ยกที่ 2 เกาะติดคดีบรรลือโลกศาลรัฐธรรมนูญ
#151
Posted 6 July 2012 - 23:10
- redfrog53 likes this
เรื่องแถ เรื่่องตอแหล ใครที่ว่าแน่ ยังแพ้พวกเสื้อแดง
หยุด ทำร้ายประเทศไทย หยุด กฎหมายนิรโทษกรรม
#152
Posted 6 July 2012 - 23:17
ก็ดันเอาวิธีสู้ของระบบกล่าวหามาใช้ในระบบไต่สวนแบบนี้เป็นอันจอดสิครับ แต่ดูเหมือนพรรคพวกนี้จะยังไม่เคยเข็ดนะครับบอกคำเดียวนะครับ ฝายถูกร้อง ตายแบบไม่ได้เกิดเลย สะใจจริงๆ อยากบอก ถ้าไม่ใช่ในศาลก็คงแถไปแล้วแต่นี่....แถไม่ได้ครับ สมควรแล้วที่ต้องโดน ดิ้นไม่หลุดแน่ๆๆ
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#153
Posted 6 July 2012 - 23:42
การขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 ที่ให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ ส.ส.ร. 99 คน ขึ้นมาจัดทำร่างฉบับใหม่
และยกเลิกฉบับ 2550 ลงทั้งฉบับ
และเมื่อ ส.ส.ร.ร่างเสร็จ ร่างจะถูกส่งไปที่ประธานรัฐสภา เพื่อวินิจฉัยว่ามีลักษณะต้องห้ามหรือไม่
โดยที่รัฐสภาไม่มีโอกาสในการพิจารณาเนื้อหาใดๆ ของร่างอีก
เมื่อพิจารณาจาก มาตรา 291 ประกอบมาตรา 68 แล้วเห็นได้ว่า รัฐธรรมนูญ 2550
ให้ทำได้เฉพาะการแก้ไขเพิ่มเติมเฉพาะหลักเกณฑ์เป็นรายมาตรา
แต่ห้ามมิให้มีการล้มล้างหรือฉีกรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ
และกำหนดให้รัฐสภาเป็นผู้พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ
มิได้ให้มอบอำนาจ
ดังนั้น จึงชัดเจนว่า การแก้ไขรัฐธรรมนูญขัดต่อมาตรา 68
มาตรา ๒๙๑
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้
(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้
(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภา พิจารณาเป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟัง ความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอา เสียงข้างมากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม
Edited by amplepoor, 6 July 2012 - 23:54.
#154
Posted 6 July 2012 - 23:57
เรื่องแถ เรื่่องตอแหล ใครที่ว่าแน่ ยังแพ้พวกเสื้อแดง
หยุด ทำร้ายประเทศไทย หยุด กฎหมายนิรโทษกรรม
#155
Posted 7 July 2012 - 03:23
ไพ่ใบเดียวของฝั่งสีเขียว มีค่ามากกว่าแต้มหน้าไพ่ของทักษิณรวมกันซะอีก
#157
Posted 7 July 2012 - 08:52
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้
(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิก ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้
(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภา พิจารณาเป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา
ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญ แก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอา เสียงข้างมากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่า กึ่งหนึ่ง ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม
...ต้องฟังความคิดเห็นชอบหรือไม่ชอบจากห้าหมื่นคนด้วยรึเปล่า...แล้วมันทำกันรึยังไม่เห็นรู้เรื่องเลย...
"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"
#158
Posted 7 July 2012 - 09:25
ผู้ร้องมีสิทธิ์ยื่นคำร้องต่อศาลโดยตรงตาม ม 68 หรือไม่ (ผ่าน)
ล้มล้างระบบการปกครองหรือไม่ (ผ่าน)
ตาม ม 291 สามารถแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับได้หรือไม่ (ลุ้นเอา)
มีโทษยุบพรรคหรือไม่ (ผ่าน)
น่าจะเหลือให้ลุ้นอยู่ประเด็นเดียว
#159
Posted 7 July 2012 - 11:45
ประเด็นที่ศาลตั้งไว้
ผู้ร้องมีสิทธิ์ยื่นคำร้องต่อศาลโดยตรงตาม ม 68 หรือไม่ (ผ่าน)
ล้มล้างระบบการปกครองหรือไม่ (ผ่าน)
ตาม ม 291 สามารถแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับได้หรือไม่ (ลุ้นเอา)
มีโทษยุบพรรคหรือไม่ (ผ่าน)
น่าจะเหลือให้ลุ้นอยู่ประเด็นเดียว
จะออกความเห็นอย่างไรก็เป็นสิทธิ ของท่าน
ผ่าน ไม่ผ่าน อะไรก็ท่านพูดเองทั้งนั้น
แต่ศาลจะตัดสินอย่างท่านว่ารึปล่าว นั่นเป็นอีกเรื่อง
#160
Posted 7 July 2012 - 11:51
ประเด็นที่ศาลตั้งไว้
ผู้ร้องมีสิทธิ์ยื่นคำร้องต่อศาลโดยตรงตาม ม 68 หรือไม่ (ผ่าน)
ล้มล้างระบบการปกครองหรือไม่ (ผ่าน)
ตาม ม 291 สามารถแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับได้หรือไม่ (ลุ้นเอา)
มีโทษยุบพรรคหรือไม่ (ผ่าน)
น่าจะเหลือให้ลุ้นอยู่ประเด็นเดียว
สงสัยเคยดูแต่หนังคณะลูกขุนนั่งฟัง แล้วให้ต่างฝ่ายซักให้คณะลูกขุนฟัง...
กระบวนการมันบ่ครือกันนะสิบอกให่...
0 user(s) are reading this topic
0 members, 0 guests, 0 anonymous users