นาซ่าถอนตัวใครเดือดร้อนบ้างครับ
#1
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:07
http://www.thaipost....ws/220612/58585
ได้ยินนายสุรพงษ์บอกว่า จะเอาเรื่องเข้า ครม.อนุมัติสัปดาห์หน้า อ้าง
กฤษฎีกาบอกว่าทำได้ หมายความว่า ไม่ต้องการเอาเข้าสภา มันยิ่งน่าสงสัย และไม่น่าไว้ใจหนักขึ้นว่า เรื่องขอใช้อู่ตะเภาดูลมนี่ มันน่าจะมีอะไรลึกๆ ซ่อนอยู่แน่!
แล้วนายสุรพงษ์มาขู่ทำหอย-ทำปู ทำไมว่า...ถ้าหาข้อยุติให้คำตอบสหรัฐไม่ได้ภายในวันที่ ๒๖ มิ.ย.๕๕ นี้ นาซาจะถอนตัว
ก็ถอนไปซี แล้วใครอยากให้เข้ามาล่ะ อ้างเสียโอกาสทางวิชาการ เสียรายได้ตั้ง ๓๐ ล้านยูเอสที่เขาจะเอามาใช้จ่าย มันจะบ้าเงิน เห็นตัวเลขนิดหน่อยก็ตาแหกถึงกระบาลกันไปถึงไหนกัน...หือ?
- สงสารสาวจันทร์, Apichai and sintc like this
#2
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:09
#3
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:27
เพราะบริษัทเงี่ยจิงฮะอะไรของเค้าจะได้รับเหมาสร้างหนำให้นาซ่า
Edited by แมวกระป๋อง, 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:28.
- สงสารสาวจันทร์, พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน, voodoo and 4 others like this
#4
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:31
มันจะเกี่ยวกับการตัดสินใจเรื่องอู่ตะเภาล่าช้ามั้ย
#5
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:48
POPULAR
เพราะถ้านาซ่าเป็นห่วงเรื่องภัยพิบัติจริงๆ ก็ควรเป็นสนามบินอื่นที่ไม่ใช่อู่ตะเภาครับ
ผมว่าควรเป็นอินโดนีเซียหรือแถบภาคใต้มากกว่า เพราะมีปัญหาแผ่นดินไหวจากรอยแยกใต้ทะเลกันเนืองๆ
สึนามิก็เกิดและตั้งท่าจะเกิดบริเวณนี้อยู่หลายครั้ง
อู่ตะเภาไปทำไมครับ ไปดูประวัติศาสตร์สิครับไอ้กันเคยใช้สนามบินอู่ตะเภาเป็นฐานส่งเครื่องบินไปบอมบ์เวียดกง
มันเป็นจุดยุทธศาสตร์ทางทหารชัดๆไม่ใช่จุดยุทธศาสตร์ทางการศึกษา วิจัยเรื่องภัยพิบัติ
บอกตามตรงนะครับถ้าอเมริกาอยากเช่าสนามบินจริงๆก็จ่ายค่าเช่ามาเลยครับ
เว้ากันซื่อๆว่ามาตรงๆว่าจะเช่าทำประโยชน์ ยอมจ่ายให้เดือนละกี่พันล้านก็ว่าไป
ถ้าเราดูแล้วคุ้มเสี่ยงที่จะมีปัญหากับจีน จะไร้ยางอายคว้าเงินไว้ก่อนก็ว่ากันอีกที
แต่นี่ดูแล้วจะงุบงิบใช้ฟรี ประเทศไทยได้อะไรนอกจากคนอยู่ดูไบได้ประโยชน์ล่ะครับ?
- สงสารสาวจันทร์, marrykate, missing_u and 11 others like this
วิธีการยุติระบอบทักษิณ
ก็แค่เพียงทำให้คนไทยส่วนใหญ่ "ฉลาด"
#6
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 09:50
จึงทำให้ไม่อาจเห่าหอนได้อีก
- ssa, เช never die and Pasitnat like this
#7
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:03
#8
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:14
ขอบคุณทุกกำลังใจที่ส่งมาให้ทางหลังไมค์ครับ
อย่าโทษใครเลยครับ ผมเองก็มีส่วนผิดอยู่ด้วยเหมือนกัน
ผมเชื่อว่าพวกเราทุกคนจะร่วมกันฟันฝ่าปัญหานี้ไปได้ด้วยกัน
#9
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:27
POPULAR
ผมเคยตั้งกระทู้ไว้แล้วครับ เมื่อเร็วๆนี้ ลองค้นหาดู ว่าเด็กไทยหมดโอกาสได้ไปทำงานที่นาซ่าแล้ว น่าเสียดายจริงๆ นาซ่าเป็นองค์กรที่มีความรู้มากมาย และที่องค์กรในฝันของเด็กไทยหลายๆคนที่จะก้าวไปสู่จุดๆนั้น แต่กลับต้องมาพังทะลายเพราะฝีมือของผู้ใหญ่กะโหลกกะลาบางพวก หมดโอกาสที่จะพัฒนาประเทศด้วยวิทยาการที่ทันสมัยเทียบเท่าอาณาประเทศ นี่แหละครับการเมืองไทย
ประการแรกก็กระทู้เอ็งมันกาก ไม่มีข้อมูลส้นตรีนนน...ไรเลย ถามไรก็ไม่ตอบ
แล้วตัดฝันตรงไหนตอบที ถ้าเด็กไทยต้องการทำงานกับ NASA จริงๆก็ไปสมัครเองได้
คนที่มีความสามารถทำงานกับองค์กร ใหญ่ๆได้นั้น แค่อยู่กันคนละประเทศ มันไม่ใช่ปัญหา
ใจดีอย่าฝันเฟื่องไปหน่อยเลย อย่าพูดอะไรที่ตัวเองไม่รู้ อยู่ที่นี่เป็นตลก สร้างตึกให้คนในนี้ดูดีกว่า ขำกว่ากันเยอะ
- missing_u, พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน, TIK Tik tik and 16 others like this
#11
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 10:58
Edited by ugly-maew, 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:13.
#12
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:02
#13
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:03
RT
เรื่องชักจะยุ่งไปกันใหญ่แล้ว
#14
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:13
"จุดระบายอารมณ์ทางยุทธศาสตร์"
ให้กับทั้งเมกาและจีน
ซ้ายก็ด่า ขวาก็ขู่
ประเทศไทยของกู...เฮ่อ...อ
#15
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:15
ไม่อ่านและไม่เห็น ไม่สนใจกระทู้ของคุณผมเคยตั้งกระทู้ไว้แล้วครับ เมื่อเร็วๆนี้ ลองค้นหาดู ว่าเด็กไทยหมดโอกาสได้ไปทำงานที่นาซ่าแล้ว น่าเสียดายจริงๆ นาซ่าเป็นองค์กรที่มีความรู้มากมาย และที่องค์กรในฝันของเด็กไทยหลายๆคนที่จะก้าวไปสู่จุดๆนั้น แต่กลับต้องมาพังทะลายเพราะฝีมือของผู้ใหญ่กะโหลกกะลาบางพวก หมดโอกาสที่จะพัฒนาประเทศด้วยวิทยาการที่ทันสมัยเทียบเท่าอาณาประเทศ นี่แหละครับการเมืองไทย
#16
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:25
ผมเคยตั้งกระทู้ไว้แล้วครับ เมื่อเร็วๆนี้ ลองค้นหาดู ว่าเด็กไทยหมดโอกาสได้ไปทำงานที่นาซ่าแล้ว น่าเสียดายจริงๆ นาซ่าเป็นองค์กรที่มีความรู้มากมาย และที่องค์กรในฝันของเด็กไทยหลายๆคนที่จะก้าวไปสู่จุดๆนั้น แต่กลับต้องมาพังทะลายเพราะฝีมือของผู้ใหญ่กะโหลกกะลาบางพวก หมดโอกาสที่จะพัฒนาประเทศด้วยวิทยาการที่ทันสมัยเทียบเท่าอาณาประเทศ นี่แหละครับการเมืองไทย
เพลาๆซะบ้าง
ปล่อยนานวันเข้า ระวังจะได้มีสัมมโนครัวเป็นคนสุราษฎร์
#17
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:26
ไปหาอ่านดู ไม่ลิงค์ให้หรอก
เด็กๆมันยังรู้เลย!
#18
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:26
Edited by ม่านน้ำ, 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:27.
#19
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:36
ผมเคยตั้งกระทู้ไว้แล้วครับ เมื่อเร็วๆนี้ ลองค้นหาดู ว่าเด็กไทยหมดโอกาสได้ไปทำงานที่นาซ่าแล้ว น่าเสียดายจริงๆ นาซ่าเป็นองค์กรที่มีความรู้มากมาย และที่องค์กรในฝันของเด็กไทยหลายๆคนที่จะก้าวไปสู่จุดๆนั้น แต่กลับต้องมาพังทะลายเพราะฝีมือของผู้ใหญ่กะโหลกกะลาบางพวก หมดโอกาสที่จะพัฒนาประเทศด้วยวิทยาการที่ทันสมัยเทียบเท่าอาณาประเทศ นี่แหละครับการเมืองไทย
ประการแรกก็กระทู้เอ็งมันกาก ไม่มีข้อมูลส้นตรีนนน...ไรเลย ถามไรก็ไม่ตอบ
แล้วตัดฝันตรงไหนตอบที ถ้าเด็กไทยต้องการทำงานกับ NASA จริงๆก็ไปสมัครเองได้
คนที่มีความสามารถทำงานกับองค์กร ใหญ่ๆได้นั้น แค่อยู่กันคนละประเทศ มันไม่ใช่ปัญหา
ใจดีอย่าฝันเฟื่องไปหน่อยเลย อย่าพูดอะไรที่ตัวเองไม่รู้ อยู่ที่นี่เป็นตลก สร้างตึกให้คนในนี้ดูดีกว่า ขำกว่ากันเยอะ
ก็จริงของ Jaidee20 นะคัรบ บางคนแค่ฝันว่าเป็นวิศวกรเงินเดือนสตาร์ท 9,000 ไม่ต้องรู้เรื่องขออนุญาตก่อสร้าง ไม่ต้องรู้เรื่องแบบปล่อยให้ลูกน้องทำเอา ... แค่ฝันแล้วโพสต์ลงกระทู้ ก็ได้เป็นวิศวกรเรียบร้อย
ดังนั้น หากเด็กอยากฝันทำงานกับ NASA เพราะแค่คิดว่าส่วนหนึ่งของ NASA มาตั้งอยู่ในประเทศไทย ย่อมไม่ผิด
วิศวกร กับ เด็ก ... ความคิดไม่ต่างกันเลย แบบนี้เด็กทั้งประเทศคงเป็นวิศวกรได้ทันที ไม่ต้องเรียนจบ
- MuuSang, voodoo, แมวกระป๋อง and 2 others like this
#20
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:42
จากที่ผ่านมา โดยเฉพาะ คอปบร้าโกล์ อีตัวขาดแคลนกันเลยทีเดียว
เรียกว่า รับเงินรับทรัพย์กันเน้นๆ
หมีเป็นหวัดกันเลยละมั๊ง
นี่ถ้าดึงดัน เกิดเขาถอนตัวขึ้นมา อีตัว ก็ขาดรายใด้สิครับ
เดือดร้อนเห็นๆ
เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ
#21
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:45
#22
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:46
ยังฝันเฟื่องเรื่องวิชาการอะไร เวลาน้ำท่วม ก็อ้างใครก็ห้ามธรรมชาติไม่ได้ ชาวบ้านขากินก๋วยเตี่ยวห๋วยๆตามข้างถนน จะชามละ 40 บาทอยู่เเล้ว ไม่ได้สนใจเลย
จะปั้นเด็กจบปเอกมากี่พันก็ได้ ที่สอนอยู่ตามเมืองนอก กินข้าวเหนียวเยอะเเยะ มันเสียโอกาสอะไร มันเยอะจนจะล้น
เเต่ปัญหาคนไทยกัดกัน มันไม่ยอมเเก้ ปรองดองอะไรไม่รู้ ยุให้คนตีกันเข้าไปได้ทุกวัน
ถ้านรกไม่มีจริงก็เเล้วไป
รำคาญสลิ่มเที่ยมที่เข้ามาปล่อยสารพิษเรียกร้องความรุนเเรงเสดงออกถึงความคลั่งสงครามกลางเมืองยุเเยงสร้างภาพชั่วๆ
เอียนวะ เห็นคนเเถวนี้ไอคิวต่ำกว่า 90 หรือไง
#23
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:46
เย็นนี้รองปธน.เวียดนามมาพบนายกฯท่ามกลางข่าวนาซ่าขอใช้อู่ตะเภา เกี่ยวกันอย่างไร? http://www.isranews.org/เวทีทัศน์/59-เวทีทัศน์/7196--4-.html
มีเวียดนามอีก อู่ตะเภาเลอะแล้วครับ
ปัญหาบานปลาย
#24
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:48
ทำให้ผมนึกถึงโครงการ HAARP ขึ้นมา
#25
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:50
มีใครต้องเร่งให้คำตอบอเมริกาเพื่ออะไรหรือ... หุๆ
#26
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 11:59
เห็นกระทู้หรือเม้นท์ไอ้นี่ทีไรปวดขี้ทุกที ไปเข้าห้องน้ำดีกว่าไม่อ่านและไม่เห็น ไม่สนใจกระทู้ของคุณ
ผมเคยตั้งกระทู้ไว้แล้วครับ เมื่อเร็วๆนี้ ลองค้นหาดู ว่าเด็กไทยหมดโอกาสได้ไปทำงานที่นาซ่าแล้ว น่าเสียดายจริงๆ นาซ่าเป็นองค์กรที่มีความรู้มากมาย และที่องค์กรในฝันของเด็กไทยหลายๆคนที่จะก้าวไปสู่จุดๆนั้น แต่กลับต้องมาพังทะลายเพราะฝีมือของผู้ใหญ่กะโหลกกะลาบางพวก หมดโอกาสที่จะพัฒนาประเทศด้วยวิทยาการที่ทันสมัยเทียบเท่าอาณาประเทศ นี่แหละครับการเมืองไทย
หายจน ทั้งแผ่นดิน ด้วยการต่อต้าน นกม.ชั่ว และเอา ปตท กลับคืนมาเป็นของคนไทย
#27
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:04
จีรพงษ์
@jeerapong_nna
เย็นนี้รองปธน.เวียดนามมาพบนายกฯท่ามกลางข่าวนาซ่าขอใช้อู่ตะเภา เกี่ยวกันอย่างไร? http://www.isranews.org/เวทีทัศน์/59-เวทีทัศน์/7196--4-.html
มีเวียดนามอีก อู่ตะเภาเลอะแล้วครับ
ปัญหาบานปลาย
ไอ้เรื่องลับลมคมในอู่ตะเภานี่แหละ ผมเคยบอกแล้วว่าจะใช้คัมรานของเวียตนามก็ได้ เกาะคล้ากของฟิลิปินส์ก็ยังอยู่ในพิสัย
ขอเดาว่าถ้าสหรัฐเข้ามาใช้อู่ตะเภาของไทยไม่ได้ ก็คงจะเบนเข็มไปเวียตนามละครับงานนี้ แล้วทีนี้เวียตนามก็ระหองระแหงกับจีนเป็นทุนเดิมอยู่แล้วแถมยังมีพรมแดนติดกันกับจีนอีก ขืนให้ไอ้กันเข้าไปใช้คัมราน ก็เท่ากับเวียตประกาศตัวเป็นปฏิปักษ์กับจีนอย่างโจ่งแจ้ง ผู้บริหารของเวียตนามเองก็คงไม่อยากจะพาประเทศไปถึงจุดนั้น ก็เลยเข้ามากระทุ้งให้ปูกี้สมยอมให้ไอ้กันมันเอาๆไปเถอะ เดาๆนะครับ...
มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล
#28
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:05
- แมวกระป๋อง and PeaceMan like this
ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด
เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ
#29
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:07
คงกลัวว่า อินโดเกิดแผ่นดินไหว ศูนย์วิจัยจะโดนด้วยผมเห็นด้วยกับบทความนะครับว่าเรื่องวิจัยสภาพภูมิอากาศน่ะมันเรื่องหลอกเด็ก
เพราะถ้านาซ่าเป็นห่วงเรื่องภัยพิบัติจริงๆ ก็ควรเป็นสนามบินอื่นที่ไม่ใช่อู่ตะเภาครับ
ผมว่าควรเป็นอินโดนีเซียหรือแถบภาคใต้มากกว่า เพราะมีปัญหาแผ่นดินไหวจากรอยแยกใต้ทะเลกันเนืองๆ
สึนามิก็เกิดและตั้งท่าจะเกิดบริเวณนี้อยู่หลายครั้ง
อู่ตะเภาไปทำไมครับ ไปดูประวัติศาสตร์สิครับไอ้กันเคยใช้สนามบินอู่ตะเภาเป็นฐานส่งเครื่องบินไปบอมบ์เวียดกง
มันเป็นจุดยุทธศาสตร์ทางทหารชัดๆไม่ใช่จุดยุทธศาสตร์ทางการศึกษา วิจัยเรื่องภัยพิบัติ
บอกตามตรงนะครับถ้าอเมริกาอยากเช่าสนามบินจริงๆก็จ่ายค่าเช่ามาเลยครับ
เว้ากันซื่อๆว่ามาตรงๆว่าจะเช่าทำประโยชน์ ยอมจ่ายให้เดือนละกี่พันล้านก็ว่าไป
ถ้าเราดูแล้วคุ้มเสี่ยงที่จะมีปัญหากับจีน จะไร้ยางอายคว้าเงินไว้ก่อนก็ว่ากันอีกที
แต่นี่ดูแล้วจะงุบงิบใช้ฟรี ประเทศไทยได้อะไรนอกจากคนอยู่ดูไบได้ประโยชน์ล่ะครับ?
แต่ เขาจะมาตั้งแบบถาวรเลยรึไง เด็กไทยถึงจะได้ทำงานกับนาซ่า
#30
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:09
แล้วทำไมต้องเร่งให้ได้คำตอบภายใน 26 มิ.ย. นี้ด้วย
มีใครต้องเร่งให้คำตอบอเมริกาเพื่ออะไรหรือ... หุๆ
การตรวจสภาวะอากาศเป็นเรื่องเร่งด่วน มาก ถ้าไม่ทำก่อน 26 มิ.ย. โลกอาจแตกได้
- เพื่อนร่วมชาติ and lagrangian like this
#31
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:14
ลองอ่านดูนะครับ ข่าวนี้ออกมาตั้งแต่เดือนมีนาคมแล้ว มีหัวหน้าโครงการวิจัยเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย
http://www.nasa.gov/...es/seac4rs.html
NASA Planning Major Airborne Scientific Study in Southeast Asia3.13.12
Aircraft flights will be coordinated with observations from NASA's A-Train fleet of satellites, including Aura, which pass over the region every day. Credit: NASA
The University of Colorado's Brian Toon, a veteran of NASA airborne campaigns, is leading planning for the Southeast Asia mission. Credit: University of Colorado.
NASA's high-altitude ER-2 is one of several aircraft that will carry instruments to sample the Southeast Asian atmosphere. Credit: NASA
More than 150 scientists, technicians and airborne research specialists gathered in Boulder, Colo., last month to develop strategies for doing something that has never been done before: probing a vast expanse of the Southeast Asian atmosphere from top to bottom at the critical time of year when strong weather systems and prolific regional air pollution pump chemicals and particles high into the atmosphere with potentially global consequences for Earth's climate.
The daunting effort this group is crafting will be NASA's most complex and ambitious airborne science campaign of the year: the Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study, or SEAC4RS. With support from the National Science Foundation and the Naval Research Laboratory, the campaign will draw together coordinated observations from NASA satellites, several research aircraft, and an array of sites on the ground and at sea. The campaign is sponsored by the Earth Science Division in the Science Mission Directorate at NASA Headquarters in Washington.
Pending approval of NASA's plans by the government of Thailand, where the flights would originate, SEAC4RS will take to the field in August. The campaign is being lead by Brian Toon, chair of the University of Colorado's Department of Atmospheric and Oceanic Sciences. Toon is a veteran of NASA airborne campaigns, including flights to study the Antarctic ozone hole and atmospheric effects of volcanic eruptions.
"Southeast Asia is a really important part of the world. A large fraction of the world's population lives there," said Toon. "There are emissions from big seasonal fires and megacities that are moved around the region by a complex meteorological system. When these chemicals get into the stratosphere they can affect the whole Earth. They may also influence how the seasonal monsoon system behaves. With SEAC4RS we hope to better understand how all these things interact."
Some scientists believe that Southeast Asia is the primary place where new air is transported into the stratosphere. SEAC4RS will investigate that hypothesis and provide new insights into exactly what the effects are of the pollution vapors and tiny particles called aerosols that reach the stratosphere. Do the particles reflect incoming solar energy and produce a net cooling of our planet? Do the gases alter the chemical balance of the upper atmosphere and features like our protective ozone layer? SEAC4RS will address these issues of global concern.
Jeffrey Reid of the Naval Research Laboratory's Marine Meteorological Division in Monterey, Calif., the SEAC4RS lead for aerosol and radiation activities, is working on other environmental issues much closer to where people live. "Many scientists in Southeast Asia and the United States want to improve air quality forecasting in the region. This requires that we understand how pollution and the weather interrelate. Nowhere on Earth compares to Southeast Asia’s complex meteorology. It may be the most difficult place on the planet to forecast. Because the region hosts both severe air pollution episodes and some of the cleanest areas on Earth, it is an excellent natural laboratory to understand how pollution, weather and climate interact."
Reid's research is focused on developing methods to monitor the lifecycle of air pollution particles in Southeast Asia and to what extent aerosol pollution can change clouds. From a global climate perspective, clouds act both to keep energy rising from Earth's surface in the atmosphere and to reflect incoming solar energy back into space. Aerosols can change the blanket-like and mirror-like properties of clouds to change this energy balance. On a local level, the tiny pollution particles are thought to influence weather conditions by changing the timing and amount of rain falling from clouds.
SEAC4RS planners will be using a suite of scientific instruments in orbit, in the air, and on the ground to paint a detailed view of these intertwined atmospheric processes. As NASA's A-Train fleet of formation-flying satellites passes over the region every day, sensors will detect different features of the scene below.
NASA's ER-2 high-altitude aircraft will fly into the stratosphere to the edge of space while the National Science Foundation's G-V and NASA's DC-8 aircraft sample the atmosphere below it. An array of sensors spread across the region at locations on the ground and in the South China Sea will observe the atmosphere from the bottom up.
Another benefit of this thorough examination of the region's atmosphere will be more accurate satellite data. "Southeast Asia is an incredibly difficult place to do satellite remote sensing because clouds so often get in the way," said Hal Maring of the Earth Science Division at NASA Headquarters. "By using aircraft to collect data from inside the atmosphere rather than above it, we can compare those measurements with what our satellites see and improve the quality of the data from space."
NASA has proposed to base the SEAC4RS aircraft in Thailand so that the planes can sample the two big meteorological drivers of the region's atmospheric circulation: the summertime monsoon circulation to the west and marine convection to the east and south that can loft emissions into the stratosphere.
There is a lot of tricky coordination involved in planning a major field campaign like SEAC4RS, especially in a region made up of so many different countries. The Boulder meeting was the first time that everyone involved in the project got together to discuss detailed flight plans, logistics, and schedules.
"This is certainly one of the largest airborne campaigns NASA has undertaken," said Toon. "We have a diverse fleet of aircraft, a lot of different scientific communities involved, and we are flying over a new region for us. But it's exciting to see all these different people come together to tackle a big scientific problem," Toon said.
Related Links
SEAC4RS Mission Page
NASA's Airborne Science Program
Steve Cole
NASA Headquarters
Edited by Gop, 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:18.
หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.
#32
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:15
ผมเคยตั้งกระทู้ไว้แล้วครับ เมื่อเร็วๆนี้ ลองค้นหาดู ว่าเด็กไทยหมดโอกาสได้ไปทำงานที่นาซ่าแล้ว น่าเสียดายจริงๆ นาซ่าเป็นองค์กรที่มีความรู้มากมาย และที่องค์กรในฝันของเด็กไทยหลายๆคนที่จะก้าวไปสู่จุดๆนั้น แต่กลับต้องมาพังทะลายเพราะฝีมือของผู้ใหญ่กะโหลกกะลาบางพวก หมดโอกาสที่จะพัฒนาประเทศด้วยวิทยาการที่ทันสมัยเทียบเท่าอาณาประเทศ นี่แหละครับการเมืองไทย
ประการแรกก็กระทู้เอ็งมันกาก ไม่มีข้อมูลส้นตรีนนน...ไรเลย ถามไรก็ไม่ตอบ
แล้วตัดฝันตรงไหนตอบที ถ้าเด็กไทยต้องการทำงานกับ NASA จริงๆก็ไปสมัครเองได้
คนที่มีความสามารถทำงานกับองค์กร ใหญ่ๆได้นั้น แค่อยู่กันคนละประเทศ มันไม่ใช่ปัญหา
ใจดีอย่าฝันเฟื่องไปหน่อยเลย อย่าพูดอะไรที่ตัวเองไม่รู้ อยู่ที่นี่เป็นตลก สร้างตึกให้คนในนี้ดูดีกว่า ขำกว่ากันเยอะ
ก็จริงของ Jaidee20 นะคัรบ บางคนแค่ฝันว่าเป็นวิศวกรเงินเดือนสตาร์ท 9,000 ไม่ต้องรู้เรื่องขออนุญาตก่อสร้าง ไม่ต้องรู้เรื่องแบบปล่อยให้ลูกน้องทำเอา ... แค่ฝันแล้วโพสต์ลงกระทู้ ก็ได้เป็นวิศวกรเรียบร้อย
ดังนั้น หากเด็กอยากฝันทำงานกับ NASA เพราะแค่คิดว่าส่วนหนึ่งของ NASA มาตั้งอยู่ในประเทศไทย ย่อมไม่ผิด
วิศวกร กับ เด็ก ... ความคิดไม่ต่างกันเลย แบบนี้เด็กทั้งประเทศคงเป็นวิศวกรได้ทันที ไม่ต้องเรียนจบ
ผมว่าเค้าไม่ได้เป็น วิศวกร ก่อสร้างอ่ะ
- MuuSang likes this
---------------------------------------
#33
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:15
(1) นโยบายของสหรัฐฯ ที่ต้องการสกัดกั้นจีนนั้นเป็นเรื่องจริง สหรัฐฯ ต้องการใช้อู่ตะเภาเป็นส่วนหนึ่งของแผนยุทธวิธีต่อต้านจีนก็เป็นของจริง ผู้นำไทยที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเรื่องนี้ต้องรอบคอบ อย่าเชื่อสิ่งที่ฝ่ายสหรัฐฯ พูดเสียทั้งหมด พวกเขาจะพูดกับคนไทยที่ต้องการเป็นมิตรกับจีนอย่างหนึ่ง แต่จะพูดกับคนญี่ปุ่นและคนฟิลิปปินส์ที่มีปัญหาขัดแย้งกับจีนอีกอย่างหนึ่ง และพวกเขามีกลเม็ดในการเจรจาให้ได้สิ่งที่พวกเขาต้องการเฉพาะหน้าโดยให้คน ไทยได้แต่ความคาดหวัง
(2) ไทยไม่ควรเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างจีนกับสหรัฐฯ ในฐานะที่เราเป็นมิตรกับทั้งสองประเทศ (และควรรักษาฐานะเช่นนี้ต่อไป) ยังไม่สายเกินไปที่จะใช้การทูตส่งเสริมให้พวกเขาเป็นมิตรกันและร่วมมือกัน สร้างภูมิภาคเอเชียให้เป็นแดนสันติภาพ
(3) ไทยไม่ควรเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับความขัดแย้งกันเรื่องกรรมสิทธิ์ในดินแดนบริเวณ ทะเลจีนใต้ เราควรยึดหลักความปรองดองกัน และให้ประเทศคู่พิพาทเจรจาตกลงกันแบบทวิภาคี เราไม่มีปัญหาเรื่องดินแดนกับจีน แต่มีปัญหากับกัมพูชา เราก็ควรยึดหลักการเจรจากันแบบทวิภาคีเช่นกัน
(4) สำหรับสมาชิกอาเซียน 4 ประเทศ (ฟิลิปปินส์ เวียดนาม บรูไน และมาเลเซีย) บางประเทศต้องการดึงสหรัฐฯ มาเสริมฐานะของตัวในการต่อสู้กับจีนนั้น เราก็ไม่จำเป็นต้องสนับสนุนเขา เพราะจะเสียแรงเปล่า อย่างไรเสียจีนก็จะไม่ยอมอ่อนข้อให้ ส่วนสิงคโปร์และอินโดนีเซียที่ต้องการเอาสหรัฐฯมาถ่วงดุลกับจีนในภูมิภาคของ เรา ปล่อยให้เป็นเรื่องของพวกเขา
(5) ถ้าไทยตกลงให้สหรัฐฯ ใช้อู่ตะเภา จะมีข้อตกลงลับหรือเปิดเผยอย่างไรก็ปกปิดไม่อยู่ ผลก็คือมิตรภาพไทย-จีนจะถูกลดระดับ ถึงตอนเข้าตาจนขึ้นมาแล้วจะเสียใจก็สายไปแล้ว
(6) วิธีปฏิเสธข้อเสนอของสหรัฐฯ นั้นไม่ยาก (ก) สหรัฐฯ เป็นประชาธิปไตยเหมือนกับไทย ในระบอบประชาธิปไตยของไทย ข้อตกลงนี้จะทำเป็นข้อตกลงลับไม่ได้ ต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญมาตรา 190 (นอกจากจะใช้กลโกงเลี่ยงกฎหมายแบบศรีธนนชัย) จะให้รัฐสภาตัดสิน ฝ่ายคัดค้านก็คงช่วยกันต่อต้านทั้งในที่ประชุมและบนท้องถนน ทำให้เสื่อมเสียมิตรภาพไทย-สหรัฐฯ แน่นอน เข้าใจว่าสหรัฐฯ ต้องเข้าใจ (ข) ถ้าสหรัฐฯ สนใจช่วยคนเอเชียด้านมนุษยธรรมในยามมีภัยพิบัติ จุดที่ใกล้ภัยพิบัติที่สุดคืออินโดนีเซีย ถามดูก็ได้ว่าอินโดนีเซียจะให้ดินแดนใช้เพื่อการนี้ได้หรือไม่ (ค) ถ้าสหรัฐฯ สนใจช่วยไทยให้มีศูนย์ศึกษาภูมิอากาศเพื่อป้องกันภัยพิบัติ (โดยความร่วมมือของ NASA) ไทยยินดีต้อนรับให้เขาส่งผู้เชี่ยวชาญและอุปกรณ์ที่ทันสมัยล้ำยุคมาประจำ อยู่ที่สถาบันการศึกษาหรือสถาบันวิจัยแห่งใดแห่งหนึ่งของไทยก็ได้
(7) สนามบินอู่ตะเภาปัจจุบันใช้ประโยชน์อเนกประสงค์ เช่น ใช้เป็นศูนย์ปฏิบัติการซ้อมรบ Cobra Gold ระหว่างไทยกับสหรัฐฯ (เกือบทุกปี) ใช้เป็นศูนย์ปฏิบัติการบรรเทาภัยพิบัติสึนามิ (พ.ศ. 2547) พายุฝน Cyclone Nargis(พ.ศ. 2551) ภารกิจด้านพลเรือนเหล่านี้ เราตอบสนองผลประโยชน์ของประเทศเพื่อนบ้านด้วย ในยามมีภัยพิบัติ สหรัฐฯ หรือจีน หรือประเทศอื่นๆ ทั่วโลกจะขอเข้ามาช่วยเหลือประชาชนด้านมนุษยธรรม ไทยไม่เคยขัดข้อง และควรเป็นนโยบายเช่นนี้ต่อไป ได้มิตรไม่ใช่สร้างศัตรู
(8) สุดท้าย ตามกฎหมายและรัฐธรรมนูญของไทยปัจจุบัน ไม่มีใครในแผ่นดินนี้มีอำนาจมอบอำนาจอธิปไตยเหนืออู่ตะเภาให้สหรัฐฯ เอาไปใช้ได้อย่างเสรีเหมือนสมัย 40-50 ปีที่แล้ว (ถ้าใครบิดเบือนดังสมัยนั้นก็คงจะถูกดำเนินคดี) เพราะเป็นการใช้อำนาจโดยมิชอบ มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157, 119, 120, 129 มาตรา 157 บัญญัติว่า “ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ... ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี...” มาตรา 119 บัญญัติว่า “ผู้ใดกระทำการใดๆ เพื่อให้ราชอาณาจักรหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรตกไปอยู่ใต้อำนาจ อธิปไตยของรัฐต่างประเทศ หรือเพื่อให้เอกราชรัฐเสื่อมเสียไป ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต” มาตรา 120 “ผู้ใดคบคิดกับบุคคลซึ่งกระทำการเพื่อประโยชน์ของรัฐต่างประเทศด้วยความ ประสงค์ที่จะก่อให้เกิดการดำเนินการรบต่อรัฐหรือในทางอื่นที่เป็นปรปักษ์ต่อ รัฐ ต้องระวางโทษจำคุกตลอดชีวิต หรือจำคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี” มาตรา 129 “ผู้ใดเป็นผู้สนับสนุนในการกระทำความผิดใดๆ ในหมวดนี้ ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับตัวการในความผิดนั้น”
http://www.isranews....์/7197--5-.html
- สงสารสาวจันทร์, overtherainbow, คลำปม and 4 others like this
มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล
#34
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:19
ยังไม่เห็นปฏิกิริยาจากโลกมุสลิม หากออกมาผสมโรงอีก ยุ่งตายเลย
จีรพงษ์ @jeerapong_nna
เย็นนี้รองปธน.เวียดนามมาพบนายกฯท่ามกลางข่าวนาซ่าขอใช้อู่ตะเภา เกี่ยวกันอย่างไร? http://www.isranews.org/เวทีทัศน์/59-เวทีทัศน์/7196--4-.html
มีเวียดนามอีก อู่ตะเภาเลอะแล้วครับ
ปัญหาบานปลาย
ไอ้เรื่องลับลมคมในอู่ตะเภานี่แหละ ผมเคยบอกแล้วว่าจะใช้คัมรานของเวียตนามก็ได้ เกาะคล้ากของฟิลิปินส์ก็ยังอยู่ในพิสัย
ขอเดาว่าถ้าสหรัฐเข้ามาใช้อู่ตะเภาของไทยไม่ได้ ก็คงจะเบนเข็มไปเวียตนามละครับงานนี้ แล้วทีนี้เวียตนามก็ระหองระแหงกับจีนเป็นทุนเดิมอยู่แล้วแถมยังมีพรมแดนติดกันกับจีนอีก ขืนให้ไอ้กันเข้าไปใช้คัมราน ก็เท่ากับเวียตประกาศตัวเป็นปฏิปักษ์กับจีนอย่างโจ่งแจ้ง ผู้บริหารของเวียตนามเองก็คงไม่อยากจะพาประเทศไปถึงจุดนั้น ก็เลยเข้ามากระทุ้งให้ปูกี้สมยอมให้ไอ้กันมันเอาๆไปเถอะ เดาๆนะครับ...
ผมไม่ได้ดูคริสตี้ แต่เห็นจากกระทู้ในนี้ว่า คริสตี้บอกไม่ได้ขอ แต่รัฐบาลไปเสนอเขาเอง
นี่อยู่ๆ ก็เอาอู่ตะเภาไปเสนอให้เขาชำเราถึงที่ พิกลแหะ
แม้วก็เอาน้องไปให้เขาชำเราเองสิ
#36
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:24
#37
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:28
ยังไม่เห็นปฏิกิริยาจากโลกมุสลิม หากออกมาผสมโรงอีก ยุ่งตายเลย
จีรพงษ์ @jeerapong_nna
เย็นนี้รองปธน.เวียดนามมาพบนายกฯท่ามกลางข่าวนาซ่าขอใช้อู่ตะเภา เกี่ยวกันอย่างไร? http://www.isranews.org/เวทีทัศน์/59-เวทีทัศน์/7196--4-.html
มีเวียดนามอีก อู่ตะเภาเลอะแล้วครับ
ปัญหาบานปลาย
ไอ้เรื่องลับลมคมในอู่ตะเภานี่แหละ ผมเคยบอกแล้วว่าจะใช้คัมรานของเวียตนามก็ได้ เกาะคล้ากของฟิลิปินส์ก็ยังอยู่ในพิสัย
ขอเดาว่าถ้าสหรัฐเข้ามาใช้อู่ตะเภาของไทยไม่ได้ ก็คงจะเบนเข็มไปเวียตนามละครับงานนี้ แล้วทีนี้เวียตนามก็ระหองระแหงกับจีนเป็นทุนเดิมอยู่แล้วแถมยังมีพรมแดนติดกันกับจีนอีก ขืนให้ไอ้กันเข้าไปใช้คัมราน ก็เท่ากับเวียตประกาศตัวเป็นปฏิปักษ์กับจีนอย่างโจ่งแจ้ง ผู้บริหารของเวียตนามเองก็คงไม่อยากจะพาประเทศไปถึงจุดนั้น ก็เลยเข้ามากระทุ้งให้ปูกี้สมยอมให้ไอ้กันมันเอาๆไปเถอะ เดาๆนะครับ...
ผมไม่ได้ดูคริสตี้ แต่เห็นจากกระทู้ในนี้ว่า คริสตี้บอกไม่ได้ขอ แต่รัฐบาลไปเสนอเขาเอง
นี่อยู่ๆ ก็เอาอู่ตะเภาไปเสนอให้เขาชำเราถึงที่ พิกลแหะ
แม้วก็เอาน้องไปให้เขาชำเราเองสิ
เห็นเค้าว่าพี่ชายถวายสมเด็จฮุนเซ็นกับท่านฮัสนันมาเองกับมือ ... ฮา ฮา ฮา
- แมวกระป๋อง and V.Junior for Vendetta like this
มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล
#38
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:30
ใช้ความเป็นผู้หญิงไงครับ
ยังไม่เห็นปฏิกิริยาจากโลกมุสลิม หากออกมาผสมโรงอีก ยุ่งตายเลย
จีรพงษ์ @jeerapong_nna
เย็นนี้รองปธน.เวียดนามมาพบนายกฯท่ามกลางข่าวนาซ่าขอใช้อู่ตะเภา เกี่ยวกันอย่างไร? http://www.isranews.org/เวทีทัศน์/59-เวทีทัศน์/7196--4-.html
มีเวียดนามอีก อู่ตะเภาเลอะแล้วครับ
ปัญหาบานปลาย
ไอ้เรื่องลับลมคมในอู่ตะเภานี่แหละ ผมเคยบอกแล้วว่าจะใช้คัมรานของเวียตนามก็ได้ เกาะคล้ากของฟิลิปินส์ก็ยังอยู่ในพิสัย
ขอเดาว่าถ้าสหรัฐเข้ามาใช้อู่ตะเภาของไทยไม่ได้ ก็คงจะเบนเข็มไปเวียตนามละครับงานนี้ แล้วทีนี้เวียตนามก็ระหองระแหงกับจีนเป็นทุนเดิมอยู่แล้วแถมยังมีพรมแดนติดกันกับจีนอีก ขืนให้ไอ้กันเข้าไปใช้คัมราน ก็เท่ากับเวียตประกาศตัวเป็นปฏิปักษ์กับจีนอย่างโจ่งแจ้ง ผู้บริหารของเวียตนามเองก็คงไม่อยากจะพาประเทศไปถึงจุดนั้น ก็เลยเข้ามากระทุ้งให้ปูกี้สมยอมให้ไอ้กันมันเอาๆไปเถอะ เดาๆนะครับ...
ผมไม่ได้ดูคริสตี้ แต่เห็นจากกระทู้ในนี้ว่า คริสตี้บอกไม่ได้ขอ แต่รัฐบาลไปเสนอเขาเอง
นี่อยู่ๆ ก็เอาอู่ตะเภาไปเสนอให้เขาชำเราถึงที่ พิกลแหะ
แม้วก็เอาน้องไปให้เขาชำเราเองสิ
เห็นเค้าว่าพี่ชายถวายสมเด็จฮุนเซ็นกับท่านฮัสนันมาเองกับมือ ... ฮา ฮา ฮา
ไปประเทศไหนไปเสนอให้เขาถึงที่รึป่าวก็ไม่รู้
ไปบูรไนก็เอาหม้อไปให้เขาใช้งาน
ลูกสาวอีกสองก็เอาไปให้เขาใช้งานได้ ไม่มีสิทธิเอาอู่ตะเภาไปบรรณาการให้เขาชำเรา
Edited by ssa, 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:32.
#39
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:33
ผมเคยตั้งกระทู้ไว้แล้วครับ เมื่อเร็วๆนี้ ลองค้นหาดู ว่าเด็กไทยหมดโอกาสได้ไปทำงานที่นาซ่าแล้ว น่าเสียดายจริงๆ นาซ่าเป็นองค์กรที่มีความรู้มากมาย และที่องค์กรในฝันของเด็กไทยหลายๆคนที่จะก้าวไปสู่จุดๆนั้น แต่กลับต้องมาพังทะลายเพราะฝีมือของผู้ใหญ่กะโหลกกะลาบางพวก หมดโอกาสที่จะพัฒนาประเทศด้วยวิทยาการที่ทันสมัยเทียบเท่าอาณาประเทศ นี่แหละครับการเมืองไทย
เด็กไทยที่ได้ทำงานที่นาซ่า แล้วประเทศไทยได้อะไร แค่ความฝันของเด็กไม่กี่คนแต่สุ่มเสี่ยงต่อความมั่นคงของประเทศ มันเทียบกันไม่ได้หรอก
เขาพัฒนากันที่นาซ่า ความรู้ที่ได้ก็ไม่ได้เอาไปไล่แจกประเทศที่ด้อยโอกาสนี่ ไม่เห็นจะได้ประโยชน์ตรงไหน
ถ้านาซ่าส่งนักวิทยาศาสตร์มาให้ความรู้หรือวิจัยภายใต้การควบคุมของไทยเองก็ไปอย่าง นี่มาของใช้พื้นที่เฉยๆ ตรวจสอบว่ามีลับลมคมในหรือเปล่าก็ไม่ได้
ถ้าไม่ได้เข้ามาใช้พื้นที่อู่ตะเภา แล้วใช้เป็นมาตรการตัดโอกาสหรือคัดเลือกไปทำงานในนาซ่า ก็แสดงให้เห็นความไม่ยุติธรรม แล้วยังอยากจะเข้าไปทำงานในองค์กรแบบนี้อีกหรอ
#40
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:34
ผมว่าเรื่องทำวิจัย เค้าคงอยากมาทำจริงๆล่ะครับ ดูเหมือนแถวนี้มีสภาพอากาศที่น่าสนใจ และประเทศไทยอยู่ในตำแหน่นงที่เหมาะจะเก็บข้อมูล โดยส่วนตัวผมอยากให้เค้ามาทำวิจัยนะแต่ต้องให้เปิดเผย เอาเข้าสภาคุยกัน และยอมให้ประเทศอื่นๆเข้าร่วมโครงการนี้ด้วยเพื่อแสดงความบริสุธิใจ ไม่มีเรื่องการทหารเข้ามาแอบแฝง
ลองอ่านดูนะครับ ข่าวนี้ออกมาตั้งแต่เดือนมีนาคมแล้ว มีหัวหน้าโครงการวิจัยเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย
http://www.nasa.gov/...es/seac4rs.html
NASA Planning Major Airborne Scientific Study in Southeast Asia3.13.12
Aircraft flights will be coordinated with observations from NASA's A-Train fleet of satellites, including Aura, which pass over the region every day. Credit: NASA
The University of Colorado's Brian Toon, a veteran of NASA airborne campaigns, is leading planning for the Southeast Asia mission. Credit: University of Colorado.
NASA's high-altitude ER-2 is one of several aircraft that will carry instruments to sample the Southeast Asian atmosphere. Credit: NASA
More than 150 scientists, technicians and airborne research specialists gathered in Boulder, Colo., last month to develop strategies for doing something that has never been done before: probing a vast expanse of the Southeast Asian atmosphere from top to bottom at the critical time of year when strong weather systems and prolific regional air pollution pump chemicals and particles high into the atmosphere with potentially global consequences for Earth's climate.
The daunting effort this group is crafting will be NASA's most complex and ambitious airborne science campaign of the year: the Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study, or SEAC4RS. With support from the National Science Foundation and the Naval Research Laboratory, the campaign will draw together coordinated observations from NASA satellites, several research aircraft, and an array of sites on the ground and at sea. The campaign is sponsored by the Earth Science Division in the Science Mission Directorate at NASA Headquarters in Washington.
Pending approval of NASA's plans by the government of Thailand, where the flights would originate, SEAC4RS will take to the field in August. The campaign is being lead by Brian Toon, chair of the University of Colorado's Department of Atmospheric and Oceanic Sciences. Toon is a veteran of NASA airborne campaigns, including flights to study the Antarctic ozone hole and atmospheric effects of volcanic eruptions.
"Southeast Asia is a really important part of the world. A large fraction of the world's population lives there," said Toon. "There are emissions from big seasonal fires and megacities that are moved around the region by a complex meteorological system. When these chemicals get into the stratosphere they can affect the whole Earth. They may also influence how the seasonal monsoon system behaves. With SEAC4RS we hope to better understand how all these things interact."
Some scientists believe that Southeast Asia is the primary place where new air is transported into the stratosphere. SEAC4RS will investigate that hypothesis and provide new insights into exactly what the effects are of the pollution vapors and tiny particles called aerosols that reach the stratosphere. Do the particles reflect incoming solar energy and produce a net cooling of our planet? Do the gases alter the chemical balance of the upper atmosphere and features like our protective ozone layer? SEAC4RS will address these issues of global concern.
Jeffrey Reid of the Naval Research Laboratory's Marine Meteorological Division in Monterey, Calif., the SEAC4RS lead for aerosol and radiation activities, is working on other environmental issues much closer to where people live. "Many scientists in Southeast Asia and the United States want to improve air quality forecasting in the region. This requires that we understand how pollution and the weather interrelate. Nowhere on Earth compares to Southeast Asia’s complex meteorology. It may be the most difficult place on the planet to forecast. Because the region hosts both severe air pollution episodes and some of the cleanest areas on Earth, it is an excellent natural laboratory to understand how pollution, weather and climate interact."
Reid's research is focused on developing methods to monitor the lifecycle of air pollution particles in Southeast Asia and to what extent aerosol pollution can change clouds. From a global climate perspective, clouds act both to keep energy rising from Earth's surface in the atmosphere and to reflect incoming solar energy back into space. Aerosols can change the blanket-like and mirror-like properties of clouds to change this energy balance. On a local level, the tiny pollution particles are thought to influence weather conditions by changing the timing and amount of rain falling from clouds.
SEAC4RS planners will be using a suite of scientific instruments in orbit, in the air, and on the ground to paint a detailed view of these intertwined atmospheric processes. As NASA's A-Train fleet of formation-flying satellites passes over the region every day, sensors will detect different features of the scene below.
NASA's ER-2 high-altitude aircraft will fly into the stratosphere to the edge of space while the National Science Foundation's G-V and NASA's DC-8 aircraft sample the atmosphere below it. An array of sensors spread across the region at locations on the ground and in the South China Sea will observe the atmosphere from the bottom up.
Another benefit of this thorough examination of the region's atmosphere will be more accurate satellite data. "Southeast Asia is an incredibly difficult place to do satellite remote sensing because clouds so often get in the way," said Hal Maring of the Earth Science Division at NASA Headquarters. "By using aircraft to collect data from inside the atmosphere rather than above it, we can compare those measurements with what our satellites see and improve the quality of the data from space."
NASA has proposed to base the SEAC4RS aircraft in Thailand so that the planes can sample the two big meteorological drivers of the region's atmospheric circulation: the summertime monsoon circulation to the west and marine convection to the east and south that can loft emissions into the stratosphere.
There is a lot of tricky coordination involved in planning a major field campaign like SEAC4RS, especially in a region made up of so many different countries. The Boulder meeting was the first time that everyone involved in the project got together to discuss detailed flight plans, logistics, and schedules.
"This is certainly one of the largest airborne campaigns NASA has undertaken," said Toon. "We have a diverse fleet of aircraft, a lot of different scientific communities involved, and we are flying over a new region for us. But it's exciting to see all these different people come together to tackle a big scientific problem," Toon said.
Related Links
SEAC4RS Mission Page
NASA's Airborne Science Program
Steve Cole
NASA Headquarters
ขอบคุณสำหรับข้อมูล... แต่มันคงไม่มีประโยชน์สำหรับคนแถวนี้เพราะ จินตนาการไปไกลเกินเยียวยาแล้ว...
ก็เล่นกันแต่การเมือง.... เค้าไม่สนใจหรอกครับว่า ประเทศจะได้อะไร โลกจะได้อะไร... สนใจแค่เล่นการเมือง...
ที่ตลกที่สุดก็คือ รัฐบาล ม้ากสุดหล่อไปเซ็นเอาไว้ว่าจะร่วมมือกัน แต่พอถึงเวลา ม้ากกระเด็นไปแล้ว... กลายเป็นว่า เป็นเรื่องการเมือง ชงวีซ่าให้แม้ว เป็น ฐานทัพให้ไอ้กัน... ซะงั้น..
ผมว่าเป็นความซวยของประเทศที่มี ฝ่ายหลับหูหลับตาค้าน... นี่ถ้าเป็นรัฐบาลอยู่ไม่ใช่เงา... กษิตคงจัดการเรียบร้อย... แมงวาปเงียบสนิท.. ตามปกติ และ พท เป็นคนเล่นเอง... 5555
จินตนาการกันเข้าไว้เยอะๆนะครับ...
Edited by hentai, 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:35.
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
#42
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:35
จีรพงษ์ @jeerapong_nna
เย็นนี้รองปธน.เวียดนามมาพบนายกฯท่ามกลางข่าวนาซ่าขอใช้อู่ตะเภา เกี่ยวกันอย่างไร? http://www.isranews.org/เวทีทัศน์/59-เวทีทัศน์/7196--4-.html
มีเวียดนามอีก อู่ตะเภาเลอะแล้วครับ
ปัญหาบานปลาย
ไอ้เรื่องลับลมคมในอู่ตะเภานี่แหละ ผมเคยบอกแล้วว่าจะใช้คัมรานของเวียตนามก็ได้ เกาะคล้ากของฟิลิปินส์ก็ยังอยู่ในพิสัย
ขอเดาว่าถ้าสหรัฐเข้ามาใช้อู่ตะเภาของไทยไม่ได้ ก็คงจะเบนเข็มไปเวียตนามละครับงานนี้ แล้วทีนี้เวียตนามก็ระหองระแหงกับจีนเป็นทุนเดิมอยู่แล้วแถมยังมีพรมแดนติดกันกับจีนอีก ขืนให้ไอ้กันเข้าไปใช้คัมราน ก็เท่ากับเวียตประกาศตัวเป็นปฏิปักษ์กับจีนอย่างโจ่งแจ้ง ผู้บริหารของเวียตนามเองก็คงไม่อยากจะพาประเทศไปถึงจุดนั้น ก็เลยเข้ามากระทุ้งให้ปูกี้สมยอมให้ไอ้กันมันเอาๆไปเถอะ เดาๆนะครับ...
คู่ขัดแย้งโดยตรงยังไม่อยากเปิดหน้าเลย
รัฐบาลนี้มันจะให้ประเทศไทยกลายเป็นหนูลองยาหรือไงเนี่ย
#43
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:35
#44
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:36
ผมเคยตั้งกระทู้ไว้แล้วครับ เมื่อเร็วๆนี้ ลองค้นหาดู ว่าเด็กไทยหมดโอกาสได้ไปทำงานที่นาซ่าแล้ว น่าเสียดายจริงๆ นาซ่าเป็นองค์กรที่มีความรู้มากมาย และที่องค์กรในฝันของเด็กไทยหลายๆคนที่จะก้าวไปสู่จุดๆนั้น แต่กลับต้องมาพังทะลายเพราะฝีมือของผู้ใหญ่กะโหลกกะลาบางพวก หมดโอกาสที่จะพัฒนาประเทศด้วยวิทยาการที่ทันสมัยเทียบเท่าอาณาประเทศ นี่แหละครับการเมืองไทย
เกี่ยวอะไรอ่ะ ใจดี
ทุกวันนี้ก็มีคนไทยมมากมมายที่ได้ทำงานที่นาซ่านี้นี่นา
เกี่ยวอะไรด้วยยยยยยยยยยย อ่ะ
หรือใจดีอยากไปทำงานในนั้นจ๊ะ ?
ข้าจักล้มล้าง ระบอบทักษิณ ให้หมดสิ้นไปจากแผ่นดินไทย
#45
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:38
ผมว่าเรื่องทำวิจัย เค้าคงอยากมาทำจริงๆล่ะครับ ดูเหมือนแถวนี้มีสภาพอากาศที่น่าสนใจ และประเทศไทยอยู่ในตำแหน่นงที่เหมาะจะเก็บข้อมูล โดยส่วนตัวผมอยากให้เค้ามาทำวิจัยนะแต่ต้องให้เปิดเผย เอาเข้าสภาคุยกัน และยอมให้ประเทศอื่นๆเข้าร่วมโครงการนี้ด้วยเพื่อแสดงความบริสุธิใจ ไม่มีเรื่องการทหารเข้ามาแอบแฝง
ลองอ่านดูนะครับ ข่าวนี้ออกมาตั้งแต่เดือนมีนาคมแล้ว มีหัวหน้าโครงการวิจัยเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย
http://www.nasa.gov/...es/seac4rs.html
NASA Planning Major Airborne Scientific Study in Southeast Asia3.13.12
Aircraft flights will be coordinated with observations from NASA's A-Train fleet of satellites, including Aura, which pass over the region every day. Credit: NASA
The University of Colorado's Brian Toon, a veteran of NASA airborne campaigns, is leading planning for the Southeast Asia mission. Credit: University of Colorado.
NASA's high-altitude ER-2 is one of several aircraft that will carry instruments to sample the Southeast Asian atmosphere. Credit: NASA
More than 150 scientists, technicians and airborne research specialists gathered in Boulder, Colo., last month to develop strategies for doing something that has never been done before: probing a vast expanse of the Southeast Asian atmosphere from top to bottom at the critical time of year when strong weather systems and prolific regional air pollution pump chemicals and particles high into the atmosphere with potentially global consequences for Earth's climate.
The daunting effort this group is crafting will be NASA's most complex and ambitious airborne science campaign of the year: the Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study, or SEAC4RS. With support from the National Science Foundation and the Naval Research Laboratory, the campaign will draw together coordinated observations from NASA satellites, several research aircraft, and an array of sites on the ground and at sea. The campaign is sponsored by the Earth Science Division in the Science Mission Directorate at NASA Headquarters in Washington.
Pending approval of NASA's plans by the government of Thailand, where the flights would originate, SEAC4RS will take to the field in August. The campaign is being lead by Brian Toon, chair of the University of Colorado's Department of Atmospheric and Oceanic Sciences. Toon is a veteran of NASA airborne campaigns, including flights to study the Antarctic ozone hole and atmospheric effects of volcanic eruptions.
"Southeast Asia is a really important part of the world. A large fraction of the world's population lives there," said Toon. "There are emissions from big seasonal fires and megacities that are moved around the region by a complex meteorological system. When these chemicals get into the stratosphere they can affect the whole Earth. They may also influence how the seasonal monsoon system behaves. With SEAC4RS we hope to better understand how all these things interact."
Some scientists believe that Southeast Asia is the primary place where new air is transported into the stratosphere. SEAC4RS will investigate that hypothesis and provide new insights into exactly what the effects are of the pollution vapors and tiny particles called aerosols that reach the stratosphere. Do the particles reflect incoming solar energy and produce a net cooling of our planet? Do the gases alter the chemical balance of the upper atmosphere and features like our protective ozone layer? SEAC4RS will address these issues of global concern.
Jeffrey Reid of the Naval Research Laboratory's Marine Meteorological Division in Monterey, Calif., the SEAC4RS lead for aerosol and radiation activities, is working on other environmental issues much closer to where people live. "Many scientists in Southeast Asia and the United States want to improve air quality forecasting in the region. This requires that we understand how pollution and the weather interrelate. Nowhere on Earth compares to Southeast Asia’s complex meteorology. It may be the most difficult place on the planet to forecast. Because the region hosts both severe air pollution episodes and some of the cleanest areas on Earth, it is an excellent natural laboratory to understand how pollution, weather and climate interact."
Reid's research is focused on developing methods to monitor the lifecycle of air pollution particles in Southeast Asia and to what extent aerosol pollution can change clouds. From a global climate perspective, clouds act both to keep energy rising from Earth's surface in the atmosphere and to reflect incoming solar energy back into space. Aerosols can change the blanket-like and mirror-like properties of clouds to change this energy balance. On a local level, the tiny pollution particles are thought to influence weather conditions by changing the timing and amount of rain falling from clouds.
SEAC4RS planners will be using a suite of scientific instruments in orbit, in the air, and on the ground to paint a detailed view of these intertwined atmospheric processes. As NASA's A-Train fleet of formation-flying satellites passes over the region every day, sensors will detect different features of the scene below.
NASA's ER-2 high-altitude aircraft will fly into the stratosphere to the edge of space while the National Science Foundation's G-V and NASA's DC-8 aircraft sample the atmosphere below it. An array of sensors spread across the region at locations on the ground and in the South China Sea will observe the atmosphere from the bottom up.
Another benefit of this thorough examination of the region's atmosphere will be more accurate satellite data. "Southeast Asia is an incredibly difficult place to do satellite remote sensing because clouds so often get in the way," said Hal Maring of the Earth Science Division at NASA Headquarters. "By using aircraft to collect data from inside the atmosphere rather than above it, we can compare those measurements with what our satellites see and improve the quality of the data from space."
NASA has proposed to base the SEAC4RS aircraft in Thailand so that the planes can sample the two big meteorological drivers of the region's atmospheric circulation: the summertime monsoon circulation to the west and marine convection to the east and south that can loft emissions into the stratosphere.
There is a lot of tricky coordination involved in planning a major field campaign like SEAC4RS, especially in a region made up of so many different countries. The Boulder meeting was the first time that everyone involved in the project got together to discuss detailed flight plans, logistics, and schedules.
"This is certainly one of the largest airborne campaigns NASA has undertaken," said Toon. "We have a diverse fleet of aircraft, a lot of different scientific communities involved, and we are flying over a new region for us. But it's exciting to see all these different people come together to tackle a big scientific problem," Toon said.
Related Links
SEAC4RS Mission Page
NASA's Airborne Science Program
Steve Cole
NASA Headquarters
เอ้า แปล ด้วย เห็นพี่น้องในนี้ ถึงขนาดมีจินตนาการ คิดเองเออเอง เลือกข้างกันแล้ว ก็ต้องฟังอีกข้างบ้างนะครับ
ประเทศไทย มีศักยภาพ ถ้าผมเป็นจีน เป็น อเมริกา ใครๆก็อยากเข้า จะให้เขาไปตั้งในพม่า ลาว เขมร มันยังไม่ถึง
ไม่พูดเรื่องลับลวงพรางนะครับ เพราะปากใครๆก็พูดได้
Edited by ballbkk, 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:41.
#46
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:39
ผมว่าเรื่องทำวิจัย เค้าคงอยากมาทำจริงๆล่ะครับ ดูเหมือนแถวนี้มีสภาพอากาศที่น่าสนใจ และประเทศไทยอยู่ในตำแหน่นงที่เหมาะจะเก็บข้อมูล โดยส่วนตัวผมอยากให้เค้ามาทำวิจัยนะแต่ต้องให้เปิดเผย เอาเข้าสภาคุยกัน และยอมให้ประเทศอื่นๆเข้าร่วมโครงการนี้ด้วยเพื่อแสดงความบริสุธิใจ ไม่มีเรื่องการทหารเข้ามาแอบแฝง
ลองอ่านดูนะครับ ข่าวนี้ออกมาตั้งแต่เดือนมีนาคมแล้ว มีหัวหน้าโครงการวิจัยเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย
ขอบคุณสำหรับข้อมูล... แต่มันคงไม่มีประโยชน์สำหรับคนแถวนี้เพราะ จินตนาการไปไกลเกินเยียวยาแล้ว...
ก็เล่นกันแต่การเมือง.... เค้าไม่สนใจหรอกครับว่า ประเทศจะได้อะไร โลกจะได้อะไร... สนใจแค่เล่นการเมือง...
ที่ตลกที่สุดก็คือ รัฐบาล ม้ากสุดหล่อไปเซ็นเอาไว้ว่าจะร่วมมือกัน แต่พอถึงเวลา ม้ากกระเด็นไปแล้ว... กลายเป็นว่า เป็นเรื่องการเมือง ชงวีซ่าให้แม้ว เป็น ฐานทัพให้ไอ้กัน... ซะงั้น..
ผมว่าเป็นความซวยของประเทศที่มี ฝ่ายหลับหูหลับตาค้าน... นี่ถ้าเป็นรัฐบาลอยู่ไม่ใช่เงา... กษิตคงจัดการเรียบร้อย... แมงวาปเงียบสนิท.. ตามปกติ และ พท เป็นคนเล่นเอง... 5555
จินตนาการกันเข้าไว้เยอะๆนะครับ...
แบบที่ ควายแดงเป็นกล้าง เป็นกลาง บางตัวจินตนาการเตลิดเปิดเปิงว่าเงินกองทุนน้ำมัน มันไปเข้ากระเป๋าใครในรัฐบาลที่ผ่านๆมาด้วยป่าววะ เฮนควาย
มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล
#47
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:45
NASA has proposed to base the SEAC4RS aircraft in Thailand so that the planes can sample the two big meteorological drivers of the region's atmospheric circulation: the summertime monsoon circulation to the west and marine convection to the east and south that can loft emissions into the stratosphere.
ขอเน้นตรงนี้เอาไว้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจก็แล้วกันครับ ดูเหมือนว่าตำแหน่งของประเทศไทยมันทำวิจัยได้สะดวกกว่าน่ะครับ เค้าต้องการตรวจวัดสภาพอากาศหลายๆที่เพื่อให้คุ้มกับงบประมาณ แล้วเค้าก็ต้องรีบทำในเร็วๆนี้ด้วยเพราะว่าฤดูมรสุมกำลังจะมาถึงแล้วครับ
หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.
#48
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:53
จินตนาการนั่นน่ะใช้กับควายแดง แต่คนดีอย่างเรา เรียกว่า วิเคราะห์ นะครับ
ผมว่าเรื่องทำวิจัย เค้าคงอยากมาทำจริงๆล่ะครับ ดูเหมือนแถวนี้มีสภาพอากาศที่น่าสนใจ และประเทศไทยอยู่ในตำแหน่นงที่เหมาะจะเก็บข้อมูล โดยส่วนตัวผมอยากให้เค้ามาทำวิจัยนะแต่ต้องให้เปิดเผย เอาเข้าสภาคุยกัน และยอมให้ประเทศอื่นๆเข้าร่วมโครงการนี้ด้วยเพื่อแสดงความบริสุธิใจ ไม่มีเรื่องการทหารเข้ามาแอบแฝง
ลองอ่านดูนะครับ ข่าวนี้ออกมาตั้งแต่เดือนมีนาคมแล้ว มีหัวหน้าโครงการวิจัยเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย
ขอบคุณสำหรับข้อมูล... แต่มันคงไม่มีประโยชน์สำหรับคนแถวนี้เพราะ จินตนาการไปไกลเกินเยียวยาแล้ว...
ก็เล่นกันแต่การเมือง.... เค้าไม่สนใจหรอกครับว่า ประเทศจะได้อะไร โลกจะได้อะไร... สนใจแค่เล่นการเมือง...
ที่ตลกที่สุดก็คือ รัฐบาล ม้ากสุดหล่อไปเซ็นเอาไว้ว่าจะร่วมมือกัน แต่พอถึงเวลา ม้ากกระเด็นไปแล้ว... กลายเป็นว่า เป็นเรื่องการเมือง ชงวีซ่าให้แม้ว เป็น ฐานทัพให้ไอ้กัน... ซะงั้น..
ผมว่าเป็นความซวยของประเทศที่มี ฝ่ายหลับหูหลับตาค้าน... นี่ถ้าเป็นรัฐบาลอยู่ไม่ใช่เงา... กษิตคงจัดการเรียบร้อย... แมงวาปเงียบสนิท.. ตามปกติ และ พท เป็นคนเล่นเอง... 5555
จินตนาการกันเข้าไว้เยอะๆนะครับ...
แบบที่ ควายแดงเป็นกล้าง เป็นกลาง บางตัวจินตนาการเตลิดเปิดเปิงว่าเงินกองทุนน้ำมัน มันไปเข้ากระเป๋าใครในรัฐบาลที่ผ่านๆมาด้วยป่าววะ เฮนควาย
#49
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 12:58
#50
ตอบ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 13:02
ผมว่าเรื่องทำวิจัย เค้าคงอยากมาทำจริงๆล่ะครับ ดูเหมือนแถวนี้มีสภาพอากาศที่น่าสนใจ และประเทศไทยอยู่ในตำแหน่นงที่เหมาะจะเก็บข้อมูล โดยส่วนตัวผมอยากให้เค้ามาทำวิจัยนะแต่ต้องให้เปิดเผย เอาเข้าสภาคุยกัน และยอมให้ประเทศอื่นๆเข้าร่วมโครงการนี้ด้วยเพื่อแสดงความบริสุธิใจ ไม่มีเรื่องการทหารเข้ามาแอบแฝง
ลองอ่านดูนะครับ ข่าวนี้ออกมาตั้งแต่เดือนมีนาคมแล้ว มีหัวหน้าโครงการวิจัยเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย
http://www.nasa.gov/...es/seac4rs.html
NASA Planning Major Airborne Scientific Study in Southeast Asia3.13.12
Aircraft flights will be coordinated with observations from NASA's A-Train fleet of satellites, including Aura, which pass over the region every day. Credit: NASA
The University of Colorado's Brian Toon, a veteran of NASA airborne campaigns, is leading planning for the Southeast Asia mission. Credit: University of Colorado.
NASA's high-altitude ER-2 is one of several aircraft that will carry instruments to sample the Southeast Asian atmosphere. Credit: NASA
More than 150 scientists, technicians and airborne research specialists gathered in Boulder, Colo., last month to develop strategies for doing something that has never been done before: probing a vast expanse of the Southeast Asian atmosphere from top to bottom at the critical time of year when strong weather systems and prolific regional air pollution pump chemicals and particles high into the atmosphere with potentially global consequences for Earth's climate.
The daunting effort this group is crafting will be NASA's most complex and ambitious airborne science campaign of the year: the Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study, or SEAC4RS. With support from the National Science Foundation and the Naval Research Laboratory, the campaign will draw together coordinated observations from NASA satellites, several research aircraft, and an array of sites on the ground and at sea. The campaign is sponsored by the Earth Science Division in the Science Mission Directorate at NASA Headquarters in Washington.
Pending approval of NASA's plans by the government of Thailand, where the flights would originate, SEAC4RS will take to the field in August. The campaign is being lead by Brian Toon, chair of the University of Colorado's Department of Atmospheric and Oceanic Sciences. Toon is a veteran of NASA airborne campaigns, including flights to study the Antarctic ozone hole and atmospheric effects of volcanic eruptions.
"Southeast Asia is a really important part of the world. A large fraction of the world's population lives there," said Toon. "There are emissions from big seasonal fires and megacities that are moved around the region by a complex meteorological system. When these chemicals get into the stratosphere they can affect the whole Earth. They may also influence how the seasonal monsoon system behaves. With SEAC4RS we hope to better understand how all these things interact."
Some scientists believe that Southeast Asia is the primary place where new air is transported into the stratosphere. SEAC4RS will investigate that hypothesis and provide new insights into exactly what the effects are of the pollution vapors and tiny particles called aerosols that reach the stratosphere. Do the particles reflect incoming solar energy and produce a net cooling of our planet? Do the gases alter the chemical balance of the upper atmosphere and features like our protective ozone layer? SEAC4RS will address these issues of global concern.
Jeffrey Reid of the Naval Research Laboratory's Marine Meteorological Division in Monterey, Calif., the SEAC4RS lead for aerosol and radiation activities, is working on other environmental issues much closer to where people live. "Many scientists in Southeast Asia and the United States want to improve air quality forecasting in the region. This requires that we understand how pollution and the weather interrelate. Nowhere on Earth compares to Southeast Asia’s complex meteorology. It may be the most difficult place on the planet to forecast. Because the region hosts both severe air pollution episodes and some of the cleanest areas on Earth, it is an excellent natural laboratory to understand how pollution, weather and climate interact."
Reid's research is focused on developing methods to monitor the lifecycle of air pollution particles in Southeast Asia and to what extent aerosol pollution can change clouds. From a global climate perspective, clouds act both to keep energy rising from Earth's surface in the atmosphere and to reflect incoming solar energy back into space. Aerosols can change the blanket-like and mirror-like properties of clouds to change this energy balance. On a local level, the tiny pollution particles are thought to influence weather conditions by changing the timing and amount of rain falling from clouds.
SEAC4RS planners will be using a suite of scientific instruments in orbit, in the air, and on the ground to paint a detailed view of these intertwined atmospheric processes. As NASA's A-Train fleet of formation-flying satellites passes over the region every day, sensors will detect different features of the scene below.
NASA's ER-2 high-altitude aircraft will fly into the stratosphere to the edge of space while the National Science Foundation's G-V and NASA's DC-8 aircraft sample the atmosphere below it. An array of sensors spread across the region at locations on the ground and in the South China Sea will observe the atmosphere from the bottom up.
Another benefit of this thorough examination of the region's atmosphere will be more accurate satellite data. "Southeast Asia is an incredibly difficult place to do satellite remote sensing because clouds so often get in the way," said Hal Maring of the Earth Science Division at NASA Headquarters. "By using aircraft to collect data from inside the atmosphere rather than above it, we can compare those measurements with what our satellites see and improve the quality of the data from space."
NASA has proposed to base the SEAC4RS aircraft in Thailand so that the planes can sample the two big meteorological drivers of the region's atmospheric circulation: the summertime monsoon circulation to the west and marine convection to the east and south that can loft emissions into the stratosphere.
There is a lot of tricky coordination involved in planning a major field campaign like SEAC4RS, especially in a region made up of so many different countries. The Boulder meeting was the first time that everyone involved in the project got together to discuss detailed flight plans, logistics, and schedules.
"This is certainly one of the largest airborne campaigns NASA has undertaken," said Toon. "We have a diverse fleet of aircraft, a lot of different scientific communities involved, and we are flying over a new region for us. But it's exciting to see all these different people come together to tackle a big scientific problem," Toon said.
Related Links
SEAC4RS Mission Page
NASA's Airborne Science Program
Steve Cole
NASA Headquarters
ขอบคุณสำหรับข้อมูล... แต่มันคงไม่มีประโยชน์สำหรับคนแถวนี้เพราะ จินตนาการไปไกลเกินเยียวยาแล้ว...
ก็เล่นกันแต่การเมือง.... เค้าไม่สนใจหรอกครับว่า ประเทศจะได้อะไร โลกจะได้อะไร... สนใจแค่เล่นการเมือง...
ที่ตลกที่สุดก็คือ รัฐบาล ม้ากสุดหล่อไปเซ็นเอาไว้ว่าจะร่วมมือกัน แต่พอถึงเวลา ม้ากกระเด็นไปแล้ว... กลายเป็นว่า เป็นเรื่องการเมือง ชงวีซ่าให้แม้ว เป็น ฐานทัพให้ไอ้กัน... ซะงั้น..
ผมว่าเป็นความซวยของประเทศที่มี ฝ่ายหลับหูหลับตาค้าน... นี่ถ้าเป็นรัฐบาลอยู่ไม่ใช่เงา... กษิตคงจัดการเรียบร้อย... แมงวาปเงียบสนิท.. ตามปกติ และ พท เป็นคนเล่นเอง... 5555
จินตนาการกันเข้าไว้เยอะๆนะครับ...
คุณเองก็ควรมองอีกด้านนึงด้วยนะครับ ถ้ามาทำวิจัยเฉยๆน่ะผมเห็นด้วย แต่อย่ามาหมกเม็ดเรื่องการทหารเข้าไปด้วย เรื่องนี้เป็นสิ่งที่พึงระวังอย่างยิ่ง ที่เค้าค้านกันนั้นเค้าต้องการความโปร่งใสครับ ไม่ได้เอะอะ อะไรก็ไม่เอา เพียงแต่เราต้องรอบคอบเพราะสถานการณ์โลกขณะนี้มันไม่น่าไว้ใจ และมันไม่ใช่เรื่องที่เราจะเอาประเทศเราไปยุ่งเกี่ยวกับความขัดแย้งของคนอื่น จริงมั้ยครับ
หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.
ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน