ดูผลประมูล 9 slots ระบบ 3 G เหมือนไม่ค่อยมีการแข่งขันเท่าไร เพื่อนๆ คิดอย่างไร
#51
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 08:55
รำคาญสลิ่มเที่ยมที่เข้ามาปล่อยสารพิษเรียกร้องความรุนเเรงเสดงออกถึงความคลั่งสงครามกลางเมืองยุเเยงสร้างภาพชั่วๆ
เอียนวะ เห็นคนเเถวนี้ไอคิวต่ำกว่า 90 หรือไง
#52
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 09:37
หลังประมูล ***ออกมาบอกว่าการที่แต่ละสลอตถูกประมูลออกไปจนครบนั้นสำคัญที่สุด
***เอ้ย...สงสัยเห็นคนไทยเป็นควายกันหมด
#54
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:51
ถือว่ารัฐลงทุนเพื่อสร้างประเทศ
เพราะ การมี3gที่เร็วแรงเสถียร มันสามารถต่อยอดพัฒนาออกไปได้หลายอย่าง
ถึงกำไรตัวเงินที่รัฐจะได้ตัวเงินคืนมาจะไม่มาก แต่กำไรของประเทศนั้นจะมากพอดู
มันไม่ใช่กำไรครับ ประเด็นมันอยู่ที่ผลประโยชน์ของชาติ สิ่งที่แผ่นดินควรจะได้...ไม่ใช่กำไรหรือขาดทุนครับ...
#58
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:22
- ssa likes this
#59
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:33
ถ้าดูจากประสบการณ์ผ่านการเปิดซองงานหลวงมานาน หลายงานจัด
คิดว่าฮั้วกันแน่นอน
เรียกฮั้วยังลูกผีลูกคนครับ 3 บริษัทฯนี้มีคุยกันนอกรอบมั้ย...ล้าน% มีแน่นอน เป็นเจ้าใหญ่ในวงการเดียวกันย่อมรู้กันดีว่าคงไม่มีใครแล้วนอกจาก 3 เรานี้ ถ้าดูจากราคาที่ออกมา ประสบการณ์ในวงการประมูลนี้เช่นกัน มองราคาก็รู้ใครเป็นเจ้าภาพ....
แต่ที่ว่าจะใช่ฮั้วหรือเปล่า เพราะงานนี้เจ้าหน้าที่รัฐฯทำแบบถวายใส่พาน ทูนถวายให้ลงตัวไม่ต้องกัดกันอย่างชัดเจน ราคากลางที่จุฬาฯทำมาก็ไม่ใช้... ฮั้วคือการสมยอมราคากันระหว่างคู่แข่งขัน แต่ดูงานนี้มันน่าจะสมยอมราคากันทั้งคู่แข่งขันและรัฐฯไปตั้งแต่ตั้งกำหนดราคากลางไปแล้วด้วยซ้ำ จึงคิดว่ามันไม่น่าใช่ฮั้ว...
ถ้าดูจากประสบการณ์ผ่านการเปิดซองงานหลวงมานาน หลายงานจัด
คิดว่าฮั้วกันแน่นอน
เรียกฮั้วยังลูกผีลูกคนครับ 3 บริษัทฯนี้มีคุยกันนอกรอบมั้ย...ล้าน% มีแน่นอน เป็นเจ้าใหญ่ในวงการเดียวกันย่อมรู้กันดีว่าคงไม่มีใครแล้วนอกจาก 3 เรานี้ ถ้าดูจากราคาที่ออกมา ประสบการณ์ในวงการประมูลนี้เช่นกัน มองราคาก็รู้ใครเป็นเจ้าภาพ....
แต่ที่ว่าจะใช่ฮั้วหรือเปล่า เพราะงานนี้เจ้าหน้าที่รัฐฯทำแบบถวายใส่พาน ทูนถวายให้ลงตัวไม่ต้องกัดกันอย่างชัดเจน ราคากลางที่จุฬาฯทำมาก็ไม่ใช้... ฮั้วคือการสมยอมราคากันระหว่างคู่แข่งขัน แต่ดูงานนี้มันน่าจะสมยอมราคากันทั้งคู่แข่งขันและรัฐฯไปตั้งแต่ตั้งกำหนดราคากลางไปแล้วด้วยซ้ำ จึงคิดว่ามันไม่น่าใช่ฮั้ว...
ใช้ราคากลางที่จุฬาฯ เสนอมานะครับ ตอนแรกผมก็สับสน
คืองี้ จุฬาคิดราคากลางมา 6,500 ล้านบาท (ตัวเลขกลมๆ) และ เสนอให้ตั้งราคาประมูลเริ่มต้น ต่ำกว่าราคากลาง 67%
กสทช นำตัวเลขนี้ไปตั้ง คิดที่ 70% ของราคากลาง ปัดเศษ แล้วตั้งที่ 4,500 ล้านบาท
และอย่าลืมว่างานวิจัยของจุฬาฯ ทำเมื่อปี 53 ผ่านไป 2 ปี ถ้าทำวิจัยราคากลาง ณ ปี 55 ราคากลางจะลดลง ประเทศอื่นเขาจะไป 4G กันอยู่แล้ว
Edited by sunset, 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:33.
Poo have 2 brain side.
Left brain side have nothing right.
Right brain side have nothing left.
#60
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:39
น่าจะได้กันเป็นหลักสิบล้าน แต่คงได้แค่ 12 คนเท่านั้น
#61
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:42
รัฐบาลนี้เคยบอกความจริงอะไรกับคนไทยบ้างครับ ที่มันสำคัญๆ น่ะไม่มีเลย
น้ำท่วม54 ก็บอกเอาอยู่.... สุดท้าย นายกบ่นว่าทำไมต้องรับผิดชอบกับคำว่าเอาอยู่เพียงคนเดียว ....
ตัวเลขประเมินการส่งออก ก็ ไว้ท์ลาย แถไปง่ายๆว่าโกหกเพื่อประเทศ
คนชุดดำในเหตุการเผากรุงเทพฯ ไม่มีจริง .... แกนนำควายแดง ตาบอดสีและลืม(ความผิดตัวเอง)ง่าย
คนเสื้อแดงเป็นผู้ต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย ... แมง่ ผู้ก่อการร้ายจับคนกรุงเทพฯ เป็นตัวประกัน และสุดท้ายก็กลายเป็นโจรกระจอกจำนวนมากชัดๆ ที่ปล้นห้างแล้วเผาทำลายหลักฐาน สุดท้ายรัฐบาลมาปกป้องและจ่ายเงินเยียวยา น่าจะมีฮีโร่ไล่เผาบ้านเสื้อแดงใน ตจว. ระหว่างที่มันมาชุมนุมกันนะ แล้วก็น่าจะมีคนสติแตกซักคนพกปืน เอม 16 ไปยิงกราดใส่ฝูงควายแดง จะได้รู้ว่าถ้าจงใจฆ่า แค่คนๆเดียวก็ทำให้ควายตายได้กี่ตัว
#62
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:57
ถ้าดูจากประสบการณ์ผ่านการเปิดซองงานหลวงมานาน หลายงานจัด
คิดว่าฮั้วกันแน่นอน
เรียกฮั้วยังลูกผีลูกคนครับ 3 บริษัทฯนี้มีคุยกันนอกรอบมั้ย...ล้าน% มีแน่นอน เป็นเจ้าใหญ่ในวงการเดียวกันย่อมรู้กันดีว่าคงไม่มีใครแล้วนอกจาก 3 เรานี้ ถ้าดูจากราคาที่ออกมา ประสบการณ์ในวงการประมูลนี้เช่นกัน มองราคาก็รู้ใครเป็นเจ้าภาพ....
แต่ที่ว่าจะใช่ฮั้วหรือเปล่า เพราะงานนี้เจ้าหน้าที่รัฐฯทำแบบถวายใส่พาน ทูนถวายให้ลงตัวไม่ต้องกัดกันอย่างชัดเจน ราคากลางที่จุฬาฯทำมาก็ไม่ใช้... ฮั้วคือการสมยอมราคากันระหว่างคู่แข่งขัน แต่ดูงานนี้มันน่าจะสมยอมราคากันทั้งคู่แข่งขันและรัฐฯไปตั้งแต่ตั้งกำหนดราคากลางไปแล้วด้วยซ้ำ จึงคิดว่ามันไม่น่าใช่ฮั้ว...
ใช้ราคากลางที่จุฬาฯ เสนอมานะครับ ตอนแรกผมก็สับสน
คืองี้ จุฬาคิดราคากลางมา 6,500 ล้านบาท (ตัวเลขกลมๆ) และ เสนอให้ตั้งราคาประมูลเริ่มต้น ต่ำกว่าราคากลาง 67%
กสทช นำตัวเลขนี้ไปตั้ง คิดที่ 70% ของราคากลาง ปัดเศษ แล้วตั้งที่ 4,500 ล้านบาท
และอย่าลืมว่างานวิจัยของจุฬาฯ ทำเมื่อปี 53 ผ่านไป 2 ปี ถ้าทำวิจัยราคากลาง ณ ปี 55 ราคากลางจะลดลง ประเทศอื่นเขาจะไป 4G กันอยู่แล้ว
อายุสัญญานี่ 15 ปีนะครับ ถ้าเป็นอย่างว่าปล่อยไปอีก 5 ปีมันไม่เหลือพันกว่าล้านหรือครับ ผมว่าเรื่องราคากลางนี่เป็นประเด็นหนึ่งเท่านั้น ที่สำคัญหากอยากให้ราคาดีดตัวขึ้น เพื่อ "ผลประโยชน์อันสูงสุดของแผ่นดิน" โดยวิธี "ประมูลแข่งขันอย่างเป็นธรรม" นั้น คิดง่ายๆอย่างเราๆเนี่ย เราจะโง่, ซื่อบื้อจัดสรรให้มันลงตัวตั้งแต่ยังไม่ประมูลอย่างนี้มั้ยครับ?
#63
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:17
ถ้าดูจากประสบการณ์ผ่านการเปิดซองงานหลวงมานาน หลายงานจัด
คิดว่าฮั้วกันแน่นอน
เรียกฮั้วยังลูกผีลูกคนครับ 3 บริษัทฯนี้มีคุยกันนอกรอบมั้ย...ล้าน% มีแน่นอน เป็นเจ้าใหญ่ในวงการเดียวกันย่อมรู้กันดีว่าคงไม่มีใครแล้วนอกจาก 3 เรานี้ ถ้าดูจากราคาที่ออกมา ประสบการณ์ในวงการประมูลนี้เช่นกัน มองราคาก็รู้ใครเป็นเจ้าภาพ....
แต่ที่ว่าจะใช่ฮั้วหรือเปล่า เพราะงานนี้เจ้าหน้าที่รัฐฯทำแบบถวายใส่พาน ทูนถวายให้ลงตัวไม่ต้องกัดกันอย่างชัดเจน ราคากลางที่จุฬาฯทำมาก็ไม่ใช้... ฮั้วคือการสมยอมราคากันระหว่างคู่แข่งขัน แต่ดูงานนี้มันน่าจะสมยอมราคากันทั้งคู่แข่งขันและรัฐฯไปตั้งแต่ตั้งกำหนดราคากลางไปแล้วด้วยซ้ำ จึงคิดว่ามันไม่น่าใช่ฮั้ว...
ใช้ราคากลางที่จุฬาฯ เสนอมานะครับ ตอนแรกผมก็สับสน
คืองี้ จุฬาคิดราคากลางมา 6,500 ล้านบาท (ตัวเลขกลมๆ) และ เสนอให้ตั้งราคาประมูลเริ่มต้น ต่ำกว่าราคากลาง 67%
กสทช นำตัวเลขนี้ไปตั้ง คิดที่ 70% ของราคากลาง ปัดเศษ แล้วตั้งที่ 4,500 ล้านบาท
และอย่าลืมว่างานวิจัยของจุฬาฯ ทำเมื่อปี 53 ผ่านไป 2 ปี ถ้าทำวิจัยราคากลาง ณ ปี 55 ราคากลางจะลดลง ประเทศอื่นเขาจะไป 4G กันอยู่แล้ว
อายุสัญญานี่ 15 ปีนะครับ ถ้าเป็นอย่างว่าปล่อยไปอีก 5 ปีมันไม่เหลือพันกว่าล้านหรือครับ ผมว่าเรื่องราคากลางนี่เป็นประเด็นหนึ่งเท่านั้น ที่สำคัญหากอยากให้ราคาดีดตัวขึ้น เพื่อ "ผลประโยชน์อันสูงสุดของแผ่นดิน" โดยวิธี "ประมูลแข่งขันอย่างเป็นธรรม" นั้น คิดง่ายๆอย่างเราๆเนี่ย เราจะโง่, ซื่อบื้อจัดสรรให้มันลงตัวตั้งแต่ยังไม่ประมูลอย่างนี้มั้ยครับ?
ใช่ครับ อายุสัญญา 15 ปี ถ้าอยากให้ราคาดีดตัว ก็มีหลายวิธี เช่น ตั้งที่ 4,500 ล้านบาทนี่แหล่ะ แต่จัดที่ n-1 คือให้ได้ 2 เจ้า รับรองแข่งกันราคาดีดตัว แต่จะได้ "ผลประโยชน์อันสูงสุดของแผ่นดิน" หรือเปล่าไม่ทราบได้ เพราะ 1.ประมูลได้สูง ต้นทุนก็สูง กรรมก็ตกอยู่ที่ผู้บริโภค จ่ายค่า3Gต่อเดือนสูงอีก 2.เจ้าที่ 3 จะเกิดการไหลออกของหมายเลขสูง ส่งผลให้เหลืออยู่ 2 เจ้าตลาดใหญ่ ทีนี้ถ้านึกไม่ออกว่าราคาตลาดเป็นอย่างไร นึกถึงตอนเน็ต ADSL หลายปีก่อน ที่มี 2 เจ้า (True VS ToT) ได้เลยครับ ว่าราคาโหด บริการห่วยแค่ไหน
เท่าที่อ่านข้อเขียนและคำให้สัมภาษณ์ของ อ.สมเกียริต (TDRI) แกนิยาม "ผลประโยชน์อันสูงสุดของแผ่นดิน" เป็นภาษีอย่างเดียวเลยครับ ส่วนตัวเห็นว่ามองด้านเดียวไป ต้องคิดถึงประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับด้วย อย่าลืมว่าตาม พรบ. กสทช พศ 2553 มาตรา 27(9) ก็ให้อำนาจ กสทช กำหนด กรอบอัตราค่าบริการ ไว้อยู่แล้ว ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องทำหลังการประมูลคลื่นความถี่
Edited by sunset, 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:21.
Poo have 2 brain side.
Left brain side have nothing right.
Right brain side have nothing left.
#64
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:23
ถ้าดูจากประสบการณ์ผ่านการเปิดซองงานหลวงมานาน หลายงานจัด
คิดว่าฮั้วกันแน่นอน
เรียกฮั้วยังลูกผีลูกคนครับ 3 บริษัทฯนี้มีคุยกันนอกรอบมั้ย...ล้าน% มีแน่นอน เป็นเจ้าใหญ่ในวงการเดียวกันย่อมรู้กันดีว่าคงไม่มีใครแล้วนอกจาก 3 เรานี้ ถ้าดูจากราคาที่ออกมา ประสบการณ์ในวงการประมูลนี้เช่นกัน มองราคาก็รู้ใครเป็นเจ้าภาพ....
แต่ที่ว่าจะใช่ฮั้วหรือเปล่า เพราะงานนี้เจ้าหน้าที่รัฐฯทำแบบถวายใส่พาน ทูนถวายให้ลงตัวไม่ต้องกัดกันอย่างชัดเจน ราคากลางที่จุฬาฯทำมาก็ไม่ใช้... ฮั้วคือการสมยอมราคากันระหว่างคู่แข่งขัน แต่ดูงานนี้มันน่าจะสมยอมราคากันทั้งคู่แข่งขันและรัฐฯไปตั้งแต่ตั้งกำหนดราคากลางไปแล้วด้วยซ้ำ จึงคิดว่ามันไม่น่าใช่ฮั้ว...
ใช้ราคากลางที่จุฬาฯ เสนอมานะครับ ตอนแรกผมก็สับสน
คืองี้ จุฬาคิดราคากลางมา 6,500 ล้านบาท (ตัวเลขกลมๆ) และ เสนอให้ตั้งราคาประมูลเริ่มต้น ต่ำกว่าราคากลาง 67%
กสทช นำตัวเลขนี้ไปตั้ง คิดที่ 70% ของราคากลาง ปัดเศษ แล้วตั้งที่ 4,500 ล้านบาท
และอย่าลืมว่างานวิจัยของจุฬาฯ ทำเมื่อปี 53 ผ่านไป 2 ปี ถ้าทำวิจัยราคากลาง ณ ปี 55 ราคากลางจะลดลง ประเทศอื่นเขาจะไป 4G กันอยู่แล้ว
อายุสัญญานี่ 15 ปีนะครับ ถ้าเป็นอย่างว่าปล่อยไปอีก 5 ปีมันไม่เหลือพันกว่าล้านหรือครับ ผมว่าเรื่องราคากลางนี่เป็นประเด็นหนึ่งเท่านั้น ที่สำคัญหากอยากให้ราคาดีดตัวขึ้น เพื่อ "ผลประโยชน์อันสูงสุดของแผ่นดิน" โดยวิธี "ประมูลแข่งขันอย่างเป็นธรรม" นั้น คิดง่ายๆอย่างเราๆเนี่ย เราจะโง่, ซื่อบื้อจัดสรรให้มันลงตัวตั้งแต่ยังไม่ประมูลอย่างนี้มั้ยครับ?
ใช่ครับ อายุสัญญา 15 ปี ถ้าอยากให้ราคาดีดตัว ก็มีหลายวิธี เช่น ตั้งที่ 4,500 ล้านบาทนี่แหล่ะ แต่จัดที่ n-1 คือให้ได้ 2 เจ้า รับรองแข่งกันราคาดีดตัว แต่จะได้ "ผลประโยชน์อันสูงสุดของแผ่นดิน" หรือเปล่าไม่ทราบได้ เพราะ 1.ประมูลได้สูง ต้นทุนก็สูง กรรมก็ตกอยู่ที่ผู้บริโภค จ่ายค่า3Gต่อเดือนสูงอีก 2.เจ้าที่ 3 จะเกิดการไหลออกของหมายเลขสูง ส่งผลให้เหลืออยู่ 2 เจ้าตลาดใหญ่ ทีนี้ถ้านึกไม่ออกว่าราคาตลาดเป็นอย่างไร นึกถึงตอนเน็ต ADSL หลายปีก่อน ที่มี 2 เจ้า (True VS ToT) ได้เลยครับ ว่าราคาโหด บริการห่วยแค่ไหน
เท่าที่อ่านข้อเขียนและคำให้สัมภาษณ์ของ อ.สมเกียริต (TDRI) แกนิยาม "ผลประโยชน์อันสูงสุดของแผ่นดิน" เป็นภาษีอย่างเดียวเลยครับ ส่วนตัวเห็นว่ามองด้านเดียวไป ต้องคิดถึงประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับด้วย อย่าลืมว่าตาม พรบ. กสทช พศ 2553 มาตรา 27(9) ก็ให้อำนาจ กสธช กำหนด กรอบอัตราค่าบริการ ไว้อยู่แล้ว ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องทำหลังการประมูลคลื่นความถี่
ห๊ะๆๆ แล้วมีอะไรเป็นเครื่องรับประกันหรือครับว่าประมูลไปต่ำๆแล้วผู้บริโภคจะได้รับผลประโยชน์นั้นสูงสุด... มันคือความเหมาะสม สมเหตุสมผลที่มีหลักวิชาการมารองรับ หรือกติกาสากลมารองรับ...แล้วทำไมไม่ทำมากกว่ามั้งครับ มาเปิดเงื่อนให้คนเห็นแล้วโต้แย้งแต่ก็ไม่สนทำไม...
#65
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:44
ไม่มีจิตสาธารณะครับนี่แหละครับทำงานแบบรัฐ โดยบริหารสมบัติของชาติแบบไม่ใช่สมบัติของกรู... การประมูลพวกนี้เค้าจะมีเรียกชี้แจงรายละเอียดการประมูลก่อนครับ เพื่อให้ผู้แข่งขันได้รู้ใครเป็นใครหรือเพื่อให้รับทราบรายละเอียดที่ตรงกันก็ไม่ทราบแน่ชัด หน่วยงานรัฐบางที่ๆเคยไปสัมผัสมาพอซื้อแบบไปเสร็จก็จะนัดวันรวมผู้ซื้อแบบ อ้างว่าเพื่อชี้แจงรายละเอียด แล้วก็จะมีหน่วยๆหนึ่งมาคอยเดินจดชื่อ เบอร์โทรฯไป คงไม่ต้องบอกนะเอาไปทำไม การชี้แจงบางทีบอกถึงขนาดราคากลางเท่านี้ให้ใส่เป็นค่าวัสดุไม่เกินเท่านี้ ค่าแรงไม่เกินเท่านี้นะ แม่มโคตรจะโปร่งใสแบบไม่มีวัวปนแหม่งๆเลย นี่แหละครับการประมูลงานแบบไทยๆ ยังมีมันๆ ชั่วๆปลีกย่อยอีกเยอะแยะไปหมดครับ...
พวกนี้นั่งทำงานในตำแหน่งที่มีหน้าที่ปกป้องประโยชน์สาธารณะ แต่ไม่มีจิตสำนึกเช่นว่านั้น
- wat likes this
#66
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:46
ถ้าดูจากประสบการณ์ผ่านการเปิดซองงานหลวงมานาน หลายงานจัด
คิดว่าฮั้วกันแน่นอน
เรียกฮั้วยังลูกผีลูกคนครับ 3 บริษัทฯนี้มีคุยกันนอกรอบมั้ย...ล้าน% มีแน่นอน เป็นเจ้าใหญ่ในวงการเดียวกันย่อมรู้กันดีว่าคงไม่มีใครแล้วนอกจาก 3 เรานี้ ถ้าดูจากราคาที่ออกมา ประสบการณ์ในวงการประมูลนี้เช่นกัน มองราคาก็รู้ใครเป็นเจ้าภาพ....
แต่ที่ว่าจะใช่ฮั้วหรือเปล่า เพราะงานนี้เจ้าหน้าที่รัฐฯทำแบบถวายใส่พาน ทูนถวายให้ลงตัวไม่ต้องกัดกันอย่างชัดเจน ราคากลางที่จุฬาฯทำมาก็ไม่ใช้... ฮั้วคือการสมยอมราคากันระหว่างคู่แข่งขัน แต่ดูงานนี้มันน่าจะสมยอมราคากันทั้งคู่แข่งขันและรัฐฯไปตั้งแต่ตั้งกำหนดราคากลางไปแล้วด้วยซ้ำ จึงคิดว่ามันไม่น่าใช่ฮั้ว...
ใช้ราคากลางที่จุฬาฯ เสนอมานะครับ ตอนแรกผมก็สับสน
คืองี้ จุฬาคิดราคากลางมา 6,500 ล้านบาท (ตัวเลขกลมๆ) และ เสนอให้ตั้งราคาประมูลเริ่มต้น ต่ำกว่าราคากลาง 67%
กสทช นำตัวเลขนี้ไปตั้ง คิดที่ 70% ของราคากลาง ปัดเศษ แล้วตั้งที่ 4,500 ล้านบาท
และอย่าลืมว่างานวิจัยของจุฬาฯ ทำเมื่อปี 53 ผ่านไป 2 ปี ถ้าทำวิจัยราคากลาง ณ ปี 55 ราคากลางจะลดลง ประเทศอื่นเขาจะไป 4G กันอยู่แล้ว
อายุสัญญานี่ 15 ปีนะครับ ถ้าเป็นอย่างว่าปล่อยไปอีก 5 ปีมันไม่เหลือพันกว่าล้านหรือครับ ผมว่าเรื่องราคากลางนี่เป็นประเด็นหนึ่งเท่านั้น ที่สำคัญหากอยากให้ราคาดีดตัวขึ้น เพื่อ "ผลประโยชน์อันสูงสุดของแผ่นดิน" โดยวิธี "ประมูลแข่งขันอย่างเป็นธรรม" นั้น คิดง่ายๆอย่างเราๆเนี่ย เราจะโง่, ซื่อบื้อจัดสรรให้มันลงตัวตั้งแต่ยังไม่ประมูลอย่างนี้มั้ยครับ?
ใช่ครับ อายุสัญญา 15 ปี ถ้าอยากให้ราคาดีดตัว ก็มีหลายวิธี เช่น ตั้งที่ 4,500 ล้านบาทนี่แหล่ะ แต่จัดที่ n-1 คือให้ได้ 2 เจ้า รับรองแข่งกันราคาดีดตัว แต่จะได้ "ผลประโยชน์อันสูงสุดของแผ่นดิน" หรือเปล่าไม่ทราบได้ เพราะ 1.ประมูลได้สูง ต้นทุนก็สูง กรรมก็ตกอยู่ที่ผู้บริโภค จ่ายค่า3Gต่อเดือนสูงอีก 2.เจ้าที่ 3 จะเกิดการไหลออกของหมายเลขสูง ส่งผลให้เหลืออยู่ 2 เจ้าตลาดใหญ่ ทีนี้ถ้านึกไม่ออกว่าราคาตลาดเป็นอย่างไร นึกถึงตอนเน็ต ADSL หลายปีก่อน ที่มี 2 เจ้า (True VS ToT) ได้เลยครับ ว่าราคาโหด บริการห่วยแค่ไหน
เท่าที่อ่านข้อเขียนและคำให้สัมภาษณ์ของ อ.สมเกียริต (TDRI) แกนิยาม "ผลประโยชน์อันสูงสุดของแผ่นดิน" เป็นภาษีอย่างเดียวเลยครับ ส่วนตัวเห็นว่ามองด้านเดียวไป ต้องคิดถึงประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับด้วย อย่าลืมว่าตาม พรบ. กสทช พศ 2553 มาตรา 27(9) ก็ให้อำนาจ กสธช กำหนด กรอบอัตราค่าบริการ ไว้อยู่แล้ว ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องทำหลังการประมูลคลื่นความถี่
ห๊ะๆๆ แล้วมีอะไรเป็นเครื่องรับประกันหรือครับว่าประมูลไปต่ำๆแล้วผู้บริโภคจะได้รับผลประโยชน์นั้นสูงสุด... มันคือความเหมาะสม สมเหตุสมผลที่มีหลักวิชาการมารองรับ หรือกติกาสากลมารองรับ...แล้วทำไมไม่ทำมากกว่ามั้งครับ มาเปิดเงื่อนให้คนเห็นแล้วโต้แย้งแต่ก็ไม่สนทำไม...
เครื่องรับประกันที่ดีที่สุดก็เราผู้บริโภคนี่แหล่ะครับ (ผมพูดจริงนะไม่ได้กวน) เพราะถ้ามี 3 เจ้าใหญ่ เราก็สามารถเลือกเจ้าที่ให้ราคาต่ำสุด ทีนี้มีคนแย้งว่าถ้า 3 เจ้าฮั้วราคา 3G รายเดือน กันล่ะ คนก็จะไหลไปใช้บริการเจ้าที่คุณภาพดีที่สุด (3G นี่ต้องลงทุนอีกเยอะนะครับกว่าจะครอบคลุมทั่วประเทศ) เหมือนตอนแรกๆของ 2G ที่ทรูเข้าตลาด คุณภาพสัญญาณไม่ครอบคลุม ยังห่างจาก AIS & DTAC อีก ทรูก็ดั๊มราคาสู้ เป็นต้น ... เป็นการแข่งขันกันของตลาดที่มีผู้แข่งขันน้อยราย โดยมีองค์กรของรัฐกำกับดูแล
เครื่องมือรองลงมาก็ กสทช นี่แหล่ะครับ อย่างที่ผมว่า ตามกฎหมายมีกำหนดกรอบอัตราค่าบริการใน พรบ. ไว้อยู่แล้ว เป็นหน้าที่ของ กสทช ถ้ากรอบอัตราค่าบริการ หรืออัตรา3Gรายเดือนไม่เป็นธรรม ทีนี้ก็โดนฟ้องศาลปกครองแน่ครับ ... ก็ว่ากันไปทีละเปลาะครับ
Edited by sunset, 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:47.
Poo have 2 brain side.
Left brain side have nothing right.
Right brain side have nothing left.
#67
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:57
ตอนนี้มีกรรมการสองรายจากทั้งหมด 11 ราย(น่าจะมี 11 ราย)ที่ประกาศไม่รับรองการประมูล มีที่ชัดๆ คือ ประธานที่ยศพันเอกยืนยันแบบน้ำขุ่นๆ
ถ้าดูจากประสบการณ์ผ่านการเปิดซองงานหลวงมานาน หลายงานจัด
คิดว่าฮั้วกันแน่นอน
เรียกฮั้วยังลูกผีลูกคนครับ 3 บริษัทฯนี้มีคุยกันนอกรอบมั้ย...ล้าน% มีแน่นอน เป็นเจ้าใหญ่ในวงการเดียวกันย่อมรู้กันดีว่าคงไม่มีใครแล้วนอกจาก 3 เรานี้ ถ้าดูจากราคาที่ออกมา ประสบการณ์ในวงการประมูลนี้เช่นกัน มองราคาก็รู้ใครเป็นเจ้าภาพ....
แต่ที่ว่าจะใช่ฮั้วหรือเปล่า เพราะงานนี้เจ้าหน้าที่รัฐฯทำแบบถวายใส่พาน ทูนถวายให้ลงตัวไม่ต้องกัดกันอย่างชัดเจน ราคากลางที่จุฬาฯทำมาก็ไม่ใช้... ฮั้วคือการสมยอมราคากันระหว่างคู่แข่งขัน แต่ดูงานนี้มันน่าจะสมยอมราคากันทั้งคู่แข่งขันและรัฐฯไปตั้งแต่ตั้งกำหนดราคากลางไปแล้วด้วยซ้ำ จึงคิดว่ามันไม่น่าใช่ฮั้ว...
ถึงเวลา หากมีการรับรอง คนรับรองก็ต้องไปแก้คดีอาญาเอาเอง
#68
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:02
แต่ว่ามันมีหลาย slot เกิน ทำให้ไม่เกิดการแข่งขัน
เหมือนกับว่ามีของ 10 ชิ้น คุณสมบัติเหมือนกัน
แต่กันแค่สีไรงี้
ที่จริงผมว่าน่าจะเล่นแบบขาย จำนวน 2 slot พอ
1 slot สามารถให้บริการได้แค่ 10 ล้านเลขหมายไรงี้
#69
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:06
2 ความเป็นธรรมในการกำหนดค่าบริการ กสทช เอาหลักอะไรมาเป็นบรรทัดฐานว่ายุติธรรมต่อผู้ใช้แล้ว ในเมื่อแค่การประมูลยังส่อให้เห็นว่าราคากลางนั้น "รู้กัน" ตั้งแต่ต้น และถึงวันนี้มีแต่รายงานของจุฬาฯที่ว่าด้วยเรื่องรายได้ที่คาดว่าจะเป็น แต่จนบัดนี้ "ค่าบริการที่ควรจะเป็น" นั้น ใครจะเป็นผู้เสนอหลักการและรับรองหลักการ
3 ทำให้กระจ่างเสียตั้งแต่ต้นยังไม่ได้ แต่กลับทำไปแก้ไปแบบหลายๆเคสที่เกิดขึ้นในแผ่นดิน สุดท้ายคืออะไร...ก็ทนๆใช้ไป เพราะยังไงก็ต้องใช้ แล้วลืมมันไปเสียงั้นหรือ?
นี่แค่เคสแรกนะครับ ที่ทราบมาอีกไม่กี่ปีข้างหน้าระบบโทรทัศน์จะยกเลิกระบบอนาลอกทั้งหมดแล้ว...หมายถึงอะไร? อย่างน้อยๆผู้บริโภคไม่เปลี่ยนทีวีใหม่เป็นระบบที่รับสัญญาณได้โดยตรงไม่ต้องผ่าน Box Reciever แบบระบบดาวเทียมที่ใช้กันในปัจจุบัน ก็ต้องมาเลือกค่ายกันอีกล่ะ ว่าจะซื้อกล่องค่ายอะไร... แล้วลูปเดิมๆแบบ 3 จวยนี้จะเกิดขึ้นอีกมั้ย???
Edited by wat, 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:07.
- ssa likes this
#70
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:38
วิธีคิดอย่างนี้อันตรายมากต่อบ้านเมือง
ผิดกฎหมายก็ต้องว่าตามกฎหมาย
เมื่อใดที่หักกฎหมายปัญหาใหญ่จะตามมา
แม้วซุกหุ้นภาคหนึ่งเป็นตัวอย่างให้เห็นชัดขนาดนี้ ยังไม่ฉุกคิดกัน บ้านเมืองก็รอวันล่มสลาย
#71
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:52
1 ปัจจัยที่ว่าใครดีกว่าผู้บริโภคจะไปทางนั้นตาม ตย. ที่ยกมา ณ วันนี้มันไม่ใช่แล้วครับ 3 เจ้า ณ วันนี้มีข้อดี ข้อด้อยที่ใกล้เคียงกันหมดแล้ว
- ไม่ใกล้นะครับ 3G ผู้บริการต้องลงทุนเพิ่มหลายหมืนล้านบาทต่อเจ้า หลังจากได้รับสัมปทาน ในสัญญามีข้อกำหนดว่าจะให้คลอบคลุมเมืองใหญ่ในเวลา .. ปี ครอบคลุมพื้นที่ 80% ในเวลา .. ปี นับจากวันทำสัญญา เหล่านี้เป็นต้นทุนที่แต่ละเจ้าต้องจ่ายเพิ่ม นอกเหนือจากค่าสัมปทานครับ
2 ความเป็นธรรมในการกำหนดค่าบริการ กสทช เอาหลักอะไรมาเป็นบรรทัดฐานว่ายุติธรรมต่อผู้ใช้แล้ว ในเมื่อแค่การประมูลยังส่อให้เห็นว่าราคากลางนั้น "รู้กัน" ตั้งแต่ต้น และถึงวันนี้มีแต่รายงานของจุฬาฯที่ว่าด้วยเรื่องรายได้ที่คาดว่าจะเป็น แต่จนบัดนี้ "ค่าบริการที่ควรจะเป็น" นั้น ใครจะเป็นผู้เสนอหลักการและรับรองหลักการ
ราคากลาง เขารู้ตั้งแต่ประกาศยื่นซองประมูลแล้วครับ กสทช ก็บอกแล้วว่าเอามาจากผลวิจัยของจุฬา คิดที่ 70% ของราคากลาง ส่วน "ค่าบริการที่ควรจะเป็น" นั้นเบื้องต้นจะปล่อยให้เป็นหน้าที่ของราคาตลาด และ กรอบอัตราค่าบริการ ที่กำหนดให้เป็นหน้าที่ของ กสทช ต้องทำ ภายหลังการประมูลครับ
วิธีกำหนดกรอบอัตราค่าบริการในการให้สัมปทานของรัฐต่อเอกชน ทั่วไปมี 2 วิธีครับ คือระบุไว้ในสัญญาเลย เช่นสัญญาของ BTS หรือ กำหนดเป็นกรอบอัตราค่าบริการไว้ เช่น สัญญาของรถขนส่งสาธารณะ ในต่างจังหวัด ครับ ไม่มีข้อบังคับว่าต้องระบุไว้ในสัญญาเสมอไป เพราะบางทีต้องปล่อยให้เป็นหน้าที่ของระบบตลาด และต้นทุนของผู้ประกอบการ ซึ่งในกรณีนี้คือต้นทุนในการจ่ายค่าสัมปทานของ ผู้ให้บริการ + ต้นทุนวางระบบ+ค่าพนักงาน + กำไร ฯลฯ
3 ทำให้กระจ่างเสียตั้งแต่ต้นยังไม่ได้ แต่กลับทำไปแก้ไปแบบหลายๆเคสที่เกิดขึ้นในแผ่นดิน สุดท้ายคืออะไร...ก็ทนๆใช้ไป เพราะยังไงก็ต้องใช้ แล้วลืมมันไปเสียงั้นหรือ?
-
นี่แค่เคสแรกนะครับ ที่ทราบมาอีกไม่กี่ปีข้างหน้าระบบโทรทัศน์จะยกเลิกระบบอนาลอกทั้งหมดแล้ว...หมายถึงอะไร? อย่างน้อยๆผู้บริโภคไม่เปลี่ยนทีวีใหม่เป็นระบบที่รับสัญญาณได้โดยตรงไม่ต้องผ่าน Box Reciever แบบระบบดาวเทียมที่ใช้กันในปัจจุบัน ก็ต้องมาเลือกค่ายกันอีกล่ะ ว่าจะซื้อกล่องค่ายอะไร... แล้วลูปเดิมๆแบบ 3 จวยนี้จะเกิดขึ้นอีกมั้ย???
Poo have 2 brain side.
Left brain side have nothing right.
Right brain side have nothing left.
#72
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:08
1 ปัจจัยที่ว่าใครดีกว่าผู้บริโภคจะไปทางนั้นตาม ตย. ที่ยกมา ณ วันนี้มันไม่ใช่แล้วครับ 3 เจ้า ณ วันนี้มีข้อดี ข้อด้อยที่ใกล้เคียงกันหมดแล้ว
- ไม่ใกล้นะครับ 3G ผู้บริการต้องลงทุนเพิ่มหลายหมืนล้านบาทต่อเจ้า หลังจากได้รับสัมปทาน ในสัญญามีข้อกำหนดว่าจะให้คลอบคลุมเมืองใหญ่ในเวลา .. ปี ครอบคลุมพื้นที่ 80% ในเวลา .. ปี นับจากวันทำสัญญา เหล่านี้เป็นต้นทุนที่แต่ละเจ้าต้องจ่ายเพิ่ม นอกเหนือจากค่าสัมปทานครับ... เค้าเริ่มดำเนินการรองรับกันไปนานแล้วครับ ทราบโดยเพื่อนในวงการเป็นผู้รับเหมาฯให้ค่าย 1 ใน 3 นี้ครับ ... ต้นทุนก็ต้องมีเป็นธรรมดาครับ แต่หลายหมื่นล้านมั้ย??? ไม่แน่ใจนะครับ
2 ความเป็นธรรมในการกำหนดค่าบริการ กสทช เอาหลักอะไรมาเป็นบรรทัดฐานว่ายุติธรรมต่อผู้ใช้แล้ว ในเมื่อแค่การประมูลยังส่อให้เห็นว่าราคากลางนั้น "รู้กัน" ตั้งแต่ต้น และถึงวันนี้มีแต่รายงานของจุฬาฯที่ว่าด้วยเรื่องรายได้ที่คาดว่าจะเป็น แต่จนบัดนี้ "ค่าบริการที่ควรจะเป็น" นั้น ใครจะเป็นผู้เสนอหลักการและรับรองหลักการ
ราคากลาง เขารู้ตั้งแต่ประกาศยื่นซองประมูลแล้วครับ กสทช ก็บอกแล้วว่าเอามาจากผลวิจัยของจุฬา คิดที่ 70% ของราคากลาง ส่วน "ค่าบริการที่ควรจะเป็น" นั้นเบื้องต้นจะปล่อยให้เป็นหน้าที่ของราคาตลาด และ กรอบอัตราค่าบริการ ที่กำหนดให้เป็นหน้าที่ของ กสทช ต้องทำ ภายหลังการประมูลครับ
วิธีกำหนดกรอบอัตราค่าบริการในการให้สัมปทานของรัฐต่อเอกชน ทั่วไปมี 2 วิธีครับ คือระบุไว้ในสัญญาเลย เช่นสัญญาของ BTS หรือ กำหนดเป็นกรอบอัตราค่าบริการไว้ เช่น สัญญาของรถขนส่งสาธารณะ ในต่างจังหวัด ครับ ไม่มีข้อบังคับว่าต้องระบุไว้ในสัญญาเสมอไป เพราะบางทีต้องปล่อยให้เป็นหน้าที่ของระบบตลาด และต้นทุนของผู้ประกอบการ ซึ่งในกรณีนี้คือต้นทุนในการจ่ายค่าสัมปทานของ ผู้ให้บริการ + ต้นทุนวางระบบ+ค่าพนักงาน + กำไร ฯลฯ...แปลความหมายว่า "รู้กัน" ผิดไปแล้วครับ...
3 ทำให้กระจ่างเสียตั้งแต่ต้นยังไม่ได้ แต่กลับทำไปแก้ไปแบบหลายๆเคสที่เกิดขึ้นในแผ่นดิน สุดท้ายคืออะไร...ก็ทนๆใช้ไป เพราะยังไงก็ต้องใช้ แล้วลืมมันไปเสียงั้นหรือ?
-
นี่แค่เคสแรกนะครับ ที่ทราบมาอีกไม่กี่ปีข้างหน้าระบบโทรทัศน์จะยกเลิกระบบอนาลอกทั้งหมดแล้ว...หมายถึงอะไร? อย่างน้อยๆผู้บริโภคไม่เปลี่ยนทีวีใหม่เป็นระบบที่รับสัญญาณได้โดยตรงไม่ต้องผ่าน Box Reciever แบบระบบดาวเทียมที่ใช้กันในปัจจุบัน ก็ต้องมาเลือกค่ายกันอีกล่ะ ว่าจะซื้อกล่องค่ายอะไร... แล้วลูปเดิมๆแบบ 3 จวยนี้จะเกิดขึ้นอีกมั้ย???
Edited by wat, 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:09.
#73
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:15
1 ปัจจัยที่ว่าใครดีกว่าผู้บริโภคจะไปทางนั้นตาม ตย. ที่ยกมา ณ วันนี้มันไม่ใช่แล้วครับ 3 เจ้า ณ วันนี้มีข้อดี ข้อด้อยที่ใกล้เคียงกันหมดแล้ว
- ไม่ใกล้นะครับ 3G ผู้บริการต้องลงทุนเพิ่มหลายหมืนล้านบาทต่อเจ้า หลังจากได้รับสัมปทาน ในสัญญามีข้อกำหนดว่าจะให้คลอบคลุมเมืองใหญ่ในเวลา .. ปี ครอบคลุมพื้นที่ 80% ในเวลา .. ปี นับจากวันทำสัญญา เหล่านี้เป็นต้นทุนที่แต่ละเจ้าต้องจ่ายเพิ่ม นอกเหนือจากค่าสัมปทานครับ... เค้าเริ่มดำเนินการรองรับกันไปนานแล้วครับ ทราบโดยเพื่อนในวงการเป็นผู้รับเหมาฯให้ค่าย 1 ใน 3 นี้ครับ ... ต้นทุนก็ต้องมีเป็นธรรมดาครับ แต่หลายหมื่นล้านมั้ย??? ไม่แน่ใจนะครับ แน่ใจครับ
2 ความเป็นธรรมในการกำหนดค่าบริการ กสทช เอาหลักอะไรมาเป็นบรรทัดฐานว่ายุติธรรมต่อผู้ใช้แล้ว ในเมื่อแค่การประมูลยังส่อให้เห็นว่าราคากลางนั้น "รู้กัน" ตั้งแต่ต้น และถึงวันนี้มีแต่รายงานของจุฬาฯที่ว่าด้วยเรื่องรายได้ที่คาดว่าจะเป็น แต่จนบัดนี้ "ค่าบริการที่ควรจะเป็น" นั้น ใครจะเป็นผู้เสนอหลักการและรับรองหลักการ
ราคากลาง เขารู้ตั้งแต่ประกาศยื่นซองประมูลแล้วครับ กสทช ก็บอกแล้วว่าเอามาจากผลวิจัยของจุฬา คิดที่ 70% ของราคากลาง ส่วน "ค่าบริการที่ควรจะเป็น" นั้นเบื้องต้นจะปล่อยให้เป็นหน้าที่ของราคาตลาด และ กรอบอัตราค่าบริการ ที่กำหนดให้เป็นหน้าที่ของ กสทช ต้องทำ ภายหลังการประมูลครับ
วิธีกำหนดกรอบอัตราค่าบริการในการให้สัมปทานของรัฐต่อเอกชน ทั่วไปมี 2 วิธีครับ คือระบุไว้ในสัญญาเลย เช่นสัญญาของ BTS หรือ กำหนดเป็นกรอบอัตราค่าบริการไว้ เช่น สัญญาของรถขนส่งสาธารณะ ในต่างจังหวัด ครับ ไม่มีข้อบังคับว่าต้องระบุไว้ในสัญญาเสมอไป เพราะบางทีต้องปล่อยให้เป็นหน้าที่ของระบบตลาด และต้นทุนของผู้ประกอบการ ซึ่งในกรณีนี้คือต้นทุนในการจ่ายค่าสัมปทานของ ผู้ให้บริการ + ต้นทุนวางระบบ+ค่าพนักงาน + กำไร ฯลฯ...แปลความหมายว่า "รู้กัน" ผิดไปแล้วครับ... แล้วแปลว่าไงครับ ?
3 ทำให้กระจ่างเสียตั้งแต่ต้นยังไม่ได้ แต่กลับทำไปแก้ไปแบบหลายๆเคสที่เกิดขึ้นในแผ่นดิน สุดท้ายคืออะไร...ก็ทนๆใช้ไป เพราะยังไงก็ต้องใช้ แล้วลืมมันไปเสียงั้นหรือ?
-
นี่แค่เคสแรกนะครับ ที่ทราบมาอีกไม่กี่ปีข้างหน้าระบบโทรทัศน์จะยกเลิกระบบอนาลอกทั้งหมดแล้ว...หมายถึงอะไร? อย่างน้อยๆผู้บริโภคไม่เปลี่ยนทีวีใหม่เป็นระบบที่รับสัญญาณได้โดยตรงไม่ต้องผ่าน Box Reciever แบบระบบดาวเทียมที่ใช้กันในปัจจุบัน ก็ต้องมาเลือกค่ายกันอีกล่ะ ว่าจะซื้อกล่องค่ายอะไร... แล้วลูปเดิมๆแบบ 3 จวยนี้จะเกิดขึ้นอีกมั้ย???
Poo have 2 brain side.
Left brain side have nothing right.
Right brain side have nothing left.
#74
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:19
ประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทค.) นัดประชุมกทค. ช่วงบ่ายวันนี้(17ต.ค.) เพื่อรับรองผลประมูลคลื่น3G และนัดแถลงข่าวอย่างเป็นทางการ
เดิมจะลงมติรับรอง 19
แต่อยู่ๆ รีบเรียกประชุมฉุกเฉินภายในวันนี้เพื่อลงมติรับรอง
#75
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:19
Edited by wat, 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:23.
#76
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:23
#77
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:25
"รู้กัน" ไปหาอ่านเอาบนๆโน่นเห๊อะ บอกไปแล้วขี้เกียจพิมพ์แล้ว...ส่วนเรื่องหมื่นๆล้านมั้ย เท่าที่นั่งกินเหล้าฟังข้อมูลมา base มันก็ใช้ของเดิมนั่นแหละปรับเปลี่ยน + เพิ่มอุปกรณ์บางอย่างเข้าไป ถึงไม่รู้ว่าจะหมื่นๆล้านหรือเปล่าเพราะไม่ใช่ช่างสายนี้โดยตรง
555
Poo have 2 brain side.
Left brain side have nothing right.
Right brain side have nothing left.
#78
ตอบ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 22:48
#79
ตอบ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:28
สื่อฯไม่วิพากษ์วิจารณ์การประมูลครั้งนี้ เพราะ...
1.งบโฆษณาไม่อั้น หว่านมาหลายเดือนแล้ว
2.กลัวอำนาจ กสทช.จะเล่นงานพวกเขา
3.เจ้าของสื่อฯมีผลประโยชน์ร่วมด้วย
4.เห็นใจ"สามเครือข่าย"ที่มีงบโฆษณามากเหมือนกัน อยากให้ประมูลให้เสร็จๆ
5.'ผู้มีบารมีนอกรัฐธรรมนูญ ณ ดูไบ'ปรามไว้แล้ว
6.......ฯลฯ
ขอแนะนำไปถามคณะกรรมการ กสทช. (11 อรหันต์) ดีมั๊ย..........ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
- ssa likes this
เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...
#80
ตอบ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:38
ปล.ผมว่าถ้าประมูลได้ราคาไม่สูงเเล้ว ค่าบริการน่าจะต่ำลงมาด้วยน่ะ ต้องคอยดุกันต่อไป
#81
ตอบ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:27
ตอนก่อนหน้านี้เค้าก้อให้พวกบริษัทอื่นๆๆยื่นเรื่องขอทำเรื่องประมูลน่ะคับ เยอะมากน่ะคับ กสทช.เองก้อส่งหนังสือไปเชิญพวกVerizonเเละvodafoneมาน่ะคับ เเต่บริษัทในเมืองไทยทุนไม่หนาเท่า3บริษัทนั้น เเถมระมทุนได้ไม่ทันหรือยังไงไม่ทราบน่ะคับ เลยเหลือเเค่3ค่าย ส่วนถ้าเอาค่ายอื่นมามันจะทันเหรอคับ2ปีเนี้ย ในการวางเสาใหม่ทั่วประเทศ เพราะ3เจ้านี้เค้ามีสิ่งพวกนี้รออยู่เเล้ว เเถมระบบไรงี้ก้อวางรอไว้หมดเเล้ว ถ้าเอาค่ายอื่นมาเพิ่ม มันก้อต้องวางระบบใหม่ ทำความเข้าใจก่ะผู้ใช้บริการใหม่หมดเลย ซึ่งไม่ต่ำกว่า5ปีชัวๆๆ มันจึงเอวังด้วยประการล่ะฉะนี้
ปล.ผมว่าถ้าประมูลได้ราคาไม่สูงเเล้ว ค่าบริการน่าจะต่ำลงมาด้วยน่ะ ต้องคอยดุกันต่อไป
ที่ไม่มาเพราะเขาเจ็บแล้วจำครับ ตอนนั้น กทช. ทำอะไรไว้กับออเรนจ์ และ ฮัทช์ ล่ะครับ เพราะจริง ๆ ถึงมีรายใหม่เข้ามาก็อาจไม่จำเป็นต้องวางเสาทั้งประเทศ แต่สามารถเอาอุปกรณ์ไปติดไว้กับเสาของ TOT ได้เลย TOT ก็ปฏิเสธไม่ได้ด้วยเพราะมีพรบ.การประกอบกิจการโทรคมนาคมปิดปากไปแล้ว แต่ TOT เก็บค่าเช่าใช้เสาได้ครับ
ปล ผมพูดตรง ๆ นะครับ การประมูลครั้งนี้มีขึ้นเพื่อยกคลื่น 3G ให้ค่ายใหญ่สามเจ้าแบบเนียน ๆ นั่นแหละ เพราะรู้ว่ารายอื่นในไทยไม่มีหน้าไหนทำได้ ส่วนต่างชาติรายใหญ่อื่น ๆ เขาก็กลัวนโยบายสื่อสารไทยกันหมด ตอนฮัทช์ก็ทีแล้ว บ้าเหรอให้บริการแค่ 23 จังหวัด มันจะไปรอดได้ไง
Edited by Novice, 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:30.
#82
ตอบ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:32
#83
ตอบ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:38
#84
ตอบ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 00:41
ผู้ใช้ 0 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน