![Photo](http://static.serithai.net/webboard/uploads/profile/photo-thumb-2803.jpg?_r=0)
อ่านหน่อยก็ดีนะครับ ก่อนที่เงินในบัญชีของท่านจะกลายเป็นกระดาษ
#1
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:12
ใครมีเงินฝากธนาคารเกิน 1 ล้านบาทก็เตรียมเปิญบัญชีสำรองไว้ด้วยนะครับ
http://www.thairath....tent/eco/272656
#2
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:19
ปกติรัฐบาลจะประกันเงินที่เราฝากไว้กับสถาบันการเงินให้เราทุกบาททุกสตางค์ ในกรณีสถาบันการเงินล้ม เราจะได้เงินคืนเท่ากับจำนวนที่ฝากไว้แน่นอน
แต่ 11 สิงหาคมปีที่แล้ว รัฐบาลประกาศว่าจะรับประกันเงินฝากต่อรายชื่อต่อสถาบันการเงินเหลือเพียง 50 ล้านบาท และจะลดความคุ้มครองลงเหลือ 1 ล้านบาทใน 11 สค.ปีหน้า
แปลว่าถ้าสถาบันการเงินที่ท่านฝากเงินไว้ล้ม ไม่ว่าท่านจะมีกี่สิบล้านบาท มันก็จะเหลือเพียง 1 ล้านบาทเท่านั้น...อาาาาาา
- NightMare, HardmaN and diablos9423 like this
#4
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:34
อยากจะให้คนไทยรู้จักการลงทุนมากกว่าเอาเงินไปฝากธนาคารกินดอก เพราะรัฐไม่ค้ำประกันเงินเต็มจำนวน
#5
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:36
#6
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:47
ผมเข้าใจในจุดนั้นครับ แต่ผมมองว่า 1 ล้านบาท/คน/สถาบันการเงินนั้นน้อยเกินไปครับเหมือนเคยได้ฟังคุณกรณ์ พูดเรื่องนี้และก็น่าจะทำในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์หรืออาจจะก่อนหน้านั้นก็ได้
อยากจะให้คนไทยรู้จักการลงทุนมากกว่าเอาเงินไปฝากธนาคารกินดอก เพราะรัฐไม่ค้ำประกันเงินเต็มจำนวน
แทนที่จะดีคือคนเอาเงินออกมาใช้ จะกลายเป็นคนเอาเงินไปซื้ออสังหาริมทรัพย์หรือซื้อทองเก็บไว้เหมือนที่ท่านบนนี้บอก
มันจะกลายเป็นเงินจมและจะเฟ้อเอาง่ายๆครับ
#7
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:55
เหมือนกันเลยครับ 555ผมไม่กลัวครับ เนื่องจากผมไม่มีเงินฝาก มีแต่หนี้ครับ
- Tohchida and เกลียดคุณแม้วจังครับ like this
#8
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:58
ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด
เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ
#9
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 22:59
เค้าบอกว่า ธนาคารของรัฐรับประกันเต็มจำนวนที่ฝากคะ
รอท่านผู้รู้อธิบาย
#10
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:02
คนที่ขายที่ดินหรือทองไปได้เงินมาแล้ว เขาก็ต้องเอาเงินไปทำอย่างอื่นถ้าคิดว่าฝากธนาคาร
แล้วมีความเสี่ยง มันก็จะผลักดันให้เงินนั้นมันหมุนเวียนในระบบเอง
Edited by phoosana, 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:05.
#11
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:08
แล้วธนาคารอิสลามละครับคุ้มครองเต็มไหม
#12
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:11
ผมเข้าใจว่า1ล้านสำหรับใครหลายคนคงน้อย (สำหรับผมก็ด้วย)
วิธีนี้ไม่ได้เอาไว้แก้เงินฝืดเท่านั้น แต่เป็นการบีบเงินให้หมุนเวียนในระบบมากขึ้น
ถ้ามองในมุมเศรษฐกิจ
การนำเงินไปลงทุน > ทำไปสู่การจ้างงาน > ลูกจ้างมีงานทำ > ลูกจ้างไปซื้อของ
มันทำให้เกิดการจ้างงาน เกิดการเติบโตทางธุรกิจ มีผลการส่งออก มีแบรนด์สินค้าไทยหรือธุรกิจมากขึ้น ฯลฯ
มันจะดีกว่านายทุน(หรือคนมีเงิน) เอาเงินเก็บไว้เฉยๆ ไม่ลงทุน ไม่เกิดการจ้างงาน และไม่เกิดผลต่อเศรษฐกิจของประเทศด้วย
ปล. รัฐจะเก็บภาษีได้มากด้วย
เรื่องปัญหาเงินเฟ้อ ใช่ครับมันอาจจะทำให้เงินเฟ้อ
แต่มันไม่ได้เกิดเงินเฟ้อมาก เนื่องจากปัญหาประเทศเราหนักไปที่ การไม่กระจายของธุรกิจ การรวมตัวของธุรกิจ ฯลฯ
หรือประเทศเราเป็นประเทศกำลังพัฒนา มันยังสามารถกระจายหรือส่งเสริมการลงทุนได้เยอะกว่านี้มาก
การเก็บออมเพื่อป้องกันความเสี่ยง (ผมก็คิดแบบนั้น)
การกำหนดวงเงิน ทำให้เราต้องเผชิญความเสี่ยง
แต่ยังไง ผมว่าฝากเงินเกินก็ไม่หน้าเป็นห่วงเท่าไหร่หรอกครับ สำหรับบางธนาคาร
- ยิ่งรัก(โพย) and gears like this
#13
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:12
![:huh:](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/huh.png)
#14
ตอบ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 23:13
ลองดูพวกโปรโมชั่น 2.7- 3% 6 เดือนเนี่่ย
ออกมาบ่อยมากๆ ทั้งที่เมื่อก่อน ครึ่งปีมีทีนึงอะไรแบบนั้น
แล้วเรียกเงินที่ 200000 + ถึงจะเข้าร่วมโปรโมชั่นนี้ได้นะ
ยังดีผมมีไม่เยอะเท่าไร ก็เลยไม่กลัวมากนะ แต่ผมก็แยกเงินฝาก
ไว้เหมือนกันนะ hsbc ครึ่ง ธนาคารกรุงเทพครึง
- ตุ๊ ต่องแต่ง likes this
#16
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 01:26
ความหมายคือ ถ้าธนาคารล้ม เรามีความคุ้มครองไม่เกินหนึ่งล้าน
ในความเป็นจริง ถ้าธนาคารล้มนั่นคือความพินาศของระบบเศรษฐกิจแล้วครับ
ตลาดหุ้นก็น่าจะล้มตาม
เงินที่ลงทุนในตลาดหุ้นก็จะหายวับ
เก็บเงินไว้กับธนาคารที่น่าเชื่อถือน่าจะปลอดภัยกว่า ต่อให้ระบบมีปัญหา ตัวเลขของเรายังเท่าเดิม (มูลค่าของเงินตามเวลาไม่เกี่ยว)
ดังนั้น ธนาคารที่ให้ผลตอบแทนสูง น่าจะมีความเสี่ยงมาก
อมตวาจา
High risk high return
Low risk low return
การบริหารการเงินต้องใช้ทั้งสติและความรู้ครับ
#17
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 01:31
![:D](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/biggrin.png)
#18
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 07:31
แบ่งตามประเภทของความจำเป็น บัญชีนี้เงินลงทุน บัญชีนี้เงินค่ารักษาพยาบาลแม่
(ค่ารักษาพยาบาลนี่ผมสำรองไว้ล้านนึงเลย เผื่อตัวเองด้วย เพราะไม่รู้ความเจ็บป่วยของเราจะเป็นโรครักษาง่ายหรือรักษายาก ประวัติบ้านผมเป็นมะเร็งกันหมดเลยด้วย)
ส่วนตัวผมเองรู้สึกว่าเรามีเงินสดออมหลายๆล้านบาทในธนาคารนี่ เงินมันจม น่ะครับ
ไม่มีการนำไปสร้างประโยชน์อย่างอื่น
การสร้างประโยชน์ทำได้หลายทาง อย่างที่ท่าน Shart แนะไว้น่ะแหละครับ
จะซื้อทองเก็บก็ได้ ซื้อที่ดินก็ได้ เอาไปทำทุน เอาไปให้คนยืม อาไปทำบุญ เอาไปเที่ยว ฯลฯ
อะไรก็ได้ที่ทำให้เงินนั้นเกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนทั้งปวง
เงินฝากธนาคารเป็นสิบล้านนี่ไม่ไ่ด้ใช้ประโยชน์อะไรเลย
ขนาดเงินกำไรสะสมบริษัทที่ต้องมีเลขหลักสิบอยู่แล้ว "ส่วนเกินจากที่จำเป็นต้องสำรองไว้" ยังต้องนำไปลงทุนต่อเลย
จะในพันธบัตร ตราสารหนี้ ทองคำ ลงทุนในกิจการเพิ่มเติม หรืออะไรก็ได้
จมไว้เฉยๆทั้งก้อนมันน่าเสียดาย
#19
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 08:01
![:lol:](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/laugh.png)
#20
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 08:39
ตั้งแต่รู้ข่าวนี้ ผมก็กระจายเงินฝากไปหลายๆที่แล้วครับ
แบ่งตามประเภทของความจำเป็น บัญชีนี้เงินลงทุน บัญชีนี้เงินค่ารักษาพยาบาลแม่
(ค่ารักษาพยาบาลนี่ผมสำรองไว้ล้านนึงเลย เผื่อตัวเองด้วย เพราะไม่รู้ความเจ็บป่วยของเราจะเป็นโรครักษาง่ายหรือรักษายาก ประวัติบ้านผมเป็นมะเร็งกันหมดเลยด้วย)
ส่วนตัวผมเองรู้สึกว่าเรามีเงินสดออมหลายๆล้านบาทในธนาคารนี่ เงินมันจม น่ะครับ
ไม่มีการนำไปสร้างประโยชน์อย่างอื่น
การสร้างประโยชน์ทำได้หลายทาง อย่างที่ท่าน Shart แนะไว้น่ะแหละครับ
จะซื้อทองเก็บก็ได้ ซื้อที่ดินก็ได้ เอาไปทำทุน เอาไปให้คนยืม อาไปทำบุญ เอาไปเที่ยว ฯลฯ
อะไรก็ได้ที่ทำให้เงินนั้นเกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนทั้งปวง
เงินฝากธนาคารเป็นสิบล้านนี่ไม่ไ่ด้ใช้ประโยชน์อะไรเลย
ขนาดเงินกำไรสะสมบริษัทที่ต้องมีเลขหลักสิบอยู่แล้ว "ส่วนเกินจากที่จำเป็นต้องสำรองไว้" ยังต้องนำไปลงทุนต่อเลย
จะในพันธบัตร ตราสารหนี้ ทองคำ ลงทุนในกิจการเพิ่มเติม หรืออะไรก็ได้
จมไว้เฉยๆทั้งก้อนมันน่าเสียดาย
เห็นด้วยเรื่องการการะจายการลงทุนในหลากหลายทางเพื่อกระจายความเสี่ยง
แต่เรื่องสัดส่วนอะไรเท่าไร คงเป็นไปความเหมาะสมของแต่ละคน
เงินฝากในธนาคารได้ผลตอบแทนน้อยกว่าแต่ก็เสี่ยงน้อยกว่าเช่นกัน
เรามองว่าเงินฝากมีสภาพคล่อง หยิบฉวยมาใช้ง่ายกว่าทางอื่น
อย่างการส่งประกันก็ไม่ทำสูงเกินไปเพราะคือภาระเหมือนการผ่อนบ้านหรือรถ
หากเรามีรายได้ตลอดก็ดีไป ถ้าหากเกิดไม่มีปัญญาส่งหรือต้องกู้มาใช้ เท่ากับการขาดทุนเพราะเสียดอกเบี้ยสูงกว่าที่ได้
#21
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 08:57
"ไม่เอานิรโทษกรรมของขี้ข้าทักษิณเพื่อทักษิณที่ขี้ขลาด"
#22
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 09:00
#23
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 09:03
ชอบๆ
ขอบคุณท่านสมาชิกครับ
#24
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 15:11
สำหรับท่านที่อ่านหนังสือไม่เกิน 3 บรรทัด ผมย่อความให้ครับ (ไม่รวมบรรทัดนี้นะครับ)
ปกติรัฐบาลจะประกันเงินที่เราฝากไว้กับสถาบันการเงินให้เราทุกบาททุกสตางค์ ในกรณีสถาบันการเงินล้ม เราจะได้เงินคืนเท่ากับจำนวนที่ฝากไว้แน่นอน
แต่ 11 สิงหาคมปีที่แล้ว รัฐบาลประกาศว่าจะรับประกันเงินฝากต่อรายชื่อต่อสถาบันการเงินเหลือเพียง 50 ล้านบาท และจะลดความคุ้มครองลงเหลือ 1 ล้านบาทใน 11 สค.ปีหน้า
แปลว่าถ้าสถาบันการเงินที่ท่านฝากเงินไว้ล้ม ไม่ว่าท่านจะมีกี่สิบล้านบาท มันก็จะเหลือเพียง 1 ล้านบาทเท่านั้น...อาาาาาา
รัฐบาลไม่ได้ค้ำประกันครับ คนที่ค้ำประกันคือ สถาบันคุ้มครองเงินฝากครับ
#25
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 15:14
เคยถามเจ้าหน้าที่ธนาคารออมสิน
เค้าบอกว่า ธนาคารของรัฐรับประกันเต็มจำนวนที่ฝากคะ
รอท่านผู้รู้อธิบาย
ถูกต้องครับ เนื่องจาก ธนาคารออมสิน , ธนาคารอาคารสงเคราะห์ , ธกส. , ธนาคารอิสลามฯ , SME bank เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ
จึงไม่อยู่ในขอบเขตของสถาบันคุ้่มครองเงินฝากครับ เงินฝากในธนาคารเหล่านี้ จึงค้ำประกันโดยรัฐบาล 100% ครับ
เหมือนอย่างที่ติดไว้ที่หน้า ธ.ออมสิน ทุกสาขา ว่า "รัฐบาลเป็นประกัน" ไงครับ
ส่วนธนาคารพาณิชย์อื่นๆ (รวมถึง ธ.กรุงไทย ด้วย) จะอยู่ในขอบเขตของสถาบันคุ้มครองเงินฝากครับ
ดูรายละเอียดได้ที่เว็บ http://www.dpa.or.th ครับ
![Posted Image](http://www.dpa.or.th/images/banner/banner_top3.jpg)
Edited by promotion, 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 15:19.
#26
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 15:30
ต้องขอบคุณรัฐบาลท่านปู ที่ปล่อยเรื่องภาษีที่ดินภาษีมรดกคาราคาซังอยู่ ...
![:wub:](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/wub.png)
Edited by DumpDump, 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 15:31.
#27
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 15:33
รำคาญสลิ่มเที่ยมที่เข้ามาปล่อยสารพิษเรียกร้องความรุนเเรงเสดงออกถึงความคลั่งสงครามกลางเมืองยุเเยงสร้างภาพชั่วๆ
เอียนวะ เห็นคนเเถวนี้ไอคิวต่ำกว่า 90 หรือไง
#28
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 15:35
ตั้งแต่รู้ข่าวนี้ ผมก็กระจายเงินฝากไปหลายๆที่แล้วครับ
แบ่งตามประเภทของความจำเป็น บัญชีนี้เงินลงทุน บัญชีนี้เงินค่ารักษาพยาบาลแม่
(ค่ารักษาพยาบาลนี่ผมสำรองไว้ล้านนึงเลย เผื่อตัวเองด้วย เพราะไม่รู้ความเจ็บป่วยของเราจะเป็นโรครักษาง่ายหรือรักษายาก ประวัติบ้านผมเป็นมะเร็งกันหมดเลยด้วย)
ส่วนตัวผมเองรู้สึกว่าเรามีเงินสดออมหลายๆล้านบาทในธนาคารนี่ เงินมันจม น่ะครับ
ไม่มีการนำไปสร้างประโยชน์อย่างอื่น
การสร้างประโยชน์ทำได้หลายทาง อย่างที่ท่าน Shart แนะไว้น่ะแหละครับ
จะซื้อทองเก็บก็ได้ ซื้อที่ดินก็ได้ เอาไปทำทุน เอาไปให้คนยืม อาไปทำบุญ เอาไปเที่ยว ฯลฯ
อะไรก็ได้ที่ทำให้เงินนั้นเกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนทั้งปวง
เงินฝากธนาคารเป็นสิบล้านนี่ไม่ไ่ด้ใช้ประโยชน์อะไรเลย
ขนาดเงินกำไรสะสมบริษัทที่ต้องมีเลขหลักสิบอยู่แล้ว "ส่วนเกินจากที่จำเป็นต้องสำรองไว้" ยังต้องนำไปลงทุนต่อเลย
จะในพันธบัตร ตราสารหนี้ ทองคำ ลงทุนในกิจการเพิ่มเติม หรืออะไรก็ได้
จมไว้เฉยๆทั้งก้อนมันน่าเสียดาย
น่าจะแบ่งการลงทุนมาที่ประกันด้วยนะครับ อืม...ถ้าสนใจหลังไมค์บอกผมนะ
![-_-](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/sleep.png)
#29
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 15:45
![:lol:](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/laugh.png)
#30
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 16:26
ถ้าสถาบันการเงินล้ม "หนี้" ที่มีอยู่ก็หายวับไปด้วยใช่ไหมครับ
หนี้รู้สึกจะไม่หายนะครับ ส่วนผมมีแต่หนี้ เฮอะๆ
#31
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 16:30
![^_^](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/happy.png)
![:)](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/smile.png)
#32
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 16:31
สกุล ด่ง นะจ๊ะ
แผ่นดินนี้ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก ทั้งกษัตริย์ยังทรงคุณธรรมอันสูงส่ง
จำคำนี้ไว้ไปบอกยมบาลเวลาเจ้าลงนรกก็แล้วกัน
#33
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 16:38
#34
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 19:49
สถาบันคุ้มครองเงินฝากก็เป็นหน่วยงานของรัฐนี่ครับ
สำหรับท่านที่อ่านหนังสือไม่เกิน 3 บรรทัด ผมย่อความให้ครับ (ไม่รวมบรรทัดนี้นะครับ)
ปกติรัฐบาลจะประกันเงินที่เราฝากไว้กับสถาบันการเงินให้เราทุกบาททุกสตางค์ ในกรณีสถาบันการเงินล้ม เราจะได้เงินคืนเท่ากับจำนวนที่ฝากไว้แน่นอน
แต่ 11 สิงหาคมปีที่แล้ว รัฐบาลประกาศว่าจะรับประกันเงินฝากต่อรายชื่อต่อสถาบันการเงินเหลือเพียง 50 ล้านบาท และจะลดความคุ้มครองลงเหลือ 1 ล้านบาทใน 11 สค.ปีหน้า
แปลว่าถ้าสถาบันการเงินที่ท่านฝากเงินไว้ล้ม ไม่ว่าท่านจะมีกี่สิบล้านบาท มันก็จะเหลือเพียง 1 ล้านบาทเท่านั้น...อาาาาาา
รัฐบาลไม่ได้ค้ำประกันครับ คนที่ค้ำประกันคือ สถาบันคุ้มครองเงินฝากครับ
แถมพึ่งจะแยกงานออกเป็นเอกเทศเมื่อปี 51 นี่เองครับ ตามพรบ. ฉบับนี้ http://www.google.co...xLjpQl6dEaR6ebw
#35
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 20:01
เหมือนจะรวยเนอะ แต่จริงๆ แต่ละทีมีกระจิ๊ดเดียว
ฝากที่ไหน ขึ้นกับโปรโมชั่น
เลยไม่เดือดร้อนเท่าไหร่กับความเสี่ยงหากแบงค์ล้ม
ยังไงก็ได้รับการค้ำประกันชัวร์ๆ
#36
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 21:01
สถาบันคุ้มครองเงินฝากก็เป็นหน่วยงานของรัฐนี่ครับ
สำหรับท่านที่อ่านหนังสือไม่เกิน 3 บรรทัด ผมย่อความให้ครับ (ไม่รวมบรรทัดนี้นะครับ)
ปกติรัฐบาลจะประกันเงินที่เราฝากไว้กับสถาบันการเงินให้เราทุกบาททุกสตางค์ ในกรณีสถาบันการเงินล้ม เราจะได้เงินคืนเท่ากับจำนวนที่ฝากไว้แน่นอน
แต่ 11 สิงหาคมปีที่แล้ว รัฐบาลประกาศว่าจะรับประกันเงินฝากต่อรายชื่อต่อสถาบันการเงินเหลือเพียง 50 ล้านบาท และจะลดความคุ้มครองลงเหลือ 1 ล้านบาทใน 11 สค.ปีหน้า
แปลว่าถ้าสถาบันการเงินที่ท่านฝากเงินไว้ล้ม ไม่ว่าท่านจะมีกี่สิบล้านบาท มันก็จะเหลือเพียง 1 ล้านบาทเท่านั้น...อาาาาาา
รัฐบาลไม่ได้ค้ำประกันครับ คนที่ค้ำประกันคือ สถาบันคุ้มครองเงินฝากครับ
แถมพึ่งจะแยกงานออกเป็นเอกเทศเมื่อปี 51 นี่เองครับ ตามพรบ. ฉบับนี้ http://www.google.co...xLjpQl6dEaR6ebw
อ้าว ผมก็ต้องพูดถึงสิ่งที่อยู่ในปัจจุบันสิครับคุณ คุยกันเรื่องปัจจุบันอยู่นี่ครับ
#37
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 21:02
ถ้าสถาบันการเงินล้ม "หนี้" ที่มีอยู่ก็หายวับไปด้วยใช่ไหมครับ
ไม่หายหรอกครับ
![:D](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/biggrin.png)
#38
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 21:21
สถาบันคุ้มครองเงินฝากก็เป็นหน่วยงานของรัฐนี่ครับ
สำหรับท่านที่อ่านหนังสือไม่เกิน 3 บรรทัด ผมย่อความให้ครับ (ไม่รวมบรรทัดนี้นะครับ)
ปกติรัฐบาลจะประกันเงินที่เราฝากไว้กับสถาบันการเงินให้เราทุกบาททุกสตางค์ ในกรณีสถาบันการเงินล้ม เราจะได้เงินคืนเท่ากับจำนวนที่ฝากไว้แน่นอน
แต่ 11 สิงหาคมปีที่แล้ว รัฐบาลประกาศว่าจะรับประกันเงินฝากต่อรายชื่อต่อสถาบันการเงินเหลือเพียง 50 ล้านบาท และจะลดความคุ้มครองลงเหลือ 1 ล้านบาทใน 11 สค.ปีหน้า
แปลว่าถ้าสถาบันการเงินที่ท่านฝากเงินไว้ล้ม ไม่ว่าท่านจะมีกี่สิบล้านบาท มันก็จะเหลือเพียง 1 ล้านบาทเท่านั้น...อาาาาาา
รัฐบาลไม่ได้ค้ำประกันครับ คนที่ค้ำประกันคือ สถาบันคุ้มครองเงินฝากครับ
แถมพึ่งจะแยกงานออกเป็นเอกเทศเมื่อปี 51 นี่เองครับ ตามพรบ. ฉบับนี้ http://www.google.co...xLjpQl6dEaR6ebw
อ้าว ผมก็ต้องพูดถึงสิ่งที่อยู่ในปัจจุบันสิครับคุณ คุยกันเรื่องปัจจุบันอยู่นี่ครับ
เอ้า ก็มันยังคงเป็นหน่วยงานของรัฐมั้ยล่ะครับ? ดูจากบทบาทที่โพสข้างล่างนี้ก็ได้ หรือจะไปอ่านจากพรบ.ก็ได้ครับ
บทบาท
สถาบันคุ้มครองเงินฝากเป็นองค์กรของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ ปี 2551 ตามพระราชบัญญัติสถาบันคุ้มครองเงินฝาก พ.ศ. 2551 เพื่อให้ความคุ้มครองแก่ผู้ฝากเงินในสถาบันการเงินโดยเฉพาะผู้ฝากเงินรายย่อยที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศที่อาจจะไม่สามารถเข้าถึงข่าวสารทางการเงินได้อย่างเพียงพอ ในกรณีที่สถาบันการเงินซึ่งอยู่ภายใต้ความคุ้มครองถูกปิดกิจการ ผู้ฝากเงินจะได้รับเงินฝากคืนจากสถาบันคุ้มครองเงินฝากอย่างรวดเร็วภายใต้วงเงินและภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ ส่วนเงินฝากที่มีจำนวนเกินวงเงินจ่ายคืนดังกล่าว จะได้รับคืนเพิ่มเติมจากการชำระบัญชีสถาบันการเงินที่ปิดกิจการ
http://www.dpa.or.th...news.php?nid=25
ผมว่ามาคุยกันเรื่องนโยบายดีกว่านะครับ
สาระสำคัญคือเงินฝากถูกลดการรับประกันมันมีความเสี่ยงอย่างไรบ้าง
ไม่ใช่ใครมีหน้าที่รับประกันเงินฝากครับ
#39
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 21:28
สถาบันคุ้มครองเงินฝากก็เป็นหน่วยงานของรัฐนี่ครับ
สำหรับท่านที่อ่านหนังสือไม่เกิน 3 บรรทัด ผมย่อความให้ครับ (ไม่รวมบรรทัดนี้นะครับ)
ปกติรัฐบาลจะประกันเงินที่เราฝากไว้กับสถาบันการเงินให้เราทุกบาททุกสตางค์ ในกรณีสถาบันการเงินล้ม เราจะได้เงินคืนเท่ากับจำนวนที่ฝากไว้แน่นอน
แต่ 11 สิงหาคมปีที่แล้ว รัฐบาลประกาศว่าจะรับประกันเงินฝากต่อรายชื่อต่อสถาบันการเงินเหลือเพียง 50 ล้านบาท และจะลดความคุ้มครองลงเหลือ 1 ล้านบาทใน 11 สค.ปีหน้า
แปลว่าถ้าสถาบันการเงินที่ท่านฝากเงินไว้ล้ม ไม่ว่าท่านจะมีกี่สิบล้านบาท มันก็จะเหลือเพียง 1 ล้านบาทเท่านั้น...อาาาาาา
รัฐบาลไม่ได้ค้ำประกันครับ คนที่ค้ำประกันคือ สถาบันคุ้มครองเงินฝากครับ
แถมพึ่งจะแยกงานออกเป็นเอกเทศเมื่อปี 51 นี่เองครับ ตามพรบ. ฉบับนี้ http://www.google.co...xLjpQl6dEaR6ebw
อ้าว ผมก็ต้องพูดถึงสิ่งที่อยู่ในปัจจุบันสิครับคุณ คุยกันเรื่องปัจจุบันอยู่นี่ครับ
เอ้า ก็มันยังคงเป็นหน่วยงานของรัฐมั้ยล่ะครับ? ดูจากบทบาทที่โพสข้างล่างนี้ก็ได้ หรือจะไปอ่านจากพรบ.ก็ได้ครับ
บทบาท
สถาบันคุ้มครองเงินฝากเป็นองค์กรของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ ปี 2551 ตามพระราชบัญญัติสถาบันคุ้มครองเงินฝาก พ.ศ. 2551 เพื่อให้ความคุ้มครองแก่ผู้ฝากเงินในสถาบันการเงินโดยเฉพาะผู้ฝากเงินรายย่อยที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศที่อาจจะไม่สามารถเข้าถึงข่าวสารทางการเงินได้อย่างเพียงพอ ในกรณีที่สถาบันการเงินซึ่งอยู่ภายใต้ความคุ้มครองถูกปิดกิจการ ผู้ฝากเงินจะได้รับเงินฝากคืนจากสถาบันคุ้มครองเงินฝากอย่างรวดเร็วภายใต้วงเงินและภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ ส่วนเงินฝากที่มีจำนวนเกินวงเงินจ่ายคืนดังกล่าว จะได้รับคืนเพิ่มเติมจากการชำระบัญชีสถาบันการเงินที่ปิดกิจการ
http://www.dpa.or.th...news.php?nid=25
ผมว่ามาคุยกันเรื่องนโยบายดีกว่านะครับ
สาระสำคัญคือเงินฝากถูกลดการรับประกันมันมีความเสี่ยงอย่างไรบ้าง
ไม่ใช่ใครมีหน้าที่รับประกันเงินฝากครับ
มันเป็นองค์กรของรัฐจริงครับ แต่มันไม่ใช่ความหมายเดียวกับการรับประกันเงินฝากโดยรัฐบาลครับ
ผมต้องการชี้ตรงจุดนี้ครับ การรับประกันเงินฝากขององค์กรนี้จะนำเงินมาจากกองทุนคุ้มครองเงินฝากที่สถาบันการเงินนำส่งมาสะสมไว้ ครับ
#40
ตอบ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 21:30
![:blink:](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/blink.png)
![:huh:](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/huh.png)
![<_<](http://static.serithai.net/webboard/public/style_emoticons/default/dry.png)
#41
ตอบ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 05:52
(ค่ารักษาพยาบาลนี่ผมสำรองไว้ล้านนึงเลย เผื่อตัวเองด้วย เพราะไม่รู้ความเจ็บป่วยของเราจะเป็นโรครักษาง่ายหรือรักษายาก ประวัติบ้านผมเป็นมะเร็งกันหมดเลยด้วย)
ไม่ทราบว่าได้มีการทำประกันสุขภาพ+โรคร้ายแรงเอาไว้หรือยังนะครับ ถ้ายังควรจะรีบหาข้อมูลด่วนเลยนะครับ เพราะผมว่าคุณมีความเสี่ยงสูงนะครับ
โรคมะเร็งถ้าเข้ารักษาตาม รพ ทุน ล้านนึงนี่ผมว่าเอาไม่อยู่นะครับ(จากข้อมูลที่ผมทราบ การฉายแสงรักษาโรคมะเร็งนี่ค่าใช้จ่ายจะอยู่ที่ประมาณ4แสนบาท ไปจนถึง1.2ล้านบาท ต่อครั้ง) แต่สิ่งสำคัญที่สุดคือต้องพบโรคตั้งแต่ระยะแรกๆครับ
ผมว่าแนวคิดนี้ผิดนะครับ ถ้าคุณกำลังคิดแบบนี้อยู่ ผมคิดว่าคุณต้องลองสำรวจแบบประกันที่คุณมีอยู่ตอนนี้ก่อนแล้วล่ะครับ ว่าเป็นแบบที่เหมาะสมกับคุณแล้วหรือยัง และแบบประกันที่คุณทำให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับตัวคุณหรือไม่อย่างการส่งประกันก็ไม่ทำสูงเกินไปเพราะคือภาระเหมือนการผ่อนบ้านหรือรถ
หากเรามีรายได้ตลอดก็ดีไป ถ้าหากเกิดไม่มีปัญญาส่งหรือต้องกู้มาใช้ เท่ากับการขาดทุนเพราะเสียดอกเบี้ยสูงกว่าที่ได้
ทั้ง 2 ท่านข้างบน ผมยินดีให้คำปรึกษาหลังไมค์นะครับ LOL
ขอกลับเข้าสู่กระทู้นิดนึง
คือที่ จขกท เอามาให้ดูนั้นเป็นเรื่องที่ดีครับ แต่อย่าพึ่งตระหนกครับ ต้องทำความเข้าใจให้รอบด้านในหลายแง่มุม
ขออ้างอิงภาพนิดนึงนะครับ
ในที่นี้เค้าใช้คำว่าสถาบันการเงิน ซึ่ง ธนาคารจัดเป็นหนึ่งในสถาบันการเงิน แต่สถาบันการเงินไม่ได้มีเฉพาะธนาคารเท่านั้น พอเห็นภาพมั้ยครับ ^^
ผมขอแสดง คคห ในส่วนของธนาคารก็แล้วกันนะครับ จริงอยู่ว่า ธนาคารนั้นสามารถล้มได้ แต่มันต้องอยู่ในเงื่อนไขที่แย่จริงๆนะครับ และเงื่อนไขนั้นก็คือการที่คนแห่กันถอนเงินออกจากธนาคารในเวลาที่ธนาคารนั้นขาดสภาพคล่องทางการเงิน นั่นแหล่ะครับจะเป็นปัจจัยหลัก แต่ส่วนใหญ่ก็จะไม่ค่อยมีหรอกครับหาได้ยากนะ เท่าที่ผมเคยจำได้ที่เป็นกรณีใหญ่โตจริงๆก็คงจะเป็นธนาคารศรีนครอ่ะครับ แต่ก็จำได้ว่าไม่ได้มีปัญหาอะไรนะครับ ก็ผ่านมาได้ด้วยดี มีการควบรวมกิจการกันไปมั้งถ้าจำไม่ผิดก็กลายเป็นธนาคารนครหลวงไทย(หรือเปล่า?)
แต่สมมติ ถ้าเกิดกรณีแบบธนาคารศรีนคร หลัง 11 สค 59 นี่น่าคิดนะครับ แต่ตามความเข้าใจของผมคือ เงื่นไขการรับประกันนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ ธนาคารไม่มีเงินจ่ายคืนให้กับลูกค้าที่ต้องการมาถอนแล้วมากกว่านะครับ...
ส่วนใหญ่ที่ผมเห็นนะครับ ธุรกิจธนาคารมักจะมีนายทุนใหม่ๆมารับช่วงต่อเสมออ่ะครับ เพราะฉนั้นทั้งหนี้ทั้งเงินฝากมันก็จะมีคนมาคอยจัดการต่อให้เสมอนะครับ ^^
ป.ล. เป็นแค่ คคห ของคนรู้มั่งไม่รู้มั่งนะครับ อย่าเชื่อทั้งหมด ขอให้หาข้อมูลเพิ่มเติมต่อด้วยตัวคุณเองด้วย เรื่องแบบนี้เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เงินใครเงินมันครับ ^^
ป.ล.1 เงินนั้นสำคัญแต่ก็ไม่ได้สำคัญที่สุดครับ ^^
ป.ล.2 ผมชอบประโยคนึงไม่รู้ใครคิด เค้าว่า "เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาคือของจริง" ผมอยากให้เพื่อนๆที่กำลังทำงานเพื่อหาเงิน ลองคิดทบทวนถึงประโยคนี้ดีๆ แล้วหาวิธีดีๆที่จะทำให้เราทำงานเพื่ออะไรที่มากกว่าเงินนะครับ ^^
Edited by karasu, 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 05:58.
หล่อกว่าผมก็มีแต่ ณเดช คูกิมิยะ เท่านั้นล่ะครับ[color=#ff0000;]รณรงค์งดตอบโต้ พูดคุย กับคนหน้าด้านไร้ยางอาย...[/color]
#42
ตอบ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 11:37
(ค่ารักษาพยาบาลนี่ผมสำรองไว้ล้านนึงเลย เผื่อตัวเองด้วย เพราะไม่รู้ความเจ็บป่วยของเราจะเป็นโรครักษาง่ายหรือรักษายาก ประวัติบ้านผมเป็นมะเร็งกันหมดเลยด้วย)
ไม่ทราบว่าได้มีการทำประกันสุขภาพ+โรคร้ายแรงเอาไว้หรือยังนะครับ ถ้ายังควรจะรีบหาข้อมูลด่วนเลยนะครับ เพราะผมว่าคุณมีความเสี่ยงสูงนะครับ
โรคมะเร็งถ้าเข้ารักษาตาม รพ ทุน ล้านนึงนี่ผมว่าเอาไม่อยู่นะครับ(จากข้อมูลที่ผมทราบ การฉายแสงรักษาโรคมะเร็งนี่ค่าใช้จ่ายจะอยู่ที่ประมาณ4แสนบาท ไปจนถึง1.2ล้านบาท ต่อครั้ง) แต่สิ่งสำคัญที่สุดคือต้องพบโรคตั้งแต่ระยะแรกๆครับผมว่าแนวคิดนี้ผิดนะครับ ถ้าคุณกำลังคิดแบบนี้อยู่ ผมคิดว่าคุณต้องลองสำรวจแบบประกันที่คุณมีอยู่ตอนนี้ก่อนแล้วล่ะครับ ว่าเป็นแบบที่เหมาะสมกับคุณแล้วหรือยัง และแบบประกันที่คุณทำให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับตัวคุณหรือไม่อย่างการส่งประกันก็ไม่ทำสูงเกินไปเพราะคือภาระเหมือนการผ่อนบ้านหรือรถ
หากเรามีรายได้ตลอดก็ดีไป ถ้าหากเกิดไม่มีปัญญาส่งหรือต้องกู้มาใช้ เท่ากับการขาดทุนเพราะเสียดอกเบี้ยสูงกว่าที่ได้
ทั้ง 2 ท่านข้างบน ผมยินดีให้คำปรึกษาหลังไมค์นะครับ LOL
ขอกลับเข้าสู่กระทู้นิดนึง
คือที่ จขกท เอามาให้ดูนั้นเป็นเรื่องที่ดีครับ แต่อย่าพึ่งตระหนกครับ ต้องทำความเข้าใจให้รอบด้านในหลายแง่มุม
ขออ้างอิงภาพนิดนึงนะครับ
ในที่นี้เค้าใช้คำว่าสถาบันการเงิน ซึ่ง ธนาคารจัดเป็นหนึ่งในสถาบันการเงิน แต่สถาบันการเงินไม่ได้มีเฉพาะธนาคารเท่านั้น พอเห็นภาพมั้ยครับ ^^
ผมขอแสดง คคห ในส่วนของธนาคารก็แล้วกันนะครับ จริงอยู่ว่า ธนาคารนั้นสามารถล้มได้ แต่มันต้องอยู่ในเงื่อนไขที่แย่จริงๆนะครับ และเงื่อนไขนั้นก็คือการที่คนแห่กันถอนเงินออกจากธนาคารในเวลาที่ธนาคารนั้นขาดสภาพคล่องทางการเงิน นั่นแหล่ะครับจะเป็นปัจจัยหลัก แต่ส่วนใหญ่ก็จะไม่ค่อยมีหรอกครับหาได้ยากนะ เท่าที่ผมเคยจำได้ที่เป็นกรณีใหญ่โตจริงๆก็คงจะเป็นธนาคารศรีนครอ่ะครับ แต่ก็จำได้ว่าไม่ได้มีปัญหาอะไรนะครับ ก็ผ่านมาได้ด้วยดี มีการควบรวมกิจการกันไปมั้งถ้าจำไม่ผิดก็กลายเป็นธนาคารนครหลวงไทย(หรือเปล่า?)
แต่สมมติ ถ้าเกิดกรณีแบบธนาคารศรีนคร หลัง 11 สค 59 นี่น่าคิดนะครับ แต่ตามความเข้าใจของผมคือ เงื่นไขการรับประกันนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ ธนาคารไม่มีเงินจ่ายคืนให้กับลูกค้าที่ต้องการมาถอนแล้วมากกว่านะครับ...
ส่วนใหญ่ที่ผมเห็นนะครับ ธุรกิจธนาคารมักจะมีนายทุนใหม่ๆมารับช่วงต่อเสมออ่ะครับ เพราะฉนั้นทั้งหนี้ทั้งเงินฝากมันก็จะมีคนมาคอยจัดการต่อให้เสมอนะครับ ^^
ป.ล. เป็นแค่ คคห ของคนรู้มั่งไม่รู้มั่งนะครับ อย่าเชื่อทั้งหมด ขอให้หาข้อมูลเพิ่มเติมต่อด้วยตัวคุณเองด้วย เรื่องแบบนี้เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เงินใครเงินมันครับ ^^
ป.ล.1 เงินนั้นสำคัญแต่ก็ไม่ได้สำคัญที่สุดครับ ^^
ป.ล.2 ผมชอบประโยคนึงไม่รู้ใครคิด เค้าว่า "เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาคือของจริง" ผมอยากให้เพื่อนๆที่กำลังทำงานเพื่อหาเงิน ลองคิดทบทวนถึงประโยคนี้ดีๆ แล้วหาวิธีดีๆที่จะทำให้เราทำงานเพื่ออะไรที่มากกว่าเงินนะครับ ^^
ถูกต้องแล้วครับ กรณีธนาคารศรีนครนั้น ผู้ฝากเงินไม่ได้รับผลกระทบใดๆครับ เนื่องจากทางการโดย ธปท. และกองทุนฟื้นฟูฯ ได้เข้ามาแก้ปัญหาโดย...
- สั่งลดทุนจดทะเบียน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นเดิมรับผิดชอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น (ใบหุ้นแทบจะกลายเป็นเศษกระดาษ)
- แล้วสั่งเพิ่มทุนทันที โดยกองทุนฟื้นฟูฯ (ซึ่งก็๋มีจากเงินของประเทศชาตินั่นแหล่ะครับ) ส่งผลให้ธนาคารกลายเป็นของรัฐ
ซึ่งเหตุการณ์นี้ก็เกิดขึ้นกับธนาคารหลายแห่งในขณะนั้น ซึ่งรวมถึงธนาคารนครหลวงไทยด้วย
- ต่อมาทางการได้ส่งผู้บริหารไปแก้ปัญหาในธนาคารทั้งสองแห่ง จะทุกอย่างดีขึ้น แล้วตัดสินใจควบรวมกิจการของธนาคารทั้งสองแห่งเข้าด้วยกัน
โดยให้ธนาคารนครหลวงไทยเป็นธนาคารที่ดำเนินการต่อไป
- เมื่อประมาณ 2 ปี ก่อน ทางการก็หาคนมาซื้อธนาคารนครหลวงไทยได้ นั้นก็คือ กลุ่มธนชาต ปัจจุบันธนาคารนครหลวงไทย
ได้ถูกควบรวมกับธนาคารธนชาต เป็นที่เรียบร้อยมาประมาณ 1 ปีแล้วครับ
จะพบว่าจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผู้ฝากเงินไม่ได้รับผลกระทบใดๆ เพราะรัฐบาลต้องเอาเงินของประเทศชาติ
มาแก้ปัญหาของธนาคารเหล่านี้ โดยผ่านกองทุนฟื้นฟู (เนื่องจากมีแนวคิดว่า แบงค์ล้มไม่ได้)
ซึ่งเงินตรงส่วนนี้ก็เป็นภาระของประเทศชาติ ดังนั้น จึงเกิด พ.ร.บ. สถาบันคุ้มครองเงินฝาก ขึ้นมา
เพื่อไม่ให้การคุ้มครองเงินฝากต้องมาเป็นภาระของรัฐ (ซึ่งก็มาจากภาษีของคนทั้งประเทศ) ครับ
โดยเงินที่จะเอามาใช้ในการคุ้มครองเงินฝาก ของสถาบันคุ้มครองเงินฝาก นั้นจะนำมาจากการเก็บจากสถาบันการเงินต่างๆครับ
#43
ตอบ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 11:44
หมวด : 1. ธนาคารพาณิชย์ไทย (14)
หมวด : 2. ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย (1)
หมวด : 3. ธนาคารพาณิชย์ที่เป็นบริษัทลูกของธนาคารต่างประเทศ (1)
หมวด : 4. สาขาของธนาคารต่างประเทศ (15)
หมวด : 5. บริษัทเงินทุน (3)
หมวด : 6. บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ (3)
หมวด : 7. สำนักงานผู้แทนธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ (33)
หมวด : 8. บริษัทบริหารสินทรัพย์ (21)
หมวด : 9. สถาบันการเงินเฉพาะกิจ (8)
หมวด : 10. บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท.)
หมวด : 11. บริษัทผู้ประกอบธุรกิจบัตรเครดิต (11)
หมวด : 12. บริษัทผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกำกับ (26)
สำหรับสถาบันการเงินที่เป็นสมาชิกของสถาบันคุ้มครองเงินฝากนั้น คือ หมวด 1,2,5,6 ทุกแห่ง ส่วนหมวด 3,4 ไม่แน่ใจว่าทุกแห่งหรือเปล่าแต่น่าจะส่วนใหญ่ครับ
เช็คได้จากเว็บ www.dpa.or.th ครับ (แต่เช้านี้เข้าไม่ได้ไม่รู้ทำไม)
สำหรับหมวด 9 ก็เช่น ธ.ออมสิน , ธกส. , ธอส. , ธ.อิสลาม , ธ. SMEs นั้น ไม่เป็นสมาชิกของสถาบันคุ้มครองเงินฝาก
เพราะรัฐบาลเป็นเจ้าของเอง ก็รับประกันโดยรัฐบาลเองครับ
ผู้ใช้ 0 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน