"เอแบคโพลล์" เผย ปชช.เกินครึ่งไม่เห็นด้วยเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ-ชม รบ.ทำงานดี เชื่อแก้ รธน. ขัดแย้งเพิ่ม
#1
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:07
ดร.นพ ดล กรรณิกา ผู้อำนวยการสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง "เจาะใจค้นหาความสุขของคนทุกกลุ่มสี และการแก้ไขรัฐธรรมนูญกับการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลในสายตาของสาธารณชน" กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปใน 17 จังหวัดของประเทศ
เมื่อสอบถามถึง ประสบการณ์เคยอ่านรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 83.8 เคยอ่านเพียงเล็กน้อยถึง ไม่เคยอ่านเลย เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว ไม่มีเวลา ไม่เห็นประโยชน์ เป็นภาษากฎหมาย เข้าใจยาก น่าเบื่อ เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 16.2 เคยอ่านค่อนข้างมาก ถึง อ่านทั้งฉบับ เพราะ ต้องใช้ทำงาน เรียนหนังสือ แก้ปัญหาเดือดร้อนในชีวิต เป็นต้น
ที่ น่าพิจารณาคือ มาตราที่เกี่ยวข้องกับชีวิตชาวบ้านที่อยากให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เมื่อตอบได้มากกว่า 1 ข้อ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 56.6 ระบุการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในเรื่องต่างๆ เช่น ความปลอดภัย ความมั่นคง สวัสดิภาพในชีวิต และสุขภาวะด้านต่างๆ ของชาวบ้าน รองลงมาคือ ร้อยละ 52.9 ระบุความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ ร้อยละ 49.3 ระบุกระบวนการยุติธรรม ร้อยละ 46.5 ระบุเสรีภาพของชนชาวไทย ร้อยละ 37.7 ระบุระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา และร้อยละ 37.3 ระบุการทำสนธิสัญญากับต่างประเทศ
ผลสำรวจยังพบด้วยว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 91.8 เห็นว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญควรให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในขณะที่ร้อยละ 8.2 ระบุควรปล่อยให้เป็นเรื่องของรัฐสภา
ที่น่าเป็นห่วงคือ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.8 ยังไม่เห็นความชัดเจนถ้าแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้วชาวบ้านจะได้ประโยชน์อะไร เพราะมีแต่นักการเมืองและกลุ่มคนเฉพาะกลุ่มจะได้ประโยชน์ ในขณะที่ร้อยละ 35.2 เห็นความชัดเจนแล้วว่า ชาวบ้านจะได้ประโยชน์จากการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
นอกจาก นี้ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 68.0 คิดว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรงบานปลาย ในขณะที่ร้อยละ 32.0 ไม่คิดว่าจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรง และส่วนใหญ่หรือร้อยละ 77.9 คิดว่า พ.ร.บ.ปรองดองจะไม่ประสบความสำเร็จ
เมื่อถามถึง การยื่นอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พบว่า เกินครึ่งหรือร้อยละ 52.2 ไม่เห็นด้วย เพราะ รัฐบาลยังทำงานได้ดี เกรงว่าจะมีแต่เรื่องวุ่นวาย จะทะเลาะกันจนเสียภาพลักษณ์ของการเมืองไทย จะทำให้ชาวบ้านเบื่อหน่ายและมีอคติต่อการเมืองยิ่งขึ้นไปอีก น่าจะปล่อยให้รัฐบาลทำงานไปก่อน เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 47.8 เห็นด้วย เพราะจะได้เป็นโอกาสให้ประชาชนรู้ข้อมูลข่าวสารมากขึ้น เป็นการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลอย่างเข้มข้น อยากเห็นข้อมูลใหม่ๆ รัฐบาลจะได้นำไปใช้ประโยชน์ในปรับปรุงการทำงาน เป็นต้น
อย่างไร ก็ตาม ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.1 ระบุควรให้โอกาสรัฐบาลทำงานต่อไปก่อน ในขณะที่ร้อยละ 24.8 ระบุไม่ควรให้โอกาสแล้ว และร้อยละ 11.1 ไม่มีความเห็น
ที่ น่าสนใจคือ คำถามที่เจาะลึกถึงความสุขคนไทยในทุกกลุ่มสีเวลานี้ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 57.2 มีความสุขทรงตัวเท่าเดิม แต่ร้อยละ 30.5 มีความสุขลดลง และเพียงร้อยละ 12.3 ที่สุขเพิ่มขึ้น
เมื่อจำแนกกลุ่มประชาชนออกตามจุดยืนทางการเมืองของกลุ่มสีต่างๆ พบประเด็นที่น่าพิจารณาคือ
กลุ่มคนเสื้อแดงส่วนใหญ่หรือร้อยละ 81.9 มีความสุขมากที่สุดเมื่อเห็นคนไทยเป็นหนึ่งเดียวกันแสดงความจงรักภักดี
ใน ขณะที่กลุ่มคนเสื้อเหลืองส่วนใหญ่หรือร้อยละ 76.8 และกลุ่มคนที่ไม่อยู่ฝ่ายใด หรือกลุ่มพลังเงียบร้อยละ 75.7 ที่มีความสุขมากที่สุดเช่นกันเมื่อเห็นคนไทยเป็นหนึ่งเดียวกันในการแสดงความ จงรักภักดี
ยิ่งไปกว่านั้น กลุ่มคนเสื้อแดงส่วนใหญ่หรือร้อยละ 82.8 มีความรัก ความสามัคคี มีจิตใจช่วยเหลือเกื้อกูลต่อคนไทยทุกคนระดับมากถึงมากที่สุด เช่นเดียวกับ กลุ่มคนเสื้อเหลืองร้อยละ 79.3 และกลุ่มพลังเงียบร้อยละ 75.4 ตามลำดับที่มีความรัก ความสามัคคี มีจิตใจช่วยเหลือเกื้อกูลต่อคนไทยทุกคน
http://www.matichon....atid=&subcatid=
#2
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:12
นักโพสหน้า-ตัว-เมีย ไปเคลียร์กระทู้เดิมก่อนวันที่ 05 สิงหาคม พ.ศ. 2555 เวลา 11:22:22 น.
ดร.นพ ดล กรรณิกา ผู้อำนวยการสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง "เจาะใจค้นหาความสุขของคนทุกกลุ่มสี และการแก้ไขรัฐธรรมนูญกับการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลในสายตาของสาธารณชน" กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปใน 17 จังหวัดของประเทศ
เมื่อสอบถามถึง ประสบการณ์เคยอ่านรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 83.8 เคยอ่านเพียงเล็กน้อยถึง ไม่เคยอ่านเลย เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว ไม่มีเวลา ไม่เห็นประโยชน์ เป็นภาษากฎหมาย เข้าใจยาก น่าเบื่อ เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 16.2 เคยอ่านค่อนข้างมาก ถึง อ่านทั้งฉบับ เพราะ ต้องใช้ทำงาน เรียนหนังสือ แก้ปัญหาเดือดร้อนในชีวิต เป็นต้น
ที่ น่าพิจารณาคือ มาตราที่เกี่ยวข้องกับชีวิตชาวบ้านที่อยากให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เมื่อตอบได้มากกว่า 1 ข้อ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 56.6 ระบุการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในเรื่องต่างๆ เช่น ความปลอดภัย ความมั่นคง สวัสดิภาพในชีวิต และสุขภาวะด้านต่างๆ ของชาวบ้าน รองลงมาคือ ร้อยละ 52.9 ระบุความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ ร้อยละ 49.3 ระบุกระบวนการยุติธรรม ร้อยละ 46.5 ระบุเสรีภาพของชนชาวไทย ร้อยละ 37.7 ระบุระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา และร้อยละ 37.3 ระบุการทำสนธิสัญญากับต่างประเทศ
ผลสำรวจยังพบด้วยว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 91.8 เห็นว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญควรให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในขณะที่ร้อยละ 8.2 ระบุควรปล่อยให้เป็นเรื่องของรัฐสภา
ที่น่าเป็นห่วงคือ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.8 ยังไม่เห็นความชัดเจนถ้าแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้วชาวบ้านจะได้ประโยชน์อะไร เพราะมีแต่นักการเมืองและกลุ่มคนเฉพาะกลุ่มจะได้ประโยชน์ ในขณะที่ร้อยละ 35.2 เห็นความชัดเจนแล้วว่า ชาวบ้านจะได้ประโยชน์จากการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
นอกจาก นี้ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 68.0 คิดว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรงบานปลาย ในขณะที่ร้อยละ 32.0 ไม่คิดว่าจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรง และส่วนใหญ่หรือร้อยละ 77.9 คิดว่า พ.ร.บ.ปรองดองจะไม่ประสบความสำเร็จ
เมื่อถามถึง การยื่นอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พบว่า เกินครึ่งหรือร้อยละ 52.2 ไม่เห็นด้วย เพราะ รัฐบาลยังทำงานได้ดี เกรงว่าจะมีแต่เรื่องวุ่นวาย จะทะเลาะกันจนเสียภาพลักษณ์ของการเมืองไทย จะทำให้ชาวบ้านเบื่อหน่ายและมีอคติต่อการเมืองยิ่งขึ้นไปอีก น่าจะปล่อยให้รัฐบาลทำงานไปก่อน เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 47.8 เห็นด้วย เพราะจะได้เป็นโอกาสให้ประชาชนรู้ข้อมูลข่าวสารมากขึ้น เป็นการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลอย่างเข้มข้น อยากเห็นข้อมูลใหม่ๆ รัฐบาลจะได้นำไปใช้ประโยชน์ในปรับปรุงการทำงาน เป็นต้น
อย่างไร ก็ตาม ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.1 ระบุควรให้โอกาสรัฐบาลทำงานต่อไปก่อน ในขณะที่ร้อยละ 24.8 ระบุไม่ควรให้โอกาสแล้ว และร้อยละ 11.1 ไม่มีความเห็น
ที่ น่าสนใจคือ คำถามที่เจาะลึกถึงความสุขคนไทยในทุกกลุ่มสีเวลานี้ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 57.2 มีความสุขทรงตัวเท่าเดิม แต่ร้อยละ 30.5 มีความสุขลดลง และเพียงร้อยละ 12.3 ที่สุขเพิ่มขึ้น
เมื่อจำแนกกลุ่มประชาชนออกตามจุดยืนทางการเมืองของกลุ่มสีต่างๆ พบประเด็นที่น่าพิจารณาคือ
กลุ่มคนเสื้อแดงส่วนใหญ่หรือร้อยละ 81.9 มีความสุขมากที่สุดเมื่อเห็นคนไทยเป็นหนึ่งเดียวกันแสดงความจงรักภักดี
ใน ขณะที่กลุ่มคนเสื้อเหลืองส่วนใหญ่หรือร้อยละ 76.8 และกลุ่มคนที่ไม่อยู่ฝ่ายใด หรือกลุ่มพลังเงียบร้อยละ 75.7 ที่มีความสุขมากที่สุดเช่นกันเมื่อเห็นคนไทยเป็นหนึ่งเดียวกันในการแสดงความ จงรักภักดี
ยิ่งไปกว่านั้น กลุ่มคนเสื้อแดงส่วนใหญ่หรือร้อยละ 82.8 มีความรัก ความสามัคคี มีจิตใจช่วยเหลือเกื้อกูลต่อคนไทยทุกคนระดับมากถึงมากที่สุด เช่นเดียวกับ กลุ่มคนเสื้อเหลืองร้อยละ 79.3 และกลุ่มพลังเงียบร้อยละ 75.4 ตามลำดับที่มีความรัก ความสามัคคี มีจิตใจช่วยเหลือเกื้อกูลต่อคนไทยทุกคน
http://www.matichon....atid=&subcatid=
http://webboard.seri...จะช้าไปหน่อย-ค/
ตอแหลเป็นสันดาน ใส่เหตุผลที่ถูกต้องหัวกระทู้ไปด้วย
ทำไมถึงถึงไม่เห็นด้วยเปิดอภิปราย
พวกเปรตจอมตอแหล
Edited by ssa, 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:13.
#3
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:18
ไม่ลองกลับไปดูกระทู้ที่ตั้งมาหรือ เละไปถึงไหนแล้ว
นารีขี่พยัคฆ์กำลังจะผงาดที่ดินแดนพญาอินทรีย์ เมื่อUNICEFเชิญยิ่งลักษณ์ไปช่วยเรื่องเด็กและสตรีในสหรัฐ
นายกปูกำลังเล่นเว็บไหนอยู่อะ?
รองโฆษกสำนักนายกแฉอภิสิทธิ์โดนนร.นายร้อยจปร.โห่ไล่หลายครั้งในห้องเรียน
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#4
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:20
ขอบคุณทุกกำลังใจที่ส่งมาให้ทางหลังไมค์ครับ
อย่าโทษใครเลยครับ ผมเองก็มีส่วนผิดอยู่ด้วยเหมือนกัน
ผมเชื่อว่าพวกเราทุกคนจะร่วมกันฟันฝ่าปัญหานี้ไปได้ด้วยกัน
#5
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:21
#6
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:23
#7
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:24
#9
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:31
ประชาธิปไตยแบบแดง: 1. ไม่ใช่แดง เป็นประชาธิปไตยไม่ได้ 2. เสียงส่วนใหญ่ คือเสียงถูกต้อง 3. กฎพวกพ้องต้องเหนือกฎหมาย 4. เบื้องสูงมีไว้เหยียบย่ำ 5. ใครทำก็ผิด แต่แดงต้องไม่ผิด 6. คิดร้ายต่อทักษิณย่อมชั่ว 7. มั่วบิดเบือนหลอกพวกเดียวกัน 8. ปั้นน้ำเป็นตัวแล้วแถ
#10
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:36
ยังไงก็โดนแน่คร้าบบบบบบ
#11
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:44
555
สวัสดีครับ ทำบุญรึยังครับ
#12
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:46
ยัง...อยู่หรอ ครับ555
#13
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:50
คะแนนแพ้ชนะกันไม่เท่าไหร่นี่
ขึ้นอยู่กับฝ่ายค้านล่ะจะเปิดเกมนี้หรือไม่
เขียนเรื่องการเมือง : ดราม่า ,เขียนเรื่องสังคม : ดราม่า เขียนเรื่องบันเทิง : ดราม่า
แต่พอโพสเรื่องหื่น : มีความเห็นเป็นไปทางเดียวกันเสมอ >3<
#14
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:52
นักโพสหน้า-ตัว-เมีย ไปเคลียร์กระทู้เดิมก่อน
วันที่ 05 สิงหาคม พ.ศ. 2555 เวลา 11:22:22 น.
ดร.นพ ดล กรรณิกา ผู้อำนวยการสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง "เจาะใจค้นหาความสุขของคนทุกกลุ่มสี และการแก้ไขรัฐธรรมนูญกับการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลในสายตาของสาธารณชน" กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปใน 17 จังหวัดของประเทศ
เมื่อสอบถามถึง ประสบการณ์เคยอ่านรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 83.8 เคยอ่านเพียงเล็กน้อยถึง ไม่เคยอ่านเลย เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว ไม่มีเวลา ไม่เห็นประโยชน์ เป็นภาษากฎหมาย เข้าใจยาก น่าเบื่อ เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 16.2 เคยอ่านค่อนข้างมาก ถึง อ่านทั้งฉบับ เพราะ ต้องใช้ทำงาน เรียนหนังสือ แก้ปัญหาเดือดร้อนในชีวิต เป็นต้น
ที่ น่าพิจารณาคือ มาตราที่เกี่ยวข้องกับชีวิตชาวบ้านที่อยากให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เมื่อตอบได้มากกว่า 1 ข้อ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 56.6 ระบุการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในเรื่องต่างๆ เช่น ความปลอดภัย ความมั่นคง สวัสดิภาพในชีวิต และสุขภาวะด้านต่างๆ ของชาวบ้าน รองลงมาคือ ร้อยละ 52.9 ระบุความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ ร้อยละ 49.3 ระบุกระบวนการยุติธรรม ร้อยละ 46.5 ระบุเสรีภาพของชนชาวไทย ร้อยละ 37.7 ระบุระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา และร้อยละ 37.3 ระบุการทำสนธิสัญญากับต่างประเทศ
ผลสำรวจยังพบด้วยว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 91.8 เห็นว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญควรให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในขณะที่ร้อยละ 8.2 ระบุควรปล่อยให้เป็นเรื่องของรัฐสภา
ที่น่าเป็นห่วงคือ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.8 ยังไม่เห็นความชัดเจนถ้าแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้วชาวบ้านจะได้ประโยชน์อะไร เพราะมีแต่นักการเมืองและกลุ่มคนเฉพาะกลุ่มจะได้ประโยชน์ ในขณะที่ร้อยละ 35.2 เห็นความชัดเจนแล้วว่า ชาวบ้านจะได้ประโยชน์จากการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
นอกจาก นี้ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 68.0 คิดว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรงบานปลาย ในขณะที่ร้อยละ 32.0 ไม่คิดว่าจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรง และส่วนใหญ่หรือร้อยละ 77.9 คิดว่า พ.ร.บ.ปรองดองจะไม่ประสบความสำเร็จ
เมื่อถามถึง การยื่นอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พบว่า เกินครึ่งหรือร้อยละ 52.2 ไม่เห็นด้วย เพราะ รัฐบาลยังทำงานได้ดี เกรงว่าจะมีแต่เรื่องวุ่นวาย จะทะเลาะกันจนเสียภาพลักษณ์ของการเมืองไทย จะทำให้ชาวบ้านเบื่อหน่ายและมีอคติต่อการเมืองยิ่งขึ้นไปอีก น่าจะปล่อยให้รัฐบาลทำงานไปก่อน เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 47.8 เห็นด้วย เพราะจะได้เป็นโอกาสให้ประชาชนรู้ข้อมูลข่าวสารมากขึ้น เป็นการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลอย่างเข้มข้น อยากเห็นข้อมูลใหม่ๆ รัฐบาลจะได้นำไปใช้ประโยชน์ในปรับปรุงการทำงาน เป็นต้น
อย่างไร ก็ตาม ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.1 ระบุควรให้โอกาสรัฐบาลทำงานต่อไปก่อน ในขณะที่ร้อยละ 24.8 ระบุไม่ควรให้โอกาสแล้ว และร้อยละ 11.1 ไม่มีความเห็น
ที่ น่าสนใจคือ คำถามที่เจาะลึกถึงความสุขคนไทยในทุกกลุ่มสีเวลานี้ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 57.2 มีความสุขทรงตัวเท่าเดิม แต่ร้อยละ 30.5 มีความสุขลดลง และเพียงร้อยละ 12.3 ที่สุขเพิ่มขึ้น
เมื่อจำแนกกลุ่มประชาชนออกตามจุดยืนทางการเมืองของกลุ่มสีต่างๆ พบประเด็นที่น่าพิจารณาคือ
กลุ่มคนเสื้อแดงส่วนใหญ่หรือร้อยละ 81.9 มีความสุขมากที่สุดเมื่อเห็นคนไทยเป็นหนึ่งเดียวกันแสดงความจงรักภักดี
ใน ขณะที่กลุ่มคนเสื้อเหลืองส่วนใหญ่หรือร้อยละ 76.8 และกลุ่มคนที่ไม่อยู่ฝ่ายใด หรือกลุ่มพลังเงียบร้อยละ 75.7 ที่มีความสุขมากที่สุดเช่นกันเมื่อเห็นคนไทยเป็นหนึ่งเดียวกันในการแสดงความ จงรักภักดี
ยิ่งไปกว่านั้น กลุ่มคนเสื้อแดงส่วนใหญ่หรือร้อยละ 82.8 มีความรัก ความสามัคคี มีจิตใจช่วยเหลือเกื้อกูลต่อคนไทยทุกคนระดับมากถึงมากที่สุด เช่นเดียวกับ กลุ่มคนเสื้อเหลืองร้อยละ 79.3 และกลุ่มพลังเงียบร้อยละ 75.4 ตามลำดับที่มีความรัก ความสามัคคี มีจิตใจช่วยเหลือเกื้อกูลต่อคนไทยทุกคน
http://www.matichon....atid=&subcatid=
http://webboard.seri...จะช้าไปหน่อย-ค/
ตอแหลเป็นสันดาน ใส่เหตุผลที่ถูกต้องหัวกระทู้ไปด้วย
ทำไมถึงถึงไม่เห็นด้วยเปิดอภิปราย
พวกเปรตจอมตอแหล
ว่าอยากเห็น โพลฉบับขยายความอยู่พอดี ..
พวกปลวกสายพันธุ์ควาย ก็ ยังอ่านแค่บทที่เขาสรุปให้ เหมือนเดิม ...
Edited by นักเรียนตลอดชีพ, 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:54.
.. เห็นได้ชัด ประชาธิปไตย เสียงส่วนใหญ่ ไม่ได้ทำให้ได้มา ซึ่งผู้นำที่เก่ง และ ฉลาด ..
ที่นำความอยู่ดี กินดี มาให้ประชาชนได้ แล้วคุณยังจะอ้างประชาธิปไตยเสียงส่วนใหญ่ทำไม
#15
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 13:57
#16
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 14:04
สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ โพลก็ออกมาแบบนี้แหละ ว่าไม่อยากให้เปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ ไปหาดูโพลเก่าๆ ได้ว่ะ
สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์นะครับ
ความคิดเห็นของประชาชน กรณี ฝ่ายค้านยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล
อันดับ 1
เห็นด้วย
52.02%
เพราะ เพื่อให้รัฐบาลได้ชี้แจงข้อเท็จจริงและแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสในการทำงาน จะได้ทำงานรอบคอบและระมัดระวังมากขึ้น ฯลฯอันดับ 2
ไม่เห็นด้วย
32.43%
http://dusitpoll.dus...3/2553_057.html
#17
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 14:07
และทำไมประชาชนที่เป็นคนที่ได้รับผลประโยชน์โดยตรงกับการอภิปรายไม่ใว้วางใจ ถึงจะไม่เห็นด้วย
Logic ล้มเหลว
#18
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 14:09
วันที่ 05 สิงหาคม พ.ศ. 2555 เวลา 11:22:22 น.
ดร.นพ ดล กรรณิกา ผู้อำนวยการสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง "เจาะใจค้นหาความสุขของคนทุกกลุ่มสี และการแก้ไขรัฐธรรมนูญกับการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลในสายตาของสาธารณชน" กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปใน 17 จังหวัดของประเทศ
เมื่อสอบถามถึง ประสบการณ์เคยอ่านรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 83.8 เคยอ่านเพียงเล็กน้อยถึง ไม่เคยอ่านเลย เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว ไม่มีเวลา ไม่เห็นประโยชน์ เป็นภาษากฎหมาย เข้าใจยาก น่าเบื่อ เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 16.2 เคยอ่านค่อนข้างมาก ถึง อ่านทั้งฉบับ เพราะ ต้องใช้ทำงาน เรียนหนังสือ แก้ปัญหาเดือดร้อนในชีวิต เป็นต้น
ที่ น่าพิจารณาคือ มาตราที่เกี่ยวข้องกับชีวิตชาวบ้านที่อยากให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เมื่อตอบได้มากกว่า 1 ข้อ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 56.6 ระบุการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในเรื่องต่างๆ เช่น ความปลอดภัย ความมั่นคง สวัสดิภาพในชีวิต และสุขภาวะด้านต่างๆ ของชาวบ้าน รองลงมาคือ ร้อยละ 52.9 ระบุความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ ร้อยละ 49.3 ระบุกระบวนการยุติธรรม ร้อยละ 46.5 ระบุเสรีภาพของชนชาวไทย ร้อยละ 37.7 ระบุระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา และร้อยละ 37.3 ระบุการทำสนธิสัญญากับต่างประเทศ
ผลสำรวจยังพบด้วยว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 91.8 เห็นว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญควรให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในขณะที่ร้อยละ 8.2 ระบุควรปล่อยให้เป็นเรื่องของรัฐสภา
ที่น่าเป็นห่วงคือ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.8 ยังไม่เห็นความชัดเจนถ้าแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้วชาวบ้านจะได้ประโยชน์อะไร เพราะมีแต่นักการเมืองและกลุ่มคนเฉพาะกลุ่มจะได้ประโยชน์ ในขณะที่ร้อยละ 35.2 เห็นความชัดเจนแล้วว่า ชาวบ้านจะได้ประโยชน์จากการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
นอกจาก นี้ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 68.0 คิดว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรงบานปลาย ในขณะที่ร้อยละ 32.0 ไม่คิดว่าจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรง และส่วนใหญ่หรือร้อยละ 77.9 คิดว่า พ.ร.บ.ปรองดองจะไม่ประสบความสำเร็จ
เมื่อถามถึง การยื่นอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พบว่า เกินครึ่งหรือร้อยละ 52.2 ไม่เห็นด้วย เพราะ รัฐบาลยังทำงานได้ดี เกรงว่าจะมีแต่เรื่องวุ่นวาย จะทะเลาะกันจนเสียภาพลักษณ์ของการเมืองไทย จะทำให้ชาวบ้านเบื่อหน่ายและมีอคติต่อการเมืองยิ่งขึ้นไปอีก น่าจะปล่อยให้รัฐบาลทำงานไปก่อน เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 47.8 เห็นด้วย เพราะจะได้เป็นโอกาสให้ประชาชนรู้ข้อมูลข่าวสารมากขึ้น เป็นการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลอย่างเข้มข้น อยากเห็นข้อมูลใหม่ๆ รัฐบาลจะได้นำไปใช้ประโยชน์ในปรับปรุงการทำงาน เป็นต้น
อย่างไร ก็ตาม ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.1 ระบุควรให้โอกาสรัฐบาลทำงานต่อไปก่อน ในขณะที่ร้อยละ 24.8 ระบุไม่ควรให้โอกาสแล้ว และร้อยละ 11.1 ไม่มีความเห็น
ที่ น่าสนใจคือ คำถามที่เจาะลึกถึงความสุขคนไทยในทุกกลุ่มสีเวลานี้ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 57.2 มีความสุขทรงตัวเท่าเดิม แต่ร้อยละ 30.5 มีความสุขลดลง และเพียงร้อยละ 12.3 ที่สุขเพิ่มขึ้น
เมื่อจำแนกกลุ่มประชาชนออกตามจุดยืนทางการเมืองของกลุ่มสีต่างๆ พบประเด็นที่น่าพิจารณาคือ
กลุ่มคนเสื้อแดงส่วนใหญ่หรือร้อยละ 81.9 มีความสุขมากที่สุดเมื่อเห็นคนไทยเป็นหนึ่งเดียวกันแสดงความจงรักภักดี
ใน ขณะที่กลุ่มคนเสื้อเหลืองส่วนใหญ่หรือร้อยละ 76.8 และกลุ่มคนที่ไม่อยู่ฝ่ายใด หรือกลุ่มพลังเงียบร้อยละ 75.7 ที่มีความสุขมากที่สุดเช่นกันเมื่อเห็นคนไทยเป็นหนึ่งเดียวกันในการแสดงความ จงรักภักดี
ยิ่งไปกว่านั้น กลุ่มคนเสื้อแดงส่วนใหญ่หรือร้อยละ 82.8 มีความรัก ความสามัคคี มีจิตใจช่วยเหลือเกื้อกูลต่อคนไทยทุกคนระดับมากถึงมากที่สุด เช่นเดียวกับ กลุ่มคนเสื้อเหลืองร้อยละ 79.3 และกลุ่มพลังเงียบร้อยละ 75.4 ตามลำดับที่มีความรัก ความสามัคคี มีจิตใจช่วยเหลือเกื้อกูลต่อคนไทยทุกคน
http://www.matichon....atid=&subcatid=
เป็นการตั้งคำถามที่ทำให้แตกแยกยิ่งขึ้น
#19
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 14:21
Edited by ben10, 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 14:22.
#20
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 14:21
สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ โพลก็ออกมาแบบนี้แหละ ว่าไม่อยากให้เปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ ไปหาดูโพลเก่าๆ ได้ว่ะ
สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์นะครับความคิดเห็นของประชาชน กรณี ฝ่ายค้านยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล
อันดับ 1
เห็นด้วย
52.02%
เพราะ เพื่อให้รัฐบาลได้ชี้แจงข้อเท็จจริงและแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสในการทำงาน จะได้ทำงานรอบคอบและระมัดระวังมากขึ้น ฯลฯอันดับ 2
ไม่เห็นด้วย
32.43%
http://dusitpoll.dus...3/2553_057.html
งั้นจั๊ก จะบอกว่า รัฐบาลปู ไม่โปร่งใส ตรวจสอบไม่ได้ ใช่ไหม ถึงไม่ควรยื่นอภิปราย ...
.. เห็นได้ชัด ประชาธิปไตย เสียงส่วนใหญ่ ไม่ได้ทำให้ได้มา ซึ่งผู้นำที่เก่ง และ ฉลาด ..
ที่นำความอยู่ดี กินดี มาให้ประชาชนได้ แล้วคุณยังจะอ้างประชาธิปไตยเสียงส่วนใหญ่ทำไม
#21
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 14:25
#22
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:12
กับโพลชุดนังปู การยื่นอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พบว่า เกินครึ่งหรือร้อยละ 52.2 ไม่เห็นด้วย เพราะ รัฐบาลยังทำงานได้ดีเกรงว่าจะมีแต่เรื่องวุ่นวาย จะทะเลาะกันจนเสียภาพลักษณ์ของการเมืองไทย ที่ไม่อยากให้มีการอภิิปราย เพราะไม่อยากเห็นความขัดแย้ง
แต่เมื่อวิเคราะห์ระดับความสุขมวลรวมของคนไทยทั้งประเทศประจำเดือนพฤษภาคมนี้ พบว่า มีแนวโน้มลดลงจาก 7.15 ในเดือนมีนาคม มาอยู่ที่ 6.46 ในเดือนพฤษภาคม นอกจากนี้ ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 63.2 เห็นด้วยกับการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล ร้อยละ74.9 อยากเห็นการอภิปรายเชิงสร้างสรรค์หาทางออกของประเทศ แต่ร้อยละ 51.8 กังวลว่าการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรงครั้งใหม่
#23
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:23
อเสวนา จ พาลานํ ปญฺฑิตานญฺจ เสวนา ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
"Two things are infinite: the universe and human stupidity; and I'm not sure about the the universe."Einstein's words.
"ประเทศไทยจะปฏิรูปไม่ได้ ด้วยการนอนอยู่บ้านเฉยๆ"
#24
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:24
#25
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:27
#26
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:33
ฝ่ายค้านก็ต้องซักฟอกตามหน้าที่ของฝ่ายค้านอยู่แล้ว
สำคัญคือ หัวหน้ารัฐบาลมาตอบคำถามตามหน้าที่หน่อยเหอะ
กลัวแต่จะโยนให้คนอื่นมาตอบแทนหมด
ถ้ามันเป็นอย่างโพลว่าจริงๆ ท่านจะกลัวทำไม
#27
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:39
นั่งเทียนเขียนเองอ้ะป่าว
Edited by ดาร์ค สวอน, 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:41.
ถ้าอยากได้ความเท่าเทียม
ก็ปีนป่ายขึ้นไปให้อยู่เทียบเท่ากับคนอื่นเค้า
อย่าได้กระชากฉุดให้คนอื่นเขาลงมาตกต่ำเท่ากับตน
#28
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:42
คนไทยเราเชื่ออะไรง่ายๆนี่เอง แต่ไม่พยายามคิดมองหา"ที่มา" เลย
เปล่า ผมไม่ได้ตำหนิเอแบคโพล แต่ผมติงว่า แล้วเรารู้ได้อย่างไรว่า เอแบคโพลไปถามใครมาบ้าง อย่างไร มีอะไรมายืนยัน
ถูกต้อง ครับ เวลาเราไปถามเอแบคโพล ก็จะบอกว่า สุ่มเลือกแบบนั้นแบบนี้อย่างมีหลักการ
แต่ความจริงทำแบบนั้นหรือไม่เราก็ไม่ทราบ
ประเทศไทยเรามีหน่วยงานหรือองค์กรที่ตรวจสอบ เหล่าสำนักโพลหรือไม่? ต่างหากที่ผมปุจฉา
หากไม่มี อะไรเป็นการรับรองว่า จะไม่มั่วหรือ สุ่มเฉพาะกลุ่มที่ตนเองต้องการให้ผลออกมาเช่นนั้น
และเมื่อไม่มี ผลที่ออกมา มันก็ถือว่าเป็นการมอมเมาประชาชนโดยสำนักโพลเองที่จะชี้นำอย่างไรเนียนๆก็ได้
ประเทศเราต้องมีตะแกรง ต้องมีการตรวจสอบ สำนักโพลอย่างเป็นระบบครับ ผมถึงจะเชื่อ
#29
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:46
#30
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:48
เมื่อคำนึงถึง ค่าเบี่ยงเบน (ค่าความแปรปรวน) แล้ว แทบจะไม่ต่างกันเลย
จขกท. อย่ามั่ว
อ้อ แล้วช่วยไปตอบกระทู้เก่า ๆ ด้วยนะ
#31
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15:53
กับการ ตั้งคำถาม อยากให้เปิดญัตติไม่ไว้วางใจรัฐบาล เพือตรวจสอบการผลงานของรัฐบาล ในเรื่องคอรัปชั่น ผลจะออกมาในรูปแบบไหน
ถ้าประชาชนคิดว่า ไม่อยากให้เปิดอภิปรายซักฟอก ผมว่า ยกเลิกฝ่ายค้านไปก็หมดเรื่อง ดูๆ ไป มันก็พิลึกจริงๆ กับโพลสำรวจของเอแบคโพล จากสถาบันการศึกษาแท้ๆ ตั้งแต่ให้สถาบันการศึกษามาทำโพล ยิ่งทำให้การศึกษาของไทย ตกต่ำลงเรื่อยๆ เพราะผลมันสะท้อนกับสถาบันการศึกษาไปด้วย เป็นไปได้ไงหว่า ไม่อยากให้มีการซักฟอกการทำงานที่ล้มเหลว และคอรัปชั่นของรัฐบาล
#32
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 16:01
If you try hard enough, you can be whatever you want to be.
#33
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 16:10
#34
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 16:44
#35
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 16:47
แล้วเอ็งเชื่อโพลมั้ยล่ะพออภิปรายเสร็จ ก็คงจะมีโพลมาสำรวจความเห็นประชาชนอีกเช่นเคยล่ะครับ
#36
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 16:57
#37
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 16:58
#38
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 17:03
แนวทางกระทู้ รวมทั้งโพล เหมือนกันเดี๊ยะ
Edited by pream, 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 17:03.
#39
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 18:40
มันเอาข้อมูลมาจากไหน?????
เพื่อน ๆ พี ๆ น้อง ๆ ชาว สรท. มีใครเคยได้ทำ"โพล"มั่งครับ ......
ขอเทิดทูนศักดิ์ศรียิ่งสิ่งใด
...แม้แต่ลมหายใจก็ยอมพลี
โลกยังไม่สิ้นหวัง ถ้ายังมั่นในความดี
...ศรัทธาไม่เคยหน่ายหนี คนดีไม่มีวันตาย
#40
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 18:50
#41
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 18:54
หรือว่ากลัวความจริง
หรือว่ากลัวนายกร้องไห้กลางสภา
#42
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 18:59
ห่างกัน 5 %
หากผลมาแบบนี้ผมถือว่าวัดอะไรไม่ได้นะ
ผมไม่แน่ใจตัวเลือกนะ มีแค่ เห็นด้วย กับ ไม่เห็นด้วยใช่ไหม? ไม่มีอื่นๆ
นี้แหละเวลาบีบให้มีตัวจำกัดจริงๆ ผลมันไม่ขาดหรอก
#43
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 18:59
ต้องอยู่ในคอกค่ะมันไปถามใครมาวะ มาถูกเวลาตลอด เดินสยามก็บ่อย พารากอนก็เยอะ เซนทรัลเวิลก็มี ยังไม่เคยโดนถามเลย ต้องไปเดินแถวไหนวะเนี่ย
กราบหัวใจพี่น้องที่เสียสละออกมาทวงอำนาจคืนจากระบอบทักษิณ
#44
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 19:50
ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 83.8 เคยอ่านเพียงเล็กน้อยถึง ไม่เคยอ่านเลย เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว ไม่มีเวลา ไม่เห็นประโยชน์ เป็นภาษากฎหมาย เข้าใจยาก น่าเบื่อ เป็นต้น
กว่าจะคิดได้
#45
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 19:56
วันที่ 05 สิงหาคม พ.ศ. 2555 เวลา 11:22:22 น.
ดร.นพ ดล กรรณิกา ผู้อำนวยการสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง "เจาะใจค้นหาความสุขของคนทุกกลุ่มสี และการแก้ไขรัฐธรรมนูญกับการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลในสายตาของสาธารณชน" กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปใน 17 จังหวัดของประเทศ
เมื่อสอบถามถึง ประสบการณ์เคยอ่านรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 83.8 เคยอ่านเพียงเล็กน้อยถึง ไม่เคยอ่านเลย เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว ไม่มีเวลา ไม่เห็นประโยชน์ เป็นภาษากฎหมาย เข้าใจยาก น่าเบื่อ เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 16.2 เคยอ่านค่อนข้างมาก ถึง อ่านทั้งฉบับ เพราะ ต้องใช้ทำงาน เรียนหนังสือ แก้ปัญหาเดือดร้อนในชีวิต เป็นต้น
ที่ น่าพิจารณาคือ มาตราที่เกี่ยวข้องกับชีวิตชาวบ้านที่อยากให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เมื่อตอบได้มากกว่า 1 ข้อ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 56.6 ระบุการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในเรื่องต่างๆ เช่น ความปลอดภัย ความมั่นคง สวัสดิภาพในชีวิต และสุขภาวะด้านต่างๆ ของชาวบ้าน รองลงมาคือ ร้อยละ 52.9 ระบุความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ ร้อยละ 49.3 ระบุกระบวนการยุติธรรม ร้อยละ 46.5 ระบุเสรีภาพของชนชาวไทย ร้อยละ 37.7 ระบุระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา และร้อยละ 37.3 ระบุการทำสนธิสัญญากับต่างประเทศ
ผลสำรวจยังพบด้วยว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 91.8 เห็นว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญควรให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในขณะที่ร้อยละ 8.2 ระบุควรปล่อยให้เป็นเรื่องของรัฐสภา
ที่น่าเป็นห่วงคือ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.8 ยังไม่เห็นความชัดเจนถ้าแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้วชาวบ้านจะได้ประโยชน์อะไร เพราะมีแต่นักการเมืองและกลุ่มคนเฉพาะกลุ่มจะได้ประโยชน์ ในขณะที่ร้อยละ 35.2 เห็นความชัดเจนแล้วว่า ชาวบ้านจะได้ประโยชน์จากการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
นอกจาก นี้ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 68.0 คิดว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรงบานปลาย ในขณะที่ร้อยละ 32.0 ไม่คิดว่าจะนำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรง และส่วนใหญ่หรือร้อยละ 77.9 คิดว่า พ.ร.บ.ปรองดองจะไม่ประสบความสำเร็จ
เมื่อถามถึง การยื่นอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พบว่า เกินครึ่งหรือร้อยละ 52.2 ไม่เห็นด้วย เพราะ รัฐบาลยังทำงานได้ดี เกรงว่าจะมีแต่เรื่องวุ่นวาย จะทะเลาะกันจนเสียภาพลักษณ์ของการเมืองไทย จะทำให้ชาวบ้านเบื่อหน่ายและมีอคติต่อการเมืองยิ่งขึ้นไปอีก น่าจะปล่อยให้รัฐบาลทำงานไปก่อน เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 47.8 เห็นด้วย เพราะจะได้เป็นโอกาสให้ประชาชนรู้ข้อมูลข่าวสารมากขึ้น เป็นการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลอย่างเข้มข้น อยากเห็นข้อมูลใหม่ๆ รัฐบาลจะได้นำไปใช้ประโยชน์ในปรับปรุงการทำงาน เป็นต้น
อย่างไร ก็ตาม ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.1 ระบุควรให้โอกาสรัฐบาลทำงานต่อไปก่อน ในขณะที่ร้อยละ 24.8 ระบุไม่ควรให้โอกาสแล้ว และร้อยละ 11.1 ไม่มีความเห็น
ที่ น่าสนใจคือ คำถามที่เจาะลึกถึงความสุขคนไทยในทุกกลุ่มสีเวลานี้ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 57.2 มีความสุขทรงตัวเท่าเดิม แต่ร้อยละ 30.5 มีความสุขลดลง และเพียงร้อยละ 12.3 ที่สุขเพิ่มขึ้น
เมื่อจำแนกกลุ่มประชาชนออกตามจุดยืนทางการเมืองของกลุ่มสีต่างๆ พบประเด็นที่น่าพิจารณาคือ
กลุ่มคนเสื้อแดงส่วนใหญ่หรือร้อยละ 81.9 มีความสุขมากที่สุดเมื่อเห็นคนไทยเป็นหนึ่งเดียวกันแสดงความจงรักภักดี
ใน ขณะที่กลุ่มคนเสื้อเหลืองส่วนใหญ่หรือร้อยละ 76.8 และกลุ่มคนที่ไม่อยู่ฝ่ายใด หรือกลุ่มพลังเงียบร้อยละ 75.7 ที่มีความสุขมากที่สุดเช่นกันเมื่อเห็นคนไทยเป็นหนึ่งเดียวกันในการแสดงความ จงรักภักดี
ยิ่งไปกว่านั้น กลุ่มคนเสื้อแดงส่วนใหญ่หรือร้อยละ 82.8 มีความรัก ความสามัคคี มีจิตใจช่วยเหลือเกื้อกูลต่อคนไทยทุกคนระดับมากถึงมากที่สุด เช่นเดียวกับ กลุ่มคนเสื้อเหลืองร้อยละ 79.3 และกลุ่มพลังเงียบร้อยละ 75.4 ตามลำดับที่มีความรัก ความสามัคคี มีจิตใจช่วยเหลือเกื้อกูลต่อคนไทยทุกคน
http://www.matichon....atid=&subcatid=
ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.8 ยังไม่เห็นความชัดเจนถ้าแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้วชาวบ้านจะได้ประโยชน์อะไร
#46
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 19:57
2.ไปสำรวจจว.ไหนบ้างครับ 17 จว.
3.ข้อมูลของคนเสื้อแดง กับเสื้อเหลือง รู้ยังไง ตอนสำรวจขอดูบัตรเสื้อแดง หรือขอดูบัตรเสื้อเหลือง
4.เมื่อสอบถามถึง ประสบการณ์เคยอ่านรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 83.8 เคยอ่านเพียงเล็กน้อยถึง ไม่เคยอ่านเลย เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว ไม่มีเวลา ไม่เห็นประโยชน์ เป็นภาษากฎหมาย เข้าใจยาก น่าเบื่อ เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 16.2 เคยอ่านค่อนข้างมาก ถึง อ่านทั้งฉบับ เพราะ ต้องใช้ทำงาน เรียนหนังสือ แก้ปัญหาเดือดร้อนในชีวิต เป็นต้น
(วรรค2) .....ที่ น่าพิจารณาคือ มาตราที่เกี่ยวข้องกับชีวิตชาวบ้านที่อยากให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เมื่อตอบได้มากกว่า 1 ข้อ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 56.6 ระบุการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในเรื่องต่างๆ เช่น ความปลอดภัย ความมั่นคง สวัสดิภาพในชีวิต และสุขภาวะด้านต่างๆ ของชาวบ้าน รองลงมาคือ ร้อยละ 52.9 ระบุความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ ร้อยละ 49.3 ระบุกระบวนการยุติธรรม ร้อยละ 46.5 ระบุเสรีภาพของชนชาวไทย ร้อยละ 37.7 ระบุระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา และร้อยละ 37.3 ระบุการทำสนธิสัญญากับต่างประเทศ
**คนที่ตอบวรรค2 นั้นอยูในจำนวน 83.8% หรืออยู่ในจำนวน 16.2%
**"เมื่อตอบได้มากกว่า 1 ข้อ พบว่า"
*ทำไมเมื่อตอบได้เกิน1ข้อ ...ใครที่มีสิทธิ์ตอบได้1ข้อ ใครที่มีสิทธิ์ตอบได้เกิน1ข้อ และอาจมีคนที่ไม่มีสิทธิ์ตอบสักข้อ
ประโยชน์สูงสุดของประชาชน คือกฏหมายสูงสุดของประเทศ ...วิชา มหาคุณ
#47
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 20:26
พออภิปรายเสร็จ ก็คงจะมีโพลมาสำรวจความเห็นประชาชนอีกเช่นเคยล่ะครับ
จะบอกว่า รัฐบวย หัวคาน ทำงานดีเข้าตา ปชช.ม้าวกกกกกกกกกกก หรือครับ ..
ยกตัวอย่างหน่อยสิ ผ่านมาปีนึงแล้ว ผลงานอะไรที่เข้าตา สุดๆ ...
.. เห็นได้ชัด ประชาธิปไตย เสียงส่วนใหญ่ ไม่ได้ทำให้ได้มา ซึ่งผู้นำที่เก่ง และ ฉลาด ..
ที่นำความอยู่ดี กินดี มาให้ประชาชนได้ แล้วคุณยังจะอ้างประชาธิปไตยเสียงส่วนใหญ่ทำไม
#48
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 22:17
ถ้าใช่ ถือว่า "โพลล์เฮงซวย"
#49
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 22:21
ยังควายได้อีกเนาะ555
#50
ตอบ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 22:27