นายอำเภอฝรั่ง จากเมืองศาลโลก บุกพิสูจน์“ปราสาทพระวิหาร” เผยจากสภาพข้อเท็จจริงทั้งลักษณะภูมิประเทศและหลักการปักปันเขตแดน “ปราสาทพระวิหาร” ควรเป็นของไทย
#1
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 06:08
- orogaros, คลำปม, ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่ and 4 others like this
#2
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 06:37
ลักษณะภูมิประเทศและหลักการปักปันเขตแดน “ปราสาทพระวิหาร” ควรเป็นของไทยไม่ใช่กัมพูชา
แต่ถ้าใช้เกณฑ์อื่นนั่นอีกเรื่องครับ เช่นตัวแทนประเทศไทยไปบอกกลางศาลโลกว่าเขาพระวิหารเป็นของกัมพูชาอันนี้ต่อให้ลักษณะภูมิประเทศและหลักการปักปันเขตแดนเป็นของไทยยังไง ผลก็คือกลายเป็นของกัมพูชา
Edited by Jörmungandr, 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 06:40.
- พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน, Anubitz and แมวนอนหวด like this
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#4
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 07:12
#5
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 07:45
- พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน, พิฆาตอสูร, SPDZ and 2 others like this
จินตนาการสำคัญกว่าความรู้ ... ศีลธรรม เป็นกรอบรักษาจินตนาการให้ดำรงอยู่ด้วยความดีงาม...
#6
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 08:03
เหอๆๆๆๆ
- emujack, เช never die, ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่ and 3 others like this
#7
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 08:09
เขาพระวิหาร เป็นของไทย แต่ปราสาทพระวิหารเป็นของเขมร ที่ตั้งอยู่บนเขาพระวิหารกลับอยู่ในการครอบครองของเขมรตามที่ศาลโลกว่าไว้ ถ้าเป็นไปตามธรรมชาติ ของที่อยู่ในดินแดนไทยก็ควรเป็นของไทย ไม่งั้นก็รื้อออกไปจากเขตแดนไทยเสียเถอะ
เป็นศาลโลกนะนั้น ไม่มีอุทรณ์ แล้วเอาอะไรเป็นเกณฑ์วัดการตัดสินใจ เป็นคำตัดสินที่ทุเรสใน3โลกเลย
#8
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 08:16
Contour ของศาลโลกที่ใช้อยู่ ตรงกับ แผนที่ L7018 ของไทย
เส้นปักปันเขตแดนที่ถูกต้องตามอารยะประเทศ ควรเป็นตามรูป 3
Edited by Stargate-1, 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 08:17.
- redfrog53 likes this
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#9
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 08:32
contour ของศาลโลก ทั้งโลก.JPEG
Contour ของศาลโลกที่ใช้อยู่ ตรงกับ แผนที่ L7018 ของไทย
เส้นปักปันเขตแดนที่ถูกต้องตามอารยะประเทศ ควรเป็นตามรูป 3
รูป 3 ก็ไม่ใช่ล่ะครับ สันปันน้ำอะไรไปอยู่ตีนหน้าผา
จะว่าไปแผนที่ L7018 พวกพันธมิตรบางคนก็ไม่ยอมรับแผนที่นี้นะครับ
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#10
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 08:46
เขาพระวิหารของไทยหรือของใคร โดย กลุ่มวิทยาศาสตร์สังคมcontour ของศาลโลก ทั้งโลก.JPEG
Contour ของศาลโลกที่ใช้อยู่ ตรงกับ แผนที่ L7018 ของไทย
เส้นปักปันเขตแดนที่ถูกต้องตามอารยะประเทศ ควรเป็นตามรูป 3
รูป 3 ก็ไม่ใช่ล่ะครับ สันปันน้ำอะไรไปอยู่ตีนหน้าผา
จะว่าไปแผนที่ L7018 พวกพันธมิตรบางคนก็ไม่ยอมรับแผนที่นี้นะครับ
กรณีพิพาทเขาพระวิหารระหว่างไทยและกัมพูชาในปัจจุบันเกิดขึ้นจากประเทศไทยต้องเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมอินโดจีนครอบครองกัมพูชา-ลาว-เวียดนามในคริสศตวรรษที่ 19 ซึ่งสยามมีแสนยานุภาพเป็นรองจักรวรรดินิยมฝรั่งเศสในช่วงนั้น สยามจึงต้องตกลงทำสนธิสัญญากับ ฝรั่งเศส ปี1904 – 1907 โดยเฉพาะการจัดทำแผนที่ ซึ่งฝรั่งเศสจัดทำขึ้นเพียงฝ่ายเดียวในปี1907 โดยใช้มาตราส่วน 1: 200000 ที่แสดงแนวเขตแดนให้เห็นว่าปราสาทเขาพระวิหารอยู่ในแดนกัมพูชา
ไม่มีอยู่จริงในปี 1904-1907
รูปที่ 5 แบบจำลองระดับความสูงระดับน้ำที่ 336 เมตร
แผนที่ 1 : 200000 สามารถแบ่งพื้นที่ลุ่มน้ำหรือเป็นเส้นสันปันน้ำได้ตามที่ระบุสนธิสัญญากล่าวคือหากจำลองระดับน้ำมาถึงที่ระดับ 566 เมตร ตามรูปที่ 6 ซึ่งอยู่ในระดับความสูงใกล้เคียงเส้นสันปันน้ำตามแผนที่ฝรั่งเศสที่ยังคงปราสาทเขาพระวิหารในเขตแดนประเทศกัมพูชาตามแผนที่ 1: 200000 ดังกล่าว สภาพเขาพระวิหารบริเวณปราสาทจะกลายเป็นเกาะเล็กๆในฝั่งกัมพูชา แต่ที่ราบลุ่มเกือบทั้งประเทศจะกลายเป็นทะเลทั้งหมดที่ชุมชนไม่อาจอาศัยอยู่ได้ จึงเห็นได้ว่าเส้นเขตแดนดังกล่าวไม่ถูกต้องตามธรรมชาติที่พิสูจน์ได้โดยอย่างชัดเจนโดยเทคโนโลยีในปัจจุบัน
รูปที่ 6 แบบจำลองระดับความสูงระดับน้ำที่ 566
แล้วใครเป็นผู้สร้างปราสาทพระวิหาร? หากใช้กระบวนคิดกฎของธรรมชาติเราก็สามารถอธิบายคำถามดังกล่าวได้ดังนี้คือโดยธรรมชาติแล้วไม่มีมนุษย์คนไหนจะสร้างบ้านบนที่ดินของคนอื่น และ ไม่มีมนุษย์คนไหนสร้างบ้านให้มีทางเข้าบ้านจากหลังบ้านหรือให้มีทางเข้าผ่านที่ดินของคนอื่น มนุษย์ย่อมสร้างบ้านโดยให้มีทางเข้าจากหน้าบ้านเสมอ ปราสาทพระวิหารก็เช่นกันลักษณะของปราสาทมีทางขึ้นหรือทางเข้าจากจังหวัดศรีสะเกษซึ่งเป็นดินแดนที่ราบสูงของประเทศไทยอยู่คนละลุ่มน้ำกับเขมรต่ำ ดังที่กล่าวมาแล้วความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสรรพสิ่งในชุมชนบนลุ่มน้ำเดียวกันย่อมเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันโดยแบ่งแยกไม่ได้ปราสาทพระวิหารก็ย่อมต้องมีความสัมพันธ์กับชุมชนสยามตั้งแต่อดีตกาลอย่างแน่นอน การกระทำใดๆที่กระทำโดยฝืนธรรมชาติเช่นการพยามตัดความสัมพันธ์ของชุมชนสยามหรือประเทศไทยในปัจจุบันออกจากปราสาทพระวิหารที่อยู่ในลุ่มน้ำเดียวกันก็เท่ากับกระทำการอันฝืนธรรมชาติก็ย่อมก่อให้เกิดปัญหาอย่างแน่นอนไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง
ดังนั้นวาทะกรรมที่นักวิชาการ หรือฝ่ายสนับสนุนคำตัดสินของศาลโลกและการยอมรับแผนที่1:200000 โดยการยึดมั่นถือมั่นในตัวตนหรือถือหลักแห่งความไม่ยุติธรรมโดยการตีความเพื่อเข้าข้างตัวเองไม่ว่าโดยอคติ หรือ การมีผลประโยชน์แห่งตน และ พวกพ้อง บริวาร หรือ การว่าจ้างวานให้กระทำ หรือรับจ้างมากระทำโดยความพยายามอ้างหลักฐานทางประวัติศาสตร์หรือการตีความที่ไร้ซึ่งตรรกะเพื่อบิดเบือนหลักหรือกฎแห่งธรรมชาติรวมถึงการนำเสนอกระบวนคิดโลกไร้พรมแดน และ การสร้างวาทะกรรมอันชั่วร้าย โดยเฉพาะการประนามว่าการทวงคืนดินแดนเป็นการกระทำอันกระหายสงคราม เป็นสาวกของระบอบราชานิยม อำมาตยาเสนาชาตินิยม คลั่งชาติ ดังกล่าวนี้ คือหลักคิดด้านลบ คับแคบไม่เป็นวิทยาศาสตร์ อันปฎิเสธกฎแห่งธรรมชาติที่สุดแสนจะล้าหลังสวนทางกับกงล้อประวัติศาสตร์อย่างไร้เดียงสา ไร้ยางอาย และน่าละอายที่สุด
(ดูวีดีโอแสดงภาพเคลื่อนไหวระดับน้ำใน YouTube)
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#11
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 08:48
สู้ให้ดีแค่ไหนก็แพ้มีทางเดียวคือถอนตัวจากศาลโลกทันทีถ้าถอนไดก็ปกป้องดินแดนได้ไม่มีผลประทบอะไรทั้งนั้น
มีแต่ควายแดงและแมงสาปที่รับอํานาจศาลโลกเพื่อขายชาติ
#12
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 08:59
เขาพระวิหารของไทยหรือของใคร โดย กลุ่มวิทยาศาสตร์สังคมcontour ของศาลโลก ทั้งโลก.JPEG
Contour ของศาลโลกที่ใช้อยู่ ตรงกับ แผนที่ L7018 ของไทย
เส้นปักปันเขตแดนที่ถูกต้องตามอารยะประเทศ ควรเป็นตามรูป 3
รูป 3 ก็ไม่ใช่ล่ะครับ สันปันน้ำอะไรไปอยู่ตีนหน้าผา
จะว่าไปแผนที่ L7018 พวกพันธมิตรบางคนก็ไม่ยอมรับแผนที่นี้นะครับ
3 มีนาคม 2554
กรณีพิพาทเขาพระวิหารระหว่างไทยและกัมพูชาในปัจจุบันเกิดขึ้นจากประเทศไทยต้องเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมอินโดจีนครอบครองกัมพูชา-ลาว-เวียดนามในคริสศตวรรษที่ 19 ซึ่งสยามมีแสนยานุภาพเป็นรองจักรวรรดินิยมฝรั่งเศสในช่วงนั้น สยามจึงต้องตกลงทำสนธิสัญญากับ ฝรั่งเศส ปี1904 – 1907 โดยเฉพาะการจัดทำแผนที่ ซึ่งฝรั่งเศสจัดทำขึ้นเพียงฝ่ายเดียวในปี1907 โดยใช้มาตราส่วน 1: 200000 ที่แสดงแนวเขตแดนให้เห็นว่าปราสาทเขาพระวิหารอยู่ในแดนกัมพูชาเมื่อครั้งที่นำคดีสู่ศาลโลก ทนายฝ่ายไทยยืนยันไม่ยอมรับการขีดเส้นแบ่งเขตแดนในแผนที่ของฝรั่งเศสที่จัดทำขึ้นเองเพียงฝ่ายเดียวและแม้คำพิพากษาของศาลโลกมิได้นำมาพิจารณาตามคำฟ้องของฝ่ายกัมพูชา แต่ฝ่ายกัมพูชา และนักวิชาการไทยบางส่วนที่สนับสนุนแนวคิดยอมรับแผนที่1:200000 ก็ยังนำมาอ้างอิงจนเป็นการวิวาทะกันในปัจจุบัน ซึ่งกลุ่มวิทยาศาสตร์สังคมเห็นว่ายังมีช่องว่างของการอธิบายในเรื่องสันปันน้ำ( Watershed ) จึงใคร่นำเสนอ เพื่อให้คนไทยที่ใฝ่รู้ความจริงได้พิจารณาเป็นหลักฐานใหม่ ก่อนไทยจะสูญเสียดินแดน 4.6 ตร.กม หรือสูญเสียดินแดนตามแนวเขตแผนที่ของฝรั่งเศสไปถึงจังหวัดศรีสะเกษจรดจังหวัดสุรินทร์ และ อาจถึงพื้นที่ในทะเลซึ่งหมายถึงสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยอีกมาก ทั้งเป็นการกระตุ้นให้คนไทยที่มีจิตสำนึก ที่เป็นวิทยาศาสตร์ได้ทบทวน และลุกขึ้นมาทักท้วงความไม่ถูกต้อง ซึ่งทางกลุ่มวิทยาศาสตร์สังคมขอให้พิจารณาถึงหลักแห่งธรรมชาติ (ในที่นี้หมายถึงลักษณะของพื้นที่ ภูมิประเทศ การใช้ที่ดิน และ แหล่งต้นกำเนิดลุ่มน้ำลำธาร ฯลฯ) เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว แต่การค้นพบและการใช้เครื่องมือเพื่อการค้นพบดังกล่าวได้รับการพัฒนาเทคโนโลยีซึ่งสามารถพิสูจน์ได้โดยหลักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน และเป็นความจริงหรือสัจธรรมที่พิสูจน์ได้”เพื่อให้สามารถเข้าใจถึงปฐมเหตุแห่งปัญหาและการบิดเบือนธรรมชาติและความชั่วร้ายของนักล่าเอาณานิคม ขอเริ่มจากคำนิยามว่า Watershed หรือที่คนไทยทั่วไปเรียกว่าเส้นสันปันน้ำดังที่ปรากฏในคำพิพากษาที่อ้างถึงสนธิสัญญาไทย-ฝรั่งเศส ปี 1904 คือสาระสำคัญที่ฝ่ายนักล่าอาณานิคมนำมาบิดเบือนความจริงซึ่งขัดแย้งอย่างรุนแรงกับธรรมชาติที่ดำรงอยู่ตราบใดที่ยังใช้คำนิยามเส้นสันปันน้ำ ฝ่ายจักรวรรดินิยมฝรั่งเศสและกัมพูชาและฝ่ายสนับสนุนก็ยังสามารถใช้เป็นข้ออ้างอันถือว่าเป็นการใช้เล่ห์เพทุบายเพื่อบิดเบือนเส้นเขตแดนที่แท้จริงได้จนกระทั่งถึงทุกวันนี้สิ่งที่เป็นสาระสำคัญตามแนวกระบวนคิดใหม่ที่เป็นวิทยาศาสตร์ที่นำเสนอในที่นี้คือคำนิยามที่แท้จริงของคำว่า Watershed ที่แปลว่าพื้นที่ลุ่มน้ำ ซึ่งอธิบายได้กว้างขวางกว่าคำว่าสันปันน้ำ อันจักเกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งได้รังสรรค์ขึ้นโดยเส้นระดับความสูงภูมิประเทศ(Contour)และความลาดชันที่กำหนดการไหลของน้ำหรือเส้นแบ่งน้ำหรือปันน้ำนั่นเอง Watershed หรือพื้นที่ลุ่มน้ำโดยคำนิยามที่ใช้กันทั่วโลกซึ่งยกนำมาอ้างอิงในที่นี้คือจากคำนิยามของWatershedแห่งสถาบันป้องกันสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (Environment Protection Agency – EPA) (http://water.epa.gov/type/watersheds/whatis.cfm) ดังนี้ A watershed is the area of land where all of the water that is under it or drains off of it goes into the same place. John Wesley Powell, scientist geographer, put it best when he said that a watershed is:"that area of land, a bounded hydrologic system, within which all living things are inextricably linked by their common water course and where, as humans settled, simple logic demanded that they become part of a community."รูปที่ 1 Watershed ตามคำนิยามลุ่มน้ำหรือแปลได้ว่า “พื้นที่ลุ่มน้ำคือพื้นที่ของแผ่นดินที่ปริมาณน้ำทั้งหมดที่อยู่ใต้ดินหรือไหลอยู่บนดินไหลลงมารวมในพื้นที่เดียวกัน นาย จอหน์ เวสลีย์ โพเวล นักวิทยาศาสตร์สาขาภูมิศาสตร์ให้คำนิยามที่ดีที่สุดของพื้นที่ลุ่มน้ำคือ – พื้นที่ล้อมรอบระบบน้ำที่สิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกันโดยแบ่งแยกมิได้โดยระบบน้ำร่วมและเป็นสถานที่ซึ่งมนุษย์สร้างถิ่นฐานโดยตรรกะพื้นฐานแห่งความต้องการที่แสดงว่าพวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน”สรุปคำนิยามของพื้นที่ลุ่มน้ำคือพื้นที่แหล่งกำเนิดชุมชนที่สร้างขึ้นโดยระบบน้ำร่วมจึงเห็นได้ว่าพื้นที่ลุ่มน้ำครอบคลุมตั้งแต่แหล่งกำเนิดหรือต้นน้ำหรือพื้นที่ระบบน้ำที่อยู่ในที่สูงกว่า และ พื้นที่ระบบน้ำที่อยู่ต่ำกว่าซึ่งน้ำไหลมารวมกันที่เป็นชุมชน ระบบน้ำและสิ่งมีชีวิตรวมถึงมนุษย์และสรรพสิ่งเกี่ยวเนื่องกันและโดยกฎแห่งธรรมชาติที่ระบบน้ำก่อกำเนิดจากฝนที่ตกลงมาบนพื้นที่ๆสูงกว่าได้แก่บนภูเขาและสันเขาตามธรรมชาติ และไหลมาตามทางเส้นทางน้ำทั้งใต้ดิน และ บนดิน ได้แก่ ห้วย หนอง คลอง บึง ลำธาร แม่น้ำ ทะเลสาป ทะเล และ มหาสมุทร ตามลำดับ และโดยธรรมชาติถิ่นฐานและชุมชนของมนุษย์จะอยู่เหนือระดับน้ำของพื้นที่ลุ่มน้ำใดลุ่มน้ำหนึ่งจากคำนิยามดังกล่าวพื้นที่ลุ่มน้ำสามารถถูกจำแนกแยกแยะได้โดยสมการทางคณิตศาสตร์เพื่อกำหนดเป็นพื้นที่เพื่อให้สามารถกำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำได้โดยตัวแปรหลักๆดังนี้คือ ระดับความสูงของแผ่นดินเหนือระดับน้ำทะเล ความลาดชัน ลักษณะแผ่นดิน ลักษณะธรณีวิทยา ลักษณะดิน ประเภทการใช้ที่ดิน เป็นต้น โดยการจำแนกคุณภาพลุ่มน้ำตามมาตรฐานสากลกำหนดเป็นชั้นคุณภาพที่แสดงด้วยตัวเลขเช่นชั้น 1A 1B ชั้นที่ 2 3 4 หรือ 5 เป็นต้น ซึ่งได้จากการแทนค่าตัวแปรและนำมาจัดลำดับเพื่อให้สะดวกต่อการบริหารจัดการ เพื่อให้เข้าใจง่ายๆพื้นที่ลุ่มน้ำที่มีระดับความสูงของแผ่นดินและ ความลาดชันสูงจะมีตัวเลขน้อย คือชั้น 1A 1B ซึ่งคือภูเขาสูงชันและป่าสมบูรณ์ที่เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารเป็นส่วนใหญ่ และ ชั้นที่ 2 3 4 หรือ 5 ก็คือพืนที่ลุ่มน้ำที่ระดับต่ำกว่า และ ความลาดชันน้อยกว่า จึงมักเป็นภูเขาเตี้ย และที่ราบลุ่มใกล้แม่น้ำ หนอง คลองบึง ที่มนุษย์ก่อสร้างชุมชนและอาศัยอยู่ ดังที่กล่าวมาจึงสามารถกล่าวได้ว่ามนุษย์ต่างตั้งถิ่นฐานและอยู่ร่วมกันในพื้นที่ลุ่มน้ำใดลุ่มน้ำหนึ่งดังนั้นหากเรานิยามคำว่า Watershed ใหม่ตามมาตรฐานสากลก็สามารถแบ่งพื้นที่เขตแดนตามคำนิยามของสนธิสัญญา 1904-1907 ได้โดยมิต้องคำนึงถึงเส้นแบ่งเขตแดนตามที่ปรากฎในแผนที่อีกต่อไปว่าถูกต้องหรือไม่ ปัญหาที่ฝ่ายอ้างอิงเส้นเขตแดนในแผนที่อาจโต้แย้งคือ คำว่า Watershed ใหม่ตามมาตรฐานสากลจะตรงกับความหมายและใช้ได้ตามสนธิสัญญา1904-1907 หรือไม่ เมื่อตรวจสอบรากศัพท์ของคำว่า Watershed พบว่ามีกำเนิดมาจาก ภาษาเยอรมันคือ Wasserscheide ซึ่งมีกำเนิดและนำมาใช้ตั้งแต่ คริสศตวรรตที่ 14ประกอบด้วยคำว่า Wasser แปลว่าน้ำ และ scheideแปลว่า เส้นแบ่ง และ เป็นคำที่เริ่มใช้ในภาษาอังกฤษ คือWatershed ในคริสศตวรรตที่ 18-19 จนถึงปัจจุบัน ดังนั้นคำว่า Watershedจึงไม่ใช่คำใหม่แต่มีรากฐานและความหมายดั้งเดิมที่เกี่ยวกับสันปันน้ำหรือเส้นแบ่งน้ำเมื่อพิจารณาว่าพื้นที่ลุ่มน้ำในปัจุบันหรือสันปันน้ำในอดีตดังกล่าวที่ปรากฎในแผนที่จะมีลักษณะหรือตรงกับคำนิยามและเจตนารมย์ของสนธิสัญญาหรือไม่ เราสามารถพิสูจน์ได้โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System – GIS) ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในคริสศตวรรตที่ 21 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือโดยภาพดาวเทียมและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์Google Earth ที่แสดงภูมิรูปที่ 2 ภาพดาวเทียม Google Earth และเส้นระดับความสูง (Contour) บริเวณเขาพระวิหารประเทศบริเวณเขาพระวิหารและเส้นระดับความสูงที่สร้างจากระบบ GIS ตามรูปที่ 2 จะเห็นว่าเราได้ค้นพบหลักฐานใหม่คือเส้นระดับความสูงและพื้นลุ่มน้ำที่สามารถสร้างขี้นได้อย่างถูกต้องโดยไม่จำเป็นต้องทำการสำรวจในพื้นที่จริงเหมือนในอดีต และพิสูจน์ได้ว่าเส้นเขตแดนหรือเส้นสันปันน้ำของฝรั่งเศสในแผนที่ 1:200000 ไม่ถูกต้องโดยพิสูจน์ได้จากแบบจำลอง 3 มิติ ของระดับน้ำซึ่งทำขึ้นจากข้อมูลแผนที่ดิจิตอลระดับความสูง(Digital Elevation Model – DEM)โดยสามารถอธิบายได้ดังนี้คือ ในสภาวะปกติแผ่นดินของกัมพูชาแถบเทือกเขาพนมดงรักอยู่ในลุ่มน้ำที่ต่ำกว่าคืออยู่ที่ระดับเหนือน้ำทะเลที่ประมาณ 90-116 เมตร ตามรูปที่ 3 ชุมชนชาวกัมพูชาสร้างถิ่นฐานอยู่ในพื้นนี้ได้เป็นปกติแต่หากจำลองให้ระดับน้ำสูงขึ้นมาที่ระดับ 206 เมตร ตามรูปที่ 4 หรือสูงขึ้นมา 90 เมตร (ซึ่งหากเกิดเหตุการณ์เช่นนี้จริงหมู่บ้านและชุมชนทั้งหมดในบริเวณนี้จะจมอยู่ใต้น้ำ) พื้นที่ดังกล่าวย่อมไม่เกิดเป็นชุมชนเพื่อการตั้งถิ่นฐานอีกต่อไปแต่จะกลายเป็นทะเลสาบชุมชนชาวกัมพูชาจะต้องอยู่เหนือขึ้นมาซึ่ง
ไม่มีอยู่จริงในปี 1904-1907และหากจำลองให้ระดับน้ำสูงขึ้นอีกถึงระดับ 306 เมตร ตามรูปที่ 5 แผ่นดินกัมพูชาไม่เฉพาะบริเวณเชิงเทือกเขาพนมดงรักแต่แผ่นดินทั่วไปจะกลายเป็นผืนน้ำกว้างใหญ่แต่แผ่นดินสยามยังเป็นผืนดินที่มนุษย์ยังสามารถตั้งถิ่นฐานและดำรงเป็นชุมชนได้อยู่เพราะอยู่เหนือระดับน้ำที่ต่ำกว่าและยังปรากฎขอบเขตที่ชัดเจนของดินแดนอย่างต่อเนื่องครอบคลุมพื้นที่เขาพระวิหารทั้งหมดและจากแบบจำลองระดับน้ำไม่พบว่าเส้นเขตแดนตามที่ปรากฎใน
รูปที่ 5 แบบจำลองระดับความสูงระดับน้ำที่ 336 เมตร
แผนที่ 1 : 200000 สามารถแบ่งพื้นที่ลุ่มน้ำหรือเป็นเส้นสันปันน้ำได้ตามที่ระบุสนธิสัญญากล่าวคือหากจำลองระดับน้ำมาถึงที่ระดับ 566 เมตร ตามรูปที่ 6 ซึ่งอยู่ในระดับความสูงใกล้เคียงเส้นสันปันน้ำตามแผนที่ฝรั่งเศสที่ยังคงปราสาทเขาพระวิหารในเขตแดนประเทศกัมพูชาตามแผนที่ 1: 200000 ดังกล่าว สภาพเขาพระวิหารบริเวณปราสาทจะกลายเป็นเกาะเล็กๆในฝั่งกัมพูชา แต่ที่ราบลุ่มเกือบทั้งประเทศจะกลายเป็นทะเลทั้งหมดที่ชุมชนไม่อาจอาศัยอยู่ได้ จึงเห็นได้ว่าเส้นเขตแดนดังกล่าวไม่ถูกต้องตามธรรมชาติที่พิสูจน์ได้โดยอย่างชัดเจนโดยเทคโนโลยีในปัจจุบัน
รูปที่ 6 แบบจำลองระดับความสูงระดับน้ำที่ 566จากข้อเท็จจริงดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่าธรรมชาติหรือลักษณะของพื้นที่ของภูมิประเทศของเขตแดนไทยและกัมพูชาได้ถูกแบ่งอย่างชัดเจนโดยธรรมชาติโดยชุมชนชาวกัมพูชาอาศัยตั้งถิ่นฐานอยู่พื้นที่ลุ่มน้ำหนึ่งที่ต่ำกว่าคือที่ระดับไม่เกิน 116 เมตร และตั้งแต่ระดับความลาดชันที่ความสูง 206 เมตรของเชิงเขาพระวิหารขึ้นไปเป็นพื้นที่ของอีกลุ่มน้ำหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นเส้นแบ่งหรือพื้นที่แบ่งและยังเป็นจริงจนถึงที่ความลาดชันสูง 306 เมตร ขึ้นไปจนถึงระดับสูงสุดคือที่ระดับประมาณ 636 เมตร กล่าวคือเป็นพื้นที่อีกลุ่มน้ำหนึ่งในเขตแดนของสยามครอบครองและตั้งชุมชน และเหนือขึ้นไปบนยอดเขาก็เป็นที่ตั้งเทวาลัยคือปราสาทเขาพระวิหารที่สร้างสรรค์โดยชุมชนรุ่นบรรพชนนั่นเอง เขตแดนสยามบริเวณเขาพระวิหารที่ติดกับฝั่งเขมรจึงควรเริ่มที่ระดับน้ำ 206 เมตร (แม้ว่าทางปฎิบัติจริงที่ระดับระหว่าง 206-306 เป็นแนวผาสูงชันไม่มีชุมชนตั้งอยู่ก็ได้) นอกจากนั้นก่อนเกิดสนธิสัญญาปี 1904-1907 เป็นความจริงที่ชุมชนจะอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำเสมอชุมชนสยามยังสามารถขยายอาณาเขตครอบครองลงมาทางด้านทิศใต้ที่ระดับต่ำกว่า 116 เมตร จนถึงเสียมราฐซึ่งเป็นอีกพื้นที่ลุ่มน้ำหนึ่งที่มีชั้นคุณภาพลุ่มน้ำใกล้เคียงกับบริเวณเชิงเขาพระวิหารฝั่งเขมรจรดลุ่มน้ำทะเลสาบน้ำจืดโตนเลสาบสภาพพื้นที่ลุ่มน้ำตามเทือกเขาพนมดงรักดังกล่าวดำรงอยู่จริงจึงก่อเกิดเส้นแบ่งเขตแดนตามธรรมชาติโดยระดับความสูง ความลาดชัน เพื่อเป็นถิ่นที่ตั้งของชุมชน และสิ่งก่อสร้างเทวาลัยมานับร้อยๆปีมาแล้วก่อนเกิดเส้นเขตแดนที่จักรวรรดินิยมฝรั่งเศสสร้างขึ้นบนแผนที่ 1: 200000 โดยความไม่ชอบธรรม โดยอคติ ไม่สุจริต หรือเป็นเท็จอันไม่ถูกต้องตามเจตนารมย์ของสนธิสัญญามาตั้งแต่ต้นกระบวนคิดใหม่โดยการอธิบายคำนิยามใหม่ของพื้นที่ลุ่มน้ำ (Watershed) และการนำเสนอใหม่นี้จึงอธิบายความหมายของคำว่า Watershed ได้อย่างสมบูรณ์มากกว่าคำนิยามเดิมที่เพียงใช้คำว่าสันปันน้ำอย่างเดียว และยังสามารถพิสูจน์ได้ว่าปราสาทเขาพระวิหารและพื้นที่โดยรอบ4.6 ตารางกิโลเมตร รวมถึงสันเขาของเทือกเขาพนมดงรักตลอดเขตแดนจังหวัดศรีสะเกษ จรดจังหวัดสุรินทร์อยู่ในดินแดนของประเทศไทยเป็นความจริงที่ดินแดนในบริเวณดังกล่าวอาจถูกครอบครองโดยบรรพชนแห่งรัฐกัมพูชาในอดีต และเป็นจริงที่การขยายอาณาเขตในอดีตคือการครอบครองโดยการเข้ายึดครองโดยสยาม แต่ เมื่อสยามเสียดินแดนหรือเสียการครอบครองให้ฝรั่งเศส และได้ระบุในสนธิสัญญาว่าการกำหนดเส้นเขตแดนใช้คำว่า Watershed การสร้างเส้นเขตแดนจริงจึงต้องทำให้ถูกต้องและชอบธรรม ดังนั้นหากฝรั่งเศสซึ่งครอบครองอินโดจีนในขณะนั้นบังคับสยามให้สละดินแดนโดยสร้างเขตแดนที่ไม่ถูกต้องตามเจตนารมย์ของสนธิสัญญา เมื่อสามารถใช้กระบวนคิดใหม่โดยอธิบายนิยามของคำว่าพื้นที่ลุ่มน้ำมาพิสูจน์ได้ว่าเส้นเขตแดนของฝรั่งเศสไม่ถูกต้อง ก็ควรเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกฝ่ายที่ควรจะร่วมมือกันแก้ไขทวงสิทธิและสมควรปกป้องดินแดนมิให้เสียเพิ่มเติมต่อไปอาจมีข้อโต้แย้งว่าชาวเขมรเป็นผู้สร้างปราสาท หรือ รูปแบบของปราสาทคือนวัตกรรมที่รังสรรค์อันเป็นเอกลักษณ์ของชนชาติเขมรดังนั้นปราสาทต้องอยู่ในดินแดนเขมร เราสามารถอธิบายได้ว่าศิลปของปราสาทก็คือเอกลัษณ์ หรือ วัฒนธรรมของชนชาติหนึ่ง (ที่ จิตร ภูมิศักดิ์ สันนิฐานว่าคือชนชาติขอม) การปรากฎของเอกลักษณ์ที่เผยแพร่ไปนี้เป็นปรากฎการณ์ของวัฒนธรรมไร้พรมแดนประการหนึ่งเช่นเดียวกับ การบริโภคแมคโดนัล กาแฟสตาร์บัคส์ การบริโภคอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่นโดยใช้ตะเกียบ หรือการบริโภคต้มยำกุ้งอันมีรสชาติและวิธีการปรุงอันเป็นเอกลักษณ์ของอาหารไทยที่เผยแพร่ไปทั่วโลกซึ่งก็คือรูปแบบหนึ่งของวัฒนธรรมไร้เขตแดนเช่นกัน ปรากฎการณ์วัฒนธรรมไร้พรมแดนหรือไร้เขตแดนที่เห็นได้ชัดเจนในปัจจุบันคือวัฒนธรรมการใช้อินเตอร์เน็ต หรือ กระแสธารวัฒนธรรมที่ไหลบ่าผ่านอินเตอร์เน็ตในปัจจุบันนั้นเอง ขณะที่ประเทศก็ยังคงขอบเขตและพรมแดนอยู่ต่อไป นี่คือคำตอบที่ไขปริศนาเหตุใดจึงมีปราสาทเมืองสิงห์ซึ่งมีศิลปคล้ายเขมรอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรีไม่เพียงแต่คำสงวนคำตัดสินของประเทศไทยต่อคำตัดสินของศาลโลกเท่านั้นที่ให้ความชอบธรรมในการทวงสิทธิดินแดนคืนแต่ในฐานะคนไทยรักชาติต้องนำเสนอความจริงทางวิทยาศาสตร์อันเป็นสัจจธรรมแห่งธรรมชาติ เพื่อต่อต้านแนวคิดจักรวรรดนิยมที่มีแสนยานุภาพเหนือกว่าไทยในอดีตที่บังอาจกระทำหลักฐานเส้นแบ่งเขตพรมแดนตามอำเภอใจและได้สร้างปัญหาจนถึงปัจจุบัน กระบวนคิดใหม่นี้จึงถือเป็นภาระกิจสำคัญที่ต้องปฎิบัติให้เป็นจริงโดยประจักษ์โดยมิอาจหยุดยั้งได้นับตั้งแต่วินาที่นี้เป็นต้นไป
แล้วใครเป็นผู้สร้างปราสาทพระวิหาร? หากใช้กระบวนคิดกฎของธรรมชาติเราก็สามารถอธิบายคำถามดังกล่าวได้ดังนี้คือโดยธรรมชาติแล้วไม่มีมนุษย์คนไหนจะสร้างบ้านบนที่ดินของคนอื่น และ ไม่มีมนุษย์คนไหนสร้างบ้านให้มีทางเข้าบ้านจากหลังบ้านหรือให้มีทางเข้าผ่านที่ดินของคนอื่น มนุษย์ย่อมสร้างบ้านโดยให้มีทางเข้าจากหน้าบ้านเสมอ ปราสาทพระวิหารก็เช่นกันลักษณะของปราสาทมีทางขึ้นหรือทางเข้าจากจังหวัดศรีสะเกษซึ่งเป็นดินแดนที่ราบสูงของประเทศไทยอยู่คนละลุ่มน้ำกับเขมรต่ำ ดังที่กล่าวมาแล้วความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสรรพสิ่งในชุมชนบนลุ่มน้ำเดียวกันย่อมเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันโดยแบ่งแยกไม่ได้ปราสาทพระวิหารก็ย่อมต้องมีความสัมพันธ์กับชุมชนสยามตั้งแต่อดีตกาลอย่างแน่นอน การกระทำใดๆที่กระทำโดยฝืนธรรมชาติเช่นการพยามตัดความสัมพันธ์ของชุมชนสยามหรือประเทศไทยในปัจจุบันออกจากปราสาทพระวิหารที่อยู่ในลุ่มน้ำเดียวกันก็เท่ากับกระทำการอันฝืนธรรมชาติก็ย่อมก่อให้เกิดปัญหาอย่างแน่นอนไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง
ดังนั้นวาทะกรรมที่นักวิชาการ หรือฝ่ายสนับสนุนคำตัดสินของศาลโลกและการยอมรับแผนที่1:200000 โดยการยึดมั่นถือมั่นในตัวตนหรือถือหลักแห่งความไม่ยุติธรรมโดยการตีความเพื่อเข้าข้างตัวเองไม่ว่าโดยอคติ หรือ การมีผลประโยชน์แห่งตน และ พวกพ้อง บริวาร หรือ การว่าจ้างวานให้กระทำ หรือรับจ้างมากระทำโดยความพยายามอ้างหลักฐานทางประวัติศาสตร์หรือการตีความที่ไร้ซึ่งตรรกะเพื่อบิดเบือนหลักหรือกฎแห่งธรรมชาติรวมถึงการนำเสนอกระบวนคิดโลกไร้พรมแดน และ การสร้างวาทะกรรมอันชั่วร้าย โดยเฉพาะการประนามว่าการทวงคืนดินแดนเป็นการกระทำอันกระหายสงคราม เป็นสาวกของระบอบราชานิยม อำมาตยาเสนาชาตินิยม คลั่งชาติ ดังกล่าวนี้ คือหลักคิดด้านลบ คับแคบไม่เป็นวิทยาศาสตร์ อันปฎิเสธกฎแห่งธรรมชาติที่สุดแสนจะล้าหลังสวนทางกับกงล้อประวัติศาสตร์อย่างไร้เดียงสา ไร้ยางอาย และน่าละอายที่สุด
(ดูวีดีโอแสดงภาพเคลื่อนไหวระดับน้ำใน YouTube)
งั้นคงต้องฉีกสัญญาฉบับนี้ทิ้งล่ะครับ ในเมื่อสัญญาภาษาไทยเองเขาก็ใช้แนวยอดภูเขา
- bird, redfrog53 and Tam-mic-ra. like this
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#13
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 09:35
เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...
#14
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 09:50
แล้วทางศาลจะส่งคนมาพิสูจน์หรือเปล่า หรือดูแค่เอกสารอย่างเดียวแล้วตัดสิน
#15
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 09:58
ไม่ทราบครับ ที่พูดขึ้นมา เทียบจากที่เขาทำกันทั่วโลก ในประเทศอารยะที่ไม่ถูกรุกราน สามารถปกป้องตัวเองได้จากสุนัขล่าเนื้อ บวกกับเทคโนโลยี่ที่ทันสมัยในปัจจุบันงั้นคงต้องฉีกสัญญาฉบับนี้ทิ้งล่ะครับ ในเมื่อสัญญาภาษาไทยเองเขาก็ใช้แนวยอดภูเขารูป 3 ก็ไม่ใช่ล่ะครับ สันปันน้ำอะไรไปอยู่ตีนหน้าผาcontour ของศาลโลก ทั้งโลก.JPEG
contour ของไทย.JPEG
wshd3.png
Contour ของศาลโลกที่ใช้อยู่ ตรงกับ แผนที่ L7018 ของไทย
เส้นปักปันเขตแดนที่ถูกต้องตามอารยะประเทศ ควรเป็นตามรูป 3
จะว่าไปแผนที่ L7018 พวกพันธมิตรบางคนก็ไม่ยอมรับแผนที่นี้นะครับ
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#16
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:12
ไม่ทราบครับ ที่พูดขึ้นมา เทียบจากที่เขาทำกันทั่วโลก ในประเทศอารยะที่ไม่ถูกรุกราน สามารถปกป้องตัวเองได้จากสุนัขล่าเนื้อ บวกกับเทคโนโลยี่ที่ทันสมัยในปัจจุบันงั้นคงต้องฉีกสัญญาฉบับนี้ทิ้งล่ะครับ ในเมื่อสัญญาภาษาไทยเองเขาก็ใช้แนวยอดภูเขา
รูป 3 ก็ไม่ใช่ล่ะครับ สันปันน้ำอะไรไปอยู่ตีนหน้าผาcontour ของศาลโลก ทั้งโลก.JPEG
contour ของไทย.JPEG
wshd3.png
Contour ของศาลโลกที่ใช้อยู่ ตรงกับ แผนที่ L7018 ของไทย
เส้นปักปันเขตแดนที่ถูกต้องตามอารยะประเทศ ควรเป็นตามรูป 3
จะว่าไปแผนที่ L7018 พวกพันธมิตรบางคนก็ไม่ยอมรับแผนที่นี้นะครับ
ไม่ทราบได้ไงครับในเมื่อสัญญาใช้ยอดภูเขา แล้วเส้นที่ถูกต้องตามสัญญาทำไมถึงไปอยู่ที่ตีนเขาได้ล่ะครับ สัญญาผิดหรือคนทำรูปผิดครับ
- Tam-mic-ra. likes this
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#17
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:42
สันปันน้ำ คือเวลาที่ฝนตกลงมาแล้วน้ำแยกไปสองฝั่ง ด้านไหนไหลไปทางฝั่งไทยก็เป็นของไทย
ค้านไหนน้ำไหลไปทางฝั่งเขมรก็เป็นของเขมร ประมาณนั้น ฮ่าๆๆ
คือยอดเขา สันเขา นั่นแหละ
#18
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:42
ไม่ทราบครับ ที่พูดขึ้นมา เทียบจากที่เขาทำกันทั่วโลก ในประเทศอารยะที่ไม่ถูกรุกราน สามารถปกป้องตัวเองได้จากสุนัขล่าเนื้อ บวกกับเทคโนโลยี่ที่ทันสมัยในปัจจุบันงั้นคงต้องฉีกสัญญาฉบับนี้ทิ้งล่ะครับ ในเมื่อสัญญาภาษาไทยเองเขาก็ใช้แนวยอดภูเขา
รูป 3 ก็ไม่ใช่ล่ะครับ สันปันน้ำอะไรไปอยู่ตีนหน้าผาcontour ของศาลโลก ทั้งโลก.JPEG
contour ของไทย.JPEG
wshd3.png
Contour ของศาลโลกที่ใช้อยู่ ตรงกับ แผนที่ L7018 ของไทย
เส้นปักปันเขตแดนที่ถูกต้องตามอารยะประเทศ ควรเป็นตามรูป 3
จะว่าไปแผนที่ L7018 พวกพันธมิตรบางคนก็ไม่ยอมรับแผนที่นี้นะครับ
ไม่ทราบได้ไงครับในเมื่อสัญญาใช้ยอดภูเขา แล้วเส้นที่ถูกต้องตามสัญญาทำไมถึงไปอยู่ที่ตีนเขาได้ล่ะครับ สัญญาผิดหรือคนทำรูปผิดครับ
ผมไม่ทราบครับว่าตอนนั้น เขาทำกันถูกหรือผิด มีอิทธิพลหรือการรู้ไม่เท่าทันเขามาเกี่ยวข้องหรือไม่
แต่ที่ยกมาทำ ก็แสดงความเห็น เช่นเดียวกับที่นายอำเภอฯแสดงความคิดเห็นไว้ในมุมมองคนปัจจุบัน
ที่มีเทคโนโลยี่ทันสมัยแล้ว หลอกกันไม่ได้เท่านั้น จะนำไปต่อสู้ในอนาคตก็ทำได้ ไม่ห้ามครับ
- redfrog53 likes this
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#19
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:46
วันนี้ ( 11 ม.ค. ) เมื่อเวลา 15.00 น. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่บริเวณผามออีแดง อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร ต.เสาธงชัย อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ ชายแดนไทย-กัมพูชา ได้มี มิสเตอร์แฟรงค์ บาร์คเกอร์ นายอำเภอจากเมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ และ นางพิมกาญจน์ จำพร อายุ 39 ปี ภรรยาชาวไทย ได้เดินทางมาท่องเที่ยวเป็นการส่วนตัวและดูข้อเท็จจริงกรณีพิพาทปราสาทพระ วิหาร ระหว่างประเทศไทยกับกัมพูชาที่กำลังเป็นข่าวไปทั่วโลกว่าข้อเท็จจริงเป็น อย่างไร ซึ่ง มิสเตอร์แฟรงค์ ได้ใช้กล้องส่องทางไกลส่องดูปราสาทพระวิหาร บนยอดเขาพระวิหาร พร้อมตรวจดูสภาพภูมิประเทศโดยรอบปราสาทพระวิหารอย่างละเอียด โดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) ของไทย คอยอำนวยความสะดวกและรักษาความปลอดภัยอย่างเต็มที่มิสเตอร์แฟรงค์ บาร์คเกอร์ นายอำเภอจากเมืองอัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์ กล่าวผ่าน นางพิมกาญน์ จำพร ภรรยาชาวไทย ที่ช่วยเป็นล่ามแปล ว่า ตนเป็นนายอำเภออยู่ที่เมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่ง อยู่ห่างจากกรุงเฮก ที่ตั้งของ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือ ศาลโลกใช้เวลาเดินทางด้วยรถยนต์เพียงประมาณ 1 ชั่วโมงเท่านั้น จากการที่ได้ทราบข้อมูลว่าปราสาทพระวิหารกำลังเป็นปัญหาระหว่างไทยกับ กัมพูชา และศาลโลกจะมีการพิจารณาคดีในเดือนเม.ย. 2556 นี้ จึงต้องการมาพิสูจน์ด้วยตัวเองว่าข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารเป็น อย่างไรจากการที่ได้ดูสภาพข้อเท็จจริงของภูมิประเทศโดยรอบปราสาทพระวิหารแล้ว เห็นว่า ตามลักษณะภูมิประเทศและหลักเกณฑ์ของการปักปันเขตแดนระหว่างประเทศ ปราสาทพระวิหารน่าที่จะเป็นของประเทศไทยไม่ใช่เป็นของประเทศกัมพูชา ซึ่งจะได้นำเอาเรื่องนี้ไปแจ้งให้ชาวเมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้ทราบและเข้าใจสภาพข้อเท็จจริงเพื่อเป็นกำลังใจให้กับ ชาวไทยทั้งประเทศ กรณีปราสาทพระวิหารต่อไปน่าจะทำให้ชาวเนเธอร์แลนด์ที่ได้รับรู้เข้าใจกรณี"ปราสาทเขาพระวิหาร"มากกว่าก่อนหน้านี้.....ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
อ่านข่าวแล้วก็คิดว่ามันก็แค่ความเห็นของฝรั่งคนหนึ่ง...ที่ไม่ได้บทบาทใดๆ ที่จะทำให้เกิดมีส่วนได้ส่วนเสียใดๆในเรื่องนี้ขอรับ เอามาเป็นข่าวให้คนไทยใจเขมรมันโจมตีจุดอ่อน หรือถามอย่างกระพ๊มว่า "แล้วไอ้หรั่งนี่เป็นใคร?" ทำไมน๊อ...
#20
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 11:22
ผมไม่ทราบครับว่าตอนนั้น เขาทำกันถูกหรือผิด มีอิทธิพลหรือการรู้ไม่เท่าทันเขามาเกี่ยวข้องหรือไม่แต่ที่ยกมาทำ ก็แสดงความเห็น เช่นเดียวกับที่นายอำเภอฯแสดงความคิดเห็นไว้ในมุมมองคนปัจจุบัน
ที่มีเทคโนโลยี่ทันสมัยแล้ว หลอกกันไม่ได้เท่านั้น จะนำไปต่อสู้ในอนาคตก็ทำได้ ไม่ห้ามครับ
1. สัญญาที่ทำขึ้นมีฉบับภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส คำว่า watershed จึงไม่มี ที่ทำกันถูกหรือผิดจึงเป็นเรื่องแนวยอดเขาที่แท้จริงมันอยู่ตรงไหน เพราะตอนนั้นเทคโนโลยียังไม่ทันสมัย แต่ก็ไม่ได้แยกไม่ออกระหว่างยอดเขากับตีนเขา
2. คำว่า watershed ใช้ในความหมาย drainage divide (non-North American usage) และ drainage basin (North American usage) ในเมื่อสัญญาภาษาไทยใช้คำว่าแนวยอดภูเขาปันน้ำ มันจะตรงกับความหมายไหนกัน
- redfrog53 likes this
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#21
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 11:57
ผมไม่ทราบครับว่าตอนนั้น เขาทำกันถูกหรือผิด มีอิทธิพลหรือการรู้ไม่เท่าทันเขามาเกี่ยวข้องหรือไม่แต่ที่ยกมาทำ ก็แสดงความเห็น เช่นเดียวกับที่นายอำเภอฯแสดงความคิดเห็นไว้ในมุมมองคนปัจจุบัน
ที่มีเทคโนโลยี่ทันสมัยแล้ว หลอกกันไม่ได้เท่านั้น จะนำไปต่อสู้ในอนาคตก็ทำได้ ไม่ห้ามครับ
1. สัญญาที่ทำขึ้นมีฉบับภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส คำว่า watershed จึงไม่มี ที่ทำกันถูกหรือผิดจึงเป็นเรื่องแนวยอดเขาที่แท้จริงมันอยู่ตรงไหน เพราะตอนนั้นเทคโนโลยียังไม่ทันสมัย แต่ก็ไม่ได้แยกไม่ออกระหว่างยอดเขากับตีนเขา
2. คำว่า watershed ใช้ในความหมาย drainage divide (non-North American usage) และ drainage basin (North American usage) ในเมื่อสัญญาภาษาไทยใช้คำว่าแนวยอดภูเขาปันน้ำ มันจะตรงกับความหมายไหนกัน
ตามที่นำมามันเป็นการอ้างอิงความเป็นมาที่ทำให้ คำว่า watershed ("พื้นที่ลุ่มน้ำ") กลายมาเป็น "ภูเขาปันน้ำ" ตามที่เข้าใจกันในอดีตได้อย่างไร (ไม่ใช่ สันปันน้ำ หรือเส้นแบ่งน้ำ เสียด้วยซ้ำ อาจเพี้ยนจาก สันปันน้ำ เป็น สันเขาปันน้ำ แล้วกลายเป็น ภูเขาปันน้ำ ในที่สุด - อันนี้คิดเอาเองครับ ต้องดูฉบับภาษาอื่นๆประกอบครับ)
- redfrog53 likes this
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#22
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:08
วันนี้ ( 11 ม.ค. ) เมื่อเวลา 15.00 น. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่บริเวณผามออีแดง อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร ต.เสาธงชัย อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ ชายแดนไทย-กัมพูชา ได้มี มิสเตอร์แฟรงค์ บาร์คเกอร์ นายอำเภอจากเมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ และ นางพิมกาญจน์ จำพร อายุ 39 ปี ภรรยาชาวไทย ได้เดินทางมาท่องเที่ยวเป็นการส่วนตัวและดูข้อเท็จจริงกรณีพิพาทปราสาทพระ วิหาร ระหว่างประเทศไทยกับกัมพูชาที่กำลังเป็นข่าวไปทั่วโลกว่าข้อเท็จจริงเป็น อย่างไร ซึ่ง มิสเตอร์แฟรงค์ ได้ใช้กล้องส่องทางไกลส่องดูปราสาทพระวิหาร บนยอดเขาพระวิหาร พร้อมตรวจดูสภาพภูมิประเทศโดยรอบปราสาทพระวิหารอย่างละเอียด โดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) ของไทย คอยอำนวยความสะดวกและรักษาความปลอดภัยอย่างเต็มที่มิสเตอร์แฟรงค์ บาร์คเกอร์ นายอำเภอจากเมืองอัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์ กล่าวผ่าน นางพิมกาญน์ จำพร ภรรยาชาวไทย ที่ช่วยเป็นล่ามแปล ว่า ตนเป็นนายอำเภออยู่ที่เมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่ง อยู่ห่างจากกรุงเฮก ที่ตั้งของ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือ ศาลโลกใช้เวลาเดินทางด้วยรถยนต์เพียงประมาณ 1 ชั่วโมงเท่านั้น จากการที่ได้ทราบข้อมูลว่าปราสาทพระวิหารกำลังเป็นปัญหาระหว่างไทยกับ กัมพูชา และศาลโลกจะมีการพิจารณาคดีในเดือนเม.ย. 2556 นี้ จึงต้องการมาพิสูจน์ด้วยตัวเองว่าข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารเป็น อย่างไรจากการที่ได้ดูสภาพข้อเท็จจริงของภูมิประเทศโดยรอบปราสาทพระวิหารแล้ว เห็นว่า ตามลักษณะภูมิประเทศและหลักเกณฑ์ของการปักปันเขตแดนระหว่างประเทศ ปราสาทพระวิหารน่าที่จะเป็นของประเทศไทยไม่ใช่เป็นของประเทศกัมพูชา ซึ่งจะได้นำเอาเรื่องนี้ไปแจ้งให้ชาวเมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้ทราบและเข้าใจสภาพข้อเท็จจริงเพื่อเป็นกำลังใจให้กับ ชาวไทยทั้งประเทศ กรณีปราสาทพระวิหารต่อไปน่าจะทำให้ชาวเนเธอร์แลนด์ที่ได้รับรู้เข้าใจกรณี"ปราสาทเขาพระวิหาร"มากกว่าก่อนหน้านี้.....ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
อ่านข่าวแล้วก็คิดว่ามันก็แค่ความเห็นของฝรั่งคนหนึ่ง...ที่ไม่ได้บทบาทใดๆ ที่จะทำให้เกิดมีส่วนได้ส่วนเสียใดๆในเรื่องนี้ขอรับ เอามาเป็นข่าวให้คนไทยใจเขมรมันโจมตีจุดอ่อน หรือถามอย่างกระพ๊มว่า "แล้วไอ้หรั่งนี่เป็นใคร?" ทำไมน๊อ...
นั่งรถเราไปดูก็บอกงี๊ แหละ
#23
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:09
ผมไม่ทราบครับว่าตอนนั้น เขาทำกันถูกหรือผิด มีอิทธิพลหรือการรู้ไม่เท่าทันเขามาเกี่ยวข้องหรือไม่แต่ที่ยกมาทำ ก็แสดงความเห็น เช่นเดียวกับที่นายอำเภอฯแสดงความคิดเห็นไว้ในมุมมองคนปัจจุบัน
ที่มีเทคโนโลยี่ทันสมัยแล้ว หลอกกันไม่ได้เท่านั้น จะนำไปต่อสู้ในอนาคตก็ทำได้ ไม่ห้ามครับ
1. สัญญาที่ทำขึ้นมีฉบับภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส คำว่า watershed จึงไม่มี ที่ทำกันถูกหรือผิดจึงเป็นเรื่องแนวยอดเขาที่แท้จริงมันอยู่ตรงไหน เพราะตอนนั้นเทคโนโลยียังไม่ทันสมัย แต่ก็ไม่ได้แยกไม่ออกระหว่างยอดเขากับตีนเขา
2. คำว่า watershed ใช้ในความหมาย drainage divide (non-North American usage) และ drainage basin (North American usage) ในเมื่อสัญญาภาษาไทยใช้คำว่าแนวยอดภูเขาปันน้ำ มันจะตรงกับความหมายไหนกัน
ตามที่นำมามันเป็นการอ้างอิงความเป็นมาที่ทำให้ คำว่า watershed ("พื้นที่ลุ่มน้ำ") กลายมาเป็น "ภูเขาปันน้ำ" ตามที่เข้าใจกันในอดีตได้อย่างไร (ไม่ใช่ สันปันน้ำ หรือเส้นแบ่งน้ำ เสียด้วยซ้ำ อาจเพี้ยนจาก สันปันน้ำ เป็น สันเขาปันน้ำ แล้วกลายเป็น ภูเขาปันน้ำ ในที่สุด - อันนี้คิดเอาเองครับ ต้องดูฉบับภาษาอื่นๆประกอบครับ)
นั่นสิครับจากรากศัพท์ของคำว่า Watershed กำเนิดมาจากภาษาเยอรมันคือ Wasserscheide ประกอบด้วยคำว่า Wasser แปลว่าน้ำ และ scheide แปลว่า เส้นแบ่ง รวมกันก็เส้นแบ่งน้ำ แล้วมิทราบไป ๆ มา ๆ จากเส้นกลายเป็นพื้นที่ได้อย่างไรครับ
ในสัญญาฉบับภาษาฝรั่งเศสใช้ ligne de partage des eaux นะครับ
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#24
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:10
วันนี้ ( 11 ม.ค. ) เมื่อเวลา 15.00 น. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่บริเวณผามออีแดง อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร ต.เสาธงชัย อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ ชายแดนไทย-กัมพูชา ได้มี มิสเตอร์แฟรงค์ บาร์คเกอร์ นายอำเภอจากเมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ และ นางพิมกาญจน์ จำพร อายุ 39 ปี ภรรยาชาวไทย ได้เดินทางมาท่องเที่ยวเป็นการส่วนตัวและดูข้อเท็จจริงกรณีพิพาทปราสาทพระ วิหาร ระหว่างประเทศไทยกับกัมพูชาที่กำลังเป็นข่าวไปทั่วโลกว่าข้อเท็จจริงเป็น อย่างไร ซึ่ง มิสเตอร์แฟรงค์ ได้ใช้กล้องส่องทางไกลส่องดูปราสาทพระวิหาร บนยอดเขาพระวิหาร พร้อมตรวจดูสภาพภูมิประเทศโดยรอบปราสาทพระวิหารอย่างละเอียด โดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) ของไทย คอยอำนวยความสะดวกและรักษาความปลอดภัยอย่างเต็มที่มิสเตอร์แฟรงค์ บาร์คเกอร์ นายอำเภอจากเมืองอัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์ กล่าวผ่าน นางพิมกาญน์ จำพร ภรรยาชาวไทย ที่ช่วยเป็นล่ามแปล ว่า ตนเป็นนายอำเภออยู่ที่เมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่ง อยู่ห่างจากกรุงเฮก ที่ตั้งของ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือ ศาลโลกใช้เวลาเดินทางด้วยรถยนต์เพียงประมาณ 1 ชั่วโมงเท่านั้น จากการที่ได้ทราบข้อมูลว่าปราสาทพระวิหารกำลังเป็นปัญหาระหว่างไทยกับ กัมพูชา และศาลโลกจะมีการพิจารณาคดีในเดือนเม.ย. 2556 นี้ จึงต้องการมาพิสูจน์ด้วยตัวเองว่าข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารเป็น อย่างไรจากการที่ได้ดูสภาพข้อเท็จจริงของภูมิประเทศโดยรอบปราสาทพระวิหารแล้ว เห็นว่า ตามลักษณะภูมิประเทศและหลักเกณฑ์ของการปักปันเขตแดนระหว่างประเทศ ปราสาทพระวิหารน่าที่จะเป็นของประเทศไทยไม่ใช่เป็นของประเทศกัมพูชา ซึ่งจะได้นำเอาเรื่องนี้ไปแจ้งให้ชาวเมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้ทราบและเข้าใจสภาพข้อเท็จจริงเพื่อเป็นกำลังใจให้กับ ชาวไทยทั้งประเทศ กรณีปราสาทพระวิหารต่อไปน่าจะทำให้ชาวเนเธอร์แลนด์ที่ได้รับรู้เข้าใจกรณี"ปราสาทเขาพระวิหาร"มากกว่าก่อนหน้านี้.....ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า
อ่านข่าวแล้วก็คิดว่ามันก็แค่ความเห็นของฝรั่งคนหนึ่ง...ที่ไม่ได้บทบาทใดๆ ที่จะทำให้เกิดมีส่วนได้ส่วนเสียใดๆในเรื่องนี้ขอรับ เอามาเป็นข่าวให้คนไทยใจเขมรมันโจมตีจุดอ่อน หรือถามอย่างกระพ๊มว่า "แล้วไอ้หรั่งนี่เป็นใคร?" ทำไมน๊อ...
นั่งรถเราไปดูก็บอกงี๊ แหละ
มีเมียคนไทยอีก
- susu likes this
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#25
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:15
ผมไม่ทราบครับว่าตอนนั้น เขาทำกันถูกหรือผิด มีอิทธิพลหรือการรู้ไม่เท่าทันเขามาเกี่ยวข้องหรือไม่แต่ที่ยกมาทำ ก็แสดงความเห็น เช่นเดียวกับที่นายอำเภอฯแสดงความคิดเห็นไว้ในมุมมองคนปัจจุบัน
ที่มีเทคโนโลยี่ทันสมัยแล้ว หลอกกันไม่ได้เท่านั้น จะนำไปต่อสู้ในอนาคตก็ทำได้ ไม่ห้ามครับ
1. สัญญาที่ทำขึ้นมีฉบับภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส คำว่า watershed จึงไม่มี ที่ทำกันถูกหรือผิดจึงเป็นเรื่องแนวยอดเขาที่แท้จริงมันอยู่ตรงไหน เพราะตอนนั้นเทคโนโลยียังไม่ทันสมัย แต่ก็ไม่ได้แยกไม่ออกระหว่างยอดเขากับตีนเขา
2. คำว่า watershed ใช้ในความหมาย drainage divide (non-North American usage) และ drainage basin (North American usage) ในเมื่อสัญญาภาษาไทยใช้คำว่าแนวยอดภูเขาปันน้ำ มันจะตรงกับความหมายไหนกัน
ตามที่นำมามันเป็นการอ้างอิงความเป็นมาที่ทำให้ คำว่า watershed ("พื้นที่ลุ่มน้ำ") กลายมาเป็น "ภูเขาปันน้ำ" ตามที่เข้าใจกันในอดีตได้อย่างไร (ไม่ใช่ สันปันน้ำ หรือเส้นแบ่งน้ำ เสียด้วยซ้ำ อาจเพี้ยนจาก สันปันน้ำ เป็น สันเขาปันน้ำ แล้วกลายเป็น ภูเขาปันน้ำ ในที่สุด - อันนี้คิดเอาเองครับ ต้องดูฉบับภาษาอื่นๆประกอบครับ)
นั่นสิครับจากรากศัพท์ของคำว่า Watershed กำเนิดมาจากภาษาเยอรมันคือ Wasserscheide ประกอบด้วยคำว่า Wasser แปลว่าน้ำ และ scheide แปลว่า เส้นแบ่ง รวมกันก็เส้นแบ่งน้ำ แล้วมิทราบไป ๆ มา ๆ จากเส้นกลายเป็นพื้นที่ได้อย่างไรครับ
ในสัญญาฉบับภาษาฝรั่งเศสใช้ ligne de partage des eaux นะครับ
- "The frontier between Siam and Cambodia starts on the left shore of the Great Lake, from the mouth of the river Stung Roluos; it follows the parallel from that point eastwards until it meets the river Prek Kompong Tiam; then, turning northwards, it lies along the meridian from that meeting point to the mountain chain of the Phnom Dangrek. From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun, on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong. Upstream from this point, the Mekong remains the frontier of the Kingdom of Siam, in accordance with Article 1 of the Treaty of 3 October 1893."
เจอแล้วครับ ใน http://th.wikipedia....ั่งเศส_ร.ศ._122
Watershed ใช้กับแม่น้ำด้วยครับ
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#26
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:33
ผมไม่ทราบครับว่าตอนนั้น เขาทำกันถูกหรือผิด มีอิทธิพลหรือการรู้ไม่เท่าทันเขามาเกี่ยวข้องหรือไม่แต่ที่ยกมาทำ ก็แสดงความเห็น เช่นเดียวกับที่นายอำเภอฯแสดงความคิดเห็นไว้ในมุมมองคนปัจจุบัน
ที่มีเทคโนโลยี่ทันสมัยแล้ว หลอกกันไม่ได้เท่านั้น จะนำไปต่อสู้ในอนาคตก็ทำได้ ไม่ห้ามครับ
1. สัญญาที่ทำขึ้นมีฉบับภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส คำว่า watershed จึงไม่มี ที่ทำกันถูกหรือผิดจึงเป็นเรื่องแนวยอดเขาที่แท้จริงมันอยู่ตรงไหน เพราะตอนนั้นเทคโนโลยียังไม่ทันสมัย แต่ก็ไม่ได้แยกไม่ออกระหว่างยอดเขากับตีนเขา
2. คำว่า watershed ใช้ในความหมาย drainage divide (non-North American usage) และ drainage basin (North American usage) ในเมื่อสัญญาภาษาไทยใช้คำว่าแนวยอดภูเขาปันน้ำ มันจะตรงกับความหมายไหนกัน
ตามที่นำมามันเป็นการอ้างอิงความเป็นมาที่ทำให้ คำว่า watershed ("พื้นที่ลุ่มน้ำ") กลายมาเป็น "ภูเขาปันน้ำ" ตามที่เข้าใจกันในอดีตได้อย่างไร (ไม่ใช่ สันปันน้ำ หรือเส้นแบ่งน้ำ เสียด้วยซ้ำ อาจเพี้ยนจาก สันปันน้ำ เป็น สันเขาปันน้ำ แล้วกลายเป็น ภูเขาปันน้ำ ในที่สุด - อันนี้คิดเอาเองครับ ต้องดูฉบับภาษาอื่นๆประกอบครับ)
นั่นสิครับจากรากศัพท์ของคำว่า Watershed กำเนิดมาจากภาษาเยอรมันคือ Wasserscheide ประกอบด้วยคำว่า Wasser แปลว่าน้ำ และ scheide แปลว่า เส้นแบ่ง รวมกันก็เส้นแบ่งน้ำ แล้วมิทราบไป ๆ มา ๆ จากเส้นกลายเป็นพื้นที่ได้อย่างไรครับ
ในสัญญาฉบับภาษาฝรั่งเศสใช้ ligne de partage des eaux นะครับ
- "The frontier between Siam and Cambodia starts on the left shore of the Great Lake, from the mouth of the river Stung Roluos; it follows the parallel from that point eastwards until it meets the river Prek Kompong Tiam; then, turning northwards, it lies along the meridian from that meeting point to the mountain chain of the Phnom Dangrek. From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun, on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong. Upstream from this point, the Mekong remains the frontier of the Kingdom of Siam, in accordance with Article 1 of the Treaty of 3 October 1893."
เจอแล้วครับ ใน http://th.wikipedia....ั่งเศส_ร.ศ._122
Watershed ใช้กับแม่น้ำด้วยครับ
ทั้ง ligne de partage des eaux กับ bassin versant ก็แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ watershed เหมือนกัน
ทั้ง สันปันน้ำ และ พื้นที่ลุ่มน้ำ ก็แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ watershed เหมือนกัน
พอคนทำภาพไปเอาที่แปลเป็นภาษาอังกฤษ watershed แต่เลือกความหมายเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำ หรือ bassin versant อันนี้ยังจะเรียกว่าถูกต้องตามสนธิสัญญาอยู่อีกหรือครับ
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#27
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:51
ผมไม่ทราบครับว่าตอนนั้น เขาทำกันถูกหรือผิด มีอิทธิพลหรือการรู้ไม่เท่าทันเขามาเกี่ยวข้องหรือไม่แต่ที่ยกมาทำ ก็แสดงความเห็น เช่นเดียวกับที่นายอำเภอฯแสดงความคิดเห็นไว้ในมุมมองคนปัจจุบัน
ที่มีเทคโนโลยี่ทันสมัยแล้ว หลอกกันไม่ได้เท่านั้น จะนำไปต่อสู้ในอนาคตก็ทำได้ ไม่ห้ามครับ
1. สัญญาที่ทำขึ้นมีฉบับภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส คำว่า watershed จึงไม่มี ที่ทำกันถูกหรือผิดจึงเป็นเรื่องแนวยอดเขาที่แท้จริงมันอยู่ตรงไหน เพราะตอนนั้นเทคโนโลยียังไม่ทันสมัย แต่ก็ไม่ได้แยกไม่ออกระหว่างยอดเขากับตีนเขา
2. คำว่า watershed ใช้ในความหมาย drainage divide (non-North American usage) และ drainage basin (North American usage) ในเมื่อสัญญาภาษาไทยใช้คำว่าแนวยอดภูเขาปันน้ำ มันจะตรงกับความหมายไหนกัน
ตามที่นำมามันเป็นการอ้างอิงความเป็นมาที่ทำให้ คำว่า watershed ("พื้นที่ลุ่มน้ำ") กลายมาเป็น "ภูเขาปันน้ำ" ตามที่เข้าใจกันในอดีตได้อย่างไร (ไม่ใช่ สันปันน้ำ หรือเส้นแบ่งน้ำ เสียด้วยซ้ำ อาจเพี้ยนจาก สันปันน้ำ เป็น สันเขาปันน้ำ แล้วกลายเป็น ภูเขาปันน้ำ ในที่สุด - อันนี้คิดเอาเองครับ ต้องดูฉบับภาษาอื่นๆประกอบครับ)
นั่นสิครับจากรากศัพท์ของคำว่า Watershed กำเนิดมาจากภาษาเยอรมันคือ Wasserscheide ประกอบด้วยคำว่า Wasser แปลว่าน้ำ และ scheide แปลว่า เส้นแบ่ง รวมกันก็เส้นแบ่งน้ำ แล้วมิทราบไป ๆ มา ๆ จากเส้นกลายเป็นพื้นที่ได้อย่างไรครับ
ในสัญญาฉบับภาษาฝรั่งเศสใช้ ligne de partage des eaux นะครับ
"The frontier between Siam and Cambodia starts on the left shore of the Great Lake, from the mouth of the river Stung Roluos; it follows the parallel from that point eastwards until it meets the river Prek Kompong Tiam; then, turning northwards, it lies along the meridian from that meeting point to the mountain chain of the Phnom Dangrek. From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun, on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong. Upstream from this point, the Mekong remains the frontier of the Kingdom of Siam, in accordance with Article 1 of the Treaty of 3 October 1893."
เจอแล้วครับ ใน http://th.wikipedia....ั่งเศส_ร.ศ._122
Watershed ใช้กับแม่น้ำด้วยครับ
ทั้ง ligne de partage des eaux กับ bassin versant ก็แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ watershed เหมือนกัน
ทั้ง สันปันน้ำ และ พื้นที่ลุ่มน้ำ ก็แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ watershed เหมือนกัน
พอคนทำภาพไปเอาที่แปลเป็นภาษาอังกฤษ watershed แต่เลือกความหมายเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำ หรือ bassin versant อันนี้ยังจะเรียกว่าถูกต้องตามสนธิสัญญาอยู่อีกหรือครับ
"The frontier between Siam and Cambodia starts on the left shore of the Great Lake, from the mouth of the river Stung Roluos; it follows the parallel from that point eastwards until it meets the river Prek Kompong Tiam; then, turning northwards, it lies along the meridian from that meeting point to the mountain chain of the Phnom Dangrek. From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun, on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong. Upstream from this point, the Mekong remains the frontier of the Kingdom of Siam, in accordance with Article 1 of the Treaty of 3 October 1893."
"เขตแดนในระหว่างกรุงสยามกับกรุงกัมพูชานั้น ตั้งต้นแต่ปากคลองสดุงโรลูออสข้างฝั่งซ้ายทะเลสาบ เป็นเส้นเขตแดนตรงทิศตะวันออก ไปจนบรรจบถึงคลองกะพงจาม ตั้งแต่ที่นี้ต่อไป เขตแดนเป็นเส้นตรงทิศเหนือขึ้นไปจนบรรจบถึงภูเขาพนมดงรัก (คือ ภูเขาบรรทัด) ต่อนั้นไป เขตแดนเนื่องไปตามแนวยอดภูเขาปันน้ำในระหว่างดินแดนน้ำตกน้ำแสนแลดินแดนน้ำตกแม่โขงฝ่ายหนึ่ง กับดินแดนน้ำตกน้ำมูนอีกฝ่ายหนึ่ง จนบรรจบถึงภูเขาผาด่าง แล้วต่อเนื่องไปข้างทิศตะวันออกตามแนวยอดภูเขานี้จนบรรจบถึงแม่โขง ตั้งแต่ที่บรรจบนี้ขึ้นไปแม่โขง เป็นเขตแดนของกรุงสยามตามความข้อ 1 ในหนังสือสัญญาใหญ่ ณ วันที่ 3 ตุลาคม รัตนโกสินทรศก 112"
watershed ใช้กับ แม่น้ำ
the crest of which ใช้กับเทือกเขาครับ
แล้วมีตัวสัญญาเป็นภาษาฝรั่งเศสไหมครับ
- redfrog53 likes this
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#28
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 14:06
ผมไม่ทราบครับว่าตอนนั้น เขาทำกันถูกหรือผิด มีอิทธิพลหรือการรู้ไม่เท่าทันเขามาเกี่ยวข้องหรือไม่แต่ที่ยกมาทำ ก็แสดงความเห็น เช่นเดียวกับที่นายอำเภอฯแสดงความคิดเห็นไว้ในมุมมองคนปัจจุบัน
ที่มีเทคโนโลยี่ทันสมัยแล้ว หลอกกันไม่ได้เท่านั้น จะนำไปต่อสู้ในอนาคตก็ทำได้ ไม่ห้ามครับ
1. สัญญาที่ทำขึ้นมีฉบับภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส คำว่า watershed จึงไม่มี ที่ทำกันถูกหรือผิดจึงเป็นเรื่องแนวยอดเขาที่แท้จริงมันอยู่ตรงไหน เพราะตอนนั้นเทคโนโลยียังไม่ทันสมัย แต่ก็ไม่ได้แยกไม่ออกระหว่างยอดเขากับตีนเขา
2. คำว่า watershed ใช้ในความหมาย drainage divide (non-North American usage) และ drainage basin (North American usage) ในเมื่อสัญญาภาษาไทยใช้คำว่าแนวยอดภูเขาปันน้ำ มันจะตรงกับความหมายไหนกัน
ตามที่นำมามันเป็นการอ้างอิงความเป็นมาที่ทำให้ คำว่า watershed ("พื้นที่ลุ่มน้ำ") กลายมาเป็น "ภูเขาปันน้ำ" ตามที่เข้าใจกันในอดีตได้อย่างไร (ไม่ใช่ สันปันน้ำ หรือเส้นแบ่งน้ำ เสียด้วยซ้ำ อาจเพี้ยนจาก สันปันน้ำ เป็น สันเขาปันน้ำ แล้วกลายเป็น ภูเขาปันน้ำ ในที่สุด - อันนี้คิดเอาเองครับ ต้องดูฉบับภาษาอื่นๆประกอบครับ)
นั่นสิครับจากรากศัพท์ของคำว่า Watershed กำเนิดมาจากภาษาเยอรมันคือ Wasserscheide ประกอบด้วยคำว่า Wasser แปลว่าน้ำ และ scheide แปลว่า เส้นแบ่ง รวมกันก็เส้นแบ่งน้ำ แล้วมิทราบไป ๆ มา ๆ จากเส้นกลายเป็นพื้นที่ได้อย่างไรครับ
ในสัญญาฉบับภาษาฝรั่งเศสใช้ ligne de partage des eaux นะครับ
"The frontier between Siam and Cambodia starts on the left shore of the Great Lake, from the mouth of the river Stung Roluos; it follows the parallel from that point eastwards until it meets the river Prek Kompong Tiam; then, turning northwards, it lies along the meridian from that meeting point to the mountain chain of the Phnom Dangrek. From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun, on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong. Upstream from this point, the Mekong remains the frontier of the Kingdom of Siam, in accordance with Article 1 of the Treaty of 3 October 1893."
เจอแล้วครับ ใน http://th.wikipedia....ั่งเศส_ร.ศ._122
Watershed ใช้กับแม่น้ำด้วยครับ
ทั้ง ligne de partage des eaux กับ bassin versant ก็แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ watershed เหมือนกัน
ทั้ง สันปันน้ำ และ พื้นที่ลุ่มน้ำ ก็แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ watershed เหมือนกัน
พอคนทำภาพไปเอาที่แปลเป็นภาษาอังกฤษ watershed แต่เลือกความหมายเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำ หรือ bassin versant อันนี้ยังจะเรียกว่าถูกต้องตามสนธิสัญญาอยู่อีกหรือครับ
"The frontier between Siam and Cambodia starts on the left shore of the Great Lake, from the mouth of the river Stung Roluos; it follows the parallel from that point eastwards until it meets the river Prek Kompong Tiam; then, turning northwards, it lies along the meridian from that meeting point to the mountain chain of the Phnom Dangrek. From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun, on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong. Upstream from this point, the Mekong remains the frontier of the Kingdom of Siam, in accordance with Article 1 of the Treaty of 3 October 1893."
"เขตแดนในระหว่างกรุงสยามกับกรุงกัมพูชานั้น ตั้งต้นแต่ปากคลองสดุงโรลูออสข้างฝั่งซ้ายทะเลสาบ เป็นเส้นเขตแดนตรงทิศตะวันออก ไปจนบรรจบถึงคลองกะพงจาม ตั้งแต่ที่นี้ต่อไป เขตแดนเป็นเส้นตรงทิศเหนือขึ้นไปจนบรรจบถึงภูเขาพนมดงรัก (คือ ภูเขาบรรทัด) ต่อนั้นไป เขตแดนเนื่องไปตามแนวยอดภูเขาปันน้ำในระหว่างดินแดนน้ำตกน้ำแสนแลดินแดนน้ำตกแม่โขงฝ่ายหนึ่ง กับดินแดนน้ำตกน้ำมูนอีกฝ่ายหนึ่ง จนบรรจบถึงภูเขาผาด่าง แล้วต่อเนื่องไปข้างทิศตะวันออกตามแนวยอดภูเขานี้จนบรรจบถึงแม่โขง ตั้งแต่ที่บรรจบนี้ขึ้นไปแม่โขง เป็นเขตแดนของกรุงสยามตามความข้อ 1 ในหนังสือสัญญาใหญ่ ณ วันที่ 3 ตุลาคม รัตนโกสินทรศก 112"watershed ใช้กับ แม่น้ำ
the crest of which ใช้กับเทือกเขาครับ
แล้วมีตัวสัญญาเป็นภาษาฝรั่งเศสไหมครับ
watershed ใช้กับ แม่น้ำ อย่างที่คุณว่าทำไมต้นฉบับใช้แนวยอดภูเขาปันน้ำกับ ligne de partage des eaux มิทราบครับ
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#29
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 14:18
ทั้ง ligne de partage des eaux กับ bassin versant ก็แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ watershed เหมือนกัน
นั่นสิครับจากรากศัพท์ของคำว่า Watershed กำเนิดมาจากภาษาเยอรมันคือ Wasserscheide ประกอบด้วยคำว่า Wasser แปลว่าน้ำ และ scheide แปลว่า เส้นแบ่ง รวมกันก็เส้นแบ่งน้ำ แล้วมิทราบไป ๆ มา ๆ จากเส้นกลายเป็นพื้นที่ได้อย่างไรครับ
ในสัญญาฉบับภาษาฝรั่งเศสใช้ ligne de partage des eaux นะครับ
"The frontier between Siam and Cambodia starts on the left shore of the Great Lake, from the mouth of the river Stung Roluos; it follows the parallel from that point eastwards until it meets the river Prek Kompong Tiam; then, turning northwards, it lies along the meridian from that meeting point to the mountain chain of the Phnom Dangrek. From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun, on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong. Upstream from this point, the Mekong remains the frontier of the Kingdom of Siam, in accordance with Article 1 of the Treaty of 3 October 1893."
เจอแล้วครับ ใน http://th.wikipedia....¸ª_ร.ศ._122
Watershed ใช้กับแม่น้ำด้วยครับ
ทั้ง สันปันน้ำ และ พื้นที่ลุ่มน้ำ ก็แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ watershed เหมือนกัน
พอคนทำภาพไปเอาที่แปลเป็นภาษาอังกฤษ watershed แต่เลือกความหมายเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำ หรือ bassin versant อันนี้ยังจะเรียกว่าถูกต้องตามสนธิสัญญาอยู่อีกหรือครับ
"The frontier between Siam and Cambodia starts on the left shore of the Great Lake, from the mouth of the river Stung Roluos; it follows the parallel from that point eastwards until it meets the river Prek Kompong Tiam; then, turning northwards, it lies along the meridian from that meeting point to the mountain chain of the Phnom Dangrek. From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun, on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong. Upstream from this point, the Mekong remains the frontier of the Kingdom of Siam, in accordance with Article 1 of the Treaty of 3 October 1893.""เขตแดนในระหว่างกรุงสยามกับกรุงกัมพูชานั้น ตั้งต้นแต่ปากคลองสดุงโรลูออสข้างฝั่งซ้ายทะเลสาบ เป็นเส้นเขตแดนตรงทิศตะวันออก ไปจนบรรจบถึงคลองกะพงจาม ตั้งแต่ที่นี้ต่อไป เขตแดนเป็นเส้นตรงทิศเหนือขึ้นไปจนบรรจบถึงภูเขาพนมดงรัก (คือ ภูเขาบรรทัด) ต่อนั้นไป เขตแดนเนื่องไปตามแนวยอดภูเขาปันน้ำในระหว่างดินแดนน้ำตกน้ำแสนแลดินแดนน้ำตกแม่โขงฝ่ายหนึ่ง กับดินแดนน้ำตกน้ำมูนอีกฝ่ายหนึ่ง จนบรรจบถึงภูเขาผาด่าง แล้วต่อเนื่องไปข้างทิศตะวันออกตามแนวยอดภูเขานี้จนบรรจบถึงแม่โขง ตั้งแต่ที่บรรจบนี้ขึ้นไปแม่โขง เป็นเขตแดนของกรุงสยามตามความข้อ 1 ในหนังสือสัญญาใหญ่ ณ วันที่ 3 ตุลาคม รัตนโกสินทรศก 112"
watershed ใช้กับ แม่น้ำ
the crest of which ใช้กับเทือกเขาครับ
แล้วมีตัวสัญญาเป็นภาษาฝรั่งเศสไหมครับ
watershed ใช้กับ แม่น้ำ อย่างที่คุณว่าทำไมต้นฉบับใช้แนวยอดภูเขาปันน้ำกับ ligne de partage des eaux มิทราบครับ
ก็เหมือนกับภาษาอังกฤษครับ มีแต่ภาษาไทยมันเพี้ยนไปเอง ไปเอาภูเขาปันน้ำไปอยู่กลางแม่น้ำเอง ตามจริงต้องเป็นร่องน้ำสันปันน้ำ หรือ เส้นแยกน้ำมากกว่า
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#30
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 14:20
ลักษณะภูมิประเทศและหลักการปักปันเขตแดน “ปราสาทพระวิหาร” ควรเป็นของไทยไม่ใช่กัมพูชาจากภูมิประเทศ ที่ยึดตามสัมปันน้ำ มันอยู่ฝั่งไทยค่ะ
แต่ถ้าใช้เกณฑ์อื่นนั่นอีกเรื่องครับ เช่นตัวแทนประเทศไทยไปบอกกลางศาลโลกว่าเขาพระวิหารเป็นของกัมพูชาอันนี้ต่อให้ลักษณะภูมิประเทศและหลักการปักปันเขตแดนเป็นของไทยยังไง ผลก็คือกลายเป็นของกัมพูชา
แต่เหตุใดไม่รู้ ศาลโลกไปตัดสินว่าเป็นของเขมรเฉย
ฝรั่งที่มาพิสูจน์ คงเป็น "คนกลาง"จริง คือไมมีเลศนัยอะไร
อยากให้ท่านนายอำเภอ นำเรื่องนี้ไปเผยแพร่ให้ทั่วโลก
ให้เห็นข้อเท็จจริง
หากศาลโลก พิจารณาเป็นบวกกับเรา
เชื่อว่าวิญญาณบรรพบุรุษ ของไทยคงมีแต่ความสุข
อีกทั้งท่านจอมพลสฤษิ์ ธนะรัช ที่ท่านไม่ยอมรับคำตัดสินแต่แรก
- redfrog53 likes this
#31
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 14:36
ก็เหมือนกับภาษาอังกฤษครับ มีแต่ภาษาไทยมันเพี้ยนไปเอง ไปเอาภูเขาปันน้ำไปอยู่กลางแม่น้ำเอง ตามจริงต้องเป็นร่องน้ำสันปันน้ำ หรือ เส้นแยกน้ำมากกว่า
เพี้ยนยังไงมิทราบครับ รูปผมก็แปะให้คุณดูแล้วไม่ใช่รึว่า ligne de partage des eaux มันอยู่ตรงไหน ต้นฉบับมีแค่ภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส แล้วมิทราบภาษาอังกฤษที่คุณยกมาอ้างอิงนี้ใครรับรองครับ
- redfrog53 likes this
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#32
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 14:38
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#33
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 14:41
สันปันน้ำ
http://en.wikipedia....Drainage_divide
http://fr.wikipedia....artage_des_eaux
พื้นที่ลุ่มน้ำ
http://en.wikipedia..../Drainage_basin
http://fr.wikipedia..../Bassin_versant
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#34
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 15:03
ลักษณะภูมิประเทศและหลักการปักปันเขตแดน “ปราสาทพระวิหาร” ควรเป็นของไทยไม่ใช่กัมพูชาจากภูมิประเทศ ที่ยึดตามสัมปันน้ำ มันอยู่ฝั่งไทยค่ะ
แต่ถ้าใช้เกณฑ์อื่นนั่นอีกเรื่องครับ เช่นตัวแทนประเทศไทยไปบอกกลางศาลโลกว่าเขาพระวิหารเป็นของกัมพูชาอันนี้ต่อให้ลักษณะภูมิประเทศและหลักการปักปันเขตแดนเป็นของไทยยังไง ผลก็คือกลายเป็นของกัมพูชา
แต่เหตุใดไม่รู้ ศาลโลกไปตัดสินว่าเป็นของเขมรเฉย
ฝรั่งที่มาพิสูจน์ คงเป็น "คนกลาง"จริง คือไมมีเลศนัยอะไร
อยากให้ท่านนายอำเภอ นำเรื่องนี้ไปเผยแพร่ให้ทั่วโลก
ให้เห็นข้อเท็จจริง
หากศาลโลก พิจารณาเป็นบวกกับเรา
เชื่อว่าวิญญาณบรรพบุรุษ ของไทยคงมีแต่ความสุข
อีกทั้งท่านจอมพลสฤษิ์ ธนะรัช ที่ท่านไม่ยอมรับคำตัดสินแต่แรก
ศาลโลกพิจารณาแล้วว่า พื้นที่เป็นของไทย แต่ตัวปราสาทฯเป็นของเขมร
เราแค่ ให้พื้นที่ตั้งตัสปราสาทฯโดยล้อมให้ตั้งปราสาทฯเท่านั้น
ไม่ได้ให้ที่เขาถูกมั่ย งั้นเราให้เขาย้ายปราสาทฯออกไปดีมั้ย
ช่วยรื้อก้อได้ จะได้จบๆๆ
- sorrow likes this
#35
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 15:41
ก็เหมือนกับภาษาอังกฤษครับ มีแต่ภาษาไทยมันเพี้ยนไปเอง ไปเอาภูเขาปันน้ำไปอยู่กลางแม่น้ำเอง ตามจริงต้องเป็นร่องน้ำสันปันน้ำ หรือ เส้นแยกน้ำมากกว่าเพี้ยนยังไงมิทราบครับ รูปผมก็แปะให้คุณดูแล้วไม่ใช่รึว่า ligne de partage des eaux มันอยู่ตรงไหน ต้นฉบับมีแค่ภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส แล้วมิทราบภาษาอังกฤษที่คุณยกมาอ้างอิงนี้ใครรับรองครับ
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#36
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 16:10
ลักษณะภูมิประเทศและหลักการปักปันเขตแดน “ปราสาทพระวิหาร” ควรเป็นของไทยไม่ใช่กัมพูชาจากภูมิประเทศ ที่ยึดตามสัมปันน้ำ มันอยู่ฝั่งไทยค่ะ
แต่ถ้าใช้เกณฑ์อื่นนั่นอีกเรื่องครับ เช่นตัวแทนประเทศไทยไปบอกกลางศาลโลกว่าเขาพระวิหารเป็นของกัมพูชาอันนี้ต่อให้ลักษณะภูมิประเทศและหลักการปักปันเขตแดนเป็นของไทยยังไง ผลก็คือกลายเป็นของกัมพูชา
แต่เหตุใดไม่รู้ ศาลโลกไปตัดสินว่าเป็นของเขมรเฉย
ฝรั่งที่มาพิสูจน์ คงเป็น "คนกลาง"จริง คือไมมีเลศนัยอะไร
อยากให้ท่านนายอำเภอ นำเรื่องนี้ไปเผยแพร่ให้ทั่วโลก
ให้เห็นข้อเท็จจริง
หากศาลโลก พิจารณาเป็นบวกกับเรา
เชื่อว่าวิญญาณบรรพบุรุษ ของไทยคงมีแต่ความสุข
อีกทั้งท่านจอมพลสฤษิ์ ธนะรัช ที่ท่านไม่ยอมรับคำตัดสินแต่แรกศาลโลกพิจารณาแล้วว่า พื้นที่เป็นของไทย แต่ตัวปราสาทฯเป็นของเขมร
เราแค่ ให้พื้นที่ตั้งตัสปราสาทฯโดยล้อมให้ตั้งปราสาทฯเท่านั้น
ไม่ได้ให้ที่เขาถูกมั่ย งั้นเราให้เขาย้ายปราสาทฯออกไปดีมั้ย
ช่วยรื้อก้อได้ จะได้จบๆๆ
อย่างทีท่าน กบแดง ว่าจริง ๆ นะ ในเมื่อตัวประสาท เป็นต้นเหตุก้อน่าจะรื้อถอนจากแผ่นดินไทยไปซะ เทคโนโลยี สมัยนี้ทำได้นะ ถอดไปที่ละส่วนแล้วประกอบใหม่ แต่จะเหมือนเดิมหรือเปล่าอันนี้ไม่ทราบ
หรือ ไม่ก้อจรวด ที่ DIT ของไทยทำหล่นสัก ลูกคงพอกระมัง
Edited by พอล คุง, 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 16:11.
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
#37
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 16:19
[size=5][color=#993300][b]"ประสงค์"ชี้คนไทยอย่าหลงเชื่อเลห่เลี่ยมเขมรเมื่อวันที่ 11 ม.ค. น.ต.ประสงค์ สุ่นศิริ อดีต รมว.การต่างประเทศและอดีตเลขาธิการ สมช.เปิดเผยถึงกรณีทางการกัมพูชาปล่อยตัวน.ส.ราตรี พิพัฒนาไพบูรณ์ และลดโทษจำคุกนายวีระ สมความคิด แกนนำกลุ่มคนไทยหัวใจรักชาติ ลงเหลือ 6 เดือนว่าเป็นเล่ห์เลี่ยมของรัฐบาลกัมพูชา ที่ต้องการลดอุณหภูมิความร้อนแรงทางการเมืองและลดแรงต่อต้านจากคนไทย กรณีปราสาทวิหารขึ้นศาลโลก ซึ่งเริ่มกระบวนการไต่สวนเดือน เม.ย.และตัดสินในเดือน ธ.ค.ปลายปีนี้ และชี้ให้เห็นว่ากัมพูชาพยายามทำทุกวิธีทางที่จะดึงประเทศไทยเข้าสู่กระบวนการตัดสินอีกครั้ง หลังจากที่รัฐบาลไทยในสมัยนายถนัด คอมันต์ เป็นรมว.ต่างประเทศ ได้ประท้วงคำตัดสินของศาลโลกที่ยกตัวปราสาทพระวิหาร เมื่อปี 2505 ให้เป็นของกัมพูชาและขอสงวนสิทธิในท้ายคำประท้วงยืนยันว่า รัฐบาลไทยยังมีสิทธิเต็มที่ในการทวงคืนปราสาทพระวิหารน.ต.ประสงค์ กล่าวต่อว่า ดังนั้นในขณะนั้นถือว่าแผ่นดินรอบปราสาทพระวิหาร ยังเป็นของประเทศไทย แต่ที่ผ่านนายนพดล ปัทมะ อดีต รมว.ต่างประเทศ ไปลงนามในแถลงการณ์ร่วมยินยอมให้กัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกและมีแผนการบริหารพื้นที่โดยรอบ 4.6 ตารางกิโลเมตร ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ร่วมทั้งยังมีเอ็มโอยู 43 ที่ลงนามในข้อตกลงร่วมกันระหว่างไทย-กัมพูชาในสมัยรัฐบาพรรคประชาธิปัตย์ ปักปันเขตแดนบนบกตั้งแต่ จ.อุบลราชธานี บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ สุรินทร์ จนถึง จ.ตราด โดยกัมพูชา อ้างใช้แผนที่ 1 ต่อ 2 แสน ต่อศาลโลกด้วย และจะทำให้เราดินแดนทางบกให้กับกัมพูชาถึง 1.8 ล้านไร่ และในรัฐบาล พรรรคไทยรักไทย โดย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีได้ลงนามเอ็มโอยูปี 44 กับกัมพูชาอีกฉบับ เป็นข้อตกลงปักปันเขตแดนในทะเลอ่าวไทย โดยนับจากไหล่ทวีป เพราะมองผลประโยชน์ทางพลังร่วมกันมากกว่าการเสียดินแดน ที่ไทยเสี่ยงเสียอาณาเขตทางทะเลอีก 7.8 หมื่นตารางกิโลเมตร พร้อมกับพลังงาน กาซธรรมชาติและน้ำมันมูลค่ามหาศาล ซึ่งเป็นแผนการเดิมของนักการเมืองที่ชอบขายชาติ"ปัญหากรณีปราสาทพระวิหาร เราเสียเปรียบกัมพูชามาโดยตลอด เพราะนักการเมืองไทยที่หวังเอาแต่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าการปกป้องดินแดนไทย ซึ่งเราจะยอมไม่ได้ให้ต้องเกิดกรณีเสียดินแดนในรัชกาลที่ 9 อีกแล้ว แม้การปล่อยตัวน.ส.ราตรี เป็นเรื่องที่ดี แต่ไม่สามารถหยุดม็อบคนไทยที่จะลุกขึ้นมาต่อต้านรัฐบาลได้ วันที่ 21 ม.ค.นี้ กลุ่มคนไทยหัวใจรักชาติ ร่วมตัวกันที่ลานพระรูปทรงม้า นำโดยนายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ และ พล.ร.ท.บรรณวิทย์ เก่งเรียน พร้อมด้วยตัวผม จะนำประชาชนคนไทยที่ปกป้องแผ่นดินไทยมาประท้วงท่าทีรัฐบาลไทยที่ยอมให้กัมพูชาจูงจมูกไปขึ้นศาลโลก ซึ่งต้องหยุดรัฐบาลไทยให้ได้และเชื่อว่าจะมีม็อบอื่นๆที่ได้รับความเดือดร้อนจากนโยบายรัฐบาลมาสมทบอีกเป็นจำนวนมาก ถ้า น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ไม่ประกาศให้ชัดเจนว่า จะยุติการต่อสู้ในศาลโลก ต้องเจอม็อบใหญ่กว่าทุกครั้งและมีการเคลื่อนไหวต่อต้านจนรัฐบาลอยู่ไม่ได้"น.ต. ประสงค์ กล่าวน.ต.ประสงค์ กล่าวด้วยว่า ตนทำงานด้านความมั่นคงของประเทศมานาน มีข้อมูลที่ถูกต้องทั้งหมดเกี่ยวกับปัญหาเขตแดนไทย- กัมพูชา และพลังงานในอ่าวไทย ซึ่งไทยจะต้องไม่รับสู่กระบวนการของศาลโลกอีกต่อไป หลังจากสงครามโลกครั้งที่2 เป็นต้นมาความน่าเชื่อถือในศาลโลกลดลง เปลี่ยนซื่อมาเป็นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ และการตัดสินในหลายครั้งประเทศมหาอำนาจเช่น อเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ไม่เคยยอมรับและไม่มีผลใดๆเกิดขึ้น เพราะศาลโลกไปบังคับให้ยอมรับไม่ได้ แต่มีบทบัญญัติว่าหากประเทศคู่กรณี เข้าสู่กระบวนการของศาลโลกแล้วไม่ว่าตัดสินอย่างไรต้องยอมรับ ดังนั้น รัฐบาลประเทศไทย มีวามจริงใจและไม่ทำตามใบสั่งของผู้อยู่เบื้องหลังรัฐบาลทีเลิกกิจการด้านโทรคมนาคมมา หันมาทำธุรกิจพลังงาน โดยเช่าบริหารพื้นที่เกาะกงไว้เป็นแหล่งธุรกิจเชื่อมโยง กับผลประโยชน์ทางพลังงานในอ่าวไทยร่วมกับกัมพูชา ต้องประกาศทันทีเป็นจุดยืนของประเทศไทยว่าจะไม่เข้าสู่กระบวนการใดๆทั้งสิ้นของศาลโลก เพื่อป้องกันข้อผูกมัดระหว่างประเทศ รวมทั้งต้องยกเลิกเอ็มโอยูเถื่อนทั้ง 2 ฉบับที่ลงนามร่วมกันโดยไม่ผ่านสภาถือว่าเป็นเอ็มโอยู ทำผิดรัฐธรรมนูญทั้งปี 40และ ปี 50ด้าน นายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ แกนนำกลุ่มคนไทยหัวใจรักชาติ เปิดเผยว่าแม้มีการปล่อยน.ส.ราตรี และลดโทษ นายวีระ ก็ไม่สามารถหยุดยั้งม็อบคนไทยที่จะออกมาขับไล่รัฐบาลชุดนี้และจะขออำนาจประธานศาลฎีกาให้สั่งรัฐบาลหยุดการดำเนินการเข้าสู่ศาลโลกทั้งหมด เพราะสุ่มเสี่ยงเสียแผ่นดินไทยจำนวนเกือบ 3 ล้านไร่ให้กับเขมร ระหว่างนี้จะรอรายซื่อให้ครบ 1 ล้านรายซื่อขณะนี้ได้ 7 แสนรายแล้ว ซึ่งคนไทยที่มีบัตรประชาชนสามารถร่วมลงชื่อได้ที่เว็บไซต์ของกลุ่มแนวร่วมคนไทยหัวใจรักชาติ เพราะสิทธิการปกป้องดินแดนเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนตามรัฐธรรมนูญ โดยในวันที่ 21 ม.ค. จะนัดร่วมตัวประท้วงรัฐบาลที่ลานพระรูปทรงม้า และไปยื่นหนังสือเรียกร้องต่อกองทัพไทย ให้ทำหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญในการรักษาผืนแผ่นดินไทย และกองทัพไทยเป็นกองของรัฐ คือเป็นกองทัพแห่งชาติ ไม่ใช่กองทัพของรัฐบาลที่ต้องคอยทำตามคำสั่ง รวมทั้งไปยื่นฟ้องเอาผิดกับกระทรวงการต่างประเทศ ที่เผยแพร่ข้อมูลปราสาทพระวิหาร เป็นเท็จ ถือเป็นโฆษณาชวนเชื่อ ที่ศาลอาญารัชดาภิเษก"มั่นใจว่าการชุมนุมของกลุ่มคนไทยหัวใจรักชาติ มีคนไทยรักชาติรักแผ่นดินที่ต้องการขับไล่นักการเมืองปล้นชาติ ออกมามากพอที่ล้มรัฐบาลได้ และผมไม่กลัวการปราบม็อบอย่างรวดเร็วรุนแรงของฝ่ายตำรวจ เพราะเคยผ่าน การชุมนุมที่สนามหลวง และราชดำเนิน มากลายครั้งดังนั้นความกลัวไม่เคยมี เรียกว่าศึกครั้งนี้เป็นศึกล้างตา นับจากม็อบเสธ.อ้าย ไม่ว่าคำว่าวันเดียวจบ"นายไชยวัฒน์
ถ้าเป็นเล่ห์เหลี่ยมจริง แสดงว่าวิธีโบราณยังใช้ได้นะครับ
#38
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 16:55
สันปันน้ำhttp://en.wikipedia....Drainage_divide
http://fr.wikipedia....artage_des_eaux
พื้นที่ลุ่มน้ำ
คุณ Solidus นี่เอง ผมจำโลโก้ได้
== ข้อความถูกระงับโดยผู้ดูแล ==
เพราะข้อมูลคุณแน่นกว่าใครๆ เท่าที่ผมเจอมาครับ
Edited by sweet chin music, 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 18:08.
"คนพาลไร้สติ มักสร้างเรื่องและหลักฐานเท็จโกหก เพื่อคอยใส่ร้ายอีกฝ่ายหนึ่งเสมอ"
นาย ''Starเก๋ง'' ฟันธง! รถเก๋งขับมายิงเสื้อแดง http://webboard.seri...แค/#entry842224 ; http://webboard.seri...-25#entry408954
#39
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 17:12
เอ่อ ขอนอกประเด็นหน่อยครับ
คือปกติเส้นแบ่งเขตแดนแต่ล่ะประเทศเนี่ย ส่วนมากอย่างเช่นแถบลุ่มน้ำโขงนะ เขาใช้เส้นกึ่งกลางลำน้ำใช่ไหมครับ
แล้วปกติ ลำน้ำมันจะเกิดการกัดเซาะริมตลิ่งอยู่แล้ว ยิ่งโค้งมันก็ยิ่งกัดเซาะมาก
แล้วอย่างนี้มันมีวิธีป้องกันหรือเปล่าครับ หรือว่า ใช้หลักการณ์แบ่งจากกรณีครึ่งแหล่งน้ำอย่างเดียว (ถ้าจำไม่ผิดนะครับผมเข้าใจว่าแบ่งจากกึ่งกลางลำน้ำ)
แล้วอย่างพื้นที่ที่ติดกับ แม้น้ำ ที่โดนกัดเซาะด้วยครับ ไม่ทราบว่า ใช้แบบไหน อย่างพื้นที่่ทางด้านในก็เพิ่ม ทางด้านโค้างก็ลด อย่างนี้ ทางราชการให้พื้นที่เพิ่มน้ำเป็นกรรมสิทธ์ของทางอีกฝั่งเลยหรือเปล่า และพื้นที่ลด น้้นถือว่าหายไปเลยหรือเปล่าครับ
กฎหมายมันก็แค่สิงที่สร้างมาอย่างมีเป้าหมาย แต่หาก เอาแต่บอกว่ากฎหมายเป็นแบบนี้ แบบนั้น โดยไม่สนใจว่าเป้าหมายจริงๆ นันคืออะไร ก็คงไม่ใช่
#40
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 20:11
ก็เหมือนกับภาษาอังกฤษครับ มีแต่ภาษาไทยมันเพี้ยนไปเอง ไปเอาภูเขาปันน้ำไปอยู่กลางแม่น้ำเอง ตามจริงต้องเป็นร่องน้ำสันปันน้ำ หรือ เส้นแยกน้ำมากกว่าเพี้ยนยังไงมิทราบครับ รูปผมก็แปะให้คุณดูแล้วไม่ใช่รึว่า ligne de partage des eaux มันอยู่ตรงไหน ต้นฉบับมีแค่ภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส แล้วมิทราบภาษาอังกฤษที่คุณยกมาอ้างอิงนี้ใครรับรองครับ
From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun,เทียบกับภาษาฝรั่งเศสบริเวณนี้ ที่มีคำว่า ligne de partage des eaux อยู่ตรงนี้ครับ มันเป็นบริเวณ แอ่ง(basin)น้ำ หรือภูเขาครับ เขาแบ่งเขตกันตรงไหนครับเขาจึงแนะนำให้เอาคำนิยามใหม่มาใช้"สภาพพื้นที่ลุ่มน้ำตามเทือกเขาพนมดงรักดังกล่าวดำรงอยู่จริงจึงก่อเกิดเส้นแบ่งเขตแดนตามธรรมชาติโดยระดับความสูง ความลาดชัน เพื่อเป็นถิ่นที่ตั้งของชุมชน และสิ่งก่อสร้างเทวาลัยมานับร้อยๆปีมาแล้วก่อนเกิดเส้นเขตแดนที่จักรวรรดินิยมฝรั่งเศสสร้างขึ้นบนแผนที่ 1: 200000 โดยความไม่ชอบธรรม โดยอคติ ไม่สุจริต หรือเป็นเท็จอันไม่ถูกต้องตามเจตนารมย์ของสนธิสัญญามาตั้งแต่ต้นกระบวนคิดใหม่โดยการอธิบายคำนิยามใหม่ของพื้นที่ลุ่มน้ำ (Watershed) และการนำเสนอใหม่นี้จึงอธิบายความหมายของคำว่า Watershed ได้อย่างสมบูรณ์มากกว่าคำนิยามเดิมที่เพียงใช้คำว่าสันปันน้ำอย่างเดียว และยังสามารถพิสูจน์ได้ว่าปราสาทเขาพระวิหารและพื้นที่โดยรอบ4.6 ตารางกิโลเมตร รวมถึงสันเขาของเทือกเขาพนมดงรักตลอดเขตแดนจังหวัดศรีสะเกษ จรดจังหวัดสุรินทร์อยู่ในดินแดนของประเทศไทยเป็นความจริงที่ดินแดนในบริเวณดังกล่าวอาจถูกครอบครองโดยบรรพชนแห่งรัฐกัมพูชาในอดีต และเป็นจริงที่การขยายอาณาเขตในอดีตคือการครอบครองโดยการเข้ายึดครองโดยสยาม แต่ เมื่อสยามเสียดินแดนหรือเสียการครอบครองให้ฝรั่งเศส และได้ระบุในสนธิสัญญาว่าการกำหนดเส้นเขตแดนใช้คำว่า Watershed การสร้างเส้นเขตแดนจริงจึงต้องทำให้ถูกต้องและชอบธรรม ดังนั้นหากฝรั่งเศสซึ่งครอบครองอินโดจีนในขณะนั้นบังคับสยามให้สละดินแดนโดยสร้างเขตแดนที่ไม่ถูกต้องตามเจตนารมย์ของสนธิสัญญา เมื่อสามารถใช้กระบวนคิดใหม่โดยอธิบายนิยามของคำว่าพื้นที่ลุ่มน้ำมาพิสูจน์ได้ว่าเส้นเขตแดนของฝรั่งเศสไม่ถูกต้อง ก็ควรเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกฝ่ายที่ควรจะร่วมมือกันแก้ไขทวงสิทธิและสมควรปกป้องดินแดนมิให้เสียเพิ่มเติมต่อไป"
เอาคำนิยามใหม่มาใช้แล้วมิทราบใครรับรองครับ เอาภาษาอังกฤษมาอ้างอิงมิทราบใครเป็นคนรับรองครับ ในสัญญาไม่มีการใช้คำว่า watershed เลยครับ
สัญญาภาษาไทยใช้แนวยอดภูเขาปันน้ำกับภาษาฝรั่งเศสใช้ ligne de partage des eaux ภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศสตรงกันครับ ตรงนี้ไม่ได้ขัดกันในเรื่องความหมายเหมือนอย่าง watershed
หากว่าความหมายขัดกันระหว่างคำภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศสในสัญญาก็ระบุให้ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นหลักครับ ไม่มีตรงไหนให้ใช้ภาษาอังกฤษเลย คุณจะกำหนดนิยามใหม่ในภาษาอังกฤษยังไงก็แล้วแต่มันก็ไม่มีผลอยู่ดีนอกจากจะฉีกสัญญาทิ้ง
ส่วนที่ถามว่า ligne de partage des eaux ระหว่างแอ่งสองแอ่งอยู่ตรงไหน ถ้าคุณจะเทียบให้เป็นภาษาอังกฤษที่ตรงกับคำนี้ต้องใช้ drainage divide แล้วคุณก็ลากเส้นไปตามแนวยอดเขาที่แบ่งสองแอ่งออกจากกัน
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#41
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 20:25
ก็เหมือนกับภาษาอังกฤษครับ มีแต่ภาษาไทยมันเพี้ยนไปเอง ไปเอาภูเขาปันน้ำไปอยู่กลางแม่น้ำเอง ตามจริงต้องเป็นร่องน้ำสันปันน้ำ หรือ เส้นแยกน้ำมากกว่าเพี้ยนยังไงมิทราบครับ รูปผมก็แปะให้คุณดูแล้วไม่ใช่รึว่า ligne de partage des eaux มันอยู่ตรงไหน ต้นฉบับมีแค่ภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส แล้วมิทราบภาษาอังกฤษที่คุณยกมาอ้างอิงนี้ใครรับรองครับ
From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun,เทียบกับภาษาฝรั่งเศสบริเวณนี้ ที่มีคำว่า ligne de partage des eaux อยู่ตรงนี้ครับ มันเป็นบริเวณ แอ่ง(basin)น้ำ หรือภูเขาครับ เขาแบ่งเขตกันตรงไหนครับเอาคำนิยามใหม่มาใช้แล้วมิทราบใครรับรองครับ เอาภาษาอังกฤษมาอ้างอิงมิทราบใครเป็นคนรับรองครับ ในสัญญาไม่มีการใช้คำว่า watershed เลยครับ
สัญญาภาษาไทยใช้แนวยอดภูเขาปันน้ำกับภาษาฝรั่งเศสใช้ ligne de partage des eaux ภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศสตรงกันครับ ตรงนี้ไม่ได้ขัดกันในเรื่องความหมายเหมือนอย่าง watershed
หากว่าความหมายขัดกันระหว่างคำภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศสในสัญญาก็ระบุให้ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นหลักครับ ไม่มีตรงไหนให้ใช้ภาษาอังกฤษเลย คุณจะกำหนดนิยามใหม่ในภาษาอังกฤษยังไงก็แล้วแต่มันก็ไม่มีผลอยู่ดีนอกจากจะฉีกสัญญาทิ้ง
ส่วนที่ถามว่า ligne de partage des eaux ระหว่างแอ่งสองแอ่งอยู่ตรงไหน ถ้าคุณจะเทียบให้เป็นภาษาอังกฤษที่ตรงกับคำนี้ต้องใช้ drainage divide แล้วคุณก็ลากเส้นไปตามแนวยอดเขาที่แบ่งสองแอ่งออ
หมายความว่า สันปันน้ำ (Drainage Divide) ที่ฝั่งหนึ่งเป็น ทะเลสาบกับแม่โขง และ อีกฝั่ง เป็น แม่น้ำมูล ใช่ไหมครับ ก็จะได้เส้นเขตแดนตามเส้นบนของกัมพูชาใช่ไหมครับ
แต่ในการตีความคำนิยามใหม่ก็จะได้เส้นล่างครับ
จากข้อเท็จจริงดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่าธรรมชาติหรือลักษณะของพื้นที่ของภูมิประเทศของเขตแดนไทยและกัมพูชาได้ถูกแบ่งอย่างชัดเจนโดยธรรมชาติโดยชุมชนชาวกัมพูชาอาศัยตั้งถิ่นฐานอยู่พื้นที่ลุ่มน้ำหนึ่งที่ต่ำกว่าคือที่ระดับไม่เกิน 116 เมตร และตั้งแต่ระดับความลาดชันที่ความสูง 206 เมตรของเชิงเขาพระวิหารขึ้นไปเป็นพื้นที่ของอีกลุ่มน้ำหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นเส้นแบ่งหรือพื้นที่แบ่งและยังเป็นจริงจนถึงที่ความลาดชันสูง 306 เมตร ขึ้นไปจนถึงระดับสูงสุดคือที่ระดับประมาณ 636 เมตร กล่าวคือเป็นพื้นที่อีกลุ่มน้ำหนึ่งในเขตแดนของสยามครอบครองและตั้งชุมชน และเหนือขึ้นไปบนยอดเขาก็เป็นที่ตั้งเทวาลัยคือปราสาทเขาพระวิหารที่สร้างสรรค์โดยชุมชนรุ่นบรรพชนนั่นเอง เขตแดนสยามบริเวณเขาพระวิหารที่ติดกับฝั่งเขมรจึงควรเริ่มที่ระดับน้ำ 206 เมตร (แม้ว่าทางปฎิบัติจริงที่ระดับระหว่าง 206-306 เป็นแนวผาสูงชันไม่มีชุมชนตั้งอยู่ก็ได้) นอกจากนั้นก่อนเกิดสนธิสัญญาปี 1904-1907 เป็นความจริงที่ชุมชนจะอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำเสมอชุมชนสยามยังสามารถขยายอาณาเขตครอบครองลงมาทางด้านทิศใต้ที่ระดับต่ำกว่า 116 เมตร จนถึงเสียมราฐซึ่งเป็นอีกพื้นที่ลุ่มน้ำหนึ่งที่มีชั้นคุณภาพลุ่มน้ำใกล้เคียงกับบริเวณเชิงเขาพระวิหารฝั่งเขมรจรดลุ่มน้ำทะเลสาบน้ำจืดโตนเลสาบ
Edited by Stargate-1, 13 มกราคม พ.ศ. 2556 - 07:39.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#42
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 20:32
เอ่อ ขอนอกประเด็นหน่อยครับ
คือปกติเส้นแบ่งเขตแดนแต่ล่ะประเทศเนี่ย ส่วนมากอย่างเช่นแถบลุ่มน้ำโขงนะ เขาใช้เส้นกึ่งกลางลำน้ำใช่ไหมครับ
แล้วปกติ ลำน้ำมันจะเกิดการกัดเซาะริมตลิ่งอยู่แล้ว ยิ่งโค้งมันก็ยิ่งกัดเซาะมาก
แล้วอย่างนี้มันมีวิธีป้องกันหรือเปล่าครับ หรือว่า ใช้หลักการณ์แบ่งจากกรณีครึ่งแหล่งน้ำอย่างเดียว (ถ้าจำไม่ผิดนะครับผมเข้าใจว่าแบ่งจากกึ่งกลางลำน้ำ)
แล้วอย่างพื้นที่ที่ติดกับ แม้น้ำ ที่โดนกัดเซาะด้วยครับ ไม่ทราบว่า ใช้แบบไหน อย่างพื้นที่่ทางด้านในก็เพิ่ม ทางด้านโค้างก็ลด อย่างนี้ ทางราชการให้พื้นที่เพิ่มน้ำเป็นกรรมสิทธ์ของทางอีกฝั่งเลยหรือเปล่า และพื้นที่ลด น้้นถือว่าหายไปเลยหรือเปล่าครับ
ปกติใช้ร่องน้ำลึกของแม่น้ำเป็นแนวครับ แต่ในสัญญาที่ทำมีระบุเงื่อนไขว่าเกาะดอนในลำน้ำให้เป็นของฝรั่งเศส หากแม่น้ำโขงแยกเป็นหลายสายให้ใช้ร่องน้ำของสายที่ใกล้ฝั่งไทยที่สุด อันนี้ที่เป็นเกาะดอนของฝรั่งเศสในวันทำสัญญาแล้วต่อมาเกาะพวกนั้นเชื่อมกับฝั่งไทยก็ให้ใช้แนวร่องน้ำเดิมเป็นเขตแดน
- nunoi likes this
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#43
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 20:50
ผมกำลังบอกว่าที่เขาใช้คำว่า ligne de partage des eaux/watershed นั้น เขาใช้กับอะไร ที่ไหนครับ
ผมแปลฝรั่งเศสไม่ได้ แต่ที่ภาษาอังกฤษผมแปลออก ว่า เขาใช้กับบริเวณส่วนของ แม่น้ำครับ ผมแปลผิดหรือเปล่าครับ บริเวณนี้เป็นภูเขา หรือ แม่น้ำครับ
From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun,
ส่วนบนยอดเขา เขาใช้คำอื่นที่ไม่ใช่ ligne de partage des eaux/watershed ครับ
on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong
ลองดูครับ
หาได้ยังล่ะว่าภาษาอังกฤษที่คุณเอามาอ้างอิงมิทราบใครเป็นคนรับรอง
ภาษาอังกฤษใช้คนละคำแต่ความหมายเดียวกันก็มีถมเถไปครับ
ligne de partage des eaux ผมให้รูปคุณแล้วคุณไม่ได้ดูรูปเลยรึว่าเขาใช้กับอะไร ความหมายผมก็แปะลิงค์ให้แล้วคุณก็ไม่สนใจเลยรึครับ
คุณว่ามันใช้กับแม่น้ำงั้นคุณบอกชื่อแม่น้ำหน่อยสิครับว่ามีแม่น้ำอะไรที่แบ่งพื้นที่ลุ่มน้ำโขงกับพื้นที่ลุ่มน้ำมูนออกจากกัน
watershed ความหมายกว้างกว่าสันปันน้ำหรือ ligne de partage des eaux เพราะมันสามารถรวมส่วนของพื้นที่ลุ่มน้ำหรือ bassin versant ไม่ได้มีแต่เส้น
- Tam-mic-ra. likes this
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#44
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 20:57
หาแม่น้ำดูนะครับว่าในรุปมีไหมทำไมถึงปักป้ายแบบนี้ได้
Edited by Jörmungandr, 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:00.
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#46
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:01
สันปันน้ำhttp://en.wikipedia....Drainage_divide
http://fr.wikipedia....artage_des_eaux
พื้นที่ลุ่มน้ำ
คุณ Solidus นี่เอง ผมจำโลโก้ได้
มาจัดระเบียบข้อมูล ของคุณรถเก๋งสตาเกทดีแล้วครับ
เพราะข้อมูลคุณแน่นกว่าใครๆ เท่าที่ผมเจอมาครับ
คุณ Tam...... คุณเองก็ข้อมูลเยอะ นะครับ เอามาแสดงทั้งหมด น่าจะเป็นประโยชน์นะครับ
นางดิท
ไม่รู้เป็นอะไร พออ้างถึงโพสท์ไหน มันจะดึงมา2ชุดทุกครั้ง ต้องตามลบกันเรื่อย
Edited by IFai, 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:12.
ประโยชน์สูงสุดของประชาชน คือกฏหมายสูงสุดของประเทศ ...วิชา มหาคุณ
#47
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:26
Watershed พบว่ามีกำเนิดมาจาก ภาษาเยอรมันคือ Wasserscheide งั้นดูหน่อยสิว่าทางเยอรมันใช้กับอะไร
- redfrog53 likes this
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#48
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:40
ผมกำลังบอกว่าที่เขาใช้คำว่า ligne de partage des eaux/watershed นั้น เขาใช้กับอะไร ที่ไหนครับ
ผมแปลฝรั่งเศสไม่ได้ แต่ที่ภาษาอังกฤษผมแปลออก ว่า เขาใช้กับบริเวณส่วนของ แม่น้ำครับ ผมแปลผิดหรือเปล่าครับ บริเวณนี้เป็นภูเขา หรือ แม่น้ำครับ
From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun,
ส่วนบนยอดเขา เขาใช้คำอื่นที่ไม่ใช่ ligne de partage des eaux/watershed ครับ
on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong
ลองดูครับ
หาได้ยังล่ะว่าภาษาอังกฤษที่คุณเอามาอ้างอิงมิทราบใครเป็นคนรับรอง
ภาษาอังกฤษใช้คนละคำแต่ความหมายเดียวกันก็มีถมเถไปครับ
ligne de partage des eaux ผมให้รูปคุณแล้วคุณไม่ได้ดูรูปเลยรึว่าเขาใช้กับอะไร ความหมายผมก็แปะลิงค์ให้แล้วคุณก็ไม่สนใจเลยรึครับ
คุณว่ามันใช้กับแม่น้ำงั้นคุณบอกชื่อแม่น้ำหน่อยสิครับว่ามีแม่น้ำอะไรที่แบ่งพื้นที่ลุ่มน้ำโขงกับพื้นที่ลุ่มน้ำมูนออกจากกัน
watershed ความหมายกว้างกว่าสันปันน้ำหรือ ligne de partage des eaux เพราะมันสามารถรวมส่วนของพื้นที่ลุ่มน้ำหรือ bassin versant ไม่ได้มีแต่เส้น
ผิดครับแก้เป็นอันนี้ครับ http://webboard.seri...ลก/#entry567677
Edited by Stargate-1, 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:41.
- redfrog53 likes this
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
#49
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:56
ผมกำลังบอกว่าที่เขาใช้คำว่า ligne de partage des eaux/watershed นั้น เขาใช้กับอะไร ที่ไหนครับ
ผมแปลฝรั่งเศสไม่ได้ แต่ที่ภาษาอังกฤษผมแปลออก ว่า เขาใช้กับบริเวณส่วนของ แม่น้ำครับ ผมแปลผิดหรือเปล่าครับ บริเวณนี้เป็นภูเขา หรือ แม่น้ำครับ
From there it follows eastwards to the watershed between the basins of the Nam Sen and the Mekong, on the one hand, and the Nam Moun,
ส่วนบนยอดเขา เขาใช้คำอื่นที่ไม่ใช่ ligne de partage des eaux/watershed ครับ
on the other hand, and rejoins the Phnom Padang chain the crest of which it follows eastwards to the Mekong
ลองดูครับ
หาได้ยังล่ะว่าภาษาอังกฤษที่คุณเอามาอ้างอิงมิทราบใครเป็นคนรับรอง
ภาษาอังกฤษใช้คนละคำแต่ความหมายเดียวกันก็มีถมเถไปครับ
ligne de partage des eaux ผมให้รูปคุณแล้วคุณไม่ได้ดูรูปเลยรึว่าเขาใช้กับอะไร ความหมายผมก็แปะลิงค์ให้แล้วคุณก็ไม่สนใจเลยรึครับ
คุณว่ามันใช้กับแม่น้ำงั้นคุณบอกชื่อแม่น้ำหน่อยสิครับว่ามีแม่น้ำอะไรที่แบ่งพื้นที่ลุ่มน้ำโขงกับพื้นที่ลุ่มน้ำมูนออกจากกัน
watershed ความหมายกว้างกว่าสันปันน้ำหรือ ligne de partage des eaux เพราะมันสามารถรวมส่วนของพื้นที่ลุ่มน้ำหรือ bassin versant ไม่ได้มีแต่เส้น
ผิดครับแก้เป็นอันนี้ครับ http://webboard.seri...ลก/#entry567677
สนธิสัญญาใช้ภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส คุณเอานิยามใหม่ของภาษาอังกฤษมาใช้ก็ต้องฉีกฉบับเก่าทิ้งก่อนนะครับ ไม่สามารถใช้นิยามของ watershed ที่นิยามใหม่มาอ้างว่าเป็นเส้นที่ถูกต้องตามสนธิสัญญาได้
Drainage Divide ที่ฝั่งหนึ่งเป็น แม่น้ำแสนกับแม่โขงและอีกฝั่งเป็นแม่น้ำมูนต้องไปดูแผนที่ L7018 ครับ
ภาพนี้เห็นยอดเขาได้ดีเลย
เส้นของ drainage divide ต้องลากผ่านยอดเขาพระวิหารไปยังยอดภูมะเขือ เพราะมันจะแย้งไม่ได้ว่ายังมีส่วน drainage basin ของลุ่มน้ำมูนหรือลุ่มน้ำโขงที่อยู่สูงกว่า
[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]
ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556
#50
ตอบ 12 มกราคม พ.ศ. 2556 - 22:15
"คนที่เลวกว่าน.ช.ทักษิณ ก็คือ คนที่ช่วยให้น.ช.ทักษิณ ยังมีชีวิต พูดพล่าม และ ทำเลวต่อไป"
ผู้ใช้ 2 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 2 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน