คำพูดคมๆของ 'ยิ่งลักษณ์' ในเวที Bali Democracy Forum (BDF) ที่อินโดนีเซีย
#1
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:20
The first Thai head of government attending the BDF, Yingluck Shinawatra said that people want their voices heard, their rights protected and positive changes brought to their lives. “Even though in each country or community there may be cultural, economic or political differences, common principles exist.”
“People demand freedom because they prosper in it. They want their rights protected and dignity respected. But, with freedom comes responsibility.”
There, she said, there is the need for the rule of law, a guarantee of human rights, and equal opportunity to aspire and achieve one’s dream.
Yingluck said that rule of law provides political space for dialogue, participation and for conflicts to be resolved within boundaries of civil society. “Rule of law also dictates how political leaders must respond to people’s needs and protect individuals’ rights and liberties.”
On protecting people’s rights, she said that the best way to preserve them is to empower the people to value and participate in the democratic process, which has made it possible for an election to occur.
“Mutual respect and understanding among peoples in society helps prevent disagreement and conflict. Non-discrimination helps all people feel that they are part of the whole society regardless of race, religion or income,” Yingluck stated.
http://www.thejakart...-interests.html
#2
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:22
- วิท, อ่อนโลก, ถั่งเช่า ตรา ควายธนูแดง and 2 others like this
#4
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:27
#5
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:30
ลองไปดูสิ่งที่ผู้นำชาติอื่นพูดแล้วมาเปรียบเทียบกันดูนะครับ ผมว่าผู้นำไทยพูดได้ดีที่สุดนะ
ดีมากกกกก...เล่นเอาผู้นำสิงโปร์ขำก๊ากเลย..
#6
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:31
ลองไปดูสิ่งที่ผู้นำชาติอื่นพูดแล้วมาเปรียบเทียบกันดูนะครับ ผมว่าผู้นำไทยพูดได้ดีที่สุดนะ
ลองไปดูสิ่งที่ผู้นำชาติอื่นพูดแล้วมาเปรียบเทียบกันดูนะครับ ผมว่าผู้นำไทยพูดได้ดีที่สุดนะ
pls, translate this article for me. to show how come her words are great.
thanx
Uhm, I think she said based on The Rule of Law, That's a principle of the Politics but her acts not recpect the thing she told everyone 'cause she does't ever go to the cabinet and also she loves to go to 4SS instead.
Do u think like me, Jagger.
Edited by pinkpanda, 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:36.
#7
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:33
It's us against the world
#8
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:33
ได้ข่าวมาว่าคนนี้ขำกลิ้งเลย สงสัยจะ "คม" มากไปหน่อย
ตามไปดูได้
http://webboard.seri...นไทยอย่างข้าพเ/
#9
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:36
ลองไปดูสิ่งที่ผู้นำชาติอื่นพูดแล้วมาเปรียบเทียบกันดูนะครับ ผมว่าผู้นำไทยพูดได้ดีที่สุดนะ
โปกเชื่อจริงดิ ว่า She understood every word she said???
จุดธูปสาบานต่อหน้าวัดพระแก้วด้วยนะ ว่าโปกเชื่อ
- Bookmarks and Lucas Leiva Benitez Rodger like this
#10
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:36
แต่กรูว่านักข่าวมันส่งคำถามให้ร่างคำตอบท่องมาล่วงหน้าอาทิตย์นึงชัวร์ว่ะ โปกว่ามะ
#11
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:44
you once, twice ....three times a lady
Everyone thinks of changing the world, but no one thinks of changing himself. Leo Tolstoy
#13
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:57
รบกวนพูดซ้ำสามครั้ง โดยพร้อมเพรียงกันค่ะ
#14
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:03
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
#15
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:07
#16
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:10
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและคณะบุคคลสำคัญ
ประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล)
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นางสาวศันสนีย์ นาคพงศ์)
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
และรองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เข้าร่วมการประชุม
Bali Democracy Forum (BDF) ครั้งที่ 5 ณ เกาะบาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ระหว่างวันที่ 7-8 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา
ในโอกาสนี้ นายกรัฐมนตรีจะได้มีโอกาสกล่าวถ้อยแถลง
เพื่อแสดงท่าทีของไทย โดยเน้นย้ำว่าประชาธิปไตยมีความหลากหลาย
แต่มีปัจจัยสำคัญที่ต้องยึดถือกันทั่วโลก
ทุกคนในประเทศต้องร่วมมือให้ประชาธิปไตยมีความยั่งยืน
ด้วยการขจัดความไม่เท่าเทียมและสร้างโอกาส ทั้งนี้ต้องยึดถือหลักนิติธรรมเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมและเท่าเทียมจากทุกฝ่าย
อันจะนำไปสู่ความเชื่อมั่นและการสร้างรากฐานที่เข้มแข็ง
ทางเศรษฐกิจต่อไปในอนาคต
*** นอกจากนี้นายกรัฐมนตรีจะมีโอกาส พบปะหารือทวิภาคี
กับผู้นำประเทศต่างๆ ที่เข้าร่วมด้วย อาทิ ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย
นายกรัฐมนตรีตุรกี และประธานาธิบดีอัฟกานิสถาน
#17
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:14
I'll be back.
#18
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:16
I'll be back.
r u sure?
#19
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:18
The first Thai head of government attending the BDF, Yingluck Shinawatra said that people want their voices heard, their rights protected and positive changes brought to their lives. “Even though in each country or community there may be cultural, economic or political differences, common principles exist.”
“People demand freedom because they prosper in it. They want their rights protected and dignity respected. But, with freedom comes responsibility.”
There, she said, there is the need for the rule of law, a guarantee of human rights, and equal opportunity to aspire and achieve one’s dream.
Yingluck said that rule of law provides political space for dialogue, participation and for conflicts to be resolved within boundaries of civil society. “Rule of law also dictates how political leaders must respond to people’s needs and protect individuals’ rights and liberties.”
On protecting people’s rights, she said that the best way to preserve them is to empower the people to value and participate in the democratic process, which has made it possible for an election to occur.
“Mutual respect and understanding among peoples in society helps prevent disagreement and conflict. Non-discrimination helps all people feel that they are part of the whole society regardless of race, religion or income,” Yingluck stated.
http://www.thejakart...-interests.html
when u translate for me?
#20
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:20
เอ้อ...กล้าป่าว อา โด่
#21
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:22
when u translate for me?
โปกยืนยันว่า "พูดดีกว่าผู้นำทุกคน" แปลว่าโปกต้องแปลได้สินะครับคุณพิงค์
เอ้า โปก
เพื่อนๆหลายคนถามแล้วนะว่า่โปกช่วยแปลให้หน่อย
แน่จริงต้องอธิบายให้เข้าใจด้วยว่า "ยัยนี่พูดดีกว่าคนอื่นตรงไหน"
Edited by ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่, 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:23.
#22
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:24
ลองไปดูสิ่งที่ผู้นำชาติอื่นพูดแล้วมาเปรียบเทียบกันดูนะครับ ผมว่าผู้นำไทยพูดได้ดีที่สุดนะ
ผมจะชมก็ต่อเมื่อเขาไม่ใช้โพยครับ ก้มอ่านอยู่ได้
แถมให้ majority ชีเเกอ่านว่า "มา-จอ-ริ-ติ"
ส่วน thank you "3 times" ไม่ขอออกควมเห็นเพราะหาตัวคลิปไม่เจอ
Edited by เดอะอำมาตย์, 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:35.
#23
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:26
โปกเข้าใจถึงขั้นเปรียบเทียบว่า ผู้นำหญิงของเค้าพูดดีที่สุด
แค่แปลของปูคนเดียวทำไมโปกจะแปลไม่ได้
เพียงแต่ตอนนี้โปกติดสัมนากับองค์กรอิสระที่ชื่อว่า Google Translate อยู่ครับ
เสร็จงานแล้วพวกแมงสาบเตรียมหงายเงิบได้เลย
#24
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:38
นายกรัฐมนตรีย้ำประชาธิปไตยมีทั้งความเหมือนและความต่าง แต่ยึดหลัก นิติรัฐ การเคารพสิทธิมนุษยชน ความเท่าเทียมทางโอกาสเหมือนกัน พร้อมขอให้ร่วมกันรักษาประชาธิปไตยโดยสนับสนุนรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ตามระบบและวิถีประชาธิปไตย
วันนี้ (8 พ.ย. 55) ณ Nusa Indah Hall / BICC โรงแรม Westin เกาะบาหลี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เข้าร่วมการประชุม Bali Democracy Forum ภายใต้หัวข้อหลัก “Advancing Democratic Principles at the Global Setting: How Democratic Governance Contributes to International Peace and Security, Economic Development and Effective Enjoyment of Human Rights” เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์พัฒนาการประชาธิปไตยในไทยร่วมกับผู้นำและบุคคล สำคัญต่อการส่งเสริมหลักประชาธิปไตย และตอกย้ำการ ยึดมั่นคุณค่าประชาธิปไตยที่เป็นพื้นฐานสำคัญของความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และความรุ่งเรืองของทุกประเทศและของโลก สรุปสาระสำคัญ ดังนี้
นายกรัฐมนตรีกล่าวแสดงความยินดีกับสาธารณรัฐอินโดนีเซียสำหรับการเป็น เจ้าภาพจัดการประชุม Bali Democracy Forum ครั้งที่ 5 ซึ่งเป็นความริเริ่มที่ทำให้ทั่วโลกตระหนักถึงหลักประชาธิปไตย รวมทั้งผลักดันให้เกิดประชาธิปไตยมากขึ้น จากการยกระดับการหารือในลักษณะการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (Forum) เป็นการประชุมระดับสุดยอด (Summit) นั้น แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของความริเริ่มดังกล่าว เช่นเดียวกับความคาดหวังที่สูงขึ้นที่จะได้รับจากการประชุมสุดยอดนี้ด้วย
โดยนายกรัฐมนตรีกล่าวรู้สึกยินดีที่ได้มาเยือนเกาะบาหลีเพื่อเข้าร่วม ประชุม Bali Democracy Forum ทั้งในฐานะหัวหน้าคณะรัฐบาลคนแรกของไทย และในฐานะผู้นำรัฐบาลที่เป็นสตรี นอกจากนี้นายกรัฐมนตรีกล่าวรู้สึกชื่นชมประสบการณ์ในการเป็นผู้นำระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยของผู้นำที่มาเข้าร่วมการประชุมครั้งนี้ ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรียังได้แบ่งปันมุมมองประชาธิปไตยของไทย และกล่าวว่าพร้อมที่จะเรียนรู้หลักประชาธิปไตยจากผู้นำทุกท่าน
ปัจจัยที่หลากหลายและคล้ายคลึงกันในระบอบประชาธิปไตย
ในปัจจุบัน โลกต่างเห็นการแผ่ขยายของประชาธิปไตย ซึ่งแป็นรูปแบบหลักของรัฐบาลทั่วโลก การเปลี่ยนแปลง ไม่ว่า จากวิวัฒนาการที่เติบโตหรือโดดเด่นล้วนมาจากเจตนารมณ์เดียวกัน คือ ประชาชนต้องการเหมือนกัน คือ การรับฟังเสียงของประชาชน สิทธิได้รับการคุ้มครอง และนำการเปลี่ยนแปลงที่ดีสู่ชีวิต ซึ่งเหล่านี้เป็นความจริงของความเป็นมนุษย์ที่เป็นสากล ที่แม้กระทั่งในแต่ละประเทศหรือชุมชน ซึ่งอาจแตกต่างกันทั้งวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม แต่หลักการพื้นฐานนี้ยังคงอยู่เหมือนกันทุกที่ ประชาชนต้องการเสรีภาพ เพราะว่าสร้างความรุ่งเรือง รวมทั้งต้องการสิทธิที่ได้รับการคุ้มครอง และเคารพในความเป็นตัวตน แต่เสรีภาพต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบ กล่าวคือ ความจำเป็นของหลักนิติรัฐ สิทธมนุษยชน และความเท่าเทียมกันเพื่อนำทางและบรรลุความฝันของแต่ละคน
หลักนิติรัฐ
หลักนิติรัฐถือเป็นพื้นฐานของประชาธิปไตย ความมั่นคงทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งความสงบเรียบร้อยทางสังคม หลักนิติรัฐที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพจะช่วยปกป้องสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายทำให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจใน กระบวนการและส่งเสริมให้เกิดการแก้ปัญหาอย่างสันติ
หลักนิติรัฐยังให้พื้นที่ทางการเมืองสำหรับการเจรจา การมีส่วนร่วม และการแก้ปัญหาความขัดแย้งในขอบเขตของประชาสังคม ซึ่งทำให้เกิดทางเลือกทางการเมืองอย่างเสรี และการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสงบจากรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งสู่อีก รัฐบาลหนึ่ง หลักนิติรัฐยังระบุให้ผู้นำทางการเมืองต้องตอบสนองความต้องการของประชาชน และคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของปัจเจกบุคคล นอกจากนี้ ความทั่วถึงที่บัญญัติไว้ในหลักนิติรัฐถือเป็นประเด็นสำคัญของประชาธิปไตย เสียงที่หลากหลายในประเทศ ไม่ว่าของกลุ่มคนหรือของบุคคล ส่วนน้อยหรือส่วนมาก ในเมืองหรือชนบทต้องได้รับการพิจารณา เพราะนำความหลากหลายสู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม
การเคารพต่อสิทธิมนุษยชน
สิทธิของประชาชนต้องได้รับการคุ้มครอง หากรัฐบาลประชาธิปไตยนั้น เป็นของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน อย่างแท้จริง สิทธิของประชาชนต้องได้รับการส่งเสริมและคุ้มครองโดยรัฐบาล ประวัติศาสตร์สอนว่า เสรีภาพมักจะถูกกดขี่และละเมิด ประเทศไทยมีประสบการณ์การปฏิวัติหลายครั้ง ที่ต่อต้านความต้องการของประชาชน และเมื่อรัฐบาลมาจากวิถีประชาธิปไตย ต้องมีความมั่นคงและยั่งยืน วิธีการที่ดีที่สุดในการปกป้องประชาธิปไตยคือ การให้พลังแก่ประชาชนในการยึดมั่นและเข้าร่วมในกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งนำมาซึ่งการเลือกตั้ง เมื่อประชาชนมีส่วนร่วม จะสร้างความรู้สึกที่เป็นเจ้าของประชาธิปไตยและปลาบปลื้มในคุณค่า แต่เมือประชาธิปไตยถูกทิ้งขว้างหรือละเมิด ประชาชนจะลุกขึ้นเพื่อต่อสู้ ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ประเทศไทยเมื่อปี 2553 ที่มีแต่การสูญเสีย ทั้งครอบครัวและบุคคลที่เป็นที่รัก และยังมีผู้ได้รับบาดเจ็บและทุกข์ทรมาน ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีกล่าวว่า ได้ร่วมรับรู้กับมารดาและบุตรสาวของประชาชนที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ครั้งนั้น และมีการสูญเสียชีวิต รู้สึกเศร้าใจ และตัดสินใจแน่วแน่ว่าจะไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนั้นขึ้นอีก โดยดำเนินการการปรองดองแห่งชาติ และดำเนินตามกรอบการดำเนินการของสิทธิมนุษยชน และจะดำเนินต่อไปจนกว่าประชาธิปไตยที่แท้จริงเกิดขึ้นในประเทศไทย ทั้งนี้ แม้ว่าพรรคเพื่อไทยของนายกรัฐมนตรีได้รับเสียงข้างมากในรัฐสภา แต่นายกรัฐมนตรียืนยันที่จะรับฟังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด โดยเข้าใจว่าการให้ประชาธิปไตยมีความยืดหยุ่นนั้น ต้องมีเสรีภาพในการแสดงออก และการเคารพต่อความแตกต่างทางความคิดเห็น การเคารพและเข้าใจซึ่งกันและกันในหมู่ประชาชนในสังคม ช่วยป้องกันความขัดแย้งและทะเลาะเบาะแว้งกัน การไม่เลือกปฏิบัติช่วยให้ประชาชนทุกคนรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมโดย รวม ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด ศาสนาใด หรือรายได้เท่าใด
ความเสมอภาคทางโอกาส
การสร้างโอกาสแก่ประชาชนบนพื้นฐานที่เท่าเทียม ทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพํฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญของระบบประชาธิปไตย เพราะเศรษฐกิจที่รุ่งเรือง และศักยภาพของประชาชน นำมาซึ่งฐานะที่ดีขึ้นที่จะรับผิดชอบต่อการใช้สิทธิของ ตนเอง ซึ่งสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุนและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้น ทุกคนจึงต้องได้รับประโยชน์จากการเติบโตและความมั่นคง ซึ่งหมายถึงประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงสิ่งจำเป็นพื้นฐานที่ช่วยส่งเสริมความ มั่นคงของมนุษย์ การศึกษา สาธารณสุขและสวัสดิการอื่นๆ ดังนั้น รัฐบาลไทยจึงได้เริ่มนโยบายที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง นับตั้งแต่ แรงงานขั้นต่ำ การขยายการบริการดูแลสุขภาพถ้วนหน้า การตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และการส่งเสริม SMEs นอกจากนี้ นโยบายด้านการศึกษา เช่น One Tablet Per Child ก็เพื่อให้เด็กสามารถพัฒนาทักษะ ความรู้ เพื่อเป็นผู้ใหญ่ที่รอบรู้ ซึ่งเป็นแกนสำคัญของประชาธิปไตย
โลกาภิบาล (Global Governance)
ในด้านระหว่างประเทศ นายกรัฐมนตรีกล่าวเห็นด้วยกับประธานาธิบดีอินโดนีเซียที่ว่า โลกาภิบาลดึงจุดแข็งจากความจริงที่ว่า ทุกประเทศมีสิทธิมีเสียง และสามารถมีส่วนร่วมได้อย่างเท่าเทียมในประเด็นระหว่างประเทศ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีความยุติธรรม ภาระรับผิดชอบ (Accountability) และประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในเวทีระหว่างประเทศ
ในขณะที่เรากำลังก้าวเข้าสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนหลังปีค.ศ. 2015 (The post 2015 Sustainable Development Goals) เช่น การมีกระบวนการพหุภาคีที่มีประสิทธิภาพ และเป็นประชาธิปไตย จะทำให้ทุกประเทศ ทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก สามารถจัดลำดับเป้าหมายสำคัญของตนให้อยู่ในวาระการพัฒนาหลังปีค.ศ. 2015 ได้
นอกจากนี้ เราจะต้องตระหนักถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในโลกด้วย เช่น ช่องว่างของการพัฒนา การส่งเสริมความริเริ่มการยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ทั้งนี้ ประชาธิปไตยในระดับโลกจะทำให้เกิดความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา ความท้าทายในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันก็ยังสร้างประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นในชาติด้วย ทั้งนี้ ที่สำคัญที่สุด ทุกประเทศจะต้องร่วมมือกันเพื่อให้ประชาธิปไตยอยู่รอด เมื่อถูกคุกคาม ด้วยเหตุผลนี้ นายกรัฐมนตรีจึงแสดงความขอบคุณมิตรทั้งหลายที่ยืนหยัดต่อต้านการยึดอำนาจ รัฐบาลประชาธิปไตยของไทยเมื่อปี 2549 และช่วยสนับสนุนไทยในเส้นทางสู่ประชาธิปไตยที่แท้จริง การรักษาประชาธิปไตยให้คงอยู่ นั้นขึ้นอยู่กับทุกคน และป้องกันความท้าทายต่างๆที่จะต่อต้านประชาธิปไตย
ในตอนท้าย นายกรัฐมนตรีย้ำว่าความมั่นคงเกิดขึ้นได้ด้วย ประชาธิปไตยเท่านั้น ความมั่นคงทางการเมืองช่วยลดความเสี่ยงของความขัดแย้งที่รุนแรง และในบรรยากาศที่มั่นคงนี้ ก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง โดยท้ายที่สุดแล้ว คือความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ในประเทศและในประชาคมโลกนี้
#26
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:52
นายกรัฐมนตรีย้ำประชาธิปไตยมีทั้งความเหมือนและความต่าง
นายกรัฐมนตรีย้ำประชาธิปไตยมีทั้งความเหมือนและความต่าง แต่ยึดหลัก นิติรัฐ การเคารพสิทธิมนุษยชน ความเท่าเทียมทางโอกาสเหมือนกัน พร้อมขอให้ร่วมกันรักษาประชาธิปไตยโดยสนับสนุนรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ตามระบบและวิถีประชาธิปไตย
วันนี้ (8 พ.ย. 55) ณ Nusa Indah Hall / BICC โรงแรม Westin เกาะบาหลี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เข้าร่วมการประชุม Bali Democracy Forum ภายใต้หัวข้อหลัก “Advancing Democratic Principles at the Global Setting: How Democratic Governance Contributes to International Peace and Security, Economic Development and Effective Enjoyment of Human Rights” เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์พัฒนาการประชาธิปไตยในไทยร่วมกับผู้นำและบุคคล สำคัญต่อการส่งเสริมหลักประชาธิปไตย และตอกย้ำการ ยึดมั่นคุณค่าประชาธิปไตยที่เป็นพื้นฐานสำคัญของความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และความรุ่งเรืองของทุกประเทศและของโลก สรุปสาระสำคัญ ดังนี้
นายกรัฐมนตรีกล่าวแสดงความยินดีกับสาธารณรัฐอินโดนีเซียสำหรับการเป็น เจ้าภาพจัดการประชุม Bali Democracy Forum ครั้งที่ 5 ซึ่งเป็นความริเริ่มที่ทำให้ทั่วโลกตระหนักถึงหลักประชาธิปไตย รวมทั้งผลักดันให้เกิดประชาธิปไตยมากขึ้น จากการยกระดับการหารือในลักษณะการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (Forum) เป็นการประชุมระดับสุดยอด (Summit) นั้น แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของความริเริ่มดังกล่าว เช่นเดียวกับความคาดหวังที่สูงขึ้นที่จะได้รับจากการประชุมสุดยอดนี้ด้วย
โดยนายกรัฐมนตรีกล่าวรู้สึกยินดีที่ได้มาเยือนเกาะบาหลีเพื่อเข้าร่วม ประชุม Bali Democracy Forum ทั้งในฐานะหัวหน้าคณะรัฐบาลคนแรกของไทย และในฐานะผู้นำรัฐบาลที่เป็นสตรี นอกจากนี้นายกรัฐมนตรีกล่าวรู้สึกชื่นชมประสบการณ์ในการเป็นผู้นำระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยของผู้นำที่มาเข้าร่วมการประชุมครั้งนี้ ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรียังได้แบ่งปันมุมมองประชาธิปไตยของไทย และกล่าวว่าพร้อมที่จะเรียนรู้หลักประชาธิปไตยจากผู้นำทุกท่าน
ปัจจัยที่หลากหลายและคล้ายคลึงกันในระบอบประชาธิปไตย
ในปัจจุบัน โลกต่างเห็นการแผ่ขยายของประชาธิปไตย ซึ่งแป็นรูปแบบหลักของรัฐบาลทั่วโลก การเปลี่ยนแปลง ไม่ว่า จากวิวัฒนาการที่เติบโตหรือโดดเด่นล้วนมาจากเจตนารมณ์เดียวกัน คือ ประชาชนต้องการเหมือนกัน คือ การรับฟังเสียงของประชาชน สิทธิได้รับการคุ้มครอง และนำการเปลี่ยนแปลงที่ดีสู่ชีวิต ซึ่งเหล่านี้เป็นความจริงของความเป็นมนุษย์ที่เป็นสากล ที่แม้กระทั่งในแต่ละประเทศหรือชุมชน ซึ่งอาจแตกต่างกันทั้งวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม แต่หลักการพื้นฐานนี้ยังคงอยู่เหมือนกันทุกที่ ประชาชนต้องการเสรีภาพ เพราะว่าสร้างความรุ่งเรือง รวมทั้งต้องการสิทธิที่ได้รับการคุ้มครอง และเคารพในความเป็นตัวตน แต่เสรีภาพต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบ กล่าวคือ ความจำเป็นของหลักนิติรัฐ สิทธมนุษยชน และความเท่าเทียมกันเพื่อนำทางและบรรลุความฝันของแต่ละคน
หลักนิติรัฐ
หลักนิติรัฐถือเป็นพื้นฐานของประชาธิปไตย ความมั่นคงทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งความสงบเรียบร้อยทางสังคม หลักนิติรัฐที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพจะช่วยปกป้องสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายทำให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจใน กระบวนการและส่งเสริมให้เกิดการแก้ปัญหาอย่างสันติ
หลักนิติรัฐยังให้พื้นที่ทางการเมืองสำหรับการเจรจา การมีส่วนร่วม และการแก้ปัญหาความขัดแย้งในขอบเขตของประชาสังคม ซึ่งทำให้เกิดทางเลือกทางการเมืองอย่างเสรี และการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสงบจากรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งสู่อีก รัฐบาลหนึ่ง หลักนิติรัฐยังระบุให้ผู้นำทางการเมืองต้องตอบสนองความต้องการของประชาชน และคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของปัจเจกบุคคล นอกจากนี้ ความทั่วถึงที่บัญญัติไว้ในหลักนิติรัฐถือเป็นประเด็นสำคัญของประชาธิปไตย เสียงที่หลากหลายในประเทศ ไม่ว่าของกลุ่มคนหรือของบุคคล ส่วนน้อยหรือส่วนมาก ในเมืองหรือชนบทต้องได้รับการพิจารณา เพราะนำความหลากหลายสู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม
การเคารพต่อสิทธิมนุษยชน
สิทธิของประชาชนต้องได้รับการคุ้มครอง หากรัฐบาลประชาธิปไตยนั้น เป็นของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน อย่างแท้จริง สิทธิของประชาชนต้องได้รับการส่งเสริมและคุ้มครองโดยรัฐบาล ประวัติศาสตร์สอนว่า เสรีภาพมักจะถูกกดขี่และละเมิด ประเทศไทยมีประสบการณ์การปฏิวัติหลายครั้ง ที่ต่อต้านความต้องการของประชาชน และเมื่อรัฐบาลมาจากวิถีประชาธิปไตย ต้องมีความมั่นคงและยั่งยืน วิธีการที่ดีที่สุดในการปกป้องประชาธิปไตยคือ การให้พลังแก่ประชาชนในการยึดมั่นและเข้าร่วมในกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งนำมาซึ่งการเลือกตั้ง เมื่อประชาชนมีส่วนร่วม จะสร้างความรู้สึกที่เป็นเจ้าของประชาธิปไตยและปลาบปลื้มในคุณค่า แต่เมือประชาธิปไตยถูกทิ้งขว้างหรือละเมิด ประชาชนจะลุกขึ้นเพื่อต่อสู้ ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ประเทศไทยเมื่อปี 2553 ที่มีแต่การสูญเสีย ทั้งครอบครัวและบุคคลที่เป็นที่รัก และยังมีผู้ได้รับบาดเจ็บและทุกข์ทรมาน ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีกล่าวว่า ได้ร่วมรับรู้กับมารดาและบุตรสาวของประชาชนที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ครั้งนั้น และมีการสูญเสียชีวิต รู้สึกเศร้าใจ และตัดสินใจแน่วแน่ว่าจะไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนั้นขึ้นอีก โดยดำเนินการการปรองดองแห่งชาติ และดำเนินตามกรอบการดำเนินการของสิทธิมนุษยชน และจะดำเนินต่อไปจนกว่าประชาธิปไตยที่แท้จริงเกิดขึ้นในประเทศไทย ทั้งนี้ แม้ว่าพรรคเพื่อไทยของนายกรัฐมนตรีได้รับเสียงข้างมากในรัฐสภา แต่นายกรัฐมนตรียืนยันที่จะรับฟังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด โดยเข้าใจว่าการให้ประชาธิปไตยมีความยืดหยุ่นนั้น ต้องมีเสรีภาพในการแสดงออก และการเคารพต่อความแตกต่างทางความคิดเห็น การเคารพและเข้าใจซึ่งกันและกันในหมู่ประชาชนในสังคม ช่วยป้องกันความขัดแย้งและทะเลาะเบาะแว้งกัน การไม่เลือกปฏิบัติช่วยให้ประชาชนทุกคนรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมโดย รวม ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด ศาสนาใด หรือรายได้เท่าใด
ความเสมอภาคทางโอกาส
การสร้างโอกาสแก่ประชาชนบนพื้นฐานที่เท่าเทียม ทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพํฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญของระบบประชาธิปไตย เพราะเศรษฐกิจที่รุ่งเรือง และศักยภาพของประชาชน นำมาซึ่งฐานะที่ดีขึ้นที่จะรับผิดชอบต่อการใช้สิทธิของ ตนเอง ซึ่งสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุนและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้น ทุกคนจึงต้องได้รับประโยชน์จากการเติบโตและความมั่นคง ซึ่งหมายถึงประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงสิ่งจำเป็นพื้นฐานที่ช่วยส่งเสริมความ มั่นคงของมนุษย์ การศึกษา สาธารณสุขและสวัสดิการอื่นๆ ดังนั้น รัฐบาลไทยจึงได้เริ่มนโยบายที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง นับตั้งแต่ แรงงานขั้นต่ำ การขยายการบริการดูแลสุขภาพถ้วนหน้า การตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และการส่งเสริม SMEs นอกจากนี้ นโยบายด้านการศึกษา เช่น One Tablet Per Child ก็เพื่อให้เด็กสามารถพัฒนาทักษะ ความรู้ เพื่อเป็นผู้ใหญ่ที่รอบรู้ ซึ่งเป็นแกนสำคัญของประชาธิปไตย
โลกาภิบาล (Global Governance)
ในด้านระหว่างประเทศ นายกรัฐมนตรีกล่าวเห็นด้วยกับประธานาธิบดีอินโดนีเซียที่ว่า โลกาภิบาลดึงจุดแข็งจากความจริงที่ว่า ทุกประเทศมีสิทธิมีเสียง และสามารถมีส่วนร่วมได้อย่างเท่าเทียมในประเด็นระหว่างประเทศ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีความยุติธรรม ภาระรับผิดชอบ (Accountability) และประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในเวทีระหว่างประเทศ
ในขณะที่เรากำลังก้าวเข้าสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนหลังปีค.ศ. 2015 (The post 2015 Sustainable Development Goals) เช่น การมีกระบวนการพหุภาคีที่มีประสิทธิภาพ และเป็นประชาธิปไตย จะทำให้ทุกประเทศ ทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก สามารถจัดลำดับเป้าหมายสำคัญของตนให้อยู่ในวาระการพัฒนาหลังปีค.ศ. 2015 ได้
นอกจากนี้ เราจะต้องตระหนักถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในโลกด้วย เช่น ช่องว่างของการพัฒนา การส่งเสริมความริเริ่มการยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ทั้งนี้ ประชาธิปไตยในระดับโลกจะทำให้เกิดความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา ความท้าทายในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันก็ยังสร้างประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นในชาติด้วย ทั้งนี้ ที่สำคัญที่สุด ทุกประเทศจะต้องร่วมมือกันเพื่อให้ประชาธิปไตยอยู่รอด เมื่อถูกคุกคาม ด้วยเหตุผลนี้ นายกรัฐมนตรีจึงแสดงความขอบคุณมิตรทั้งหลายที่ยืนหยัดต่อต้านการยึดอำนาจ รัฐบาลประชาธิปไตยของไทยเมื่อปี 2549 และช่วยสนับสนุนไทยในเส้นทางสู่ประชาธิปไตยที่แท้จริง การรักษาประชาธิปไตยให้คงอยู่ นั้นขึ้นอยู่กับทุกคน และป้องกันความท้าทายต่างๆที่จะต่อต้านประชาธิปไตย
ในตอนท้าย นายกรัฐมนตรีย้ำว่าความมั่นคงเกิดขึ้นได้ด้วย ประชาธิปไตยเท่านั้น ความมั่นคงทางการเมืองช่วยลดความเสี่ยงของความขัดแย้งที่รุนแรง และในบรรยากาศที่มั่นคงนี้ ก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง โดยท้ายที่สุดแล้ว คือความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ในประเทศและในประชาคมโลกนี้
โอ ขอบคุณค่ะ
แต่ภาษานี้มันเป็นภาษาทางการข่าวมากเลย
ดิฉันต้องการให้คุณแปลด้วยตัวคุณเอง ไม่ต้องการคำแปลจากข่าวอ่ะค่ะ มันไม่ได้ใจ
อยากฟังแบบภาษาชาวบ้านอ่ะค่ะ
แล้วที่คุณยกมา ดิฉันว่ามันไม่ค่อยจะเกี่ยวข้องกัน หรือว่าคุณลงบทความไม่หมด
ดิฉันหาคำว่า ซัสสเตนเอเบิล sustainable การพัฒนาอย่างยั่งยืนที่คุณโควทมาไม่เจอ
เจอแต่ที่ชีพูดถึงเรื่องทฤษฎีการเมืองน่ะค่ะ เรื่องหลักนิติรัฐอ่ะ The Rule of law เพราะเห็นว่าเน้นเหลือเกิน
รบกวนอีกครั้งนะคะ
i want the words that reflect yr thought.
Edited by pinkpanda, 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:01.
#28
ตอบ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:58
นายกรัฐมนตรีย้ำประชาธิปไตยมีทั้งความเหมือนและความต่าง
นายกรัฐมนตรีย้ำประชาธิปไตยมีทั้งความเหมือนและความต่าง แต่ยึดหลัก นิติรัฐ การเคารพสิทธิมนุษยชน ความเท่าเทียมทางโอกาสเหมือนกัน พร้อมขอให้ร่วมกันรักษาประชาธิปไตยโดยสนับสนุนรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ตามระบบและวิถีประชาธิปไตย
วันนี้ (8 พ.ย. 55) ณ Nusa Indah Hall / BICC โรงแรม Westin เกาะบาหลี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เข้าร่วมการประชุม Bali Democracy Forum ภายใต้หัวข้อหลัก “Advancing Democratic Principles at the Global Setting: How Democratic Governance Contributes to International Peace and Security, Economic Development and Effective Enjoyment of Human Rights” เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์พัฒนาการประชาธิปไตยในไทยร่วมกับผู้นำและบุคคล สำคัญต่อการส่งเสริมหลักประชาธิปไตย และตอกย้ำการ ยึดมั่นคุณค่าประชาธิปไตยที่เป็นพื้นฐานสำคัญของความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และความรุ่งเรืองของทุกประเทศและของโลก สรุปสาระสำคัญ ดังนี้
นายกรัฐมนตรีกล่าวแสดงความยินดีกับสาธารณรัฐอินโดนีเซียสำหรับการเป็น เจ้าภาพจัดการประชุม Bali Democracy Forum ครั้งที่ 5 ซึ่งเป็นความริเริ่มที่ทำให้ทั่วโลกตระหนักถึงหลักประชาธิปไตย รวมทั้งผลักดันให้เกิดประชาธิปไตยมากขึ้น จากการยกระดับการหารือในลักษณะการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (Forum) เป็นการประชุมระดับสุดยอด (Summit) นั้น แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของความริเริ่มดังกล่าว เช่นเดียวกับความคาดหวังที่สูงขึ้นที่จะได้รับจากการประชุมสุดยอดนี้ด้วย
โดยนายกรัฐมนตรีกล่าวรู้สึกยินดีที่ได้มาเยือนเกาะบาหลีเพื่อเข้าร่วม ประชุม Bali Democracy Forum ทั้งในฐานะหัวหน้าคณะรัฐบาลคนแรกของไทย และในฐานะผู้นำรัฐบาลที่เป็นสตรี นอกจากนี้นายกรัฐมนตรีกล่าวรู้สึกชื่นชมประสบการณ์ในการเป็นผู้นำระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยของผู้นำที่มาเข้าร่วมการประชุมครั้งนี้ ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรียังได้แบ่งปันมุมมองประชาธิปไตยของไทย และกล่าวว่าพร้อมที่จะเรียนรู้หลักประชาธิปไตยจากผู้นำทุกท่าน
ปัจจัยที่หลากหลายและคล้ายคลึงกันในระบอบประชาธิปไตย
ในปัจจุบัน โลกต่างเห็นการแผ่ขยายของประชาธิปไตย ซึ่งแป็นรูปแบบหลักของรัฐบาลทั่วโลก การเปลี่ยนแปลง ไม่ว่า จากวิวัฒนาการที่เติบโตหรือโดดเด่นล้วนมาจากเจตนารมณ์เดียวกัน คือ ประชาชนต้องการเหมือนกัน คือ การรับฟังเสียงของประชาชน สิทธิได้รับการคุ้มครอง และนำการเปลี่ยนแปลงที่ดีสู่ชีวิต ซึ่งเหล่านี้เป็นความจริงของความเป็นมนุษย์ที่เป็นสากล ที่แม้กระทั่งในแต่ละประเทศหรือชุมชน ซึ่งอาจแตกต่างกันทั้งวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม แต่หลักการพื้นฐานนี้ยังคงอยู่เหมือนกันทุกที่ ประชาชนต้องการเสรีภาพ เพราะว่าสร้างความรุ่งเรือง รวมทั้งต้องการสิทธิที่ได้รับการคุ้มครอง และเคารพในความเป็นตัวตน แต่เสรีภาพต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบ กล่าวคือ ความจำเป็นของหลักนิติรัฐ สิทธมนุษยชน และความเท่าเทียมกันเพื่อนำทางและบรรลุความฝันของแต่ละคน
หลักนิติรัฐ
หลักนิติรัฐถือเป็นพื้นฐานของประชาธิปไตย ความมั่นคงทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งความสงบเรียบร้อยทางสังคม หลักนิติรัฐที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพจะช่วยปกป้องสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายทำให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจใน กระบวนการและส่งเสริมให้เกิดการแก้ปัญหาอย่างสันติ
หลักนิติรัฐยังให้พื้นที่ทางการเมืองสำหรับการเจรจา การมีส่วนร่วม และการแก้ปัญหาความขัดแย้งในขอบเขตของประชาสังคม ซึ่งทำให้เกิดทางเลือกทางการเมืองอย่างเสรี และการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสงบจากรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งสู่อีก รัฐบาลหนึ่ง หลักนิติรัฐยังระบุให้ผู้นำทางการเมืองต้องตอบสนองความต้องการของประชาชน และคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของปัจเจกบุคคล นอกจากนี้ ความทั่วถึงที่บัญญัติไว้ในหลักนิติรัฐถือเป็นประเด็นสำคัญของประชาธิปไตย เสียงที่หลากหลายในประเทศ ไม่ว่าของกลุ่มคนหรือของบุคคล ส่วนน้อยหรือส่วนมาก ในเมืองหรือชนบทต้องได้รับการพิจารณา เพราะนำความหลากหลายสู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม
การเคารพต่อสิทธิมนุษยชน
สิทธิของประชาชนต้องได้รับการคุ้มครอง หากรัฐบาลประชาธิปไตยนั้น เป็นของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน อย่างแท้จริง สิทธิของประชาชนต้องได้รับการส่งเสริมและคุ้มครองโดยรัฐบาล ประวัติศาสตร์สอนว่า เสรีภาพมักจะถูกกดขี่และละเมิด ประเทศไทยมีประสบการณ์การปฏิวัติหลายครั้ง ที่ต่อต้านความต้องการของประชาชน และเมื่อรัฐบาลมาจากวิถีประชาธิปไตย ต้องมีความมั่นคงและยั่งยืน วิธีการที่ดีที่สุดในการปกป้องประชาธิปไตยคือ การให้พลังแก่ประชาชนในการยึดมั่นและเข้าร่วมในกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งนำมาซึ่งการเลือกตั้ง เมื่อประชาชนมีส่วนร่วม จะสร้างความรู้สึกที่เป็นเจ้าของประชาธิปไตยและปลาบปลื้มในคุณค่า แต่เมือประชาธิปไตยถูกทิ้งขว้างหรือละเมิด ประชาชนจะลุกขึ้นเพื่อต่อสู้ ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ประเทศไทยเมื่อปี 2553 ที่มีแต่การสูญเสีย ทั้งครอบครัวและบุคคลที่เป็นที่รัก และยังมีผู้ได้รับบาดเจ็บและทุกข์ทรมาน ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีกล่าวว่า ได้ร่วมรับรู้กับมารดาและบุตรสาวของประชาชนที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ครั้งนั้น และมีการสูญเสียชีวิต รู้สึกเศร้าใจ และตัดสินใจแน่วแน่ว่าจะไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนั้นขึ้นอีก โดยดำเนินการการปรองดองแห่งชาติ และดำเนินตามกรอบการดำเนินการของสิทธิมนุษยชน และจะดำเนินต่อไปจนกว่าประชาธิปไตยที่แท้จริงเกิดขึ้นในประเทศไทย ทั้งนี้ แม้ว่าพรรคเพื่อไทยของนายกรัฐมนตรีได้รับเสียงข้างมากในรัฐสภา แต่นายกรัฐมนตรียืนยันที่จะรับฟังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด โดยเข้าใจว่าการให้ประชาธิปไตยมีความยืดหยุ่นนั้น ต้องมีเสรีภาพในการแสดงออก และการเคารพต่อความแตกต่างทางความคิดเห็น การเคารพและเข้าใจซึ่งกันและกันในหมู่ประชาชนในสังคม ช่วยป้องกันความขัดแย้งและทะเลาะเบาะแว้งกัน การไม่เลือกปฏิบัติช่วยให้ประชาชนทุกคนรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมโดย รวม ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด ศาสนาใด หรือรายได้เท่าใด
ความเสมอภาคทางโอกาส
การสร้างโอกาสแก่ประชาชนบนพื้นฐานที่เท่าเทียม ทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพํฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญของระบบประชาธิปไตย เพราะเศรษฐกิจที่รุ่งเรือง และศักยภาพของประชาชน นำมาซึ่งฐานะที่ดีขึ้นที่จะรับผิดชอบต่อการใช้สิทธิของ ตนเอง ซึ่งสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุนและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้น ทุกคนจึงต้องได้รับประโยชน์จากการเติบโตและความมั่นคง ซึ่งหมายถึงประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงสิ่งจำเป็นพื้นฐานที่ช่วยส่งเสริมความ มั่นคงของมนุษย์ การศึกษา สาธารณสุขและสวัสดิการอื่นๆ ดังนั้น รัฐบาลไทยจึงได้เริ่มนโยบายที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง นับตั้งแต่ แรงงานขั้นต่ำ การขยายการบริการดูแลสุขภาพถ้วนหน้า การตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และการส่งเสริม SMEs นอกจากนี้ นโยบายด้านการศึกษา เช่น One Tablet Per Child ก็เพื่อให้เด็กสามารถพัฒนาทักษะ ความรู้ เพื่อเป็นผู้ใหญ่ที่รอบรู้ ซึ่งเป็นแกนสำคัญของประชาธิปไตย
โลกาภิบาล (Global Governance)
ในด้านระหว่างประเทศ นายกรัฐมนตรีกล่าวเห็นด้วยกับประธานาธิบดีอินโดนีเซียที่ว่า โลกาภิบาลดึงจุดแข็งจากความจริงที่ว่า ทุกประเทศมีสิทธิมีเสียง และสามารถมีส่วนร่วมได้อย่างเท่าเทียมในประเด็นระหว่างประเทศ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีความยุติธรรม ภาระรับผิดชอบ (Accountability) และประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในเวทีระหว่างประเทศ
ในขณะที่เรากำลังก้าวเข้าสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนหลังปีค.ศ. 2015 (The post 2015 Sustainable Development Goals) เช่น การมีกระบวนการพหุภาคีที่มีประสิทธิภาพ และเป็นประชาธิปไตย จะทำให้ทุกประเทศ ทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก สามารถจัดลำดับเป้าหมายสำคัญของตนให้อยู่ในวาระการพัฒนาหลังปีค.ศ. 2015 ได้
นอกจากนี้ เราจะต้องตระหนักถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในโลกด้วย เช่น ช่องว่างของการพัฒนา การส่งเสริมความริเริ่มการยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ทั้งนี้ ประชาธิปไตยในระดับโลกจะทำให้เกิดความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา ความท้าทายในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันก็ยังสร้างประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นในชาติด้วย ทั้งนี้ ที่สำคัญที่สุด ทุกประเทศจะต้องร่วมมือกันเพื่อให้ประชาธิปไตยอยู่รอด เมื่อถูกคุกคาม ด้วยเหตุผลนี้ นายกรัฐมนตรีจึงแสดงความขอบคุณมิตรทั้งหลายที่ยืนหยัดต่อต้านการยึดอำนาจ รัฐบาลประชาธิปไตยของไทยเมื่อปี 2549 และช่วยสนับสนุนไทยในเส้นทางสู่ประชาธิปไตยที่แท้จริง การรักษาประชาธิปไตยให้คงอยู่ นั้นขึ้นอยู่กับทุกคน และป้องกันความท้าทายต่างๆที่จะต่อต้านประชาธิปไตย
ในตอนท้าย นายกรัฐมนตรีย้ำว่าความมั่นคงเกิดขึ้นได้ด้วย ประชาธิปไตยเท่านั้น ความมั่นคงทางการเมืองช่วยลดความเสี่ยงของความขัดแย้งที่รุนแรง และในบรรยากาศที่มั่นคงนี้ ก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง โดยท้ายที่สุดแล้ว คือความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ในประเทศและในประชาคมโลกนี้
ด้วยความเคารพครับ
ผมว่าที่คุณยกมา มันไม่ใช่การแปลสิ่งที่คุณปูพูดครับ
ถ้าแปลไม่ออก บอกตรงๆได้ครับ
#29
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:15
นายกรัฐมนตรีย้ำประชาธิปไตยมีทั้งความเหมือนและความต่าง
นายกรัฐมนตรีย้ำประชาธิปไตยมีทั้งความเหมือนและความต่าง แต่ยึดหลัก นิติรัฐ การเคารพสิทธิมนุษยชน ความเท่าเทียมทางโอกาสเหมือนกัน พร้อมขอให้ร่วมกันรักษาประชาธิปไตยโดยสนับสนุนรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ตามระบบและวิถีประชาธิปไตย
วันนี้ (8 พ.ย. 55) ณ Nusa Indah Hall / BICC โรงแรม Westin เกาะบาหลี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เข้าร่วมการประชุม Bali Democracy Forum ภายใต้หัวข้อหลัก “Advancing Democratic Principles at the Global Setting: How Democratic Governance Contributes to International Peace and Security, Economic Development and Effective Enjoyment of Human Rights” เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์พัฒนาการประชาธิปไตยในไทยร่วมกับผู้นำและบุคคล สำคัญต่อการส่งเสริมหลักประชาธิปไตย และตอกย้ำการ ยึดมั่นคุณค่าประชาธิปไตยที่เป็นพื้นฐานสำคัญของความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และความรุ่งเรืองของทุกประเทศและของโลก สรุปสาระสำคัญ ดังนี้
นายกรัฐมนตรีกล่าวแสดงความยินดีกับสาธารณรัฐอินโดนีเซียสำหรับการเป็น เจ้าภาพจัดการประชุม Bali Democracy Forum ครั้งที่ 5 ซึ่งเป็นความริเริ่มที่ทำให้ทั่วโลกตระหนักถึงหลักประชาธิปไตย รวมทั้งผลักดันให้เกิดประชาธิปไตยมากขึ้น จากการยกระดับการหารือในลักษณะการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (Forum) เป็นการประชุมระดับสุดยอด (Summit) นั้น แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของความริเริ่มดังกล่าว เช่นเดียวกับความคาดหวังที่สูงขึ้นที่จะได้รับจากการประชุมสุดยอดนี้ด้วย
โดยนายกรัฐมนตรีกล่าวรู้สึกยินดีที่ได้มาเยือนเกาะบาหลีเพื่อเข้าร่วม ประชุม Bali Democracy Forum ทั้งในฐานะหัวหน้าคณะรัฐบาลคนแรกของไทย และในฐานะผู้นำรัฐบาลที่เป็นสตรี นอกจากนี้นายกรัฐมนตรีกล่าวรู้สึกชื่นชมประสบการณ์ในการเป็นผู้นำระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยของผู้นำที่มาเข้าร่วมการประชุมครั้งนี้ ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรียังได้แบ่งปันมุมมองประชาธิปไตยของไทย และกล่าวว่าพร้อมที่จะเรียนรู้หลักประชาธิปไตยจากผู้นำทุกท่าน
ปัจจัยที่หลากหลายและคล้ายคลึงกันในระบอบประชาธิปไตย
ในปัจจุบัน โลกต่างเห็นการแผ่ขยายของประชาธิปไตย ซึ่งแป็นรูปแบบหลักของรัฐบาลทั่วโลก การเปลี่ยนแปลง ไม่ว่า จากวิวัฒนาการที่เติบโตหรือโดดเด่นล้วนมาจากเจตนารมณ์เดียวกัน คือ ประชาชนต้องการเหมือนกัน คือ การรับฟังเสียงของประชาชน สิทธิได้รับการคุ้มครอง และนำการเปลี่ยนแปลงที่ดีสู่ชีวิต ซึ่งเหล่านี้เป็นความจริงของความเป็นมนุษย์ที่เป็นสากล ที่แม้กระทั่งในแต่ละประเทศหรือชุมชน ซึ่งอาจแตกต่างกันทั้งวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม แต่หลักการพื้นฐานนี้ยังคงอยู่เหมือนกันทุกที่ ประชาชนต้องการเสรีภาพ เพราะว่าสร้างความรุ่งเรือง รวมทั้งต้องการสิทธิที่ได้รับการคุ้มครอง และเคารพในความเป็นตัวตน แต่เสรีภาพต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบ กล่าวคือ ความจำเป็นของหลักนิติรัฐ สิทธมนุษยชน และความเท่าเทียมกันเพื่อนำทางและบรรลุความฝันของแต่ละคน
หลักนิติรัฐ
หลักนิติรัฐถือเป็นพื้นฐานของประชาธิปไตย ความมั่นคงทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งความสงบเรียบร้อยทางสังคม หลักนิติรัฐที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพจะช่วยปกป้องสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายทำให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจใน กระบวนการและส่งเสริมให้เกิดการแก้ปัญหาอย่างสันติ
หลักนิติรัฐยังให้พื้นที่ทางการเมืองสำหรับการเจรจา การมีส่วนร่วม และการแก้ปัญหาความขัดแย้งในขอบเขตของประชาสังคม ซึ่งทำให้เกิดทางเลือกทางการเมืองอย่างเสรี และการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสงบจากรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งสู่อีก รัฐบาลหนึ่ง หลักนิติรัฐยังระบุให้ผู้นำทางการเมืองต้องตอบสนองความต้องการของประชาชน และคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของปัจเจกบุคคล นอกจากนี้ ความทั่วถึงที่บัญญัติไว้ในหลักนิติรัฐถือเป็นประเด็นสำคัญของประชาธิปไตย เสียงที่หลากหลายในประเทศ ไม่ว่าของกลุ่มคนหรือของบุคคล ส่วนน้อยหรือส่วนมาก ในเมืองหรือชนบทต้องได้รับการพิจารณา เพราะนำความหลากหลายสู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม
การเคารพต่อสิทธิมนุษยชน
สิทธิของประชาชนต้องได้รับการคุ้มครอง หากรัฐบาลประชาธิปไตยนั้น เป็นของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน อย่างแท้จริง สิทธิของประชาชนต้องได้รับการส่งเสริมและคุ้มครองโดยรัฐบาล ประวัติศาสตร์สอนว่า เสรีภาพมักจะถูกกดขี่และละเมิด ประเทศไทยมีประสบการณ์การปฏิวัติหลายครั้ง ที่ต่อต้านความต้องการของประชาชน และเมื่อรัฐบาลมาจากวิถีประชาธิปไตย ต้องมีความมั่นคงและยั่งยืน วิธีการที่ดีที่สุดในการปกป้องประชาธิปไตยคือ การให้พลังแก่ประชาชนในการยึดมั่นและเข้าร่วมในกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งนำมาซึ่งการเลือกตั้ง เมื่อประชาชนมีส่วนร่วม จะสร้างความรู้สึกที่เป็นเจ้าของประชาธิปไตยและปลาบปลื้มในคุณค่า แต่เมือประชาธิปไตยถูกทิ้งขว้างหรือละเมิด ประชาชนจะลุกขึ้นเพื่อต่อสู้ ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ประเทศไทยเมื่อปี 2553 ที่มีแต่การสูญเสีย ทั้งครอบครัวและบุคคลที่เป็นที่รัก และยังมีผู้ได้รับบาดเจ็บและทุกข์ทรมาน ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีกล่าวว่า ได้ร่วมรับรู้กับมารดาและบุตรสาวของประชาชนที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ครั้งนั้น และมีการสูญเสียชีวิต รู้สึกเศร้าใจ และตัดสินใจแน่วแน่ว่าจะไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนั้นขึ้นอีก โดยดำเนินการการปรองดองแห่งชาติ และดำเนินตามกรอบการดำเนินการของสิทธิมนุษยชน และจะดำเนินต่อไปจนกว่าประชาธิปไตยที่แท้จริงเกิดขึ้นในประเทศไทย ทั้งนี้ แม้ว่าพรรคเพื่อไทยของนายกรัฐมนตรีได้รับเสียงข้างมากในรัฐสภา แต่นายกรัฐมนตรียืนยันที่จะรับฟังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด โดยเข้าใจว่าการให้ประชาธิปไตยมีความยืดหยุ่นนั้น ต้องมีเสรีภาพในการแสดงออก และการเคารพต่อความแตกต่างทางความคิดเห็น การเคารพและเข้าใจซึ่งกันและกันในหมู่ประชาชนในสังคม ช่วยป้องกันความขัดแย้งและทะเลาะเบาะแว้งกัน การไม่เลือกปฏิบัติช่วยให้ประชาชนทุกคนรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมโดย รวม ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด ศาสนาใด หรือรายได้เท่าใด
ความเสมอภาคทางโอกาส
การสร้างโอกาสแก่ประชาชนบนพื้นฐานที่เท่าเทียม ทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพํฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญของระบบประชาธิปไตย เพราะเศรษฐกิจที่รุ่งเรือง และศักยภาพของประชาชน นำมาซึ่งฐานะที่ดีขึ้นที่จะรับผิดชอบต่อการใช้สิทธิของ ตนเอง ซึ่งสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุนและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้น ทุกคนจึงต้องได้รับประโยชน์จากการเติบโตและความมั่นคง ซึ่งหมายถึงประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงสิ่งจำเป็นพื้นฐานที่ช่วยส่งเสริมความ มั่นคงของมนุษย์ การศึกษา สาธารณสุขและสวัสดิการอื่นๆ ดังนั้น รัฐบาลไทยจึงได้เริ่มนโยบายที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง นับตั้งแต่ แรงงานขั้นต่ำ การขยายการบริการดูแลสุขภาพถ้วนหน้า การตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และการส่งเสริม SMEs นอกจากนี้ นโยบายด้านการศึกษา เช่น One Tablet Per Child ก็เพื่อให้เด็กสามารถพัฒนาทักษะ ความรู้ เพื่อเป็นผู้ใหญ่ที่รอบรู้ ซึ่งเป็นแกนสำคัญของประชาธิปไตย
โลกาภิบาล (Global Governance)
ในด้านระหว่างประเทศ นายกรัฐมนตรีกล่าวเห็นด้วยกับประธานาธิบดีอินโดนีเซียที่ว่า โลกาภิบาลดึงจุดแข็งจากความจริงที่ว่า ทุกประเทศมีสิทธิมีเสียง และสามารถมีส่วนร่วมได้อย่างเท่าเทียมในประเด็นระหว่างประเทศ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีความยุติธรรม ภาระรับผิดชอบ (Accountability) และประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในเวทีระหว่างประเทศ
ในขณะที่เรากำลังก้าวเข้าสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนหลังปีค.ศ. 2015 (The post 2015 Sustainable Development Goals) เช่น การมีกระบวนการพหุภาคีที่มีประสิทธิภาพ และเป็นประชาธิปไตย จะทำให้ทุกประเทศ ทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก สามารถจัดลำดับเป้าหมายสำคัญของตนให้อยู่ในวาระการพัฒนาหลังปีค.ศ. 2015 ได้
นอกจากนี้ เราจะต้องตระหนักถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในโลกด้วย เช่น ช่องว่างของการพัฒนา การส่งเสริมความริเริ่มการยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ทั้งนี้ ประชาธิปไตยในระดับโลกจะทำให้เกิดความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา ความท้าทายในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันก็ยังสร้างประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นในชาติด้วย ทั้งนี้ ที่สำคัญที่สุด ทุกประเทศจะต้องร่วมมือกันเพื่อให้ประชาธิปไตยอยู่รอด เมื่อถูกคุกคาม ด้วยเหตุผลนี้ นายกรัฐมนตรีจึงแสดงความขอบคุณมิตรทั้งหลายที่ยืนหยัดต่อต้านการยึดอำนาจ รัฐบาลประชาธิปไตยของไทยเมื่อปี 2549 และช่วยสนับสนุนไทยในเส้นทางสู่ประชาธิปไตยที่แท้จริง การรักษาประชาธิปไตยให้คงอยู่ นั้นขึ้นอยู่กับทุกคน และป้องกันความท้าทายต่างๆที่จะต่อต้านประชาธิปไตย
ในตอนท้าย นายกรัฐมนตรีย้ำว่าความมั่นคงเกิดขึ้นได้ด้วย ประชาธิปไตยเท่านั้น ความมั่นคงทางการเมืองช่วยลดความเสี่ยงของความขัดแย้งที่รุนแรง และในบรรยากาศที่มั่นคงนี้ ก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง โดยท้ายที่สุดแล้ว คือความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ในประเทศและในประชาคมโลกนี้
ด้วยความเคารพครับ
ผมว่าที่คุณยกมา มันไม่ใช่การแปลสิ่งที่คุณปูพูดครับ
ถ้าแปลไม่ออก บอกตรงๆได้ครับ
ตามลิงค์ที่ให้มา ตามไปอ่านแล้ว ของท่านอื่นๆ ดูเป็นธรรมชาติมากกว่า
ของเราเน้นประดิษฐ์ถ้อยคำ
เราชอบของคนนี้
Timor Leste Prime Minister Xanana Gusmao said that democracy cannot be imposed on a country, ignoring its entire historical, cultural and economic context.
“Instead, it is a process that must be nurtured continuously, and which must respect the timing and the idiosyncrasies of each society,” the former guerrilla leader told the forum.
กับของคนนี้
Afghanistan Hamid Karzai admitted that democracy was not only a manifestation of the quest for freedom, equality and self-determination, but also a result of the emergence of a globalized society, social activation and revolution in communication technologies.
“On the other hand, while the universal ideals of democracy are paramount, the question of democracy as a just and desirable system of government is far from settled,” he the forum’s first general debate.
Karzai maintained that the real test of the desirability of a democratic system is not only in bestowing individual freedoms, but actually to the degree in which it promotes inclusiveness, stability and progress.
“Democracy can be the most desirable mode of government as long as it is based on a balance between the realization of universal democratic ideals on the one hand, and the reality of indigenous conditions and circumstances,” he said.
สมดุลของคำว่าประชาธิปไตย มันออกมาจากธรรมชาติ มาจากตัวตน ความเป็นมนุษย์จริงๆ
ไม่ใช่ออกมาจากทฤษฎีแบบนกแก้วนกขุนทองอ่ะ
- แมวกระป๋อง, ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่ and Benten like this
#30
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:19
เชื่อด้วยเหรอว่านางโย๊กพูดเอง?
เขียนเรื่องการเมือง : ดราม่า ,เขียนเรื่องสังคม : ดราม่า เขียนเรื่องบันเทิง : ดราม่า
แต่พอโพสเรื่องหื่น : มีความเห็นเป็นไปทางเดียวกันเสมอ >3<
#31
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:20
#32
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:21
(18+)
ด้วยความเคารพครับ
ผมว่าที่คุณยกมา มันไม่ใช่การแปลสิ่งที่คุณปูพูดครับ
ถ้าแปลไม่ออก บอกตรงๆได้ครับ
you once, twice ....three times a lady
คุณ jagger ก็เช่นเดียวกันครับ ถ้าแปลที่ผมเขียนไม่ได้
ผมจะแปลเป็นไทยให้ฟังก็ได้ครับ
สักครั้ง หรือสอง .........น้อยไป
สามครั้งครับ สำหรับคุณผู้หญิง
Everyone thinks of changing the world, but no one thinks of changing himself. Leo Tolstoy
#33
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:26
นายกรัฐมนตรีย้ำประชาธิปไตยมีทั้งความเหมือนและความต่าง
นายกรัฐมนตรีย้ำประชาธิปไตยมีทั้งความเหมือนและความต่าง แต่ยึดหลัก นิติรัฐ การเคารพสิทธิมนุษยชน ความเท่าเทียมทางโอกาสเหมือนกัน พร้อมขอให้ร่วมกันรักษาประชาธิปไตยโดยสนับสนุนรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ตามระบบและวิถีประชาธิปไตย
วันนี้ (8 พ.ย. 55) ณ Nusa Indah Hall / BICC โรงแรม Westin เกาะบาหลี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เข้าร่วมการประชุม Bali Democracy Forum ภายใต้หัวข้อหลัก “Advancing Democratic Principles at the Global Setting: How Democratic Governance Contributes to International Peace and Security, Economic Development and Effective Enjoyment of Human Rights” เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์พัฒนาการประชาธิปไตยในไทยร่วมกับผู้นำและบุคคล สำคัญต่อการส่งเสริมหลักประชาธิปไตย และตอกย้ำการ ยึดมั่นคุณค่าประชาธิปไตยที่เป็นพื้นฐานสำคัญของความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และความรุ่งเรืองของทุกประเทศและของโลก สรุปสาระสำคัญ ดังนี้
นายกรัฐมนตรีกล่าวแสดงความยินดีกับสาธารณรัฐอินโดนีเซียสำหรับการเป็น เจ้าภาพจัดการประชุม Bali Democracy Forum ครั้งที่ 5 ซึ่งเป็นความริเริ่มที่ทำให้ทั่วโลกตระหนักถึงหลักประชาธิปไตย รวมทั้งผลักดันให้เกิดประชาธิปไตยมากขึ้น จากการยกระดับการหารือในลักษณะการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (Forum) เป็นการประชุมระดับสุดยอด (Summit) นั้น แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของความริเริ่มดังกล่าว เช่นเดียวกับความคาดหวังที่สูงขึ้นที่จะได้รับจากการประชุมสุดยอดนี้ด้วย
โดยนายกรัฐมนตรีกล่าวรู้สึกยินดีที่ได้มาเยือนเกาะบาหลีเพื่อเข้าร่วม ประชุม Bali Democracy Forum ทั้งในฐานะหัวหน้าคณะรัฐบาลคนแรกของไทย และในฐานะผู้นำรัฐบาลที่เป็นสตรี นอกจากนี้นายกรัฐมนตรีกล่าวรู้สึกชื่นชมประสบการณ์ในการเป็นผู้นำระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยของผู้นำที่มาเข้าร่วมการประชุมครั้งนี้ ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรียังได้แบ่งปันมุมมองประชาธิปไตยของไทย และกล่าวว่าพร้อมที่จะเรียนรู้หลักประชาธิปไตยจากผู้นำทุกท่าน
ปัจจัยที่หลากหลายและคล้ายคลึงกันในระบอบประชาธิปไตย
ในปัจจุบัน โลกต่างเห็นการแผ่ขยายของประชาธิปไตย ซึ่งแป็นรูปแบบหลักของรัฐบาลทั่วโลก การเปลี่ยนแปลง ไม่ว่า จากวิวัฒนาการที่เติบโตหรือโดดเด่นล้วนมาจากเจตนารมณ์เดียวกัน คือ ประชาชนต้องการเหมือนกัน คือ การรับฟังเสียงของประชาชน สิทธิได้รับการคุ้มครอง และนำการเปลี่ยนแปลงที่ดีสู่ชีวิต ซึ่งเหล่านี้เป็นความจริงของความเป็นมนุษย์ที่เป็นสากล ที่แม้กระทั่งในแต่ละประเทศหรือชุมชน ซึ่งอาจแตกต่างกันทั้งวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม แต่หลักการพื้นฐานนี้ยังคงอยู่เหมือนกันทุกที่ ประชาชนต้องการเสรีภาพ เพราะว่าสร้างความรุ่งเรือง รวมทั้งต้องการสิทธิที่ได้รับการคุ้มครอง และเคารพในความเป็นตัวตน แต่เสรีภาพต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบ กล่าวคือ ความจำเป็นของหลักนิติรัฐ สิทธมนุษยชน และความเท่าเทียมกันเพื่อนำทางและบรรลุความฝันของแต่ละคน
หลักนิติรัฐ
หลักนิติรัฐถือเป็นพื้นฐานของประชาธิปไตย ความมั่นคงทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งความสงบเรียบร้อยทางสังคม หลักนิติรัฐที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพจะช่วยปกป้องสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายทำให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจใน กระบวนการและส่งเสริมให้เกิดการแก้ปัญหาอย่างสันติ
หลักนิติรัฐยังให้พื้นที่ทางการเมืองสำหรับการเจรจา การมีส่วนร่วม และการแก้ปัญหาความขัดแย้งในขอบเขตของประชาสังคม ซึ่งทำให้เกิดทางเลือกทางการเมืองอย่างเสรี และการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสงบจากรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งสู่อีก รัฐบาลหนึ่ง หลักนิติรัฐยังระบุให้ผู้นำทางการเมืองต้องตอบสนองความต้องการของประชาชน และคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของปัจเจกบุคคล นอกจากนี้ ความทั่วถึงที่บัญญัติไว้ในหลักนิติรัฐถือเป็นประเด็นสำคัญของประชาธิปไตย เสียงที่หลากหลายในประเทศ ไม่ว่าของกลุ่มคนหรือของบุคคล ส่วนน้อยหรือส่วนมาก ในเมืองหรือชนบทต้องได้รับการพิจารณา เพราะนำความหลากหลายสู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม
การเคารพต่อสิทธิมนุษยชน
สิทธิของประชาชนต้องได้รับการคุ้มครอง หากรัฐบาลประชาธิปไตยนั้น เป็นของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน อย่างแท้จริง สิทธิของประชาชนต้องได้รับการส่งเสริมและคุ้มครองโดยรัฐบาล ประวัติศาสตร์สอนว่า เสรีภาพมักจะถูกกดขี่และละเมิด ประเทศไทยมีประสบการณ์การปฏิวัติหลายครั้ง ที่ต่อต้านความต้องการของประชาชน และเมื่อรัฐบาลมาจากวิถีประชาธิปไตย ต้องมีความมั่นคงและยั่งยืน วิธีการที่ดีที่สุดในการปกป้องประชาธิปไตยคือ การให้พลังแก่ประชาชนในการยึดมั่นและเข้าร่วมในกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งนำมาซึ่งการเลือกตั้ง เมื่อประชาชนมีส่วนร่วม จะสร้างความรู้สึกที่เป็นเจ้าของประชาธิปไตยและปลาบปลื้มในคุณค่า แต่เมือประชาธิปไตยถูกทิ้งขว้างหรือละเมิด ประชาชนจะลุกขึ้นเพื่อต่อสู้ ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ประเทศไทยเมื่อปี 2553 ที่มีแต่การสูญเสีย ทั้งครอบครัวและบุคคลที่เป็นที่รัก และยังมีผู้ได้รับบาดเจ็บและทุกข์ทรมาน ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีกล่าวว่า ได้ร่วมรับรู้กับมารดาและบุตรสาวของประชาชนที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ครั้งนั้น และมีการสูญเสียชีวิต รู้สึกเศร้าใจ และตัดสินใจแน่วแน่ว่าจะไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนั้นขึ้นอีก โดยดำเนินการการปรองดองแห่งชาติ และดำเนินตามกรอบการดำเนินการของสิทธิมนุษยชน และจะดำเนินต่อไปจนกว่าประชาธิปไตยที่แท้จริงเกิดขึ้นในประเทศไทย ทั้งนี้ แม้ว่าพรรคเพื่อไทยของนายกรัฐมนตรีได้รับเสียงข้างมากในรัฐสภา แต่นายกรัฐมนตรียืนยันที่จะรับฟังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด โดยเข้าใจว่าการให้ประชาธิปไตยมีความยืดหยุ่นนั้น ต้องมีเสรีภาพในการแสดงออก และการเคารพต่อความแตกต่างทางความคิดเห็น การเคารพและเข้าใจซึ่งกันและกันในหมู่ประชาชนในสังคม ช่วยป้องกันความขัดแย้งและทะเลาะเบาะแว้งกัน การไม่เลือกปฏิบัติช่วยให้ประชาชนทุกคนรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมโดย รวม ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด ศาสนาใด หรือรายได้เท่าใด
ความเสมอภาคทางโอกาส
การสร้างโอกาสแก่ประชาชนบนพื้นฐานที่เท่าเทียม ทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพํฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญของระบบประชาธิปไตย เพราะเศรษฐกิจที่รุ่งเรือง และศักยภาพของประชาชน นำมาซึ่งฐานะที่ดีขึ้นที่จะรับผิดชอบต่อการใช้สิทธิของ ตนเอง ซึ่งสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุนและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้น ทุกคนจึงต้องได้รับประโยชน์จากการเติบโตและความมั่นคง ซึ่งหมายถึงประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงสิ่งจำเป็นพื้นฐานที่ช่วยส่งเสริมความ มั่นคงของมนุษย์ การศึกษา สาธารณสุขและสวัสดิการอื่นๆ ดังนั้น รัฐบาลไทยจึงได้เริ่มนโยบายที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง นับตั้งแต่ แรงงานขั้นต่ำ การขยายการบริการดูแลสุขภาพถ้วนหน้า การตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และการส่งเสริม SMEs นอกจากนี้ นโยบายด้านการศึกษา เช่น One Tablet Per Child ก็เพื่อให้เด็กสามารถพัฒนาทักษะ ความรู้ เพื่อเป็นผู้ใหญ่ที่รอบรู้ ซึ่งเป็นแกนสำคัญของประชาธิปไตย
โลกาภิบาล (Global Governance)
ในด้านระหว่างประเทศ นายกรัฐมนตรีกล่าวเห็นด้วยกับประธานาธิบดีอินโดนีเซียที่ว่า โลกาภิบาลดึงจุดแข็งจากความจริงที่ว่า ทุกประเทศมีสิทธิมีเสียง และสามารถมีส่วนร่วมได้อย่างเท่าเทียมในประเด็นระหว่างประเทศ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีความยุติธรรม ภาระรับผิดชอบ (Accountability) และประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในเวทีระหว่างประเทศ
ในขณะที่เรากำลังก้าวเข้าสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนหลังปีค.ศ. 2015 (The post 2015 Sustainable Development Goals) เช่น การมีกระบวนการพหุภาคีที่มีประสิทธิภาพ และเป็นประชาธิปไตย จะทำให้ทุกประเทศ ทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก สามารถจัดลำดับเป้าหมายสำคัญของตนให้อยู่ในวาระการพัฒนาหลังปีค.ศ. 2015 ได้
นอกจากนี้ เราจะต้องตระหนักถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในโลกด้วย เช่น ช่องว่างของการพัฒนา การส่งเสริมความริเริ่มการยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ทั้งนี้ ประชาธิปไตยในระดับโลกจะทำให้เกิดความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา ความท้าทายในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันก็ยังสร้างประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นในชาติด้วย ทั้งนี้ ที่สำคัญที่สุด ทุกประเทศจะต้องร่วมมือกันเพื่อให้ประชาธิปไตยอยู่รอด เมื่อถูกคุกคาม ด้วยเหตุผลนี้ นายกรัฐมนตรีจึงแสดงความขอบคุณมิตรทั้งหลายที่ยืนหยัดต่อต้านการยึดอำนาจ รัฐบาลประชาธิปไตยของไทยเมื่อปี 2549 และช่วยสนับสนุนไทยในเส้นทางสู่ประชาธิปไตยที่แท้จริง การรักษาประชาธิปไตยให้คงอยู่ นั้นขึ้นอยู่กับทุกคน และป้องกันความท้าทายต่างๆที่จะต่อต้านประชาธิปไตย
ในตอนท้าย นายกรัฐมนตรีย้ำว่าความมั่นคงเกิดขึ้นได้ด้วย ประชาธิปไตยเท่านั้น ความมั่นคงทางการเมืองช่วยลดความเสี่ยงของความขัดแย้งที่รุนแรง และในบรรยากาศที่มั่นคงนี้ ก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง โดยท้ายที่สุดแล้ว คือความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ในประเทศและในประชาคมโลกนี้
โปกช่วยบอกด้วย ว่าตรงไหนที่โปกคิดว่านางยกพูดดีที่สุดกว่าผู้นำทุกคน
เพราะถ้าโปกยกข้อความออกมาจริงๆไม่ได้
แปลว่าโปก "เขียนตามใบบอกให้เขียน" ไม่ได้อ่านสุนทรพจน์ของทุกคนจริงๆ
นั่นแปลว่า...โปกโกหก
Edited by ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่, 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:29.
#34
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:33
ลองไปดูสิ่งที่ผู้นำชาติอื่นพูดแล้วมาเปรียบเทียบกันดูนะครับ ผมว่าผู้นำไทยพูดได้ดีที่สุดนะ
ผู้นำไทยคนไหนล่ะ
ถ้าอภิสิทธิ์ผมเชื่อ
แต่Eกลวงนี่พูดเป็นแต่บทละครปาหี่ให้คนขำเท่านั้นแหละ
(ไม่ขำเฉพาะคนไทยนะ แต่มุขชี ขำกันได้ทั้งโลกเลยล่ะ INTERโคตรๆ )
- ช่วยกันเราอยู่ likes this
#35
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:33
#36
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:37
เหตุผลที่ผมคิดว่านายกพูดได้ดีที่สุด เพราะคนอื่นพูดถึงประชาธิปไตยในเชิงอุดมคติของตนเองมากเกินไป แต่นายกไทยพูดถึงประชาธิปไตยที่ยึดหลักกฎหมายหรือ Rule of Law มันมีหลักการและจับต้องได้มากกว่าผู้นำท่านอื่นนะครับ ทีอย่างงี้ สมเกียรติ อ่อนวิมล หายหัวไปไหน ไม่เห็นออกมาวิจารณ์นายกตอนพูดได้ดีๆแบบนี้บ้างเลย
แน่ใจหรือคะ
ลองกลับไปอ่านใหม่ให้ดีๆ นะคะ
สองคนที่ดิฉันเลือกมาให้ก็ได้ค่ะ แล้วคุณจะรู้ว่าคำว่าประชาธิปไตย มันเป็นอย่างไร
#37
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:39
และที่สำคัญที่สุด ที่นางพูดนะ นางเข้าใจไหม
เพราะเที่ยวไปอวดภูมิสอนคนอื่นเขา แต่พฤติกรรมที่บ้านตัวเอง พวกตัวเองเที่ยวไปทุบรถ
ยกขบวนไปกดดันฝ่ายตรงข้าม เล่นพรรคเล่นพวก ละเมิดกฎหมายใช้กฎหมู่ หรือแม้แต่พี่ชายตัวเองที่หนีคดีอยู่นะ
อย่างนี้มันบอกตัวตนของตัวเองได้ดีกว่าและชัดกว่าเยอะ
“Mutual respect and understanding among peoples in society helps prevent disagreement and conflict. Non-discrimination helps all people feel that they are part of the whole society regardless of race, religion or income,” Yingluck stated.
Edited by Hilton(ปาล์มาลี), 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 00:49.
สนามบินสุวรรณภูมิ ไม่ใช่ของทักษิณ แต่มาจากเงินภาษีของหนู..ของคนไทยทุกคน.. แตงโม เวทีราชดำเนิน 5/11/2013
ผมยังยอมติดคุก 15 วัน แล้วพวกคุณมานิรโทษอะไรกัน .. เต๋า สมชาย เวทีราชดำเนิน 6/11/2013
#38
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 01:01
#39
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 01:05
ถามหน่อยเถอะไอ้ที่ไปพูดว่า จะไกล่เกลีย จีน กับ ญี่ปุ่น น่ะ มันทำอะไรบ้าง นอกจากอ่านตามโพยที่เค้าเขียนมาให้
รู้ว่า โพสต์แล้วได้ตังค์ แต่อย่างน้อย น่าจะมีศักดิ์ศรีบ้าง นะโปก เคยเห็นคนทำมาหากิน ขายของ ทำอาชีพสุจริตมั้ย มันเป็นความภูมิใจอย่างนึงนะโปก
อย่างน้อยเค้าก็ไม่ขายศักดิ์ศรีความเป็นคน เพื่อไอ้แม้วโกงชาติ กับอีปูซุกหุ้นให้พี่มันหรอกนะ
- marrykate, blackdragon, pinkpanda and 1 other like this
#40
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 01:07
นี่มันอำมาตย์ชัดๆ
#42
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 02:10
เหตุผลที่ผมคิดว่านายกพูดได้ดีที่สุด เพราะคนอื่นพูดถึงประชาธิปไตยในเชิงอุดมคติของตนเองมากเกินไป แต่นายกไทยพูดถึงประชาธิปไตยที่ยึดหลักกฎหมายหรือ Rule of Law มันมีหลักการและจับต้องได้มากกว่าผู้นำท่านอื่นนะครับ ทีอย่างงี้ สมเกียรติ อ่อนวิมล หายหัวไปไหน ไม่เห็นออกมาวิจารณ์นายกตอนพูดได้ดีๆแบบนี้บ้างเลย
นางยกหมายถึงประชาธิปไตยแบบยึดหลักกฎหมายใช่ไหม
ได้เลย จัดให้
อันนี้หมาดๆ 29 ตค. เสื้อแดงที่รักของนางยกแห่ง "ประชาธิปไตยภายใต้กฎหมาย" บ้านมารดาปูเหรอ ถึงได้ชุมนุมปิดถนนขนาดนั้น
- marrykate, หนูอ้อย and Lucas Leiva Benitez Rodger like this
#43
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 07:30
เหตุผลที่ผมคิดว่านายกพูดได้ดีที่สุด เพราะคนอื่นพูดถึงประชาธิปไตยในเชิงอุดมคติของตนเองมากเกินไป แต่นายกไทยพูดถึงประชาธิปไตยที่ยึดหลักกฎหมายหรือ Rule of Law มันมีหลักการและจับต้องได้มากกว่าผู้นำท่านอื่นนะครับ ทีอย่างงี้ สมเกียรติ อ่อนวิมล หายหัวไปไหน ไม่เห็นออกมาวิจารณ์นายกตอนพูดได้ดีๆแบบนี้บ้างเลย
แน่ใจหรือว่านาโย้ะพูดได้ขนาดนี้ พูดแบบนกแก้วไม่ว่า
#45
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 08:09
เหรอลองไปดูสิ่งที่ผู้นำชาติอื่นพูดแล้วมาเปรียบเทียบกันดูนะครับ ผมว่าผู้นำไทยพูดได้ดีที่สุดนะ
#46
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 08:17
ก็รู้ๆกันอยู่ ว่ามันอ่านตามทุกบรรทัดเป็นอย่างเดียว....................
แท๊งกิ้ว ทีไทม์.............
#47
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 09:14
ลองไปดูสิ่งที่ผู้นำชาติอื่นพูดแล้วมาเปรียบเทียบกันดูนะครับ ผมว่าผู้นำไทยพูดได้ดีที่สุดนะ
โธ่ ไอ้ตูดหมึก
ถึงนางยกพูดผิดกี่ครั้งต่อกี่ครั้ง และทุกครั้งที่พูด ตรูก็เห็นแต่เมริงยกก้นนางยกทั้งปี
แล้วเมริงจะหาคำไหนมาเปรียบเทียบกับผู้นำประเทศอื่น แค่นี้ก็ขายหน้าชาวโลกเต็มทนแล้ว
#48
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 09:40
เอาเป็นว่าแค่ "อ่าน" ที่เค้าเขียนมาให้ไม่ตะกุกตะกัก
ให้เป็นที่น่าสังเวชใจแก่คนฟังก็บุญโขแล้วหละ
ยังไม่ต้องพูดถึงว่าเข้าใจ ในสิ่งที่ "อ่าน" อยู่มากน้อยแค่ไหนนะ
เพราะว่ามันตรงข้ามกับความเป็นจริงอย่างไร อย่านึกว่าคนเค้าไม่รู้
Edited by marrykate, 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 09:47.
#49
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 09:44
1. แปะ
2. อวย
3. แปะ
4. อวย
.
.
.
.
.
.
สมองมีไว้คั่นหูเหรอจ๊ะ
- ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่ likes this
#50
ตอบ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 09:51
ผู้ใช้ 0 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน