ่านอ่ะ
อย่าถามว่าทำไมจึงรักเพราะความรักมักไม่มีเหตุผล แล้วทำไมจึงภักดีนั้นเพราะความดีของผู้นั้นมากมายและแท้จริงเหนือสิ่งอื่นใดทำไมต้องหมอบกราบคลานเข่าเพราะด้วยความเคารพรักยิ่ง ทำไมจึงห่วงแหนและเทิดทูนเพราะผู้มีความดีอันยิ่งใหญ่นั้นมีรักแท้อันเต็มไปด้วยความเสียสละแม้เหน็ดเหนื่อยมากเพียงใดไม่เคยปริปากบ่น ไม่เคยเรียกร้องให้ใครมารักนี่เป็นบารมีของผู้ยิ่งใหญ่ที่เราเทิดไว้ยิ่งชีวิต

#30 PookLook

PookLook

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,769 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:41



ไม่เคยเจอปรากฎการณ์นี้มาก่อน ประชาชนรุมขอแบบฟอร์มถอดถอนตุลาการศาลรธน. ศาลบอกว่าทำให้ลดความตึงเครียดและความหวาดระแวงของสังคมที่มีต่อรัฐบาล ผมคิดว่าอาจจะตรงกันข้ามนะครับ มันน่าจะเป็นการเพิ่มความตึงเครียดและหวาดระแวงของสังคมที่มีต่อศาลรัฐธรรมนูญมากกว่า :unsure:

#31 centrino14

centrino14

    อำมาตย์ตัวพ่อ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,146 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:42

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว
แทนที่จะเขียนเป็น
ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อให้อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว


ประธานของข้อความนี้ สามารถทำได้สองอย่างคือ เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบ และ
ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

เด็กประถมอ่านแล้วยังเข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจก็ไปอ่าน เรื่อง ประธาน กริยา กรรมใหม่นะ
ส่วนกาสรสีชาด คงไม่เข้าใจหรอก
เบื่อพวกเสื้อแดงตอแหล

#32 Baboonga

Baboonga

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 579 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:46

http://www.youtube.com/watch?v=JAEBe3XR6wI

ไม่เคยเจอปรากฎการณ์นี้มาก่อน ประชาชนรุมขอแบบฟอร์มถอดถอนตุลาการศาลรธน. ศาลบอกว่าทำให้ลดความตึงเครียดและความหวาดระแวงของสังคมที่มีต่อรัฐบาล ผมคิดว่าอาจจะตรงกันข้ามนะครับ มันน่าจะเป็นการเพิ่มความตึงเครียดและหวาดระแวงของสังคมที่มีต่อศาลรัฐธรรมนูญมากกว่า :unsure:


โปกไปเซ็นยัง เอาใบที่เซ็นแล้วมาให้ดูหน่อยสิ

#33 PookLook

PookLook

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,769 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 21:55

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว
แทนที่จะเขียนเป็น
ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อให้อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว


ประธานของข้อความนี้ สามารถทำได้สองอย่างคือ เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบ และ
ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

เด็กประถมอ่านแล้วยังเข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจก็ไปอ่าน เรื่อง ประธาน กริยา กรรมใหม่นะ
ส่วนกาสรสีชาด คงไม่เข้าใจหรอก



*** คำถามที่สอง: ศาลใช้อำนาจ “ข้ามขั้นตอน” อัยการสูงสุดหรือไม่ ? ***

รัฐธรรมนูญ มาตรา 68 วรรคสอง บัญญัติว่า


“ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว”


ศาลตีความว่า ผู้ที่จะนำคดีมาสู่ศาล จะเสนอเรื่องผ่านอัยการสูงสุดให้ยื่นคำร้องต่อศาลก็ได้ หรือ จะยื่นคำร้องเองโดยตรงต่อศาลเลยก็ได้ ดังนั้น ศาลจึงรับคำร้องได้โดยไม่ต้องรออัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อน

คำถามก็คือ การตีความที่ว่านี้ ขัดต่อทั้งถ้อยคำและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ อีกทั้งสร้างผลประหลาดตามมาหรือไม่

หากพิจารณาถ้อยคำ มาตรา 68 ว่า “มีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยการตีความของศาลทำให้เกิดปัญหาทางภาษาอย่างน้อย 2 ระดับ ระดับแรก คือ เสมือนศาลได้แทนคำว่า “และ” ด้วยคำว่า “หรือ” และระดับที่สอง คือ ศาลได้ใช้ตรรกะภาษาที่ตีความขัดกับรูปประโยค เพราะหากศาลมองคำว่า “และ” ให้แปลว่า “หรือ” ก็จะเท่ากับว่า รูปประโยคไม่ได้ให้อำนาจ “อัยการสูงสุด” เป็นผู้ยื่นคำร้องต่อศาล

หากพิจารณาในแง่เจตนารมณ์ จะเห็นว่า “อัยการสูงสุด” มีบทบาทจำเป็นในการกรองคดี เพราะศาลไม่มีทรัพยากรที่จะไปตรวจสอบหรือสืบสวนการ “ล้มล้างการปกครองฯ...” ซึ่งอาจมีข้อเท็จจริงและพฤติกรรมที่ต้องอาศัยพยานหลักฐานจำนวนมาก เห็นได้จาก คดีอื่นในทางมหาชน เช่น คดีทุจริต หรือ คดีพรรคการเมือง ก็จะมี อัยการ ป.ป.ช. หรือ กกต. เป็นผู้นำคดีมาสู่ศาล หรือ หากเป็นคดีที่ฟ้องตรงได้ต่อศาล ก็จะต้องเป็นกรณีที่วินิจฉัยข้อกฎหมายและมีข้อจำกัดในเรื่องผู้มีสิทธินำคดี มาสู่ศาล อีกทั้งป้องกันการกล่าวอ้างสารพัดมาเพื่อสร้างภาระคดีต่อศาลโดยตรง

การให้ความสำคัญกับอัยการสูงสุด ยังปรากฏหลักฐานจาก “รายงานการประชุมของสภาร่างรัฐธรรมนูญ” ครั้งที่ 27/2550 เช่น คำอภิปรายโดยนายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย ในหน้าที่ 6-8 และนายจรัญ ภักดีธนากุล (ผู้เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในเวลานี้) ในหน้าที่ 32-34 ซึ่งอภิปรายถึงการให้อัยการสูงสุดเป็นผู้นำคดีไปสู่ศาลรัฐธรรมนูญ และไม่ได้กล่าวถึงการให้สิทธิบุคคลอื่นยื่นเรื่องโดยตรงต่อศาลแต่อย่างใด ( http://bit.ly/Mg9kLY )

นอกจากนี้ การตีความของศาลก็ส่งผลประหลาด คือ ทำให้บทบาทของ “อัยการสูงสุด” ที่จะยื่นคำร้องต่อศาลนั้นไร้ความหมาย เพราะหากผู้ใดจะนำคดีไปสู่ศาล ก็ย่อมยื่นต่อศาลโดยไม่เสนอเรื่องผ่านอัยการ และหากผู้อื่นเสนอเรื่องเดียวกันให้อัยการในเวลาเดียวกัน ก็จะเกิดคำถามตามมาว่าอัยการต้องดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่อไปหรือไม่ เพราะศาลได้รับคำร้องเรื่องเดียวกันจากผู้อื่นที่ยื่นตรงต่อศาลไปแล้ว

ยิ่งไปกว่านั้น การที่ มาตรา 68 ให้ศาลมีอำนาจ “ยุบพรรคการเมือง” หรือ “ตัดสิทธิทางการเมือง” ก็คือการให้ตุลาการถ่วงดุลอำนาจของฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ โดยมี “อัยการ” เป็นกลไกในการกรองคดี แต่หากศาลตีความเพิ่มอำนาจให้ตนเองได้อย่างกว้างขวางแล้ว ก็จะเป็นช่องทางให้มีผู้ใช้ตุลาการเป็นอาวุธทางการเมือง ซึ่งก็จะกลับมาทำร้ายตุลาการในที่สุด

http://www.facebook....150931755704707



#34 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:01


ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว
แทนที่จะเขียนเป็น
ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อให้อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว


ประธานของข้อความนี้ สามารถทำได้สองอย่างคือ เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบ และ
ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

เด็กประถมอ่านแล้วยังเข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจก็ไปอ่าน เรื่อง ประธาน กริยา กรรมใหม่นะ
ส่วนกาสรสีชาด คงไม่เข้าใจหรอก



*** คำถามที่สอง: ศาลใช้อำนาจ “ข้ามขั้นตอน” อัยการสูงสุดหรือไม่ ? ***

รัฐธรรมนูญ มาตรา 68 วรรคสอง บัญญัติว่า


“ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว”


ศาลตีความว่า ผู้ที่จะนำคดีมาสู่ศาล จะเสนอเรื่องผ่านอัยการสูงสุดให้ยื่นคำร้องต่อศาลก็ได้ หรือ จะยื่นคำร้องเองโดยตรงต่อศาลเลยก็ได้ ดังนั้น ศาลจึงรับคำร้องได้โดยไม่ต้องรออัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อน

คำถามก็คือ การตีความที่ว่านี้ ขัดต่อทั้งถ้อยคำและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ อีกทั้งสร้างผลประหลาดตามมาหรือไม่

หากพิจารณาถ้อยคำ มาตรา 68 ว่า “มีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยการตีความของศาลทำให้เกิดปัญหาทางภาษาอย่างน้อย 2 ระดับ ระดับแรก คือ เสมือนศาลได้แทนคำว่า “และ” ด้วยคำว่า “หรือ” และระดับที่สอง คือ ศาลได้ใช้ตรรกะภาษาที่ตีความขัดกับรูปประโยค เพราะหากศาลมองคำว่า “และ” ให้แปลว่า “หรือ” ก็จะเท่ากับว่า รูปประโยคไม่ได้ให้อำนาจ “อัยการสูงสุด” เป็นผู้ยื่นคำร้องต่อศาล

หากพิจารณาในแง่เจตนารมณ์ จะเห็นว่า “อัยการสูงสุด” มีบทบาทจำเป็นในการกรองคดี เพราะศาลไม่มีทรัพยากรที่จะไปตรวจสอบหรือสืบสวนการ “ล้มล้างการปกครองฯ...” ซึ่งอาจมีข้อเท็จจริงและพฤติกรรมที่ต้องอาศัยพยานหลักฐานจำนวนมาก เห็นได้จาก คดีอื่นในทางมหาชน เช่น คดีทุจริต หรือ คดีพรรคการเมือง ก็จะมี อัยการ ป.ป.ช. หรือ กกต. เป็นผู้นำคดีมาสู่ศาล หรือ หากเป็นคดีที่ฟ้องตรงได้ต่อศาล ก็จะต้องเป็นกรณีที่วินิจฉัยข้อกฎหมายและมีข้อจำกัดในเรื่องผู้มีสิทธินำคดี มาสู่ศาล อีกทั้งป้องกันการกล่าวอ้างสารพัดมาเพื่อสร้างภาระคดีต่อศาลโดยตรง

การให้ความสำคัญกับอัยการสูงสุด ยังปรากฏหลักฐานจาก “รายงานการประชุมของสภาร่างรัฐธรรมนูญ” ครั้งที่ 27/2550 เช่น คำอภิปรายโดยนายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย ในหน้าที่ 6-8 และนายจรัญ ภักดีธนากุล (ผู้เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในเวลานี้) ในหน้าที่ 32-34 ซึ่งอภิปรายถึงการให้อัยการสูงสุดเป็นผู้นำคดีไปสู่ศาลรัฐธรรมนูญ และไม่ได้กล่าวถึงการให้สิทธิบุคคลอื่นยื่นเรื่องโดยตรงต่อศาลแต่อย่างใด ( http://bit.ly/Mg9kLY )

นอกจากนี้ การตีความของศาลก็ส่งผลประหลาด คือ ทำให้บทบาทของ “อัยการสูงสุด” ที่จะยื่นคำร้องต่อศาลนั้นไร้ความหมาย เพราะหากผู้ใดจะนำคดีไปสู่ศาล ก็ย่อมยื่นต่อศาลโดยไม่เสนอเรื่องผ่านอัยการ และหากผู้อื่นเสนอเรื่องเดียวกันให้อัยการในเวลาเดียวกัน ก็จะเกิดคำถามตามมาว่าอัยการต้องดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่อไปหรือไม่ เพราะศาลได้รับคำร้องเรื่องเดียวกันจากผู้อื่นที่ยื่นตรงต่อศาลไปแล้ว

ยิ่งไปกว่านั้น การที่ มาตรา 68 ให้ศาลมีอำนาจ “ยุบพรรคการเมือง” หรือ “ตัดสิทธิทางการเมือง” ก็คือการให้ตุลาการถ่วงดุลอำนาจของฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ โดยมี “อัยการ” เป็นกลไกในการกรองคดี แต่หากศาลตีความเพิ่มอำนาจให้ตนเองได้อย่างกว้างขวางแล้ว ก็จะเป็นช่องทางให้มีผู้ใช้ตุลาการเป็นอาวุธทางการเมือง ซึ่งก็จะกลับมาทำร้ายตุลาการในที่สุด

http://www.facebook....150931755704707

หาประธานของประโยคได้ยังว่าว่าประธานของประโยคคือ ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว หรือ อัยการสูงสุด

Edited by Solidus, 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:01.

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#35 centrino14

centrino14

    อำมาตย์ตัวพ่อ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,146 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:06

เผาไทยและเสื้อแดง อยากให้ตีความตามตัวอักษร ว่า ไม่มีใครมีสิทธิ ยื่นได้นอกจากอัยการสูงสุด
เพราะจะเป็นภาระแก่ศาลที่จะทำการสอบสวน ค่อนข้างจะตลกไปนิดนะ มาตรานี้ ยังไม่เคยมีการบังคับใช้
และคนที่จะสามารถจะวินิจฉัยเพื่อบังคับใช้ให้เป็นบรรทัดฐานได้ คือศาลรัฐธรรมนูญ

ต่อไปใครอยากจะยื่น ก็ยื่่นได้ โดยยื่นทั้งผ่านอัยการสูงสุดและยื่นตรงไปยังศาลรัฐธรรมนูญ
ก็ไม่น่าจะแปลกอะไร เพราะยังไม่ได้มีการวินิจฉัยว่า ขัดหรือไม่ขัด ล้มหรือไม่ล้ม

แดงออกจะดิ้นมากไปนะ มันไม่งาม...เสียงส่วนใหญ่ กลัวอะไรหรือ รีบร้อนอะไรมากมาย
ให้เหตุผลในการรีบร้อนแก้ไขรัฐธรรมนูญหน่อยสิ หรืออยากจะให้ชนกันแล้วเผาบ้านจันทร์ส่องหมาว่ะ
เบื่อพวกเสื้อแดงตอแหล

#36 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:07

โปกลองรวมประโยคเหล่านี้ให้ดูหน่อยสิ

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง + ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง + อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว

Edited by Solidus, 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:07.

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#37 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:09

เผาไทยและเสื้อแดง อยากให้ตีความตามตัวอักษร ว่า ไม่มีใครมีสิทธิ ยื่นได้นอกจากอัยการสูงสุด
เพราะจะเป็นภาระแก่ศาลที่จะทำการสอบสวน ค่อนข้างจะตลกไปนิดนะ มาตรานี้ ยังไม่เคยมีการบังคับใช้
และคนที่จะสามารถจะวินิจฉัยเพื่อบังคับใช้ให้เป็นบรรทัดฐานได้ คือศาลรัฐธรรมนูญ

ต่อไปใครอยากจะยื่น ก็ยื่่นได้ โดยยื่นทั้งผ่านอัยการสูงสุดและยื่นตรงไปยังศาลรัฐธรรมนูญ
ก็ไม่น่าจะแปลกอะไร เพราะยังไม่ได้มีการวินิจฉัยว่า ขัดหรือไม่ขัด ล้มหรือไม่ล้ม

แดงออกจะดิ้นมากไปนะ มันไม่งาม...เสียงส่วนใหญ่ กลัวอะไรหรือ รีบร้อนอะไรมากมาย
ให้เหตุผลในการรีบร้อนแก้ไขรัฐธรรมนูญหน่อยสิ หรืออยากจะให้ชนกันแล้วเผาบ้านจันทร์ส่องหมาว่ะ

ศาลก็ตีความตามตัวอักษรแหละครับ เผอิญว่าประธานของประโยคมันอยู่คนละที่กับของเผาไทย :lol: :lol: :lol:

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#38 centrino14

centrino14

    อำมาตย์ตัวพ่อ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,146 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:09

หลายคดี อัยการสั่งไม่ฟ้อง ไม่ว่าเหตุใดก็แล้วแต่
แต่คู่กรณีฟ้องไม่พอใจที่อัยการสั่งไม่ฟ้องแล้ว โจทย์ไปฟ้องกันเอง
อัยการทำห่านอะไรได้ไหม กับคำพิพากษาที่โจทย์แหกคอก ไปฟ้องเอง
แทนที่อัยการจะสั่งฟ้องให้ คิดครับคิด อย่าโง่ ไม่งั้นโดนยุบพรรคอีกรอบแน่
เบื่อพวกเสื้อแดงตอแหล

#39 Ixora

Ixora

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,177 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:12

โปกลองรวมประโยคเหล่านี้ให้ดูหน่อยสิ

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง + ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง + อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว


ผมเข้าใจถูกไหมครับว่า ในกรณีนี้

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว (หมายถึงผู้ร้องในคดีนี้)

ได้ เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง

และ

ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว

หมายถึงทำพร้อมกันแล้วทั้ง 2 อย่าง

Edited by Ixora, 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:13.

...ความชอบธรรมต้องอยู่บนพื้นฐานของความเป็นธรรม...

#40 Bourne

Bourne

    สายลับ ๆ ล่อ ๆ หัดเกรียน

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,471 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:16

บ้านนี้เมืองนี้มันมีแต่ศรีธนญชัย หนังสือเขียนยังไง มันก็ตีความยังงั้น ทั้ง ๆ ที่รู้ว่าบ้านเมืองเสียหาย เค้าถึงต้องมีตุลาการ-ศาล เพื่อให้ใช้ "วิจารณญาณ" อุดรูรั่วของกฎหมาย และเพื่อให้ใช้กฎหมายได้ตามเจตนารมณ์ ไม่งั้นต้องมานั่งเขียนกฎหมายครอบคลุมทุกเรื่อง ต่อให้ตัดไม้ทั้งโลกมาทำกระดาษ ก็ไม่พอที่จะเอามาบันทึกกฎหมายที่จะออกมาเพื่ออุดรูรุั่วกันศรีธนญชัยไทย
ภาระกิจหลักของผมบนบอร์ดเสรีไทย คือ ด่าควายครับ เรื่องคิดต่างผมรับได้ แต่เรื่องคิดชั่วผมรับไม่ไหวครัช

#41 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:33


โปกลองรวมประโยคเหล่านี้ให้ดูหน่อยสิ

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง + ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง + อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว


ผมเข้าใจถูกไหมครับว่า ในกรณีนี้

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว (หมายถึงผู้ร้องในคดีนี้)

ได้ เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง

และ

ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว

หมายถึงทำพร้อมกันแล้วทั้ง 2 อย่าง

ใช่ครับ ถ้าบุคคลนั้นเป็นกบฎ จะยื่นคำร้องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยทำไม สู้ยื่นให้อัยการส่งฟ้องศาลอาญาไม่ดีกว่ารึ :lol: :lol: :lol:

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#42 David_GinoLa

David_GinoLa

    สมาชิกระดับไพร่

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,561 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:37

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐

มาตรา ๒๑๖

องค์คณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณาและในการทำ คำวินิจฉัย ต้องประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไม่น้อยกว่าห้าคน คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ให้ถือเสียงข้างมาก เว้นแต่จะมีบัญญัติเป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นองค์คณะทุกคนจะต้องทำความเห็นในการวินิจฉัย ในส่วนของตนพร้อมแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ
คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญและความเห็นในการวินิจฉัยของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทุกคน ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญอย่างน้อยต้องประกอบด้วยความเป็นมาหรือคำกล่าวหา สรุปข้อเท็จจริงที่ได้มาจากการพิจารณา เหตุผลในการวินิจฉัยในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่ยกขึ้นอ้างอิง
คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองค์กรอื่นของรัฐ
วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ


"การเมืองต้องเป็นเรื่องการเสียสละ การเมืองคือภาระของทุกผู้การเมืองเรื่องส่วนรวมร่วมรับรู้ การเมืองต้องต่อสู้เพื่อส่วนรวม"เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

#43 nnnn43

nnnn43

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,771 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 22:45


ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว
แทนที่จะเขียนเป็น
ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อให้อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว


ประธานของข้อความนี้ สามารถทำได้สองอย่างคือ เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบ และ
ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

เด็กประถมอ่านแล้วยังเข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจก็ไปอ่าน เรื่อง ประธาน กริยา กรรมใหม่นะ
ส่วนกาสรสีชาด คงไม่เข้าใจหรอก



*** คำถามที่สอง: ศาลใช้อำนาจ “ข้ามขั้นตอน” อัยการสูงสุดหรือไม่ ? ***

รัฐธรรมนูญ มาตรา 68 วรรคสอง บัญญัติว่า


“ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว”


ศาลตีความว่า ผู้ที่จะนำคดีมาสู่ศาล จะเสนอเรื่องผ่านอัยการสูงสุดให้ยื่นคำร้องต่อศาลก็ได้ หรือ จะยื่นคำร้องเองโดยตรงต่อศาลเลยก็ได้ ดังนั้น ศาลจึงรับคำร้องได้โดยไม่ต้องรออัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อน

คำถามก็คือ การตีความที่ว่านี้ ขัดต่อทั้งถ้อยคำและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ อีกทั้งสร้างผลประหลาดตามมาหรือไม่

หากพิจารณาถ้อยคำ มาตรา 68 ว่า “มีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยการตีความของศาลทำให้เกิดปัญหาทางภาษาอย่างน้อย 2 ระดับ ระดับแรก คือ เสมือนศาลได้แทนคำว่า “และ” ด้วยคำว่า “หรือ” และระดับที่สอง คือ ศาลได้ใช้ตรรกะภาษาที่ตีความขัดกับรูปประโยค เพราะหากศาลมองคำว่า “และ” ให้แปลว่า “หรือ” ก็จะเท่ากับว่า รูปประโยคไม่ได้ให้อำนาจ “อัยการสูงสุด” เป็นผู้ยื่นคำร้องต่อศาล

หากพิจารณาในแง่เจตนารมณ์ จะเห็นว่า “อัยการสูงสุด” มีบทบาทจำเป็นในการกรองคดี เพราะศาลไม่มีทรัพยากรที่จะไปตรวจสอบหรือสืบสวนการ “ล้มล้างการปกครองฯ...” ซึ่งอาจมีข้อเท็จจริงและพฤติกรรมที่ต้องอาศัยพยานหลักฐานจำนวนมาก เห็นได้จาก คดีอื่นในทางมหาชน เช่น คดีทุจริต หรือ คดีพรรคการเมือง ก็จะมี อัยการ ป.ป.ช. หรือ กกต. เป็นผู้นำคดีมาสู่ศาล หรือ หากเป็นคดีที่ฟ้องตรงได้ต่อศาล ก็จะต้องเป็นกรณีที่วินิจฉัยข้อกฎหมายและมีข้อจำกัดในเรื่องผู้มีสิทธินำคดี มาสู่ศาล อีกทั้งป้องกันการกล่าวอ้างสารพัดมาเพื่อสร้างภาระคดีต่อศาลโดยตรง

การให้ความสำคัญกับอัยการสูงสุด ยังปรากฏหลักฐานจาก “รายงานการประชุมของสภาร่างรัฐธรรมนูญ” ครั้งที่ 27/2550 เช่น คำอภิปรายโดยนายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย ในหน้าที่ 6-8 และนายจรัญ ภักดีธนากุล (ผู้เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในเวลานี้) ในหน้าที่ 32-34 ซึ่งอภิปรายถึงการให้อัยการสูงสุดเป็นผู้นำคดีไปสู่ศาลรัฐธรรมนูญ และไม่ได้กล่าวถึงการให้สิทธิบุคคลอื่นยื่นเรื่องโดยตรงต่อศาลแต่อย่างใด ( http://bit.ly/Mg9kLY )

นอกจากนี้ การตีความของศาลก็ส่งผลประหลาด คือ ทำให้บทบาทของ “อัยการสูงสุด” ที่จะยื่นคำร้องต่อศาลนั้นไร้ความหมาย เพราะหากผู้ใดจะนำคดีไปสู่ศาล ก็ย่อมยื่นต่อศาลโดยไม่เสนอเรื่องผ่านอัยการ และหากผู้อื่นเสนอเรื่องเดียวกันให้อัยการในเวลาเดียวกัน ก็จะเกิดคำถามตามมาว่าอัยการต้องดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่อไปหรือไม่ เพราะศาลได้รับคำร้องเรื่องเดียวกันจากผู้อื่นที่ยื่นตรงต่อศาลไปแล้ว

ยิ่งไปกว่านั้น การที่ มาตรา 68 ให้ศาลมีอำนาจ “ยุบพรรคการเมือง” หรือ “ตัดสิทธิทางการเมือง” ก็คือการให้ตุลาการถ่วงดุลอำนาจของฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ โดยมี “อัยการ” เป็นกลไกในการกรองคดี แต่หากศาลตีความเพิ่มอำนาจให้ตนเองได้อย่างกว้างขวางแล้ว ก็จะเป็นช่องทางให้มีผู้ใช้ตุลาการเป็นอาวุธทางการเมือง ซึ่งก็จะกลับมาทำร้ายตุลาการในที่สุด

http://www.facebook....150931755704707


2521.JPG
ผู้ที่ขาดคุณธรรม ย่อมไม่มีอุดมการณ์อันยิ่งใหญ่ ผู้ที่ขาดความรู้ ย่อมไม่มีสายตาอันกว้างไกล พูดคนฉลาดหนี่งคำ พูดคนโง่ร้อยคำ

#44 blackdragon

blackdragon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 547 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 23:16

http://www.youtube.com/watch?v=JAEBe3XR6wI

ไม่เคยเจอปรากฎการณ์นี้มาก่อน ประชาชนรุมขอแบบฟอร์มถอดถอนตุลาการศาลรธน. ศาลบอกว่าทำให้ลดความตึงเครียดและความหวาดระแวงของสังคมที่มีต่อรัฐบาล ผมคิดว่าอาจจะตรงกันข้ามนะครับ มันน่าจะเป็นการเพิ่มความตึงเครียดและหวาดระแวงของสังคมที่มีต่อศาลรัฐธรรมนูญมากกว่า :unsure:



อืม...ผมคงต้องไปตรวจสายตาซะแล้ว...

เพราะมองเห็นแต่ควายแดง



:P :D :lol:

#45 zeus

zeus

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,212 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 23:24



ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว
แทนที่จะเขียนเป็น
ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อให้อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว


ประธานของข้อความนี้ สามารถทำได้สองอย่างคือ เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบ และ
ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

เด็กประถมอ่านแล้วยังเข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจก็ไปอ่าน เรื่อง ประธาน กริยา กรรมใหม่นะ
ส่วนกาสรสีชาด คงไม่เข้าใจหรอก



*** คำถามที่สอง: ศาลใช้อำนาจ “ข้ามขั้นตอน” อัยการสูงสุดหรือไม่ ? ***

รัฐธรรมนูญ มาตรา 68 วรรคสอง บัญญัติว่า


“ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว”


ศาลตีความว่า ผู้ที่จะนำคดีมาสู่ศาล จะเสนอเรื่องผ่านอัยการสูงสุดให้ยื่นคำร้องต่อศาลก็ได้ หรือ จะยื่นคำร้องเองโดยตรงต่อศาลเลยก็ได้ ดังนั้น ศาลจึงรับคำร้องได้โดยไม่ต้องรออัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อน

คำถามก็คือ การตีความที่ว่านี้ ขัดต่อทั้งถ้อยคำและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ อีกทั้งสร้างผลประหลาดตามมาหรือไม่

หากพิจารณาถ้อยคำ มาตรา 68 ว่า “มีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยการตีความของศาลทำให้เกิดปัญหาทางภาษาอย่างน้อย 2 ระดับ ระดับแรก คือ เสมือนศาลได้แทนคำว่า “และ” ด้วยคำว่า “หรือ” และระดับที่สอง คือ ศาลได้ใช้ตรรกะภาษาที่ตีความขัดกับรูปประโยค เพราะหากศาลมองคำว่า “และ” ให้แปลว่า “หรือ” ก็จะเท่ากับว่า รูปประโยคไม่ได้ให้อำนาจ “อัยการสูงสุด” เป็นผู้ยื่นคำร้องต่อศาล

หากพิจารณาในแง่เจตนารมณ์ จะเห็นว่า “อัยการสูงสุด” มีบทบาทจำเป็นในการกรองคดี เพราะศาลไม่มีทรัพยากรที่จะไปตรวจสอบหรือสืบสวนการ “ล้มล้างการปกครองฯ...” ซึ่งอาจมีข้อเท็จจริงและพฤติกรรมที่ต้องอาศัยพยานหลักฐานจำนวนมาก เห็นได้จาก คดีอื่นในทางมหาชน เช่น คดีทุจริต หรือ คดีพรรคการเมือง ก็จะมี อัยการ ป.ป.ช. หรือ กกต. เป็นผู้นำคดีมาสู่ศาล หรือ หากเป็นคดีที่ฟ้องตรงได้ต่อศาล ก็จะต้องเป็นกรณีที่วินิจฉัยข้อกฎหมายและมีข้อจำกัดในเรื่องผู้มีสิทธินำคดี มาสู่ศาล อีกทั้งป้องกันการกล่าวอ้างสารพัดมาเพื่อสร้างภาระคดีต่อศาลโดยตรง

การให้ความสำคัญกับอัยการสูงสุด ยังปรากฏหลักฐานจาก “รายงานการประชุมของสภาร่างรัฐธรรมนูญ” ครั้งที่ 27/2550 เช่น คำอภิปรายโดยนายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย ในหน้าที่ 6-8 และนายจรัญ ภักดีธนากุล (ผู้เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในเวลานี้) ในหน้าที่ 32-34 ซึ่งอภิปรายถึงการให้อัยการสูงสุดเป็นผู้นำคดีไปสู่ศาลรัฐธรรมนูญ และไม่ได้กล่าวถึงการให้สิทธิบุคคลอื่นยื่นเรื่องโดยตรงต่อศาลแต่อย่างใด ( http://bit.ly/Mg9kLY )

นอกจากนี้ การตีความของศาลก็ส่งผลประหลาด คือ ทำให้บทบาทของ “อัยการสูงสุด” ที่จะยื่นคำร้องต่อศาลนั้นไร้ความหมาย เพราะหากผู้ใดจะนำคดีไปสู่ศาล ก็ย่อมยื่นต่อศาลโดยไม่เสนอเรื่องผ่านอัยการ และหากผู้อื่นเสนอเรื่องเดียวกันให้อัยการในเวลาเดียวกัน ก็จะเกิดคำถามตามมาว่าอัยการต้องดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่อไปหรือไม่ เพราะศาลได้รับคำร้องเรื่องเดียวกันจากผู้อื่นที่ยื่นตรงต่อศาลไปแล้ว

ยิ่งไปกว่านั้น การที่ มาตรา 68 ให้ศาลมีอำนาจ “ยุบพรรคการเมือง” หรือ “ตัดสิทธิทางการเมือง” ก็คือการให้ตุลาการถ่วงดุลอำนาจของฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ โดยมี “อัยการ” เป็นกลไกในการกรองคดี แต่หากศาลตีความเพิ่มอำนาจให้ตนเองได้อย่างกว้างขวางแล้ว ก็จะเป็นช่องทางให้มีผู้ใช้ตุลาการเป็นอาวุธทางการเมือง ซึ่งก็จะกลับมาทำร้ายตุลาการในที่สุด

http://www.facebook....150931755704707


2521.JPG


เดี่ยวศาลตัดสินก็รู้เองแหละ

Edited by zeus, 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 23:25.


#46 BlueArmy

BlueArmy

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 287 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 23:39

http://www.youtube.com/watch?v=0ykKdFf8dFk&feature=share


ถ้า ศาลรัฐธรรมนูญ ทำไม่ถูกก็ควรถอดถอน แต่ถ้าถูกการออกมาพูดเช่นนี้คือหมิ่นศาล
ชีวิตยอมพลีเพื่อชาติ เลือดทุกหยาดแด่ภูมินทร์ แม้นชีพม้วยไร้ชีวิน วงศ์จักรินทร์คงสืบไป

#47 idolation

idolation

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,996 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 23:40

ยื่นให้ศาลมีคำสั่งระงับ แล้วอัยการสูงสุดก็หาข้อเท็จจริงไปสิ

ถ้าออกมาว่าผิดเป็นเท็จก็ยกเลิกพรบ. ถ้าผลออกมาว่าถุกต้องเป็นจริงก็เสนอพรบ.ต่อไป


ถ้ามีเศรษฐีโจรซื้อสภาโดยให้ออกกฎหมายว่าในประเทศนี้เศรษฐีโจรเป็นคนเดียวที่สามารถฆ่าคนได้ไม่ผิดกฎหมายแล้วจ่ายเงินให้สส.ยกมือให้ผ่านสภาเกินครึ่ง

ประเทศก็ชิหายสิครับพี่น้อง.. :D :D :D
รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ร่วมกันต้าน ตระกูลชินวัตร

#48 ปุถุชน

ปุถุชน

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 27,531 posts

ตอบ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 23:55

ผมค่อนข้างผิดหวังนะ เพราะถ้าประธานศาลออกมาชี้แจงในประเด็นที่เป็นปัญหาในข้อกฎหมายว่าศาลไม่ได้ละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญจริงๆ ผมเชื่อว่าอาจจะทำให้หลายคนเปลี่ยนใจไม่ไปลงชื่อถอดถอนได้ แต่ศาลกลับมาบอกอย่างเดียวว่าตนเองมีอำนาจทำได้ ทำถูกต้องแล้ว ถ้าไม่เชื่อก็ไปลงชื่อถอดถอนได้แบบนี้ เป็นการท้าทายประชาชนเปล่าๆ ไม่มีประโยชน์และประชาชนก็จะคิดไปเองว่าศาลผิดจึงเลี่ยงที่จะชี้แจงเรื่องนี้สิครับ :(




ถ้าปุ๊กลุ๊กตั้งใจอ่านให้เกิน'สามบรรทัด'ที่ดูแคลนไว้....
จะได้ความเข้าใจใหม่กับประธานศาลรัฐธรรมนูญ......ฮา

เข้าใจไหมเอ่ย ทำได้มั๊ยเอ่ย.......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า

เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...


#49 เรื่อยๆเอื่อยๆ

เรื่อยๆเอื่อยๆ

    There is a face beneath this mask, but it isn't me.

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,223 posts

ตอบ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 00:02

ในแวดวงวิชาการกฎหมายเขาให้ราคา ไอ้ตี๋ล้มเจ้าไว้ที่อันดับซักเท่าไหร่ครับ
เห็นทำซ่ามาให้ความเห็นอย่างกับตัวเองตีความได้คนเดียว คนอื่นผิดหมด ตัวเองเพิ่งเรียนจบมาไม่กี่ปีทำไมไม่ลองฟังคนมีประสบการณ์ระดับประธานศาลพูดบ้าง

#50 BlueArmy

BlueArmy

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 287 posts

ตอบ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 00:19

ม.68 จริงๆแล้วก็คลุมเครือนะ แต่ถ้ามองข้ามว่าเป็นการข้ามขั้นตอนหรือลดทอนบทบาทอัยการสูงสุด แล้วพิจารณาว่าจะได้ความบริสุทธิ์ยุติธรรมมากขึ้น เพราะถ้าทุกเรื่องต้องผ่านอัยการสูงสุด สมมติว่าอัยการสูงสุดถูกระบอบชั่วร้ายซื้อตัวไป คดีก็จะไม่ถูกตัดตอนไว้แค่อัยการสูงสุด
ชีวิตยอมพลีเพื่อชาติ เลือดทุกหยาดแด่ภูมินทร์ แม้นชีพม้วยไร้ชีวิน วงศ์จักรินทร์คงสืบไป




ผู้ใช้ 0 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน