Edited by phat21, 30 November 2012 - 20:32.
พรรคประชาธิปัตย์ต้องสนใจบริษัท ปตท.(มหาชน)จก.เพื่อประชาชน.....ฮา
#51
Posted 30 November 2012 - 20:30
#52
Posted 30 November 2012 - 20:39
กลับกันแล้ว ต้องเป็นรัฐบาลก่อน ไม่ใช่หรือ ถึงทำได้ตราบใด ปชปไม่เอ่ยปากจะเอา ปตทกลับมา เลิกกฏหมาย 11ฉบับคายหุ้น ปตท ออกหรือเอาเขาพระวิหารคืน ปชปไม่มีวันได้เป็นรัฐบาลหรอกขอบอกอีกหน
เชิญร่วมฟังรายการจับข่าวคุยวันนี้ 21:00 - 22:00 น.
จะได้รู้ว่า โกหก โกหก โกหก อะไร
ทางช่องสุวรรรภูมิทีวี
http://www.fm9225radio.net/
http://www.suwannabhumi.tv/
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#53
Posted 30 November 2012 - 20:45
Edited by phat21, 30 November 2012 - 20:57.
#54
Posted 30 November 2012 - 20:51
#55
Posted 30 November 2012 - 20:51
มันเป็นเรื่องที่ทุกคนควรช่วยกันรักษาสิทธิ์ของเรา
#56
Posted 30 November 2012 - 20:52
มาตรา76 พรบ.ปิโตรเลี่ยม ทำให้ไม่มีคนรู้ รู้กันสองคน ปลัด กับ อธิยดีกรมเชื้อเพลิง มั่งก็ตอนมาร์คเป็นมันไม่ทําเลย ครับ ถึงไม่ไว้ใจอีกไงครับ ทําได้แค่เอาใจพรรคร่วมให้โกงและแก้ รธนให้เป็น สส 500การเมืองไม่ปฏิรูปเลย และอีกมากมายถึงตอนนี้ผมคงไม่ยอมให้ไปร่วมรัฐบาลกับไอ้พรรคร่วมเลวๆเดิมๆอีกแล้ว(อย่างไอ้พรรคห้อยปลาไหลสุวัจน์ ปชปถ้าจริงใจกับชาติอย่าไปสมสู่มันอีกเลย) ให้พรรคเหล่านั้นตายพร้อมไอ้แม้วดีกว่าถ้า ปชปจริงใจมาร์คจริงใจประกาศเลยดีกว่าอย่าไปตีสนิทไอ้พรรคแบบนั้นอีกเลย
เสธ.อ้ายก็เพิ่งรู้ จึงยอมเป็นประธาน ตอนนี้ปชป.ก็ยังไม่รู้มั่งว่าแหล่งบัวบานขุดน้ำมันดิบได้วันละเท่าไหร่
Edited by Stargate-1, 30 November 2012 - 20:55.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#57
Posted 30 November 2012 - 20:54
เชิญร่วมฟังรายการจับข่าวคุยวันนี้ 21:00 - 22:00 น.
จะได้รู้ว่า โกหก โกหก โกหก อะไร
ทางช่องสุวรรรภูมิทีวี
http://www.fm9225radio.net/
http://www.suwannabhumi.tv/
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#58
Posted 30 November 2012 - 21:36
#59
Posted 30 November 2012 - 21:45
แต่สิ่งที่มารค์ขาด คือ เสียงในมือเพื่อแก้กฏหมาย เพราะถ้าปชป.เสนอกฏหมายผ่านสภาเพื่อเปลี่ยนแปลงใดๆ อภิสิทธิ์คงคิดว่าไม่น่าผ่าน จะอาศัยเสียงของเนวินก็ไม่น่าไว้ใจ จึงไม่เสี่ยงเล่นเกมส์นี้
หรือจะทุ่มงินซื้อหุ้นคืนมาทั้งหมดก็ไม่มีเงิน แถมถ้าข่าวรั่ว(แบบไทยคม)ราคาหุ้นจะพุ่งจนซื้อไม่ได้
- overtherainbow likes this
#60
Posted 30 November 2012 - 21:45
ไม่งั้นปัญหาที่ตามมาก็มีมากมาย เช่น ก.การคลังร้อยละ 70 30 ของเอกชน แบบนี้ ถือว่าเป็นการคานอำนาจของรัฐเพราะถือว่า
นี่เป็นทรัพย์สมบัติของชาติและคนไทยทุกคน ถ้ามัวแต่กำหนดว่ารัฐวิสาหกิจต้องมีรัฐซื้อเกิน 50 ถ้ารัฐขายไปก็ไม่ใช่รัฐวิสาหกิจแล้ว
แล้วเอกชนก็จะมากอบโกยผลประโยชน์แทน ด้วยเสียงส่วนใหญ่ คราวนี้รัฐก็ทำไรไม่ได้
Edited by Oreki Houtarou, 30 November 2012 - 22:09.
#61
Posted 30 November 2012 - 22:12
ทำไมพรรค ปชป ถึงอยู่ได้นานที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองต่างๆ ทุกคนต่างรู้ว่าบนเส้นทางการเมือง
ต้องใช้เงินจำนวนมหาศาล ไม่ว่าพรรคไหนก็ซื้อเสียงทั้งนั้นผมไม่เชื่อหรอกครับว่า ปชป จะไม่ทำ
แต่เงินที่ซื้อเสียงเพื่อดึงคะแนนเอามาจากไหน คงไม่ใช่ธุรกิจส่วนตัวแน่ๆ แต่จะเอาเงินที่รวบรวม
จากการรับบริจาคอย่างถูกกฏหมาย หรือจากบริจาคผ่านภาษีก็คงไม่ได้มากมายอะไรขนาดนั้น
แล้วเงินมาจากไหนล่ะ ลองคิดถึงคำว่า "หุ้นลม" ดูแล้วจะเข้าใจเอง
ก็แนวคิดของเขานะครับ แต่ผมก็ดันเชื่อในสิ่งนี้มิใช่น้อย เพียงแต่หลักฐานแบบนี้ใครจะปล่อยให้หลุดกันง่ายๆ
แต่คิดอีกแง่นึงก็ดังสุภาษิตที่ว่า "ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่" แล้วใครจะกล้าเล่น ถ้าเอาเป็นประเด็นเพื่อเอาใจประชาชน
อาจจะทำ แต่พอถึงเวลาผมว่ามันก็คงปล่อยเลย
อาจจะเป็นเพราะดูเรื่อง Change "นายกมือใหม่" มันก็เลยชวนคิดด้วยหละครับ
เรื่องนี้ไม่มีหลักฐานอะไร ผมจิ้นเอาเอง ก็แล้วแต่จะคิดกันนะครับ
#62
Posted 30 November 2012 - 22:21
ถ้ารัฐบาลมีนโยบายอย่างไร พวกนี้พร้อมจะทำตาม เพราะกลัวถูกปลด เงินเดือนเป็นล้านจากตำแหน่งที่ปตท.และเครือ ใครจะยอมเสียไป
นโยบายล่าสุดคือต่อท่อจากระยองไปเหนือและอีสาน ทีแรกคิดว่าจะเอาน้ำมันไปกระจายตามต่างจว.
ไม่ใช่กลับกัน มันเอาน้ำมันที่ขุดได้มาส่งท่าเรือเพื่อส่งออกนอก เพราะขนส่งทางรถบรรทุก กลัวชาวบ้านไปคอยนับรถดูจำนวนรถ
ต้นปีหน้า ก็จะให้ประมูลสัมปทานแปลงสุดท้ายแล้ว เรายับยั้งไว้ได้ที่เดือนกรกฎาคม ภาตประชาชนกลุ่มเล็กๆ กับกลุ่มสว.ไม่กี่คนยังทำได้
ถ้าปชป.สนใจหน่อย มาร่วมกัน คงทำได้มากกว่านี้ อย่างแรกต้องแก้กฎหมายปกปิดข้อมูลก่อน ต่อมาก็กฎหมายไม่ให้เอาผิดผูรับสัมปทาน
ต่อมาก็แก้ไขผลประโยชน์ และก็เอาข้าราชการออกจากบอร์ดปตท.และเครือให้หมด
- overtherainbow, กรกช and busaba like this
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#63
Posted 30 November 2012 - 23:21
- OSR likes this
"ดีใดไม่มีโทษ ดีนั้นชื่อว่าดีเลิศ" - หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
"คนเราสามารถเปลี่ยนต้นไม้ประหลาด ให้เป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ เปลี่ยนคนผิดให้เป็นพระเจ้า เปลี่ยนสีขาวให้เป็นสีดำ เพียงเพราะความเชื่อของตัวเองเพียงเท่านั้น"
#64
Posted 30 November 2012 - 23:32
เกือบจะแปรรูปการไฟฟ้าได้แล้วด้วยซ้ำ คนไทยจะยิ่งเคราะห์ซ้ำกรรมซัดกันอีก โชคดีที่เร่ร่อนซะก่อน "ไอ้-สัตว์หน้าเหลี่ยม" <---- ไม่ใช่คำหยาบนะครับ Mod แต่ถ้าเห็นว่าผิดกฎ ก็เซ็นเซอร์ได้ หุหุ
ผมก็ไม่แน่ใจนะครับว่าความคิดผมจะถูกต้องรึเปล่า รัฐวิสาหกิจ กับ มหาชน ถึงวันนี้แล้วความแตกต่างก็ไม่ค่อยชัดเจนซะแล้วล่ะครับ
เพราะรัฐบวยควายแดงใช้อำนาจแทรกแซงทุกอย่างจริงๆ คงต้องรื้อกันยกใหญ่ แต่จะเป็นไปได้เหรอครับ ขัดผลประโยชน์ หมาเฟีย อาจโดนไข้โป้งได้น๊าา
- สงสารสาวจันทร์ and Boxing-หัวแค้ว like this
• เอือมระอากับบรรดาพี่น้องที่หลงทางจริงๆ เห็นต่างกันยังรับได้ครับ แต่เห็นผิดเป็นชอบแบบนี้มันบัดซบจริงๆ •
• หายนะของประเทศไทย ก็คือการที่ "ควายเลือกควาย" เข้ามาทำลายประเทศ •
#65
Posted 30 November 2012 - 23:43
แต่การตัดสิน คน ใช้เวลาแป๊บเดียว
ตอนนี้ขอบอกตามตรงเราเหลือเสธอ้าย และปชป
การเป็นพรรคเก่า มีทั้งดีและไม่ดี
ปวศ เก่าที่มี ก็อยู่ติดพรรค
ไม่เหมือนพรรคอื่นที่เดี๋ยวก็ได้ผุดได้เกิดใหม่เหมือนเปลี่ยนชื่อใหม่ก็ผุดผ่อง
#66
Posted 1 December 2012 - 00:34
รู้มาอย่างนั้นเช่นกัน ผมได้แต่อ่าน ไม่อยากออกความเห็นรู้มาแค่ว่า ปตท. เป็นสมบัติผลัดกันชมของทั้งสองพรรคครับ เพราะว่าคนในพรรคปชป. ส่วนหนึ่งถือหุ้นของปตท.ด้วย แต่คนที่ได้ผลประโยชน์มากที่สุดก็คือ.....พ. ชินวัตรครับ เดาเอาเองละกัน ข้อมูลนี้ได้มาจากคนที่ทำงานบริษัทน้ำมันแห่งหนึ่ง ซึ่งเปิดเผยข้อมูลบางส่วนโดยการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันนั้น เป็นการนำเงินกองทุนเบนซินมาอุดหนุนดีเซล ในขณะที่เบนซินส่วนหนึ่งคนของชินวัตร ได้ลิตรละ 2 บาท ครับ ใครอยากรู้ข้อมูลเบื้องลึกลองไปค้นเอาครับ
กลัวจะเป็นการเมืองมากไป ซึ่ง จขกท. ไม่อยากให้พูดถึง
แต่อดไม่ได้ คันไม้คันมือ เอาเป็นว่า ผมแค่บ่นเฉยๆ
ถ้าเห็นว่ามันเป็น เรื่องการเมือง ก็ข้ามๆไปครับ
หายจน ทั้งแผ่นดิน ด้วยการต่อต้าน นกม.ชั่ว และเอา ปตท กลับคืนมาเป็นของคนไทย
#67
Posted 1 December 2012 - 00:51
รู้มาอย่างนั้นเช่นกัน ผมได้แต่อ่าน ไม่อยากออกความเห็น
รู้มาแค่ว่า ปตท. เป็นสมบัติผลัดกันชมของทั้งสองพรรคครับ เพราะว่าคนในพรรคปชป. ส่วนหนึ่งถือหุ้นของปตท.ด้วย แต่คนที่ได้ผลประโยชน์มากที่สุดก็คือ.....พ. ชินวัตรครับ เดาเอาเองละกัน ข้อมูลนี้ได้มาจากคนที่ทำงานบริษัทน้ำมันแห่งหนึ่ง ซึ่งเปิดเผยข้อมูลบางส่วนโดยการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันนั้น เป็นการนำเงินกองทุนเบนซินมาอุดหนุนดีเซล ในขณะที่เบนซินส่วนหนึ่งคนของชินวัตร ได้ลิตรละ 2 บาท ครับ ใครอยากรู้ข้อมูลเบื้องลึกลองไปค้นเอาครับ
กลัวจะเป็นการเมืองมากไป ซึ่ง จขกท. ไม่อยากให้พูดถึง
แต่อดไม่ได้ คันไม้คันมือ เอาเป็นว่า ผมแค่บ่นเฉยๆ
ถ้าเห็นว่ามันเป็น เรื่องการเมือง ก็ข้ามๆไปครับ
เราเป็นชาวบ้านธรรมดา เราต้องพูดครับ ไม่พูดเขาก็ฮั๊วกันขูดรีดกับชาวบ้าน
พลังงาน มันขูดรีดง่ายสุดๆ ผมไม่สนหรอกว่าจะเป็นเรื่องการเมืองหรือการอะไร
พูดถึงพลังงานทีไร ปชป.ง่อยแดรกทุกที เฮ้อ.
- กรกช, คนสับปะหลี้ and OSR like this
#68
Posted 1 December 2012 - 01:05
ขอ เฮ้อ ด้วยคนสิ 555+เราเป็นชาวบ้านธรรมดา เราต้องพูดครับ ไม่พูดเขาก็ฮั๊วกันขูดรีดกับชาวบ้าน
รู้มาอย่างนั้นเช่นกัน ผมได้แต่อ่าน ไม่อยากออกความเห็น
รู้มาแค่ว่า ปตท. เป็นสมบัติผลัดกันชมของทั้งสองพรรคครับ เพราะว่าคนในพรรคปชป. ส่วนหนึ่งถือหุ้นของปตท.ด้วย แต่คนที่ได้ผลประโยชน์มากที่สุดก็คือ.....พ. ชินวัตรครับ เดาเอาเองละกัน ข้อมูลนี้ได้มาจากคนที่ทำงานบริษัทน้ำมันแห่งหนึ่ง ซึ่งเปิดเผยข้อมูลบางส่วนโดยการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันนั้น เป็นการนำเงินกองทุนเบนซินมาอุดหนุนดีเซล ในขณะที่เบนซินส่วนหนึ่งคนของชินวัตร ได้ลิตรละ 2 บาท ครับ ใครอยากรู้ข้อมูลเบื้องลึกลองไปค้นเอาครับ
กลัวจะเป็นการเมืองมากไป ซึ่ง จขกท. ไม่อยากให้พูดถึง
แต่อดไม่ได้ คันไม้คันมือ เอาเป็นว่า ผมแค่บ่นเฉยๆ
ถ้าเห็นว่ามันเป็น เรื่องการเมือง ก็ข้ามๆไปครับ
พลังงาน มันขูดรีดง่ายสุดๆ ผมไม่สนหรอกว่าจะเป็นเรื่องการเมืองหรือการอะไร
พูดถึงพลังงานทีไร ปชป.ง่อยแดรกทุกที เฮ้อ.
ถึง Phat จะเกรียนไปหน่อย แต่ก็ถูกของเขานะ ที่ว่า
ทำไมเวทีผ่าความจริง ปชป. ไม่เคยพูดถึงเรื่องนี้เลย Blue Sky ก็เงียบฉี่
เรื่องพวกนี้ ผมรู้มาไม่น้อยเหมือนกัน คุณมานะ แต่ต้องให้เกียรตฺิ จขกท.น่ะครับ
ไม่อยากหักหาญน้ำใจให้มันมากไป หลังจากเพิ่งเป่าเรื่อง ปาหี่การเมือง มาหยกๆ
กลัวจะกลายเป็นพวกป่วนบอร์ดไปน่ะสิ ช่วงนี้ต้องเก็บเนื้อเก็บตัวหน่อย
- สงสารสาวจันทร์ and กรกช like this
หายจน ทั้งแผ่นดิน ด้วยการต่อต้าน นกม.ชั่ว และเอา ปตท กลับคืนมาเป็นของคนไทย
#69
Posted 1 December 2012 - 10:30
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#70
Posted 1 December 2012 - 10:42
รู้มาแค่ว่า ปตท. เป็นสมบัติผลัดกันชมของทั้งสองพรรคครับ เพราะว่าคนในพรรคปชป. ส่วนหนึ่งถือหุ้นของปตท.ด้วย แต่คนที่ได้ผลประโยชน์มากที่สุดก็คือ.....พ. ชินวัตรครับ เดาเอาเองละกัน ข้อมูลนี้ได้มาจากคนที่ทำงานบริษัทน้ำมันแห่งหนึ่ง ซึ่งเปิดเผยข้อมูลบางส่วนโดยการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันนั้น เป็นการนำเงินกองทุนเบนซินมาอุดหนุนดีเซล ในขณะที่เบนซินส่วนหนึ่งคนของชินวัตร ได้ลิตรละ 2 บาท ครับ ใครอยากรู้ข้อมูลเบื้องลึกลองไปค้นเอาครับ
http://clip.thaipbs....d=3310&ap=flase
จากคลิปของไทยพีบีเอส แสดงให้เห็นว่ามีการนำน้ำมันที่ไม่ผ่านมิเตอร์จากแท็งเกอร์ 4 จุดในอ่าวไทยเอง แต่อ้างว่าเอามาจากตะวันออกกลาง มากลั่นที่ระยอง เงินมืดพวกนี้มากว่า 2 บาทแน่นอน ดูได้จากคลิปของกล่มปฏิรูปพลังงาน นั้นมีหลักฐานชัดเจนจากสตง.แต่ไม่สามรถเอาผิดได้เพราะอะไร
#!
- กรกช likes this
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#71
Posted 1 December 2012 - 10:46
เหอ เหอ เหอ เรื่องนี้คงหวังพึ่ง ปชป ยาก ขืนเสนกฎหมายเข้าสภาไปก็คง
ถูกตีตกหมด คนไทยช่วยตัวเองได้ ถ้าเข้าใจว่า ผลประโยชน์ของตัวเองมัน
ถูกนำไปบิดเบือนหากำไร แต่เพราะข้อมูลมันมักจะออกไปแนวโจมตีนักการเมือง
มันก็เลยถูกมองว่าเป็นเรื่องการเมือง ซะงั้น 555555
กลุ่มของ มล กรณ์ และคุณรสนา ดูจะเป็นกลุ่มที่จริงจังและมีความก้าวหน้า แต่มัน
ไม่มีประชาชนสนับสนุนเท่าที่ควร เพราะคุณรสนาแกก็ว่าของแกไปตามตัวบทกฎหมาย
เท่าที่มันควรจะเป็นประโยชน์กับคนไทย ส่วน มล กรณ์ แกต้องไปอาศัยกลุ่มการเมือง
เช่น กลุ่มพันธมิตรบ้าง กลุ่มของสันติอโศกบ้าง ในการเผยแพร่ข้อมูล ทำให้คนอีกมากมาย
เข้าไม่ถึงข้อมูล เพราะเขามองว่านั่นคือการปลุกระดมทางการเมือง ส่วนสื่อกระแสหลัก ก็
รับโฆษณาของ ปตท กันมาเป็นนายจ้างหลัก ก็เลยไม่ยอมเล่นเรื่องนี้ จะมีอยู่บ้างก็คือ
Thai Pbs ซึ่งก็น้อย เพราะอาจกลัวว่าเป็นการปลุกระดมทางการเมืองหรือเปล่าไม่แน่ใจ
สำหรับข้อมูลเหล่านี้ หาดูได้ทาง ASTV ช่อง 13 สยามไทย และ FMTV ของสันติอโศก
เขาจะมีการนำมาพูดอยู่ประจำ แต่มันก็อย่างว่านั่นแหละ มันปนการเมือง ออกช่องการเมือง
คนส่วนใหญ่ ก็เลยไม่ค่อยสนใจ 555
ในระหว่างคุณกรณ์เป็นรัฐมนตรีว่าการคลังเคยจับต้องทีหนึ่ง
ด้วยการเป็นกรรมการบริษัทฯของกระทรวงการคลังใหม่ พอดีหมดวาระก่อน......
เนื่องจากกระทรวงการคลังถือหุ้นมากกว่า 52 %
รวมทั้งหุ้นกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการอีกหลายเปอร์เซ็น
แต่ต้องเฟ้นหาบุคคลที่ซื่อสัตย์ ไม่เห็นแก่เบี้ยประชุม ค่ารับรอง
และผลประโยชน์ต่างๆทางตรงทางอ้อมมากมาย....
ค่าโฆษณาผ่านสื่อฯต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือพิมพ์ วิทยุ ทีวี ฯลฯ มหาศาลนัก
ผู้มีอำนาจในองค์กรสื่อฯไม่สามารถเป็นอิสระได้
ดังนั้นองค์การ บริษัท ห้างร้าน รัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่จึงมีเงินค่าโฆษณา คารับรอง
ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกิจกรรมต่างๆมากมายให้สื่อฯ องค์กรอิสระเพื่อปิดปาก หักปากกา....
ปตท. กสท. เอไอเอส การบินไทย อสมท. ฯลฯ
เหมือนยักษ์ที่หาแจ๊คผู้ฆ่ายักษ์ไม่ได้....
คุณรสนาและคนอื่นๆ ได้แต่แสดงความคิดเห็น รณรงค์ตามโอกาส....
พร้อมการค้าหาหลักฐาน ขุดคุ้ย น่าจะต้องใช้เวลาหนึ่งจึงจะได้โอกาส
คนทำงานในองค์กรนั้นอาจจะช่วยเหลือได้
แต่ต้องระวังเจ้าหน้าที่ของบริษัทจำกัดของณัฐวุฒิ ก่อแก้วซึ่งจ้างโดย ปตท.
อาสา"ประสาน"แก้ไขปัญหาม๊อบ องค์กรอิสระ.........ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...
#72
Posted 1 December 2012 - 10:46
ถ้ามีจิตสำนึกต่อสาธาณะ ต่อบ้านเมือง ต่อประชาชนจริง และไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง ก็คงทำไปนานแล้ว
ผมขออนุญาติฟันธงว่า ลุงปุ คงฝันสลาย
ขออนุญาตโคทมาให้ดูว่า ผมโชคดีในความเชื่อเรื่องการเมืองอีกแล้ว
แต่ความโชคดีในความเชื่อของผม เป็นความซวยของคนไทย
เพราะประเทศไทยมีแต่พรรค-นักการเมืองที่เห็นแก่ผลประโยชน์ส่วนตน
แถมมีคนไทยส่วนหนึ่งหน้ามืดตามัวเอาแต่คอยปกป้องสนับสนุนพวกนักการเมืองสารเลว
ขอบ่นบ้างครับ
#73
Posted 1 December 2012 - 10:47
แหล่งน้ำมันดิบจะเกิดขึ้นได้ต้องมีสามเงื่อนไข คือ หินกำเนิดซึ่งอุดมไปด้วยสารไฮโดรคาร์บอนฝังอยู่ลึกเพียงพอที่ความร้อนใต้พิภพจะเปลี่ยนให้เป็นน้ำมัน, หินกักเก็บมีรูพรุนและซึมผ่านได้เพื่อให้น้ำมันไปสะสม, และหินครอบหรือหินปิดกั้น หรือกลไกอื่นซึ่งกันมิให้มันไหลออกสู่พื้นผิว ภายในแหล่งน้ำมันเหล่านี้ ของไหลโดยแบบจะจัดเรียงเป็นสามชั้น โดยมีน้ำอยู่ข้างใต้ น้ำมันอยู่กลาง และแก๊สอยู่บน แม้ชั้นต่าง ๆ จะมีขนาดแตกต่างกันไปตามแหล่ง เพราะไฮโดรคาร์บอนส่วนใหญ่เบากว่าหินหรือน้ำ จึงมักไหลตัวขึ้นข้างบนผ่านชั้นหินที่อยู่ติดกันกระทั่งถึงพื้นผิวหรือถูกกักไว้ในหินรูพรุน (ซึ่งรู้จักกันว่า แหล่งกักเก็บ) โดยมีชั้นหินที่ผ่านไม่ได้อยู่ข้างบน อย่างไรก็ดี กระบวนการนี้ได้รับอิทธิพลจากการไหลของน้ำบาดาล ทำให้น้ำมันสามารถเคลื่อนตัวได้หลายร้อยกิโลเมตรตามแนวระดับ หรือแม้กระทั่งลงไประยะสั้น ๆ ก่อนจะถูกกักในแหล่งกักเก็บ เมื่อไฮโดรคาร์บอนเข้มข้นขึ้นในแหล่งกักนั้น ก็จะเกิดเป็นบ่อน้ำมัน ซึ่งของเหลวสามารถสกัดออกมาได้ด้วยการขุดเจาะและการปั๊ม
ปฏิกิริยาที่ผลิตน้ำมันและแก๊สธรรมชาติมักจำลองแบบว่าเป็นปฏิกิริยาการสลายลำดับแรก โดยไฮโดรคาร์บอนถูกสลายเป็นน้ำมันและแก๊สธรรมชาติโดยกลุ่มปฏิกิริยาคู่ขนาน แล้วน้ำมันจะถูกสลายเป็นแก๊สธรรมชาติโดยปฏิกิริยาอีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งกลุ่มหลังนี้ใช้กันปกติในโรงงานปิโตรเคมีและโรงกลั่นน้ำมัน
นักโบราณคดีเชื่อว่าประมาณ 2,500 ปีก่อนคริสตกาล อารยธรรมบาบิโลเนีย เป็นกลุ่มแรกที่มีการใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงแทนไม้ และเมื่อประมาณ 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีนเป็นชาติแรกที่มีการทำเหมืองถ่านหินและขุดเจาะบ่อแก๊สธรรมชาติลึกเป็นระยะร้อยเมตรได้
ซามูเอล เอ็ม เกียร์ (Samuel M. Kier) เป็นบุคคลแรกที่ถือได้ว่าขุดพบน้ำมัน โดยในปี พ.ศ. 2391 เขาได้ขุดพบน้ำมันโดยบังเอิญจากบ่อที่เขาขุดขึ้นบนฝั่งแม่น้ำอัลเลเกนี (Allegheny) ในมลรัฐเพ็นน์ซิลวาเนีย (Pennsylvania) และตั้งชื่อน้ำมันดังกล่าวว่า น้ำมันซีนีกา (Seneca oil) ซึ่งเป็นชื่อพื้นเมืองอเมริกัน ต่อมาเมื่อเกิดภาวะขาดแคลนน้ำมันปลาวาฬ ซึ่งขณะนั้นนิยมใช้เป็นเชื้อเพลิงให้แสงสว่าง และใช้เป็นน้ำมันหล่อลื่นสำหรับเครื่องยนต์ต่างๆ กันอย่างแพร่หลาย จึงเป็นแรงผลักดันให้มีการแสวงหาปิโตรเลียมมาใช้ทดแทน และนำไปสู่การจัดตั้งบริษัทเจาะหาน้ำมันชื่อ บริษัทซีนีกาออยส์ จำกัด (Seneca Oil Company) ขึ้นมา
ในช่วงปี พ.ศ. 2402 เป็นช่วงของ ยุคตื่นน้ำมัน ซึ่งเริ่มจากการที่ เอ็ดวิน แอล เดรก (Edwin L. Drake) ถูกส่งไปเจาะสำรวจหาน้ำมันที่เมืองทิทัสวิลล์ (Titusville) ในมลรัฐเพ็นน์ซิลวาเนีย (Pennsylvania) และเขาได้ขุดพบน้ำมันที่ระดับความลึก 69.5 ฟุต โดยมีน้ำมันไหลออกมาด้วยอัตรา 10 บาเรลต่อวัน จึงถือเป็นการเริ่มต้นธุรกิจน้ำมันในเชิงพาณิชย์ของโลกนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
สำหรับประเทศไทยนั้นมีหลักฐานปรากฏนับเป็นเวลามากกว่าร้อยปีมาแล้วว่า เจ้าหลวงเชียงใหม่ได้รับรายงานว่ามีการไหลซึมออกมาของปิโตรเลียมที่ฝาง และชาวบ้านในบริเวณนั้นได้ใช้น้ำมันดิบนี้เป็นยาทาแก้โรคผิวหนัง เจ้าหลวงเชียงใหม่จึงได้รับสั่งให้มีการขุดบ่อตื้นขึ้น เพื่อกักเก็บน้ำมันดิบที่ไหลซึมออกมานี้ไว้ และเป็นที่เรียกขานกันในเวลาต่อมาว่า "บ่อหลวง" ต่อมาในปี พ.ศ. 2464 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน เมื่อครั้งทรงดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการรถไฟ ได้ทรงริเริ่มนำเข้าเครื่องเจาะมาเพื่อทำการเจาะสำรวจหาน้ำมันดิบ ในบริเวณที่มีผู้พบน้ำมันดิบไหลขึ้นมาบนผิวดินที่บ่อหลวง และยังทรงว่าจ้างนักธรณีวิทยาชาวอเมริกันเข้ามาสำรวจหาน้ำมันดิบ และถ่านหินในประเทศไทยอีกด้วย
http://th.wikipedia....wiki/ปิโตรเลียม
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#74
Posted 1 December 2012 - 10:49
ขอ เฮ้อ ด้วยคนสิ 555+
เราเป็นชาวบ้านธรรมดา เราต้องพูดครับ ไม่พูดเขาก็ฮั๊วกันขูดรีดกับชาวบ้าน
รู้มาอย่างนั้นเช่นกัน ผมได้แต่อ่าน ไม่อยากออกความเห็น
รู้มาแค่ว่า ปตท. เป็นสมบัติผลัดกันชมของทั้งสองพรรคครับ เพราะว่าคนในพรรคปชป. ส่วนหนึ่งถือหุ้นของปตท.ด้วย แต่คนที่ได้ผลประโยชน์มากที่สุดก็คือ.....พ. ชินวัตรครับ เดาเอาเองละกัน ข้อมูลนี้ได้มาจากคนที่ทำงานบริษัทน้ำมันแห่งหนึ่ง ซึ่งเปิดเผยข้อมูลบางส่วนโดยการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันนั้น เป็นการนำเงินกองทุนเบนซินมาอุดหนุนดีเซล ในขณะที่เบนซินส่วนหนึ่งคนของชินวัตร ได้ลิตรละ 2 บาท ครับ ใครอยากรู้ข้อมูลเบื้องลึกลองไปค้นเอาครับ
กลัวจะเป็นการเมืองมากไป ซึ่ง จขกท. ไม่อยากให้พูดถึง
แต่อดไม่ได้ คันไม้คันมือ เอาเป็นว่า ผมแค่บ่นเฉยๆ
ถ้าเห็นว่ามันเป็น เรื่องการเมือง ก็ข้ามๆไปครับ
พลังงาน มันขูดรีดง่ายสุดๆ ผมไม่สนหรอกว่าจะเป็นเรื่องการเมืองหรือการอะไร
พูดถึงพลังงานทีไร ปชป.ง่อยแดรกทุกที เฮ้อ.
ถึง Phat จะเกรียนไปหน่อย แต่ก็ถูกของเขานะ ที่ว่า
ทำไมเวทีผ่าความจริง ปชป. ไม่เคยพูดถึงเรื่องนี้เลย Blue Sky ก็เงียบฉี่
เรื่องพวกนี้ ผมรู้มาไม่น้อยเหมือนกัน คุณมานะ แต่ต้องให้เกียรตฺิ จขกท.น่ะครับ
ไม่อยากหักหาญน้ำใจให้มันมากไป หลังจากเพิ่งเป่าเรื่อง ปาหี่การเมือง มาหยกๆ
กลัวจะกลายเป็นพวกป่วนบอร์ดไปน่ะสิ ช่วงนี้ต้องเก็บเนื้อเก็บตัวหน่อย
เจ้าของคคห.ควรศึกษาที่มาของ"เวทีผ่าความจริง"พรรคประชาธิปัตย์ก่อน....
ในขณะนี้"เวทีผ่าความจริง"คงไมพูดถึงประเด็นนี้ เขาพระวิหาร และ วีระถูกขังในเขมร เป็นต้น
เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...
#75
Posted 1 December 2012 - 10:53
ypk, on 30 พฤศจิกาคม พ.ศ. 2555 - 17:38, said:ในระหว่างคุณกรณ์เป็นรัฐมนตรีว่าการคลังเคยจับต้องทีหนึ่ง
เหอ เหอ เหอ เรื่องนี้คงหวังพึ่ง ปชป ยาก ขืนเสนกฎหมายเข้าสภาไปก็คง
ถูกตีตกหมด คนไทยช่วยตัวเองได้ ถ้าเข้าใจว่า ผลประโยชน์ของตัวเองมัน
ถูกนำไปบิดเบือนหากำไร แต่เพราะข้อมูลมันมักจะออกไปแนวโจมตีนักการเมือง
มันก็เลยถูกมองว่าเป็นเรื่องการเมือง ซะงั้น 555555
กลุ่มของ มล กรณ์ และคุณรสนา ดูจะเป็นกลุ่มที่จริงจังและมีความก้าวหน้า แต่มัน
ไม่มีประชาชนสนับสนุนเท่าที่ควร เพราะคุณรสนาแกก็ว่าของแกไปตามตัวบทกฎหมาย
เท่าที่มันควรจะเป็นประโยชน์กับคนไทย ส่วน มล กรณ์ แกต้องไปอาศัยกลุ่มการเมือง
เช่น กลุ่มพันธมิตรบ้าง กลุ่มของสันติอโศกบ้าง ในการเผยแพร่ข้อมูล ทำให้คนอีกมากมาย
เข้าไม่ถึงข้อมูล เพราะเขามองว่านั่นคือการปลุกระดมทางการเมือง ส่วนสื่อกระแสหลัก ก็
รับโฆษณาของ ปตท กันมาเป็นนายจ้างหลัก ก็เลยไม่ยอมเล่นเรื่องนี้ จะมีอยู่บ้างก็คือ
Thai Pbs ซึ่งก็น้อย เพราะอาจกลัวว่าเป็นการปลุกระดมทางการเมืองหรือเปล่าไม่แน่ใจ
สำหรับข้อมูลเหล่านี้ หาดูได้ทาง ASTV ช่อง 13 สยามไทย และ FMTV ของสันติอโศก
เขาจะมีการนำมาพูดอยู่ประจำ แต่มันก็อย่างว่านั่นแหละ มันปนการเมือง ออกช่องการเมือง
คนส่วนใหญ่ ก็เลยไม่ค่อยสนใจ 555
ด้วยการเป็นกรรมการบริษัทฯของกระทรวงการคลังใหม่ พอดีหมดวาระก่อน......
เนื่องจากกระทรวงการคลังถือหุ้นมากกว่า 52 %
รวมทั้งหุ้นกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการอีกหลายเปอร์เซ็น
แต่ต้องเฟ้นหาบุคคลที่ซื่อสัตย์ ไม่เห็นแก่เบี้ยประชุม ค่ารับรอง
และผลประโยชน์ต่างๆทางตรงทางอ้อมมากมาย....
ค่าโฆษณาผ่านสื่อฯต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือพิมพ์ วิทยุ ทีวี ฯลฯ มหาศาลนัก
ผู้มีอำนาจในองค์กรสื่อฯไม่สามารถเป็นอิสระได้
ดังนั้นองค์การ บริษัท ห้างร้าน รัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่จึงมีเงินค่าโฆษณา คารับรอง
ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกิจกรรมต่างๆมากมายให้สื่อฯ องค์กรอิสระเพื่อปิดปาก หักปากกา....
ปตท. กสท. เอไอเอส การบินไทย อสมท. ฯลฯ
เหมือนยักษ์ที่หาแจ๊คผู้ฆ่ายักษ์ไม่ได้....
คุณรสนาและคนอื่นๆ ได้แต่แสดงความคิดเห็น รณรงค์ตามโอกาส....
พร้อมการค้าหาหลักฐาน ขุดคุ้ย น่าจะต้องใช้เวลาหนึ่งจึงจะได้โอกาส
คนทำงานในองค์กรนั้นอาจจะช่วยเหลือได้
แต่ต้องระวังเจ้าหน้าที่ของบริษัทจำกัดของณัฐวุฒิ ก่อแก้วซึ่งจ้างโดย ปตท.
อาสา"ประสาน"แก้ไขปัญหาม๊อบ องค์กรอิสระ.........ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
เหอ เหอ เหอ อ ประสิทธิ์ แกไม่ได้อยู่กลุ่มนี้หรอกครับ แต่เคยเห็น
เป็นวิทยากรรับเชิญของกลุ่มนี้อยู่เหมือนกัน 555
แต่ประเด็นของผมก็คือ ถ้าเอาเรื่องน้ำมันกับการเมืองไปปนกัน คนมันจะ
ระแวง ว่าที่พูดมานั้นมันจริงหรือเปล่า หรือเป็นแค่การโจมตีกันทางการเมือง
ทำให้มวลชนที่คาดหวังว่าจะเป็นพลังสนับสนุนทั้งโหวตโนทั้งน้ำมัน ไม่ขยายตัว
มันกลายเป็นไปพูดให้คนเดิมซึ่งเขารู้อยู่แล้วฟัง มันก็เลยไม่ค่อยเวิร์ค
กลุ่ม อ ประสิทธิ์นี่ก็ดูจะลำบากเหมือนกันนะครับ ในด้านเงินทุน สถานที่ และมวลชน
เพราะไปต่างจังหวัดมันต้องมีคนจัดการ ผมยังมองว่ากลุ่ม อ ประสิทธิ์นี่น่าจะไปเจาะ
ตามองค์กรต่าง ๆ ดีกว่า เช่น อบต ใหญ่ ๆ เทศบาล ตำรวจ ทหาร มหาวิยาลัย แต่ที่
สำคัญก็คืออย่าเผลอไปพูดว่านักการเมืองโกง หรือนักการเมืองเลวหมด ถ้าไม่พูด
เรื่องการเมืองมันเจาะไปได้ทุกที่แหละ 5555
Stargate-1, on 30 พฤศจิกาคม พ.ศ. 2555 - 19:12, said:
ผมว่าคุณเอาชื่อ"ประสิทธิ์ ไชยทองพันธ์"ไปหาในกูเกิ้ลเอาดีกว่า ว่าอ.เขียนหนังสืออะไรไว้บ้าง
คุณรู้จักองค์การพิทักษ์สยามหรือเปล่า อ.ประสิทธิ์เป็นคนก่อตั้งเอง
ที่ว่าอ.ออกทีวีของทีพีไอได้ก็ถึอว่าได้เปรียบมาก เพราะทีพีไอเป็นโรงกลั่นปิโตรเคมีแห่งแรก
มีท่าเรือน้ำลึกกว่าสิงค์โปร์เสียอีก โรงกลั่นน้ำมันแห่งเดียวที่ได้กำไรในตอนนั้น
เหตุที่โดนปัญหาเรื่องการลอยตัวค่าเงินบาท เพราะโดนบีบจากทุนยิวสหรัฐ ทั้งๆที่มีเงิน 5 พันล้านเหรียญสหรัฐยังไม่ยอมถล่มเงินบาท
ผิดกับคนที่มี 3 พันล้านมันชั่วมากที่ทำกับประเทศตัวเองได้ลงคอ ไม่ต้องบอกนะว่าใคร
ตอนนี้ก็กำลังรับสมัครสมาชิกอยู่ โทร.ไปคุยได้ครับ ทางที่ดีควรหาโอกาสดูรายการนี้สักครั้งตามลิงค์นี้
http://www.suwannabhumi.tv/
เหอ เหอ เหอ ยังเลย น้า พอดีช่วงนี้ห่างเหินช่องสุวรรณภูมิไป ก็พอดีอีกแหละ
ไปเห็นอาจารย์ แกไปออกช่องโน้นช่องนี้ เลยตามดูเพลินไปเลย เดี๋ยวคงกลับ
ไปดูสุวรรณภูมิใหม่ละ ขอบคุณมาก น้า 5555555
http://www.suwannabhumi.tv/
Edited by Stargate-1, 1 December 2012 - 11:41.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#76
Posted 1 December 2012 - 10:53
ถ้ามีจิตสำนึกต่อสาธาณะ ต่อบ้านเมือง ต่อประชาชนจริง และไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง ก็คงทำไปนานแล้ว
ผมขออนุญาติฟันธงว่า ลุงปุ คงฝันสลาย
ขออนุญาตโคทมาให้ดูว่า ผมโชคดีในความเชื่อเรื่องการเมืองอีกแล้ว
แต่ความโชคดีในความเชื่อของผม เป็นความซวยของคนไทย
เพราะประเทศไทยมีแต่พรรค-นักการเมืองที่เห็นแก่ผลประโยชน์ส่วนตน
แถมมีคนไทยส่วนหนึ่งหน้ามืดตามัวเอาแต่คอยปกป้องสนับสนุนพวกนักการเมืองสารเลว
ขอบ่นบ้างครับ
เวลานี้ผมยังมีความคาดหวังอยู่
แต่โอกาส จังหวะและ เงื่อนไขบางประการ
บางเรื่องต้องเอาให้ถึงตาย โอกาสมีไม่บ่อย...
จึงไม่พร่ำเพ้อวันๆ......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...
#77
Posted 1 December 2012 - 11:00
ทําไมตอนเป็นรัฐบาลถึงไม่แม้แต่จะเอ่ยปากว่าทวง ปตท หรือใช้ สื่อรัฐเผยแพร่เรื่องนี้ และ ใช้อํานาจที่มีเอา ปตท คืนมาและเลิกกฏหมาย 11ฉบับ ตรงข้าม ครับ เขาพระวิหาร พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลปล่อยให้เลวร้ายลงแบบนี้เหมือนว่าจะขายดินแดนเพื่อแลกผลประโยชน์ทางพลังงานแล้วใช้ ปตท ไปหากําไรเข้ากระเป๋าตัวเองใช่ไหม สิ่งที่มาร์คทํามันสานต่อจากชวนแม้วไม่ต่างกันสิ้นเชิง ครับ
ตอนเป็นรัฐบาลไม่ทําทําไมพึ่งมาพูดตอนเป็นฝ่ายค้านคิดว่าคนลืมง่ายรึครับ แล้วอีกอย่างอย่าออกหนเดียวเลย ออกหลายๆหนดิ
ผมบอกตรงผมไม่เคยเห็นคนในพรรคปชปอย่างอภิสิทธิ์เอ่ยปากทวง ปตทหรือโละพวกนักการเมืองที่ถือหุ้น ปตท ถ้ามาร์คตอบ ผมนี่ละจะคลายความสงสัย ปชปมากขึ้น
Edited by phat21, 1 December 2012 - 11:03.
#78
Posted 1 December 2012 - 11:15
ทําไมตอนเป็นรัฐบาลถึงไม่แม้แต่จะเอ่ยปากว่าทวง ปตท หรือใช้ สื่อรัฐเผยแพร่เรื่องนี้ และ ใช้อํานาจที่มีเอา ปตท คืนมาและเลิกกฏหมาย 11ฉบับ ตรงข้าม ครับ เขาพระวิหาร พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลปล่อยให้เลวร้ายลงแบบนี้เหมือนว่าจะขายดินแดนเพื่อแลกผลประโยชน์ทางพลังงานแล้วใช้ ปตท ไปหากําไรเข้ากระเป๋าตัวเองใช่ไหม สิ่งที่มาร์คทํามันสานต่อจากชวนแม้วไม่ต่างกันสิ้นเชิง ครับ
ตอนเป็นรัฐบาลไม่ทําทําไมพึ่งมาพูดตอนเป็นฝ่ายค้านคิดว่าคนลืมง่ายรึครับ แล้วอีกอย่างอย่าออกหนเดียวเลย ออกหลายๆหนดิ
ผมบอกตรงผมไม่เคยเห็นคนในพรรคปชปอย่างอภิสิทธิ์เอ่ยปากทวง ปตทหรือโละพวกนักการเมืองที่ถือหุ้น ปตท ถ้ามาร์คตอบ ผมนี่ละจะคลายความสงสัย ปชปมากขึ้น
ไม่ลองดูคลิปนี้ก่อน แม้แต่นายพลยังไม่รู้เรื่องเลย ในรายละเอียดนะครับ คงรู้คร่าวๆจากนายสุวัฒน์
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#79
Posted 1 December 2012 - 11:18
ถ้ามีจิตสำนึกต่อสาธาณะ ต่อบ้านเมือง ต่อประชาชนจริง และไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง ก็คงทำไปนานแล้ว
ผมขออนุญาติฟันธงว่า ลุงปุ คงฝันสลาย
ขออนุญาตโคทมาให้ดูว่า ผมโชคดีในความเชื่อเรื่องการเมืองอีกแล้ว
แต่ความโชคดีในความเชื่อของผม เป็นความซวยของคนไทย
เพราะประเทศไทยมีแต่พรรค-นักการเมืองที่เห็นแก่ผลประโยชน์ส่วนตน
แถมมีคนไทยส่วนหนึ่งหน้ามืดตามัวเอาแต่คอยปกป้องสนับสนุนพวกนักการเมืองสารเลว
ขอบ่นบ้างครับ
เวลานี้ผมยังมีความคาดหวังอยู่
แต่โอกาส จังหวะและ เงื่อนไขบางประการ
บางเรื่องต้องเอาให้ถึงตาย โอกาสมีไม่บ่อย...
จึงไม่พร่ำเพ้อวันๆ......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
ผมมั่นใจว่าลุงปุคงอกหักอีกตามเคย
และก็มั่นใจว่า ถึงลุงปุอกหัก ไม่สมหวัง
แต่ลุงปุก็ยังคงตั้งความหวังเรื่องพลังงานกับ ปชป. อีกต่อไป
และผมก็มั่นใจว่า ลุงปุคงอกหักกับเรื่องนี้ตลอดไป
#80
Posted 1 December 2012 - 11:27
น้า Stargat 1 แป๊ะให้ดูนั่นแหละ ดูแล้วสนใจ ก็เทคแอคชั่นได้ด้วยตนเอง
ไม่งั้นถกกันอยู่ในนี้ผลมันไม่ค่อยออก โดยเฉพาะ เจ้า Phat น่ะ เลิกโวยวาย
แล้วรีบเข้าไปลุยเลย 555555555
#81
Posted 1 December 2012 - 11:33
มีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับสภาปฏิรูปพลังงาน ติดต่ออ.ประสิทธิ์ได้ที่เบอร์ข้างบน
ถ้าต้องการสมัครเป็นสมาชิกสภาปฏิรูปพลังงานก็ติดต่อได้เช่นกัน
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#82
Posted 1 December 2012 - 11:37
เหอ เหอ เหอ ใครอยากเอา ปตท คืน ต้องลองเข้าไปดูไปศึกษาตามลิงค์ที่
น้า Stargat 1 แป๊ะให้ดูนั่นแหละ ดูแล้วสนใจ ก็เทคแอคชั่นได้ด้วยตนเอง
ไม่งั้นถกกันอยู่ในนี้ผลมันไม่ค่อยออก โดยเฉพาะ เจ้า Phat น่ะ เลิกโวยวาย
แล้วรีบเข้าไปลุยเลย 555555555
ผมดูหลายหนแล้ว ครับ ผมเข้าใจดีแล้ว ครับแล้วเรื่องนายพลที่ไม่รู้ว่าประเทศเรามีทรัพยากรเยอะผมก็รู้แล้ว ผมเนี่ยดู ถ่ายทอด เสวนาทุกวันอาทิตย์ผมก็รู้แล้ว ครับ ผมจึงมองออกแล้วว่าจะหวังพรรคไหนเอา ปตทคืนไม่ได้อีกแล้ว ครับ
#83
Posted 1 December 2012 - 11:45
ไม่ลองสมัครสมาชิกสภาปฏิรูปดูละครับ ช่วยเผยแพร่ข้อมูลก็ยังดี เบอร์ติดต่อก็อยู่ข้างบน แถวๆสงขลา มีมวลชนมากมาย ทั้งอยู่ใกล้ แอ่งสงขลา ขนาดใหญ่ด้วย โดยเฉพาะ แหล่งบัวบาน น้ำมันที่ไม่ผ่านมิเตอร์มีเยอะแยะ สามารถออกไปเปิดโปงได้ เหมือนที่ชาวเพชรบูรณ์เขาทำกัน
เหอ เหอ เหอ ใครอยากเอา ปตท คืน ต้องลองเข้าไปดูไปศึกษาตามลิงค์ที่
น้า Stargat 1 แป๊ะให้ดูนั่นแหละ ดูแล้วสนใจ ก็เทคแอคชั่นได้ด้วยตนเอง
ไม่งั้นถกกันอยู่ในนี้ผลมันไม่ค่อยออก โดยเฉพาะ เจ้า Phat น่ะ เลิกโวยวาย
แล้วรีบเข้าไปลุยเลย 555555555
ผมดูหลายหนแล้ว ครับ ผมเข้าใจดีแล้ว ครับแล้วเรื่องนายพลที่ไม่รู้ว่าประเทศเรามีทรัพยากรเยอะผมก็รู้แล้ว ผมเนี่ยดู ถ่ายทอด เสวนาทุกวันอาทิตย์ผมก็รู้แล้ว ครับ ผมจึงมองออกแล้วว่าจะหวังพรรคไหนเอา ปตทคืนไม่ได้อีกแล้ว ครับ
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#84
Posted 1 December 2012 - 11:50
เหอ เหอ เหอ ใครอยากเอา ปตท คืน ต้องลองเข้าไปดูไปศึกษาตามลิงค์ที่
น้า Stargat 1 แป๊ะให้ดูนั่นแหละ ดูแล้วสนใจ ก็เทคแอคชั่นได้ด้วยตนเอง
ไม่งั้นถกกันอยู่ในนี้ผลมันไม่ค่อยออก โดยเฉพาะ เจ้า Phat น่ะ เลิกโวยวาย
แล้วรีบเข้าไปลุยเลย 555555555
ผมดูหลายหนแล้ว ครับ ผมเข้าใจดีแล้ว ครับแล้วเรื่องนายพลที่ไม่รู้ว่าประเทศเรามีทรัพยากรเยอะผมก็รู้แล้ว ผมเนี่ยดู ถ่ายทอด เสวนาทุกวันอาทิตย์ผมก็รู้แล้ว ครับ ผมจึงมองออกแล้วว่าจะหวังพรรคไหนเอา ปตทคืนไม่ได้อีกแล้ว ครับ
ทำไมไม่ด่าปูบ้างหละ ปูเน่าก็ไม่คิดจะทวงคืน ปตท.เหมือนกันนะ
#85
Posted 1 December 2012 - 12:01
รมว.พลังงานในรัฐบาลนี้ (เฮียเพ้ง)เร่งออกนโยบายทำท่อน้ำมันจากระยองไปทางเหนือและอีสาน เพื่อนำน้ำมันมาส่งออกที่ท่าเรือทีพีไอเก่า เอื้อประโยชน์ให้ปตท.โดยตรง
เหอ เหอ เหอ ใครอยากเอา ปตท คืน ต้องลองเข้าไปดูไปศึกษาตามลิงค์ที่
น้า Stargat 1 แป๊ะให้ดูนั่นแหละ ดูแล้วสนใจ ก็เทคแอคชั่นได้ด้วยตนเอง
ไม่งั้นถกกันอยู่ในนี้ผลมันไม่ค่อยออก โดยเฉพาะ เจ้า Phat น่ะ เลิกโวยวาย
แล้วรีบเข้าไปลุยเลย 555555555
ผมดูหลายหนแล้ว ครับ ผมเข้าใจดีแล้ว ครับแล้วเรื่องนายพลที่ไม่รู้ว่าประเทศเรามีทรัพยากรเยอะผมก็รู้แล้ว ผมเนี่ยดู ถ่ายทอด เสวนาทุกวันอาทิตย์ผมก็รู้แล้ว ครับ ผมจึงมองออกแล้วว่าจะหวังพรรคไหนเอา ปตทคืนไม่ได้อีกแล้ว ครับ
ทำไมไม่ด่าปูบ้างหละ ปูเน่าก็ไม่คิดจะทวงคืน ปตท.เหมือนกันนะ
รมว.เร่งเปิดสัมปทานปิโตรเลี่ยมครั้งที่ 21 ที่เคยถูกยับยั้งไปเมื่อเดือนกรกฎาคม โดยภาคประชาชน และสว.กลุ่มเล็กๆ
ถ้าปชป.ร่วมมือด้วยน่าจะ ให้ผลมากกว่านี้ โดยเฉพาะการขึ้นราคาแก๊สLPG ในต้นปีหน้า ทั้งๆที่แก๊ส LPG ต้นทุนไม่เกิน 3 บาท
Edited by Stargate-1, 1 December 2012 - 12:04.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#86
Posted 1 December 2012 - 12:07
เหอ เหอ เหอ ใครอยากเอา ปตท คืน ต้องลองเข้าไปดูไปศึกษาตามลิงค์ที่
น้า Stargat 1 แป๊ะให้ดูนั่นแหละ ดูแล้วสนใจ ก็เทคแอคชั่นได้ด้วยตนเอง
ไม่งั้นถกกันอยู่ในนี้ผลมันไม่ค่อยออก โดยเฉพาะ เจ้า Phat น่ะ เลิกโวยวาย
แล้วรีบเข้าไปลุยเลย 555555555
ผมดูหลายหนแล้ว ครับ ผมเข้าใจดีแล้ว ครับแล้วเรื่องนายพลที่ไม่รู้ว่าประเทศเรามีทรัพยากรเยอะผมก็รู้แล้ว ผมเนี่ยดู ถ่ายทอด เสวนาทุกวันอาทิตย์ผมก็รู้แล้ว ครับ ผมจึงมองออกแล้วว่าจะหวังพรรคไหนเอา ปตทคืนไม่ได้อีกแล้ว ครับ
ทำไมไม่ด่าปูบ้างหละ ปูเน่าก็ไม่คิดจะทวงคืน ปตท.เหมือนกันนะ
เรื่องนั้นผมทราบดี ครับเรื่อง ปตทผมไม่หวังอยู่แล้ว ครับอยากจะรีบไล่มัน แต่กลัว ปชปกลับมาอีกซึ่งผมก็ไม่เอา ปชปเหมือน กันยังไงก็รีบๆไล่ซักทีเหอะ
#87
Posted 1 December 2012 - 12:30
น้อง Phat ดูสุภาพขึ้นนะ ถูกต้องแล้วครับ เพราะพวกเราในนี้ ไม่ไช่ศัตรูกันผมดูหลายหนแล้ว ครับ ผมเข้าใจดีแล้ว ครับแล้วเรื่องนายพลที่ไม่รู้ว่าประเทศเรามีทรัพยากรเยอะผมก็รู้แล้ว ผมเนี่ยดู ถ่ายทอด เสวนาทุกวันอาทิตย์ผมก็รู้แล้ว ครับ ผมจึงมองออกแล้วว่าจะหวังพรรคไหนเอา ปตทคืนไม่ได้อีกแล้ว ครับ
เหอ เหอ เหอ ใครอยากเอา ปตท คืน ต้องลองเข้าไปดูไปศึกษาตามลิงค์ที่
น้า Stargat 1 แป๊ะให้ดูนั่นแหละ ดูแล้วสนใจ ก็เทคแอคชั่นได้ด้วยตนเอง
ไม่งั้นถกกันอยู่ในนี้ผลมันไม่ค่อยออก โดยเฉพาะ เจ้า Phat น่ะ เลิกโวยวาย
แล้วรีบเข้าไปลุยเลย 555555555
ค่อยๆพูดค่อยๆจาแบบนี้ เยี่ยมเลย ใครหยาบคายมา ก็ช่างเขา
เราคุยกันอย่างมีอารยะดีกว่า ใครไม่ฟังก็ปล่อยให้มันเน่าไป
หายจน ทั้งแผ่นดิน ด้วยการต่อต้าน นกม.ชั่ว และเอา ปตท กลับคืนมาเป็นของคนไทย
#88
Posted 1 December 2012 - 20:19
ผมว่าเราน่าจะกำหนดมาตรฐานของรัฐวิสาหกิจไปเลยดีกว่า ในเรื่องของสัดส่วนหุ้นมันควรจะล็อกเป้าไว้เลยว่าขายได้เท่าไร
ไม่งั้นปัญหาที่ตามมาก็มีมากมาย เช่น ก.การคลังร้อยละ 70 30 ของเอกชน แบบนี้ ถือว่าเป็นการคานอำนาจของรัฐเพราะถือว่า
นี่เป็นทรัพย์สมบัติของชาติและคนไทยทุกคน ถ้ามัวแต่กำหนดว่ารัฐวิสาหกิจต้องมีรัฐซื้อเกิน 50 ถ้ารัฐขายไปก็ไม่ใช่รัฐวิสาหกิจแล้ว
แล้วเอกชนก็จะมากอบโกยผลประโยชน์แทน ด้วยเสียงส่วนใหญ่ คราวนี้รัฐก็ทำไรไม่ได้
ปตท.แปรรูปเป็นบริษัทมหาชนในรัฐบาลทักษิณ....
กระทรวงการคลังควรมี"กรรมการ ปตท."มากกว่าคนอื่น...
รมว.คลังเป็นคนของพรรคไทยรักไทย..
ดังนั้นกรรมการ(ข้าราชการ ก.คลัง)ใน ปตท.ทำอะไรได้.......?
เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...
#89
Posted 1 December 2012 - 20:23
รัฐมีหุ้นมากอยู่แล้ว ปัญหาอยู่ที่ปลัด รองปลัด อธิบดี ถูกซื้อตัวไปแล้ว
ถ้ารัฐบาลมีนโยบายอย่างไร พวกนี้พร้อมจะทำตาม เพราะกลัวถูกปลด เงินเดือนเป็นล้านจากตำแหน่งที่ปตท.และเครือ ใครจะยอมเสียไป
นโยบายล่าสุดคือต่อท่อจากระยองไปเหนือและอีสาน ทีแรกคิดว่าจะเอาน้ำมันไปกระจายตามต่างจว.
ไม่ใช่กลับกัน มันเอาน้ำมันที่ขุดได้มาส่งท่าเรือเพื่อส่งออกนอก เพราะขนส่งทางรถบรรทุก กลัวชาวบ้านไปคอยนับรถดูจำนวนรถ
ต้นปีหน้า ก็จะให้ประมูลสัมปทานแปลงสุดท้ายแล้ว เรายับยั้งไว้ได้ที่เดือนกรกฎาคม ภาตประชาชนกลุ่มเล็กๆ กับกลุ่มสว.ไม่กี่คนยังทำได้
ถ้าปชป.สนใจหน่อย มาร่วมกัน คงทำได้มากกว่านี้ อย่างแรกต้องแก้กฎหมายปกปิดข้อมูลก่อน ต่อมาก็กฎหมายไม่ให้เอาผิดผูรับสัมปทาน
ต่อมาก็แก้ไขผลประโยชน์ และก็เอาข้าราชการออกจากบอร์ดปตท.และเครือให้หมด
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#90
Posted 1 December 2012 - 20:32
- สงสารสาวจันทร์ and Strangerman like this
"ดีใดไม่มีโทษ ดีนั้นชื่อว่าดีเลิศ" - หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
"คนเราสามารถเปลี่ยนต้นไม้ประหลาด ให้เป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ เปลี่ยนคนผิดให้เป็นพระเจ้า เปลี่ยนสีขาวให้เป็นสีดำ เพียงเพราะความเชื่อของตัวเองเพียงเท่านั้น"
#91
Posted 1 December 2012 - 20:42
........ มาตรา ๗๖ ผู้รับสัมปทานต้องรายงานผลการประกอบกิจการปิโตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจำปีตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่อธิบดีกำหนด
............. รายงานตามวรรคหนึ่งให้ถือเป็นความลับและมิให้เปิดเผยจนกว่าจะพ้นหนึ่งปี นับแต่วันที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ*ได้รับรายงานหรือพึงได้รับรายงานตามวรรคหนึ่ง เว้นแต่
(๑) เป็นการเปิดเผยในการปฏิบัติราชการแก่ส่วนราชการหรือบุคคลซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ
(๒) เป็นการนำข้อสนเทศจากรายงานนั้นไปใช้ในการเรียบเรียงและเผยแพร่รายงานหรือบันทึกทางวิทยาศาสตร์ เทคนิคหรือสถิติ โดยได้รับอนุมัติจากอธิบดีแล้ว ทั้งนี้ ต้องหลีกเลี่ยงการเปิดเผยข้อสนเทศด้านพาณิชย์ให้มากที่สุด หรือ
(๓) ได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้รับสัมปทานให้เปิดเผยได้ แต่การให้หรือไม่ให้ความยินยอมของผู้รับสัมปทานต้องกระทำโดยไม่ชักช้า
...............ความในวรรคสองไม่ใช้บังคับแก่รายงานเกี่ยวกับการผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่ผลิตและรายงานเกี่ยวกับพื้นที่ที่ผู้รับสัมปทานได้คืนพื้นที่แล้วตามมาตรา ๓๖ หรือ ๓๗
และไม่อาจเอาผิดได้ทางศาล เนื่องจากได้รับการคุมครองได้จาก มาตรา 13 พ.ร.บ.ปิโตรเลี่ยม
............. มาตรา ๑๓ สิทธิในการถือสัมปทานไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#92
Posted 1 December 2012 - 20:58
ไม่ครับผมมองว่า ถ้ารัฐบาลทำมันยังพอต่้อต้านได้เพราะเราไม่รู้ว่าใครจะมาเป็น ซึ่งมันอาจตกต่ำเพียงไม่กี่ปี
ผมว่าเราน่าจะกำหนดมาตรฐานของรัฐวิสาหกิจไปเลยดีกว่า ในเรื่องของสัดส่วนหุ้นมันควรจะล็อกเป้าไว้เลยว่าขายได้เท่าไร
ไม่งั้นปัญหาที่ตามมาก็มีมากมาย เช่น ก.การคลังร้อยละ 70 30 ของเอกชน แบบนี้ ถือว่าเป็นการคานอำนาจของรัฐเพราะถือว่า
นี่เป็นทรัพย์สมบัติของชาติและคนไทยทุกคน ถ้ามัวแต่กำหนดว่ารัฐวิสาหกิจต้องมีรัฐซื้อเกิน 50 ถ้ารัฐขายไปก็ไม่ใช่รัฐวิสาหกิจแล้ว
แล้วเอกชนก็จะมากอบโกยผลประโยชน์แทน ด้วยเสียงส่วนใหญ่ คราวนี้รัฐก็ทำไรไม่ได้
ปตท.แปรรูปเป็นบริษัทมหาชนในรัฐบาลทักษิณ....
กระทรวงการคลังควรมี"กรรมการ ปตท."มากกว่าคนอื่น...
รมว.คลังเป็นคนของพรรคไทยรักไทย..
ดังนั้นกรรมการ(ข้าราชการ ก.คลัง)ใน ปตท.ทำอะไรได้.......?
แต่ถ้าให้เอกชนเอาไปเลย ยังไงก็ไม่มีทางให้ ปตท. เป็นของทุกคน ตลอดไปได้แล้ว เนื่องจากเอกชนทั้งหลายแหล่ ไม่สามารถระบุตัวได้หมด ถึงระบุได้เราก็ทำอะไรไม่ได้
ถ้าพวกนั้นบอยคอตเมื่อไร ปัญหาตามมาอีกเยอะ เพราะพวกนี้จะรวมตัวกันกินอย่างไม่ไว้หน้า ถ้าจะให้เลือกทางใดทางหนึ่งมันก็มีแต่เสียกับเสีย
เราควรจะเสียให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ดีกว่าในระยะยาวนะ แล้วมันก็เป็นการส่อให้เห็นความชั่วของนักการเมืองโกงกินด้วย ประเทศจะได้ตาสว่างซักที ปู แปด ปี นี่แหละ
#93
Posted 1 December 2012 - 21:19
จากผลประโยชน์ของบอร์ดเหล่านี้ ทำให้เกิดคำถามว่าโครงสร้างการบริหาร ปตท. และบริษัทลูก ที่ให้ผู้บริหารหน่วยงานราชการที่กำกับดูแลกิจการด้านพลังงาน เข้ามาเป็นประธานและคณะกรรมการเหมาะสมหรือไม่ เพราะผู้บริหารหน่วยงานราชการมีภารกิจต้องรักษา และปกป้องผลประโยชน์ของประชาชน ขณะที่ต้องสวมอีกใบหนึ่งในการเป็นผู้บริหารสูงสุดของบริษัทที่ต้องสร้างประโยชน์ให้บริษัท และทำกำไรสูงสุดเพื่อผู้ถือหุ้น โดยมีผลพลอยได้คือผลตอบแทนจากส่วนแบ่งของกำไรที่เกิดขึ้นในแง่ของโบนัสกรรมการ
ข้อมูลที่ปรากฏทั้งในหนังสือรายงานประจำปี ปตท. 2550 รวมไปถึงข้อมูลที่รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ และประกาศของราชการ ปรากฏว่ามีคณะกรรมการ ปตท. และบริษัทลูก มาจากหน่วยงานที่ทำหน้าที่กำกับดูแลกิจกรรมการพลังงานของชาติ (ตาราง : คนของรัฐกับการเป็นบอร์ด ปตท. และบริษัทลูกปัจจุบัน) เช่น บางคนเป็นปลัด และรองปลัดของกระทรวงพลังงาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งบางคนมาจากคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และมีกรรมการเป็นผู้แทนจากคณะรัฐมนตรี และหน่วยงานราชการ ซึ่ง กพช. มีอำนาจหน้าที่สำคัญข้อหนึ่ง คือ การกำหนดราคาพลังงาน จำนวนนี้ได้เป็นบอร์ด ปตท. ชุดปัจจุบันถึง 4 คน คือ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการสำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์) และอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และบางคนมีตำแหน่งอยู่ในบริษัทลูก ปตท.
คนของรัฐกับการเป็นบอร์ด ปตท. และบริษัทลูกปัจจุบัน
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รายนาม ตำแหน่งในหน่วยงานราชการ ตำแหน่งใน ปตท. และบริษัทลูก
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ณอคุณ สิทธิพงศ์ รองปลัดกระทรวงพลังงาน ประธานคณะกรรมการ ปตท.
2. พานิช พงศ์พิโรดม อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) กรรมการ ปตท.
3. จักรมณฑ์ ผาสุกวนิช ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม คณะกรรมการ กพช. กรรมการ ปตท.
4. พรทิพย์ จาละ เลขาธิการสำนักงานกฤษฎีกา คณะกรรมการ กพช. กรรมการอิสระ และตรวจสอบ ปตท.
5. อำพน กิตติอำพน เลขาธิการสภาพัฒน์ คณะกรรมการ กพช. กรรมการ ปตท.
6. คุรุจิต นาครทัพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน ประธานคณะกรรมการปตท.สำรวจและผลิต
7. เมตตา บันเทิงสุข อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน กรรมการปตท.สผ.
8. พรชัย รุจิประภา ปลัดกระทรวงพลังงาน - ประธานคณะกรรมการ ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น -ประธานคณะกรรมการปตท. เคมิคอล
------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระดับบิ๊กรวยหุ้น
สำหรับผู้บริหารระดับสูงของ ปตท. ตั้งแต่ระดับกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ที่ไม่ได้ไปดำรงตำแหน่งผู้บริหารบริษัทในเครือ ปตท. ได้จ่ายเงินเดือน โบนัส รวมประมาณ 74 ล้านบาท (ตาราง “ผู้บริหารรวยเงินเดือน+โบนัส 74 ล้านบาท”) นอกเหนือจากหุ้นจำนวนหนึ่ง (ตาราง”ผู้บริหารรวยหุ้น”) ซึ่งผู้บริหารที่มีหุ้นมากสุดคือ “จิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์” รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
กลุ่มธุรกิจสำรวจ ผลิต และก๊าซธรรมชาติ ณ 31 ธันวาคม 2550 มีหุ้นเหลืออยู่ 175,830 หุ้น คิดเป็นมูลค่าประมาณ 65,408,760 บาท และ “อดิเทพ พิศาลบุตร์” รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ที่ไปดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) มี 240,309 หุ้น คิดเป็น 89,394,948 บาท แม้ว่าผู้บริหารบางคนจะมีหุ้นจำนวนน้อย อย่าง “ทรงวุฒิ ชินวัตร” เครือญาติของ “ทักษิณ ชินวัตร” ที่ดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท. ที่มีหุ้นเพียง 12,676 หุ้น แต่คำนวณแล้วก็มีมูลค่ารวมถึง 4,716,588 บาท (ราคา ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2550 ที่ 372 บาท)
และแม้ว่าราคาจะลดลงตามภาวะตลาด ที่ ณ วันที่ 27 มิถุนายน 2551 ราคาตกลงมาที่หุ้นละ 308 บาท แต่ราคาเป้าหมายตามที่นักวิเคราะห์หลักทรัพย์คาดการณ์ไว้ที่กว่า 400 บาท หุ้น ปตท. ก็ถือเป็นสิ่งมีค่าของบรรดาผู้บริหารอย่างปฏิเสธไม่ได้ ยังไม่นับ Warrant และ ESOP ที่ผู้บริหารแต่ละคนมีอยู่ในมือที่สามารถแปลงเป็นหุ้น และขายได้ในอนาคต ซึ่งข้อมูลจากแบบรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของผู้บริหาร (แบบ 59-2) ของ ก.ล.ต. ระบุถึงความเคลื่อนไหวในการซื้อ ESOP (Employee Stock Option Program) หรือการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญออกใหม่
(ให้สิทธิซื้อราคาถูก หรือฟรี ในกรณี ปตท. ได้บันทึกราคาไว้ที่ 0.00 บาท) ซึ่งมีผู้บริหารหลายคนที่ได้หุ้น ESOP และมีการโอนออกซื้อขายเป็นระยะ โดย “ประเสริฐ บุญสัมพันธ์” ได้หุ้น ESOP เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2548 จำนวน243,000 หุ้น (บันทึกราคาที่ 0.00 บาท) และ 1 ปีให้หลังได้โอนออก 60,700 หุ้น และ 29 กันยายน 2549 ได้อีก119,000 หุ้น จากนั้นตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2550 ได้ขายออกครั้งละ 5,000 หุ้นบ้าง 60,000 หุ้นบ้าง ในราคาเฉลี่ย 330-370 บาท จนล่าสุดเมื่อ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 ได้ ESOP อีก 87,000 หุ้น
ผู้บริหารรวยหุ้น
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง จำนวนหุ้น (หน่วย : หุ้น)
31 ธ.ค. 2549 31 ธ.ค. 2550
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ 325,820 -
2. นายอนนต์ สิริแสงทักษิณ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร และพัฒนาองค์กร 89,930 100,330
3. นายพิชัย ชุณหวชิร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน และบัญชีองค์กร 22,000 55,400
4. นายทรงวุฒิ ชินวัตร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร 32,076 12,676
5. นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลุ่มธุรกิจสำรวจ ผลิต และก๊าซธรรมชาติ 129,730 175,830
6. นายชัยวัฒน์ ชูฤทธิ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจน้ำมัน 57,000 74,000
7. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น 133,980 117,480
8. นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กรรมการอำนวยการ บริษัทไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) 123,880 157,080
9. นายอดิเทพ พิศาลบุตร์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 198,809 240,309
10. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น จำกัด (มหาชน)75,692 24,300
11. นายมารุต มฤคทัต รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) - 8,700
12. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น จำกัด (มหาชน) - 49,700
13. นางสาวเพ็ญจันทร์ จริเกษม ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินองค์กร 7,132 10,000
14. นางปริศนา ประหารข้าศึก ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่บัญชีองค์กร 38,063 51,463
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ --------------
ผู้บริหารรวยเงินเดือน+โบนัส 74 ล้านบาท (หน่วย : บาท)
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ค่าตอบแทน ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เงินเดือน 45,135,600 45,145,600 51,815,390
โบนัส 22,170,695 31,668,840 22,572,960
รวม 67,170,695 76,814,760 74,388,350
เงินสบทบกองทุน 3,062,216 3,005,232 3,659,601
สำรองเลี้ยงชีพ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
*หมายเหตุ คำนวณเฉพาะผู้บริหารระดับสูง 6-8 คน เฉลี่ยรับคนละ 10 ล้านบาท (ไม่รวมผู้บริหารที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น)
ด้านผลตอบแทนของพนักงาน ปตท. ในหนังสือรายงานประจำปี 2550 ค่อนข้างสับสน ต่างจากปีก่อนหน้าที่ระบุชัดเจนถึงผลตอบแทนรวม และจำนวนพนักงาน โดยในหน้า 011 ระบุพนักงานในเครือทั้งหมด (รวมตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูงจนถึงพนักงานในปั๊มน้ำมัน) มี 10,630 คน เฉพาะของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) มี 3,288 คน แต่ข้อมูลในหน้า 098 ระบุว่า จำนวนพนักงาน ปตท. (รวมพนักงานที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทในกลุ่ม ปตท.) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เท่ากับ 3,544 คน และในหน้า 099 ระบุมีค่าตอบแทนรวมประมาณ 5 พันล้านบาท (ตาราง “ผลตอบแทนแก่บุคคลากร”...) ตัวเลขจำนวนนี้ หากคิดเฉลี่ยพบว่ามีรายได้คนละ 1,450,547.45 บาทต่อปี และแม้ตารางในหน้า 099 ระบุว่า มีพนักงานรวม 7,342 คน ซึ่งรวมพนักงานในบริษัทย่อย และกิจการร่วมค้า เฉลี่ยคนละ 695,279.24 บาทต่อปี
ผลตอบแทนแก่บุคคลากร (ไม่รวมกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารระดับสูง) หน่วย : บาท
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ค่าตอบแทน ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เงินเดือนรวม 2,020,836,159.33 2,313,239,842.61 2,523,442,073.58
โบนัสรวม 996,368,672.00 1,138,238,033.75 1,263,194,610.38
เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 199,951,973.02 228,214,687.17 249,207,450.79
อื่นๆ 800,492,308.37 993,909,544.34 1,104,896,055.73
รวม 4,017,649,112.72 4,673,602,107.87 5,104,740,190.38
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#94
Posted 1 December 2012 - 21:22
อานิก อัมระนันทน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ กรุงเทพธุรกิจ วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2553
ปตท.เป็นองค์กรที่เร้นลับซับซ้อน ถึงแม้จะเป็นรัฐวิสาหกิจชั้นนำ และเป็นบริษัทมหาชนใหญ่ที่สุดในตลาดหลักทรัพย์ มีรายงานประจำปีที่จัดทำอย่างดิบดี และเคยได้รับรางวัลมากมาย แต่ก็มีความไม่ไว้วางใจ ปตท.ในหมู่ NGO และประชาชน เพราะเป็นองค์กรที่ใหญ่ยักษ์ และมีความไม่โปร่งใสบางประการ อีกทั้งมีปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนในระดับของการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจแห่งนี้
ปกติคณะกรรมการหรือบอร์ดรัฐวิสาหกิจ จะต้องดูแลให้เกิดความสมดุลระหว่างผลประโยชน์ของคน 3 กลุ่ม คือ 3 วงกลมในแผนภูมิ ได้แก่ ผู้บริโภค ผู้ถือหุ้น และผู้บริหาร/พนักงาน อาการหนึ่งของความไม่สมดุลของ ปตท.ก็คือ การที่ประชาชนทั่วไปรู้สึกว่าต้องจ่ายค่าน้ำมันค่าก๊าซและค่าไฟฟ้าในราคาแพง (เชื้อเพลิงหลักของไฟฟ้า คือ ก๊าซธรรมชาติ) ในขณะที่ ปตท.ดูเหมือนจะมีกำไรสูงลิบ ทั้งที่ความจริง ปตท.มีกำไรน้อยมาก จากการขายน้ำมันและก๊าซ LPG สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความไม่ไว้วางใจในหมู่ NGO ซึ่งเป็นผู้นำทางความคิด ก็คือ การที่ข้าราชการซึ่งมานั่งเป็นคณะกรรมการหรือบอร์ดได้รับค่าตอบแทนที่สูงมาก ทั้งเบี้ยประชุมและโบนัส ซึ่งอิงกับกำไร ในปี 2551 ได้รับกันคนละ 2 ล้านกว่าบาท เกือบ 3 ล้านบาท สำหรับประธานบอร์ด ทำให้ถูกมองว่ากรรมการใส่ใจปกป้อง ปตท.มากกว่าสนใจดูแลผู้บริโภค ซึ่งอาจจะไม่เป็นความจริงเลยก็ได้
ยิ่งไปกว่านั้น ในกรณีศึกษาของ ปตท.ในรายงานวิจัยของ สกว.เกี่ยวกับธรรมาภิบาลในรัฐวิสาหกิจ (มี.ค. 2552) โดยอาจารย์ไพโรจน์ วงศ์วิภานนท์ มีความเห็นว่าการที่มีข้าราชการ ซึ่งขาดความเชี่ยวชาญด้านธุรกิจหรือพลังงานอยู่ในบอร์ดเป็นส่วนใหญ่ และได้ค่าตอบแทนที่สูงมากๆ ทำให้เกิดความเสี่ยงว่าอาจถูกครอบงำโดยฝ่ายบริหารและ/หรือนักการเมืองผู้มีอำนาจในการแต่งตั้ง ในขณะที่ข้าราชการจากกระทรวงพลังงานที่มีความรู้ด้านพลังงาน ก็มีปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อน เพราะมีบทบาทที่ขัดแย้งในคนเดียวกัน คือ เป็นทั้งผู้กำหนดนโยบายและกรรมการกำกับผู้แข่งขัน นอกจากนี้ ในเรื่องของการกำหนดค่าตอบแทนงานวิจัยพบว่ากระบวนการขัดกับหลักธรรมาภิบาล เพราะคนในบอร์ดเสนอให้ผลประโยชน์ตนเอง และยังมีการวิเคราะห์เปรียบเทียบการตอบแทนบอร์ดของ ปตท. กับบริษัท Statoil รัฐวิสาหกิจของประเทศนอร์เวย์อย่างละเอียด ได้ข้อสรุปว่าของ ปตท.สูงกว่าที่ควรจะเป็นมาก เนื่องจากผลประโยชน์ที่ผู้ถือหุ้น คือ เจ้ากระทรวงอนุมัติให้นั้นสูงและไม่โปร่งใส จึงมีความเสี่ยงเสมือนการให้ต่างตอบแทน เพราะอาจมีการเอื้อประโยชน์กันก็ได้ ซึ่งงานวิจัยยังชี้ความเสี่ยงอีกหลายประเด็น ถ้าดูตามแผนภูมิ เหล่านี้ก็คือประโยชน์ตนและประโยชน์คนอื่นที่ไม่ควรอยู่ในสมการ เพราะเป็นการรั่วไหลของผลประโยชน์ที่ชอบธรรม
ทำนองเดียวกัน การที่ผู้บริหารของ ปตท.ไปนั่งเป็นกรรมการในบริษัทลูกคนละหลายๆ แห่ง และได้รับค่าตอบแทนที่สูงมากๆ อาทิเช่น ในปี 2551 ผู้บริหารสูงสุดของ ปตท.ได้รับโบนัสและเบี้ยประชุมต่างๆ รวม 22.7 ล้านบาท (ข้อมูลจากรายงานคณะกรรมาธิการศึกษา ตรวจสอบเรื่องการทุจริตและเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา) ไม่นับรวมเงินเดือนและผลประโยชน์ที่ได้รับในฐานะลูกจ้างเต็มเวลาของบริษัทของ ปตท.คาดกันว่าประมาณ 16.5 ล้านบาท (ข้อมูลจากรายงาน 56-1 ที่ ปตท.ส่งตลาดหลักทรัพย์โดยใช้สมมุติฐานว่าผู้บริหารสูงสุดได้มากกว่าผู้บริหารอื่น 60% ตามที่คนทั่วไปเข้าใจ) รวมเป็นรายได้ในปีนั้น 39.5 ล้านบาท แม้มีการอ้างถึงความเสี่ยงต่อการรับผิดตามกฎหมายของกรรมการ ก็สามารถซื้อประกันคุ้มครองความเสี่ยงนั้นได้ ซึ่งส่วนใหญ่ก็ทำอยู่แล้ว ยกเว้นกรณีทุจริตหรือเกิดความละเลยอย่างมาก การที่บอร์ดอนุมัติให้ฝ่ายบริหารรับประโยชน์ที่ดูเหมือนจะสูงเกินควรเช่นนี้ ทำให้เกิดความเสี่ยงเรื่องการให้ต่างตอบแทนระหว่างผู้บริหารกับบอร์ด และซ้อนไปอีกชั้นหนึ่ง คือ ความเสี่ยงของการให้ต่างตอบแทนระหว่างเจ้ากระทรวงกับผู้บริหารโดยผ่านข้าราชการที่ถูกเลือกมานั่งในบอร์ด โดยเฉพาะกรณีที่การทำงานของข้าราชการใกล้ชิดสนิทสนมกับเจ้ากระทรวง ดังที่พูดกันแม้ในหมู่นักธุรกิจต่างชาติ ว่ากระทรวงที่กำกับรัฐวิสาหกิจยักษ์ใหญ่มักมีประชุมผู้บริหารที่บ้านของรัฐมนตรีในสมัยหนึ่ง เหล่านี้ไม่ได้เป็นการกล่าวหาว่าจะต้องมีการเอื้อประโยชน์พวกพ้องจริงหรือไม่มี แต่มันเป็นความเสี่ยงที่เกิดจากความเร้นลับซับซ้อน
ในประเทศฝรั่งเศสซึ่งคงจะเป็นประเทศพัฒนาแล้วในโลกเสรีที่มีรัฐวิสาหกิจมากที่สุด ได้มีการรื้อโครงสร้างการกำกับดูแลใหม่ประมาณ 6 ปีมาแล้ว ให้ตัวแทนของรัฐในบอร์ดรัฐวิสาหกิจมีบทบาทเดียว คือ ในฐานะผู้ถือหุ้น และให้งานนี้บริหารโดยหน่วยงานเฉพาะ คือ French Government Shareholding Agency หรือ A.P.E. เขาแยกการกำกับดูแลอุตสาหกรรมนั้นๆ ออกมาจากรัฐวิสาหกิจอย่างเด็ดขาด ไม่มีข้าราชการจาก Regulator หรือหน่วยงานที่กำหนดนโยบายมานั่งในบอร์ดรัฐวิสาหกิจ ทำให้เกิดโครงสร้างที่ความโปร่งใส และเป็นธรรมกับคู่แข่งในภาคเอกชนในอุตสาหกรรมนั้นๆ นอกจากนี้ ข้าราชการจาก A.P.E. ที่ไปนั่งเป็นกรรมการในรัฐวิสาหกิจ หรือบริษัทต่างๆ ที่รัฐถือหุ้น จะไม่รับเงินจากบริษัทนั้นๆ เลย เพราะถือว่าทำงานในหน้าที่ซึ่งมีค่าตอบแทนอยู่แล้ว แนวปฏิบัติเช่นนี้ก็ใช้ในหมู่บริษัทข้ามชาติที่ทำธุรกิจในเมืองไทย อาทิเช่น เชลล์ เอสโซ่ หรือบริษัทจัดการกองทุน ระบบนี้ดูเหมือนจะประสบความสำเร็จมาก เพราะปัจจุบันรัฐวิสาหกิจทุกแห่งของฝรั่งเศสมีประสิทธิภาพและผลประกอบการที่ดี แม้แต่การรถไฟที่เคยเป็นปัญหามากก็สามารถจ่ายปันผลเข้ารัฐได้
กำกับ ปตท.อย่างไร ให้ประโยชน์สูงสุด (ภาค 2)
อานิก อัมระนันทน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ กรุงเทพธุรกิจ วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553
ปตท.เป็นองค์กรที่เร้นลับซับซ้อน ถึงแม้จะเป็นรัฐวิสาหกิจชั้นนำและเป็นบริษัทมหาชนใหญ่ที่สุดในตลาดหลักทรัพย์ มีรายงานประจำปีที่จัดทำอย่างดิบดี และเคยได้รับรางวัลมากมาย แต่ก็มีความไม่ไว้วางใจ ปตท.ในหมู่ NGO และประชาชน เพราะเป็นองค์กรที่ใหญ่ยักษ์ และมีความไม่โปร่งใสบางประการ อีกทั้งมีปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนในระดับของการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจแห่งนี้
ผู้เขียนได้ยื่นกระทู้ถามหลายประเด็นข้างต้นในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการถามแบบสั้นๆ และได้คำตอบที่น่าพอใจในระดับหนึ่ง คือ รัฐมนตรีกระทรวงการคลัง คุณกรณ์ จาติกวณิช ตอบว่าเห็นด้วยว่าไม่ควรให้ข้าราชการรับโบนัสจากรัฐวิสาหกิจ แต่ควรให้ได้รับเบี้ยประชุมตามเดิม และยังยืนยันว่าต้องการให้ข้าราชการมานั่งเป็นบอร์ด เพื่อดำเนินนโยบายและดูแลทรัพย์สิน ผู้เขียนไม่เห็นด้วยกับท่านใน 2 ประเด็นหลัง 1. เรื่องการดูแลบริหารทรัพย์สิน หากรัฐวิสาหกิจนั้นมีระบบธรรมาภิบาลภายในที่ดีซึ่งน่าจะใช่กรณีของ ปตท. ก็ไม่น่าจำเป็นต้องมีเจ้ากระทรวงมานั่งคุม งานวิจัย สกว.ยังบ่งชี้ถึงความเสี่ยงว่า การดูแลทรัพย์สินอาจถูกใช้เป็นข้ออ้างที่เจ้ากระทรวงจะหาประโยชน์ให้ตนเองและพวกพ้องได้ 2. ไม่เห็นด้วยที่จะให้ข้าราชการเข้ามากำกับให้รัฐวิสาหกิจอย่าง ปตท.เป็นตัวดำเนินนโยบาย นอกจากเหตุผลทางธรรมาภิบาลข้างต้นแล้ว ก็มีเหตุผลทางกฎหมาย และเศรษฐศาสตร์ที่ต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วน
หากรัฐไม่แยกการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจออกมา เพื่อให้จากการบริหารกิจการเป็นไปอย่างโปร่งใส หรือหากยังไม่มีระเบียบห้ามข้าราชการที่ให้ทุนให้โทษกับบริษัทอื่นๆ ที่เป็นคู่แข่งของรัฐวิสาหกิจมานั่งในบอร์ดได้ ก็จะเสี่ยงต่อการขัดกับกฎหมายในหลายระดับ อาทิเช่น พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาตรา 3 และ 16 เพราะอาจมีสถานการณ์ที่บุคคลหนึ่งมี 2 สถานะในขณะเดียวกัน คือ เป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัทที่ยื่นข้อเสนอให้กระทรวงพิจารณา และเป็นผู้พิจารณาผลของการยื่นข้อเสนอนั้นเอง ยิ่งกว่านั้น ยังเป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 84 (1) และ (4) เพราะทำให้รัฐวิสาหกิจได้เปรียบคู่แข่งในภาคเอกชน ก่อให้เกิดการแข่งขันที่ไม่เสรีและไม่เป็นธรรม
ในทางปฏิบัติ ซึ่งก็คือผลในเชิงเศรษฐศาสตร์นั่นเอง การใช้รัฐวิสาหกิจในตลาดที่มีการแข่งขันเป็นตัวดำเนินนโยบาย อาจเป็นผลเสียในระยะยาวต่อประเทศ อย่างเช่น การทำลายกลไกตลาดด้วยการทำให้น้ำมันราคาถูกเกินความจริง การแทรกแซงราคาหากทำพอประมาณก็เป็นประโยชน์ ทำให้ราคาที่ประชาชนและภาคการผลิตต้องจ่ายไม่ผันผวนมากนัก แต่ถ้าทำมากไปหรือไปฝืนแนวโน้มตลาด ก็จะทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง เพราะ ในความเป็นจริงหากผู้บริโภคจะต้องจ่ายในราคาเต็มที่สูง ก็จะลดการใช้ไม่มากก็น้อย การใช้กองทุนน้ำมันพยุงราคามากหรือนานเกินควรทำให้เสียเงินตราต่างประเทศ เพราะน้ำมันส่วนใหญ่ต้องนำเข้าและยิ่งราคาสูงก็ยิ่งเสียมาก ประเทศมีหนี้จากกองทุนสูงมาก (82,988 ล้านบาท ในปี 2548) และในที่สุด ผู้บริโภคก็ต้องจ่ายคืนในภายหลังอยู่ดี เวลาขาลงราคาที่ต้องจ่ายก็ลงช้ากว่าขาขึ้น เพราะต้องจ่ายดอกเบี้ยคืนด้วย
เมื่อรัฐบาลคิดจะประหยัดเงินกองทุนโดยให้ ปตท.เป็นผู้นำตลาดดึงราคา ก็อาจทำได้เพราะ ปตท.มีสถานะพิเศษมากด้วยกำไรจากภาคการผลิตและการผูกขาดก๊าซธรรมชาติ แต่ทำมากไปก็ทำให้ผู้ค้าปลีกขาดทุน และสามารถทำลายโครงสร้างตลาดได้ ที่ผ่านมา นโยบายแบบนี้ทำให้เอกชนคู่แข่งเสียเปรียบ บางรายถึงกับต้องปิดขายกิจการไปเลย อย่างเช่น BP หรือ Jet เป็นต้น ถ้าซ้ำรอยแบบนี้ไปอีกบ่อยๆ วันหลังเอกชนที่เหลืออาจตายตามกันไปหมด แล้วเราจะมั่นใจได้หรือว่าผู้บริโภคจ่ายค่าน้ำมันในราคาที่เป็นธรรมจริง แล้วบริษัทที่มีอำนาจผูกขาดแทบทุกๆ ด้าน จะดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพได้นานสักแค่ไหน การแทรกแซงหาผลประโยชน์จะเกิดขึ้นได้ง่าย จับได้ยิ่งยาก ไม่มีการแข่งขันที่ช่วยกดดันให้ประหยัดต้นทุน หรือเอาใจใส่ให้บริการที่ดีและเป็นธรรมแก่ลูกค้า ยิ่งมีตัวแทนภาครัฐที่แต่งตั้งโดยฝ่ายการเมืองอยู่เต็มบอร์ดด้วย และมีความไม่โปร่งใสอื่นๆ ในการกำกับดูแลอยู่แล้ว จะน่ากลัวแค่ไหน
ทั้งนี้ทั้งนั้น รัฐบาลสามารถดำเนินนโยบายช่วยเหลือคนจนได้ในรูปแบบอื่นอีกหลายอย่างที่ไม่ขัดกฎหมายและไม่ทำลายกลไกตลาด ตัวอย่างเช่น โครงการประกันรายได้เกษตรกรที่เริ่มพิสูจน์แล้วว่าได้ผลดีมีประสิทธิภาพจริงๆ แต่ถ้าต้องการช่วยในภาคพลังงาน ก็น่าจะเน้นทำในค่าไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้ไฟน้อยเท่านั้น เพราะจะเข้าเป้าถึงคนจนได้จำนวนมากกว่า และไม่มีส่วนเกินไปให้ผู้มีฐานะดีที่บริโภคไฟฟ้า (หรือน้ำมันหรือก๊าซ LPG) ในปริมาณสูง หาก ปตท.จะมีกำไรมากโดยชอบธรรม และไม่มีการรั่วไหล ก็สามารถจ่ายเงินปันผลได้มากขึ้น เป็นการเพิ่มเงินให้รัฐบาลใช้พัฒนาประเทศ หรือจ่ายสวัสดิการให้คนจน เพราะที่สุดแล้ว ประชาชนก็เป็นทั้งลูกค้าและผู้ถือหุ้นของ ปตท. ตามที่แสดงในแผนภูมิ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยจะมีประสิทธิภาพสูงสุด และมีความสามารถแข่งขันในเวทีโลกที่สูงขึ้น ก็ต่อเมื่อมีการปรับโครงสร้างตลาดพลังงานทั้งในระดับประชาชนและอุตสาหกรรม ให้เกิดความเสรีและเป็นธรรมตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด ในมาตรา 84 (1) และ (4) ซึ่งผู้เขียนหวังว่าจะได้นำเสนอในโอกาสต่อไป
๐ ตราบใดที่ยังมีการแทรกแซงตลาดผ่าน ปตท. ควรจะต้องมีการประเมินต้นทุน และผลกระทบของนโยบายเหล่านั้นอย่างโปร่งใส เพื่อพิสูจน์ให้ชัดเจนว่าเป็นทางเลือกที่ประหยัดและเป็นประโยชน์สูงสุดสำหรับประเทศจริงหรือไม่
๐ ตราบใดที่ ปตท.ยังมีสิทธิเหนือตลาด ควรจะต้องรายงานผลประกอบการแยกแต่ละธุรกิจต่างๆ ให้เห็นชัดจริงๆ โดยเฉพาะในส่วนที่ผูกขาด เพื่อให้ประชาชนและลูกค้าต่างๆ สามารถประเมินได้ว่าราคาและบริการเป็นธรรมแล้วหรือไม่ ทั้งนี้ ธรรมาภิบาลภายใน ปตท.ต้องแข็งแรง เพื่อให้ผลประโยชน์จากกิจการโดยเฉพาะกำไรที่ได้จากสิทธิพิเศษหรือการผูกขาด ไม่ตกค้างอยู่กับคนภายในองค์กรมากเกินควร และไม่รั่วไหลไปข้างนอก
การปกป้องผลประโยชน์ที่ชอบธรรม และการสร้างความสมดุลแห่งผลประโยชน์ภายในรัฐวิสาหกิจ อีกทั้งการกำกับดูแลเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับประเทศนั้น จะทำได้ก็เมื่อเกิดความโปร่งใสปราศจากผลประโยชน์ทับซ้อนในการกำกับดูแล ก้าวแรกได้เริ่มขึ้นแล้ว เมื่อท่านรัฐมนตรีคลังตอบรับในส่วนของการไม่ให้ข้าราชการรับโบนัสกรรมการ จะมีก้าวต่อไป ก้าวไกลแค่ไหน ภาคประชาชนและผู้ถือหุ้นรายย่อย คงจะต้องช่วยกันติดตามผลักดันต่อไป
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#95
Posted 1 December 2012 - 21:30
สนับสนุนคุณปุ ค่ะ
อยากให้มีความเคลื่อนไหว สั่นสะเทือน เรื่องปตท
อยากให้ปชป เป็นพรรคที่เป็นหัวหมู่ เพราะปชปมีเสียงในสภา จะแก้หรือเปลี่ยนแปลงอะไรก็ได้แต่ในสภา
หรือมีทางอื่นคะ
เห็นด้วย เลยครับ
แฟนคลับ ปชป ต้องช่วยกันผลักดัน สนับสนุน ให้ ปชป เข้ามาใส่ใจเรื่องพลังงานจริงๆจังๆเสียที
แต่ ขอให้ คำแนะนำนิดนึงนะครับ
หาก ปชป. บ่ายเบี่ยง อ้างโน่นอ้างนี่ ไม่ยอมทำให้
จงอย่าได้ ใจอ่อน เห็นใจ เขาเป็นเด็ดขาด
ต้องบี้ ให้จริงจัง (คือ หมายถึง กระตุ้นเขาให้มากๆหน่อย อย่างสุภาพเรียบร้อย)
และ ประเด็นท้ายที่สุด
ถ้า ปชป.. ไม่ยอมทำเรื่องนี้ให้...
เรา... คุณ... จะทำยังไงกับพวกเขา มีวิธีไหนที่จะต่อรองให้เขาสนใจทำให้..
Edited by bangkaa, 1 December 2012 - 21:32.
#96
Posted 1 December 2012 - 21:33
อานิก อัมระนันทน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ ^กำกับ ปตท.อย่างไร ให้ประโยชน์สูงสุด (ภาค 1)
อานิก อัมระนันทน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ กรุงเทพธุรกิจ วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2553
ปตท.เป็นองค์กรที่เร้นลับซับซ้อน ถึงแม้จะเป็นรัฐวิสาหกิจชั้นนำ และเป็นบริษัทมหาชนใหญ่ที่สุดในตลาดหลักทรัพย์ มีรายงานประจำปีที่จัดทำอย่างดิบดี และเคยได้รับรางวัลมากมาย แต่ก็มีความไม่ไว้วางใจ ปตท.ในหมู่ NGO และประชาชน เพราะเป็นองค์กรที่ใหญ่ยักษ์ และมีความไม่โปร่งใสบางประการ อีกทั้งมีปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนในระดับของการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจแห่งนี้
ปกติคณะกรรมการหรือบอร์ดรัฐวิสาหกิจ จะต้องดูแลให้เกิดความสมดุลระหว่างผลประโยชน์ของคน 3 กลุ่ม คือ 3 วงกลมในแผนภูมิ ได้แก่ ผู้บริโภค ผู้ถือหุ้น และผู้บริหาร/พนักงาน อาการหนึ่งของความไม่สมดุลของ ปตท.ก็คือ การที่ประชาชนทั่วไปรู้สึกว่าต้องจ่ายค่าน้ำมันค่าก๊าซและค่าไฟฟ้าในราคาแพง (เชื้อเพลิงหลักของไฟฟ้า คือ ก๊าซธรรมชาติ) ในขณะที่ ปตท.ดูเหมือนจะมีกำไรสูงลิบ ทั้งที่ความจริง ปตท.มีกำไรน้อยมาก จากการขายน้ำมันและก๊าซ LPG สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความไม่ไว้วางใจในหมู่ NGO ซึ่งเป็นผู้นำทางความคิด ก็คือ การที่ข้าราชการซึ่งมานั่งเป็นคณะกรรมการหรือบอร์ดได้รับค่าตอบแทนที่สูงมาก ทั้งเบี้ยประชุมและโบนัส ซึ่งอิงกับกำไร ในปี 2551 ได้รับกันคนละ 2 ล้านกว่าบาท เกือบ 3 ล้านบาท สำหรับประธานบอร์ด ทำให้ถูกมองว่ากรรมการใส่ใจปกป้อง ปตท.มากกว่าสนใจดูแลผู้บริโภค ซึ่งอาจจะไม่เป็นความจริงเลยก็ได้
ยิ่งไปกว่านั้น ในกรณีศึกษาของ ปตท.ในรายงานวิจัยของ สกว.เกี่ยวกับธรรมาภิบาลในรัฐวิสาหกิจ (มี.ค. 2552) โดยอาจารย์ไพโรจน์ วงศ์วิภานนท์ มีความเห็นว่าการที่มีข้าราชการ ซึ่งขาดความเชี่ยวชาญด้านธุรกิจหรือพลังงานอยู่ในบอร์ดเป็นส่วนใหญ่ และได้ค่าตอบแทนที่สูงมากๆ ทำให้เกิดความเสี่ยงว่าอาจถูกครอบงำโดยฝ่ายบริหารและ/หรือนักการเมืองผู้มีอำนาจในการแต่งตั้ง ในขณะที่ข้าราชการจากกระทรวงพลังงานที่มีความรู้ด้านพลังงาน ก็มีปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อน เพราะมีบทบาทที่ขัดแย้งในคนเดียวกัน คือ เป็นทั้งผู้กำหนดนโยบายและกรรมการกำกับผู้แข่งขัน นอกจากนี้ ในเรื่องของการกำหนดค่าตอบแทนงานวิจัยพบว่ากระบวนการขัดกับหลักธรรมาภิบาล เพราะคนในบอร์ดเสนอให้ผลประโยชน์ตนเอง และยังมีการวิเคราะห์เปรียบเทียบการตอบแทนบอร์ดของ ปตท. กับบริษัท Statoil รัฐวิสาหกิจของประเทศนอร์เวย์อย่างละเอียด ได้ข้อสรุปว่าของ ปตท.สูงกว่าที่ควรจะเป็นมาก เนื่องจากผลประโยชน์ที่ผู้ถือหุ้น คือ เจ้ากระทรวงอนุมัติให้นั้นสูงและไม่โปร่งใส จึงมีความเสี่ยงเสมือนการให้ต่างตอบแทน เพราะอาจมีการเอื้อประโยชน์กันก็ได้ ซึ่งงานวิจัยยังชี้ความเสี่ยงอีกหลายประเด็น ถ้าดูตามแผนภูมิ เหล่านี้ก็คือประโยชน์ตนและประโยชน์คนอื่นที่ไม่ควรอยู่ในสมการ เพราะเป็นการรั่วไหลของผลประโยชน์ที่ชอบธรรม
ทำนองเดียวกัน การที่ผู้บริหารของ ปตท.ไปนั่งเป็นกรรมการในบริษัทลูกคนละหลายๆ แห่ง และได้รับค่าตอบแทนที่สูงมากๆ อาทิเช่น ในปี 2551 ผู้บริหารสูงสุดของ ปตท.ได้รับโบนัสและเบี้ยประชุมต่างๆ รวม 22.7 ล้านบาท (ข้อมูลจากรายงานคณะกรรมาธิการศึกษา ตรวจสอบเรื่องการทุจริตและเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา) ไม่นับรวมเงินเดือนและผลประโยชน์ที่ได้รับในฐานะลูกจ้างเต็มเวลาของบริษัทของ ปตท.คาดกันว่าประมาณ 16.5 ล้านบาท (ข้อมูลจากรายงาน 56-1 ที่ ปตท.ส่งตลาดหลักทรัพย์โดยใช้สมมุติฐานว่าผู้บริหารสูงสุดได้มากกว่าผู้บริหารอื่น 60% ตามที่คนทั่วไปเข้าใจ) รวมเป็นรายได้ในปีนั้น 39.5 ล้านบาท แม้มีการอ้างถึงความเสี่ยงต่อการรับผิดตามกฎหมายของกรรมการ ก็สามารถซื้อประกันคุ้มครองความเสี่ยงนั้นได้ ซึ่งส่วนใหญ่ก็ทำอยู่แล้ว ยกเว้นกรณีทุจริตหรือเกิดความละเลยอย่างมาก การที่บอร์ดอนุมัติให้ฝ่ายบริหารรับประโยชน์ที่ดูเหมือนจะสูงเกินควรเช่นนี้ ทำให้เกิดความเสี่ยงเรื่องการให้ต่างตอบแทนระหว่างผู้บริหารกับบอร์ด และซ้อนไปอีกชั้นหนึ่ง คือ ความเสี่ยงของการให้ต่างตอบแทนระหว่างเจ้ากระทรวงกับผู้บริหารโดยผ่านข้าราชการที่ถูกเลือกมานั่งในบอร์ด โดยเฉพาะกรณีที่การทำงานของข้าราชการใกล้ชิดสนิทสนมกับเจ้ากระทรวง ดังที่พูดกันแม้ในหมู่นักธุรกิจต่างชาติ ว่ากระทรวงที่กำกับรัฐวิสาหกิจยักษ์ใหญ่มักมีประชุมผู้บริหารที่บ้านของรัฐมนตรีในสมัยหนึ่ง เหล่านี้ไม่ได้เป็นการกล่าวหาว่าจะต้องมีการเอื้อประโยชน์พวกพ้องจริงหรือไม่มี แต่มันเป็นความเสี่ยงที่เกิดจากความเร้นลับซับซ้อน
ในประเทศฝรั่งเศสซึ่งคงจะเป็นประเทศพัฒนาแล้วในโลกเสรีที่มีรัฐวิสาหกิจมากที่สุด ได้มีการรื้อโครงสร้างการกำกับดูแลใหม่ประมาณ 6 ปีมาแล้ว ให้ตัวแทนของรัฐในบอร์ดรัฐวิสาหกิจมีบทบาทเดียว คือ ในฐานะผู้ถือหุ้น และให้งานนี้บริหารโดยหน่วยงานเฉพาะ คือ French Government Shareholding Agency หรือ A.P.E. เขาแยกการกำกับดูแลอุตสาหกรรมนั้นๆ ออกมาจากรัฐวิสาหกิจอย่างเด็ดขาด ไม่มีข้าราชการจาก Regulator หรือหน่วยงานที่กำหนดนโยบายมานั่งในบอร์ดรัฐวิสาหกิจ ทำให้เกิดโครงสร้างที่ความโปร่งใส และเป็นธรรมกับคู่แข่งในภาคเอกชนในอุตสาหกรรมนั้นๆ นอกจากนี้ ข้าราชการจาก A.P.E. ที่ไปนั่งเป็นกรรมการในรัฐวิสาหกิจ หรือบริษัทต่างๆ ที่รัฐถือหุ้น จะไม่รับเงินจากบริษัทนั้นๆ เลย เพราะถือว่าทำงานในหน้าที่ซึ่งมีค่าตอบแทนอยู่แล้ว แนวปฏิบัติเช่นนี้ก็ใช้ในหมู่บริษัทข้ามชาติที่ทำธุรกิจในเมืองไทย อาทิเช่น เชลล์ เอสโซ่ หรือบริษัทจัดการกองทุน ระบบนี้ดูเหมือนจะประสบความสำเร็จมาก เพราะปัจจุบันรัฐวิสาหกิจทุกแห่งของฝรั่งเศสมีประสิทธิภาพและผลประกอบการที่ดี แม้แต่การรถไฟที่เคยเป็นปัญหามากก็สามารถจ่ายปันผลเข้ารัฐได้
กำกับ ปตท.อย่างไร ให้ประโยชน์สูงสุด (ภาค 2)
อานิก อัมระนันทน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ กรุงเทพธุรกิจ วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553
ปตท.เป็นองค์กรที่เร้นลับซับซ้อน ถึงแม้จะเป็นรัฐวิสาหกิจชั้นนำและเป็นบริษัทมหาชนใหญ่ที่สุดในตลาดหลักทรัพย์ มีรายงานประจำปีที่จัดทำอย่างดิบดี และเคยได้รับรางวัลมากมาย แต่ก็มีความไม่ไว้วางใจ ปตท.ในหมู่ NGO และประชาชน เพราะเป็นองค์กรที่ใหญ่ยักษ์ และมีความไม่โปร่งใสบางประการ อีกทั้งมีปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนในระดับของการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจแห่งนี้
ผู้เขียนได้ยื่นกระทู้ถามหลายประเด็นข้างต้นในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการถามแบบสั้นๆ และได้คำตอบที่น่าพอใจในระดับหนึ่ง คือ รัฐมนตรีกระทรวงการคลัง คุณกรณ์ จาติกวณิช ตอบว่าเห็นด้วยว่าไม่ควรให้ข้าราชการรับโบนัสจากรัฐวิสาหกิจ แต่ควรให้ได้รับเบี้ยประชุมตามเดิม และยังยืนยันว่าต้องการให้ข้าราชการมานั่งเป็นบอร์ด เพื่อดำเนินนโยบายและดูแลทรัพย์สิน ผู้เขียนไม่เห็นด้วยกับท่านใน 2 ประเด็นหลัง 1. เรื่องการดูแลบริหารทรัพย์สิน หากรัฐวิสาหกิจนั้นมีระบบธรรมาภิบาลภายในที่ดีซึ่งน่าจะใช่กรณีของ ปตท. ก็ไม่น่าจำเป็นต้องมีเจ้ากระทรวงมานั่งคุม งานวิจัย สกว.ยังบ่งชี้ถึงความเสี่ยงว่า การดูแลทรัพย์สินอาจถูกใช้เป็นข้ออ้างที่เจ้ากระทรวงจะหาประโยชน์ให้ตนเองและพวกพ้องได้ 2. ไม่เห็นด้วยที่จะให้ข้าราชการเข้ามากำกับให้รัฐวิสาหกิจอย่าง ปตท.เป็นตัวดำเนินนโยบาย นอกจากเหตุผลทางธรรมาภิบาลข้างต้นแล้ว ก็มีเหตุผลทางกฎหมาย และเศรษฐศาสตร์ที่ต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วน
หากรัฐไม่แยกการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจออกมา เพื่อให้จากการบริหารกิจการเป็นไปอย่างโปร่งใส หรือหากยังไม่มีระเบียบห้ามข้าราชการที่ให้ทุนให้โทษกับบริษัทอื่นๆ ที่เป็นคู่แข่งของรัฐวิสาหกิจมานั่งในบอร์ดได้ ก็จะเสี่ยงต่อการขัดกับกฎหมายในหลายระดับ อาทิเช่น พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาตรา 3 และ 16 เพราะอาจมีสถานการณ์ที่บุคคลหนึ่งมี 2 สถานะในขณะเดียวกัน คือ เป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัทที่ยื่นข้อเสนอให้กระทรวงพิจารณา และเป็นผู้พิจารณาผลของการยื่นข้อเสนอนั้นเอง ยิ่งกว่านั้น ยังเป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 84 (1) และ (4) เพราะทำให้รัฐวิสาหกิจได้เปรียบคู่แข่งในภาคเอกชน ก่อให้เกิดการแข่งขันที่ไม่เสรีและไม่เป็นธรรม
ในทางปฏิบัติ ซึ่งก็คือผลในเชิงเศรษฐศาสตร์นั่นเอง การใช้รัฐวิสาหกิจในตลาดที่มีการแข่งขันเป็นตัวดำเนินนโยบาย อาจเป็นผลเสียในระยะยาวต่อประเทศ อย่างเช่น การทำลายกลไกตลาดด้วยการทำให้น้ำมันราคาถูกเกินความจริง การแทรกแซงราคาหากทำพอประมาณก็เป็นประโยชน์ ทำให้ราคาที่ประชาชนและภาคการผลิตต้องจ่ายไม่ผันผวนมากนัก แต่ถ้าทำมากไปหรือไปฝืนแนวโน้มตลาด ก็จะทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง เพราะ ในความเป็นจริงหากผู้บริโภคจะต้องจ่ายในราคาเต็มที่สูง ก็จะลดการใช้ไม่มากก็น้อย การใช้กองทุนน้ำมันพยุงราคามากหรือนานเกินควรทำให้เสียเงินตราต่างประเทศ เพราะน้ำมันส่วนใหญ่ต้องนำเข้าและยิ่งราคาสูงก็ยิ่งเสียมาก ประเทศมีหนี้จากกองทุนสูงมาก (82,988 ล้านบาท ในปี 2548) และในที่สุด ผู้บริโภคก็ต้องจ่ายคืนในภายหลังอยู่ดี เวลาขาลงราคาที่ต้องจ่ายก็ลงช้ากว่าขาขึ้น เพราะต้องจ่ายดอกเบี้ยคืนด้วย
เมื่อรัฐบาลคิดจะประหยัดเงินกองทุนโดยให้ ปตท.เป็นผู้นำตลาดดึงราคา ก็อาจทำได้เพราะ ปตท.มีสถานะพิเศษมากด้วยกำไรจากภาคการผลิตและการผูกขาดก๊าซธรรมชาติ แต่ทำมากไปก็ทำให้ผู้ค้าปลีกขาดทุน และสามารถทำลายโครงสร้างตลาดได้ ที่ผ่านมา นโยบายแบบนี้ทำให้เอกชนคู่แข่งเสียเปรียบ บางรายถึงกับต้องปิดขายกิจการไปเลย อย่างเช่น BP หรือ Jet เป็นต้น ถ้าซ้ำรอยแบบนี้ไปอีกบ่อยๆ วันหลังเอกชนที่เหลืออาจตายตามกันไปหมด แล้วเราจะมั่นใจได้หรือว่าผู้บริโภคจ่ายค่าน้ำมันในราคาที่เป็นธรรมจริง แล้วบริษัทที่มีอำนาจผูกขาดแทบทุกๆ ด้าน จะดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพได้นานสักแค่ไหน การแทรกแซงหาผลประโยชน์จะเกิดขึ้นได้ง่าย จับได้ยิ่งยาก ไม่มีการแข่งขันที่ช่วยกดดันให้ประหยัดต้นทุน หรือเอาใจใส่ให้บริการที่ดีและเป็นธรรมแก่ลูกค้า ยิ่งมีตัวแทนภาครัฐที่แต่งตั้งโดยฝ่ายการเมืองอยู่เต็มบอร์ดด้วย และมีความไม่โปร่งใสอื่นๆ ในการกำกับดูแลอยู่แล้ว จะน่ากลัวแค่ไหน
ทั้งนี้ทั้งนั้น รัฐบาลสามารถดำเนินนโยบายช่วยเหลือคนจนได้ในรูปแบบอื่นอีกหลายอย่างที่ไม่ขัดกฎหมายและไม่ทำลายกลไกตลาด ตัวอย่างเช่น โครงการประกันรายได้เกษตรกรที่เริ่มพิสูจน์แล้วว่าได้ผลดีมีประสิทธิภาพจริงๆ แต่ถ้าต้องการช่วยในภาคพลังงาน ก็น่าจะเน้นทำในค่าไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้ไฟน้อยเท่านั้น เพราะจะเข้าเป้าถึงคนจนได้จำนวนมากกว่า และไม่มีส่วนเกินไปให้ผู้มีฐานะดีที่บริโภคไฟฟ้า (หรือน้ำมันหรือก๊าซ LPG) ในปริมาณสูง หาก ปตท.จะมีกำไรมากโดยชอบธรรม และไม่มีการรั่วไหล ก็สามารถจ่ายเงินปันผลได้มากขึ้น เป็นการเพิ่มเงินให้รัฐบาลใช้พัฒนาประเทศ หรือจ่ายสวัสดิการให้คนจน เพราะที่สุดแล้ว ประชาชนก็เป็นทั้งลูกค้าและผู้ถือหุ้นของ ปตท. ตามที่แสดงในแผนภูมิ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยจะมีประสิทธิภาพสูงสุด และมีความสามารถแข่งขันในเวทีโลกที่สูงขึ้น ก็ต่อเมื่อมีการปรับโครงสร้างตลาดพลังงานทั้งในระดับประชาชนและอุตสาหกรรม ให้เกิดความเสรีและเป็นธรรมตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด ในมาตรา 84 (1) และ (4) ซึ่งผู้เขียนหวังว่าจะได้นำเสนอในโอกาสต่อไป
๐ ตราบใดที่ยังมีการแทรกแซงตลาดผ่าน ปตท. ควรจะต้องมีการประเมินต้นทุน และผลกระทบของนโยบายเหล่านั้นอย่างโปร่งใส เพื่อพิสูจน์ให้ชัดเจนว่าเป็นทางเลือกที่ประหยัดและเป็นประโยชน์สูงสุดสำหรับประเทศจริงหรือไม่
๐ ตราบใดที่ ปตท.ยังมีสิทธิเหนือตลาด ควรจะต้องรายงานผลประกอบการแยกแต่ละธุรกิจต่างๆ ให้เห็นชัดจริงๆ โดยเฉพาะในส่วนที่ผูกขาด เพื่อให้ประชาชนและลูกค้าต่างๆ สามารถประเมินได้ว่าราคาและบริการเป็นธรรมแล้วหรือไม่ ทั้งนี้ ธรรมาภิบาลภายใน ปตท.ต้องแข็งแรง เพื่อให้ผลประโยชน์จากกิจการโดยเฉพาะกำไรที่ได้จากสิทธิพิเศษหรือการผูกขาด ไม่ตกค้างอยู่กับคนภายในองค์กรมากเกินควร และไม่รั่วไหลไปข้างนอก
การปกป้องผลประโยชน์ที่ชอบธรรม และการสร้างความสมดุลแห่งผลประโยชน์ภายในรัฐวิสาหกิจ อีกทั้งการกำกับดูแลเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับประเทศนั้น จะทำได้ก็เมื่อเกิดความโปร่งใสปราศจากผลประโยชน์ทับซ้อนในการกำกับดูแล ก้าวแรกได้เริ่มขึ้นแล้ว เมื่อท่านรัฐมนตรีคลังตอบรับในส่วนของการไม่ให้ข้าราชการรับโบนัสกรรมการ จะมีก้าวต่อไป ก้าวไกลแค่ไหน ภาคประชาชนและผู้ถือหุ้นรายย่อย คงจะต้องช่วยกันติดตามผลักดันต่อไป
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#97
Posted 1 December 2012 - 21:39
Bangkaa
@bangkaa
PTT 358 ทะลุขึ้นมา ตั้งแต่ วันก่อนแล้ว นี่หว่า...
8:05am ศุกร์ เม.ย. 01
ใครที่มีหุ้นปตท.อยู่ ช่วยไปแฉความจริงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นหน่อย
Edited by Stargate-1, 1 December 2012 - 21:55.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#98
Posted 1 December 2012 - 23:15
บางเรื่องรีบด่วน.....
การแก้ไข ปตท.นั้น
ประชาธิปัตย์ไม่ได้ปล่อยทิ้ง...
รอรวบรวมหลักฐานให้แน่นอนถูกต้อง....
เรื่องกฏหมายล้างความผิด
กฏหมายแก้ไขรัฐธรรมนูญ
อยู่ในสภาผู้แทนราษฎร
เผลอเมื่อใด ยิ่งลักษณ์ให้"ขี้ข้าทักษิณ"ยกมือผ่านทันที....
การทุจริตจำนำข้าว.....
ถ้ารัฐบาลยิ่งลักษณ์"จำนำข้าว"เป็นปีต่อไป....
ประเทศไทยอาจจะเกิดปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจเหมือนบางประเทศ....
ปล.ไม่ได้ตั้งใจให้แพด 21 อ่าน....
เพราะไม่มีเรื่องที่แพด 21 ต้องการพรรคประชาธิปัตย์ทำ.........ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
- Strangerman likes this
เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...
#99
Posted 2 December 2012 - 00:08
http://www.youtube.com/watch?v=bQP-otgBguI
Bangkaa
@bangkaa
PTT 358 ทะลุขึ้นมา ตั้งแต่ วันก่อนแล้ว นี่หว่า...
8:05am ศุกร์ เม.ย. 01
ใครที่มีหุ้นปตท.อยู่ ช่วยไปแฉความจริงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นหน่อย
ฮ่าๆๆ จะรู้แจ้งเห็นจริงก็ต้องเกษียนแล้ว... ฮ่าๆๆๆ
ไทยแลนด์แดนออฟสมายด์ หึๆๆ วันข้างหน้าปีหน้าเราจะอยู่อย่างไร. หุๆ
#100
Posted 2 December 2012 - 00:46
http://www.youtube.com/watch?v=bQP-otgBguI
Bangkaa
@bangkaa
PTT 358 ทะลุขึ้นมา ตั้งแต่ วันก่อนแล้ว นี่หว่า...
8:05am ศุกร์ เม.ย. 01
ใครที่มีหุ้นปตท.อยู่ ช่วยไปแฉความจริงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นหน่อย
ฮ่าๆๆ จะรู้แจ้งเห็นจริงก็ต้องเกษียนแล้ว... ฮ่าๆๆๆ
ไทยแลนด์แดนออฟสมายด์ หึๆๆ วันข้างหน้าปีหน้าเราจะอยู่อย่างไร. หุๆ
ฮ่าๆๆ จะรู้แจ้งเห็นจริงก็ต้องเกษียนแล้ว... ฮ่าๆๆๆypk, on 30 พฤศจิกาคม พ.ศ. 2555 - 17:38, said:
ในระหว่างคุณกรณ์เป็นรัฐมนตรีว่าการคลังเคยจับต้องทีหนึ่ง
เหอ เหอ เหอ เรื่องนี้คงหวังพึ่ง ปชป ยาก ขืนเสนกฎหมายเข้าสภาไปก็คง
ถูกตีตกหมด คนไทยช่วยตัวเองได้ ถ้าเข้าใจว่า ผลประโยชน์ของตัวเองมัน
ถูกนำไปบิดเบือนหากำไร แต่เพราะข้อมูลมันมักจะออกไปแนวโจมตีนักการเมือง
มันก็เลยถูกมองว่าเป็นเรื่องการเมือง ซะงั้น 555555
กลุ่มของ มล กรณ์ และคุณรสนา ดูจะเป็นกลุ่มที่จริงจังและมีความก้าวหน้า แต่มัน
ไม่มีประชาชนสนับสนุนเท่าที่ควร เพราะคุณรสนาแกก็ว่าของแกไปตามตัวบทกฎหมาย
เท่าที่มันควรจะเป็นประโยชน์กับคนไทย ส่วน มล กรณ์ แกต้องไปอาศัยกลุ่มการเมือง
เช่น กลุ่มพันธมิตรบ้าง กลุ่มของสันติอโศกบ้าง ในการเผยแพร่ข้อมูล ทำให้คนอีกมากมาย
เข้าไม่ถึงข้อมูล เพราะเขามองว่านั่นคือการปลุกระดมทางการเมือง ส่วนสื่อกระแสหลัก ก็
รับโฆษณาของ ปตท กันมาเป็นนายจ้างหลัก ก็เลยไม่ยอมเล่นเรื่องนี้ จะมีอยู่บ้างก็คือ
Thai Pbs ซึ่งก็น้อย เพราะอาจกลัวว่าเป็นการปลุกระดมทางการเมืองหรือเปล่าไม่แน่ใจ
สำหรับข้อมูลเหล่านี้ หาดูได้ทาง ASTV ช่อง 13 สยามไทย และ FMTV ของสันติอโศก
เขาจะมีการนำมาพูดอยู่ประจำ แต่มันก็อย่างว่านั่นแหละ มันปนการเมือง ออกช่องการเมือง
คนส่วนใหญ่ ก็เลยไม่ค่อยสนใจ 555
ด้วยการเป็นกรรมการบริษัทฯของกระทรวงการคลังใหม่ พอดีหมดวาระก่อน......
เนื่องจากกระทรวงการคลังถือหุ้นมากกว่า 52 %
รวมทั้งหุ้นกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการอีกหลายเปอร์เซ็น
แต่ต้องเฟ้นหาบุคคลที่ซื่อสัตย์ ไม่เห็นแก่เบี้ยประชุม ค่ารับรอง
และผลประโยชน์ต่างๆทางตรงทางอ้อมมากมาย....
ค่าโฆษณาผ่านสื่อฯต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือพิมพ์ วิทยุ ทีวี ฯลฯ มหาศาลนัก
ผู้มีอำนาจในองค์กรสื่อฯไม่สามารถเป็นอิสระได้
ดังนั้นองค์การ บริษัท ห้างร้าน รัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่จึงมีเงินค่าโฆษณา คารับรอง
ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกิจกรรมต่างๆมากมายให้สื่อฯ องค์กรอิสระเพื่อปิดปาก หักปากกา....
ปตท. กสท. เอไอเอส การบินไทย อสมท. ฯลฯ
เหมือนยักษ์ที่หาแจ๊คผู้ฆ่ายักษ์ไม่ได้....
คุณรสนาและคนอื่นๆ ได้แต่แสดงความคิดเห็น รณรงค์ตามโอกาส....
พร้อมการค้าหาหลักฐาน ขุดคุ้ย น่าจะต้องใช้เวลาหนึ่งจึงจะได้โอกาส
คนทำงานในองค์กรนั้นอาจจะช่วยเหลือได้
แต่ต้องระวังเจ้าหน้าที่ของบริษัทจำกัดของณัฐวุฒิ ก่อแก้วซึ่งจ้างโดย ปตท.
อาสา"ประสาน"แก้ไขปัญหาม๊อบ องค์กรอิสระ.........ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
เหอ เหอ เหอ อ ประสิทธิ์ แกไม่ได้อยู่กลุ่มนี้หรอกครับ แต่เคยเห็น
เป็นวิทยากรรับเชิญของกลุ่มนี้อยู่เหมือนกัน 555
แต่ประเด็นของผมก็คือ ถ้าเอาเรื่องน้ำมันกับการเมืองไปปนกัน คนมันจะ
ระแวง ว่าที่พูดมานั้นมันจริงหรือเปล่า หรือเป็นแค่การโจมตีกันทางการเมือง
ทำให้มวลชนที่คาดหวังว่าจะเป็นพลังสนับสนุนทั้งโหวตโนทั้งน้ำมัน ไม่ขยายตัว
มันกลายเป็นไปพูดให้คนเดิมซึ่งเขารู้อยู่แล้วฟัง มันก็เลยไม่ค่อยเวิร์ค
กลุ่ม อ ประสิทธิ์นี่ก็ดูจะลำบากเหมือนกันนะครับ ในด้านเงินทุน สถานที่ และมวลชน
เพราะไปต่างจังหวัดมันต้องมีคนจัดการ ผมยังมองว่ากลุ่ม อ ประสิทธิ์นี่น่าจะไปเจาะ
ตามองค์กรต่าง ๆ ดีกว่า เช่น อบต ใหญ่ ๆ เทศบาล ตำรวจ ทหาร มหาวิยาลัย แต่ที่
สำคัญก็คืออย่าเผลอไปพูดว่านักการเมืองโกง หรือนักการเมืองเลวหมด ถ้าไม่พูด
เรื่องการเมืองมันเจาะไปได้ทุกที่แหละ 5555
Stargate-1, on 30 พฤศจิกาคม พ.ศ. 2555 - 19:12, said:
ผมว่าคุณเอาชื่อ"ประสิทธิ์ ไชยทองพันธ์"ไปหาในกูเกิ้ลเอาดีกว่า ว่าอ.เขียนหนังสืออะไรไว้บ้าง
คุณรู้จักองค์การพิทักษ์สยามหรือเปล่า อ.ประสิทธิ์เป็นคนก่อตั้งเอง
ที่ว่าอ.ออกทีวีของทีพีไอได้ก็ถึอว่าได้เปรียบมาก เพราะทีพีไอเป็นโรงกลั่นปิโตรเคมีแห่งแรก
มีท่าเรือน้ำลึกกว่าสิงค์โปร์เสียอีก โรงกลั่นน้ำมันแห่งเดียวที่ได้กำไรในตอนนั้น
เหตุที่โดนปัญหาเรื่องการลอยตัวค่าเงินบาท เพราะโดนบีบจากทุนยิวสหรัฐ ทั้งๆที่มีเงิน 5 พันล้านเหรียญสหรัฐยังไม่ยอมถล่มเงินบาท
ผิดกับคนที่มี 3 พันล้านมันชั่วมากที่ทำกับประเทศตัวเองได้ลงคอ ไม่ต้องบอกนะว่าใคร
ตอนนี้ก็กำลังรับสมัครสมาชิกอยู่ โทร.ไปคุยได้ครับ ทางที่ดีควรหาโอกาสดูรายการนี้สักครั้งตามลิงค์นี้
http://www.suwannabhumi.tv/เหอ เหอ เหอ ยังเลย น้า พอดีช่วงนี้ห่างเหินช่องสุวรรณภูมิไป ก็พอดีอีกแหละ
ไปเห็นอาจารย์ แกไปออกช่องโน้นช่องนี้ เลยตามดูเพลินไปเลย เดี๋ยวคงกลับ
ไปดูสุวรรณภูมิใหม่ละ ขอบคุณมาก น้า 5555555
http://www.suwannabhumi.tv/
ไทยแลนด์แดนออฟสมายด์ หึๆๆ วันข้างหน้าปีหน้าเราจะอยู่อย่างไร. หุๆ
คุณคงไม่ได้ดูคลิปที่อ.มาออกสื่อแรกๆ อ.บอกว่าชี้แจงในกรรมาธิการพลังงาน พวกประธานในที่ประชุมฟังที่ไหน
จะเอาแบบยังรับราชการอยู่ก็ได้
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
0 user(s) are reading this topic
0 members, 0 guests, 0 anonymous users