เข้ามาดูเสื้อแดงอ้างหมาเนเจอร์งับ
#101
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:40
เขียนเรื่องการเมือง : ดราม่า ,เขียนเรื่องสังคม : ดราม่า เขียนเรื่องบันเทิง : ดราม่า
แต่พอโพสเรื่องหื่น : มีความเห็นเป็นไปทางเดียวกันเสมอ >3<
#102
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:42
แฉนโยบายประกันราคาข้าวสุดห่วย รัฐทำเจ๊งกว่าแสนล้าน - คุณภาพตกต่ำ
โรงสี-ผู้ส่งออกข้าวโวย นโยบายประกันราคาข้าว 2 ปี ทำรัฐเจ๊งกว่าแสนล้าน แถมฉุดราคาข้าวโลกร่วง และรัฐไทยยังเป็นผู้แบกรับค่าใช้จ่ายให้คนทั้งโลก ขณะที่คุณภาพข้าวตกต่ำ เพราะขายได้เท่าไรรัฐก็จ่ายชดเชย ด้านพ่อค้าส่งออกถือโอกาสกดราคาโรงสี สะท้อนภาพคนไม่ได้ปลูกข้าว กับพวกเจ้าของที่ดินรับเละ ส่วนชาวนาตัวจริง ถูกกดราคา ซ้ำไม่ได้เงินประกัน แนะตั้งราคาขั้นต่ำ -ยุ้งฉางให้กับชาวนาในพื้นที่ เพื่อให้เกษตรกรได้ราคาผลผลิตดีที่สุด
จากปริมาณการส่งออกข้าวตั้งแต่ต้นปีนี้จนถึงเดือน ก.พ.54 ไทยมียอดส่งออกข้าวคิดเป็นปริมาณเพิ่มขึ้น 25.6% แต่มูลค่าเพิ่มเพียง 9.4% ทั้งๆที่ตลาดโลกต้องการข้าวสูง คู่แข่งงดส่งออก โดยแหล่งข่าวผู้ส่งออกข้าวกล่าวว่า ขณะนี้ชาวนาที่ปลูกข้าวแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.ชาวนาที่ไม่ได้ปลูกข้าวแต่มีที่ดินขึ้นทะเบียนเพื่อขอชดเชยราคาข้าว แต่ใช้ที่ดินไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ได้กำไรมากกว่าหรือให้เช่าที่นา 2.ชาวนาที่ปลูกข้าวไว้เพื่อกินเองโดยไม่ได้เน้นการขาย และ3.ชาวนาที่ปลูกข้าวเพื่อขายอย่างแท้จริงแต่ส่วนใหญ่ต้องเช่าที่นา ซึ่งใน 3 กลุ่มนี้ ชาวนาที่ปลูกข้าวเพื่อขายมีจำนวนมากที่สุดคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 50-60% โดยชาวนากลุ่มนี้แทบจะไม่ได้ประโยชน์จากโครงการประกันราคาของรัฐบาล เพราะส่วนใหญ่ต้องเช่าที่นา ขณะที่เจ้าของที่ดินกลับไปขึ้นทะเบียนได้ส่วนต่างตรงนี้ไป และยังได้ค่าเช่าจากผู้ปลูกตัวจริงอีกทอดระบุชาวนาตัวจริงชวดเงินประกันทั้งนี้ พวกที่ไม่ได้ปลูกข้าว แค่อยู่เฉยๆก็ได้เงินจากรัฐอย่างสบาย เช่น ถ้ามีที่ดิน 100 ไร่ แบ่งออกเป็นผู้ถือครองขึ้นทะเบียน 2 ชื่อ ก็ได้รับเงินชดเชยจากรัฐ 60 ตัน มีมูลค่ากว่า 1 แสนบาทต่อฤดูการเพาะปลูก ส่วนพวกที่ปลุกไว้กินมีที่ดินจำนวนน้อยประมาณ 10 ไร่ ก็จะได้เงินชดเชยกว่า 1 หมื่นบาท โดยกลุ่มที่ 3 น่าส่งสารที่สุดไม่ได้รับการช่วยเหลือใดๆเลย ซึ่งรัฐบาลคิดว่าการชดเชยแบบนี้เงินถึงมือเกษตรกรอย่างแท้จริง น่าจะได้คะแนนนิยมมาก แต่ในความเป็นจริงชาวนากลุ่มใหญ่กลับไม่ได้ประโยชน์อะไร โดยเฉพาะในภาคอีสาน ที่จะส่งผลต่อคะแนนเลือกตั้งในครั้งหน้าอย่างแน่นอนนอกจากนี้ราคาที่รัฐบาลชดเชยก็มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะถูกผู้ส่งออกกดราคามายังโรงสี และโรงสีก็กดราคารับซื้อจากเกษตรกรอีกทอด ส่วนชาวนาก็เต็มใจขายข้าวแม้ไม่ได้ราคาเพราะมั่นใจว่ารัฐบาลก็จะต้องชดเชยส่วนต่างให้ แต่ในความจริงแล้วชาวนาก็แทบจะไม่ได้กำไร เพราะขณะนี้ต้นทุนการทำนาประมาณ 6-7 พันบาท/ตัน แต่พ่อค้ารับซื้อในราคาเกือบเท่าทุนที่ 6-7 พันบาท/ตัน จากนั้นชาวนาก็ได้เงินชดเชยจากรัฐประมาณ 2 พันบาท รวมแล้วประมาณ 8-9 พันบาท/ตัน สรุปว่าชาวนาได้กำไร10% กว่าๆ เมื่อเทียบกับบางพื้นที่ทำนาได้เพียงปีละ 1 ครั้งส่วนต่างที่ได้จึงแทบจะไม่พอค่าใช้จ่ายทั้งปีโรงสีบ่นอุบส่งออกรวยโรงสีจนส่วนโรงสีก็แทบจะไม่ได้กำไร เพราะราคาข้าวผันผวน ถ้าราคาข้าวลงผู้ส่งออกก็หาข้ออ้างไม่ซื้อข้าว ทำให้โรงสีต้องยอมขายข้าวขาดทุน สุดท้ายผู้ที่ได้กำไรมากสุดก็คือผู้ส่งออกบางราย ซ้ำในช่วงปลายปีที่ผ่านมารัฐบาลก็เทขายข้าวมาอีก 4 ล้านตัน ทำให้ภาพรวมประเทศชาติเสียหายมาก รัฐบาลต้องนำเงินภาษีนับแสนล้านบาท มาอุดหนุนให้เกษตรกร ฉุดราคาข้าวในตลาดโลกร่วงลงมาก ก็เท่ากับรัฐบาลไทยทำหน้าที่ควักกระเป๋าจ่ายเงินให้ชาวโลกได้กินข้าวราคาถูกชาวนาผีขึ้นทะเบียนรับเงินเพียบนอกจากนี้รัฐบาลยังจ่ายเงินชดเชยเกินจริงไปมาก โดยในช่วงนาปรังที่ผ่านมา มีตัวเลขที่รัฐต้องชดเชยส่วนต่างระหว่างราคาประกันกับราคาอ้างอิงจำนวน 11.2 ล้านตันที่คิดจากตัวเลขพื้นที่ปลูกข้าวที่เข้าร่วมโครงการ แต่จริงๆแล้วในช่วงที่ก่อนมีโครงการประกันราคาจะมีปริมาณข้าวไม่เกิน 8 ล้านตัน ทำให้รัฐต้องชดเชยอย่างสูญเปล่าไป 3-4 ล้านตัน ส่วนนาปีก็มีตัวเลขมากกว่านี้ คาดว่ามีผลผลิตที่เข้าร่วมโครงการประมาณ 30 ล้านตัน ขณะที่ตัวเลขจริงน่าจะมีประมาณ 24-25 ล้านตัน รัฐต้องจ่ายเกินไปถึง 5 ล้านตัน มูลค่าการชดเชยโครงการนาปีมีสูงถึง 3.5 หมื่นล้านบาท หรือชดเชยมากกว่า 2 พันบาทต่อตัน ทำให้เห็นได้ชัดว่ามีเกษตรกรจำนวนมากมาขึ้นทะเบียนโดยไม่ได้ปลูกข้าวจริงโดยตัวเลขเป็นทางการของรัฐระบุว่า โครงการประกันรายได้ชาวนาปี 2553-54 รอบที่ 2 มีวงเงินทั้งสิ้น 19,000 ล้านบาท เพื่อชดเชยส่วนต่างระหว่างราคาประกันกับราคาอ้างอิง ซึ่งประมาณการผลผลิตที่เข้าร่วมโครงการประมาณ 10 ล้านตัน หรือเฉลี่ยตันละ 1,900 บาท แต่ตัวเลขจริงในขณะนี้ตั้งแต่ 28 มี.ค.- 3 เม.ย. 54 ราคาอ้างอิง 8,310 บาท ทำให้รัฐต้องชดเชยสูงถึง 2,690 บาท/ตัน ในขณะยอกการชดเชยนาปีที่ผ่านมา 35,121 ล้านบาทยอด 2 ปี รัฐกระเป๋าฉีก 1.14 แสนล.ดังนั้น ในฤดูการเพาะปลูก 2552/53 รัฐบาลจ่ายไปแล้ว 5 หมื่นล้านบาท และฤดูผลิต 2553/54 คาดว่าจะใช้เงินชดเชยไม่ต่ำกว่า 6 หมื่นล้านบาท เท่ากับการใช้นโยบายประกันราคารัฐบาลเสียหายไปแล้ว 1.1 แสนล้านบาท ส่วนความเสียหายอันเนื่องมาจากการขายข้าวได้ราคาต่ำ ในปีที่ผ่านมาส่งออกไป 9 ล้านตัน เสียหายไปประมาณ 1.4 หมื่นล้านบาท ด้านความเสียหายจากสต็อกข้าวในโกดังรัฐที่ระบายออกมา 5 ล้านตัน ในราคา 1.2 หมื่นบาท/ตัน จากราคาก่อนหน้านั้นที่พุ่งไปถึง 1.7 หมื่นบาท/ตัน แต่ก็ไม่ขาย เท่ากับมีความเสียหาย 2.5 หมื่นล้านบาท ขณะที่สต็อกข้าวที่อยู่ในมือผู้ค้าข้าว และชาวนาอีกประมาณ 5 ล้านตัน เงินหายไปประมาณ 2.5 หมื่นล้านบาท รวมปี 52-53 มียอดความเสียหายรวมทั้งสิ้น 1.14 แสนล้านบาท ส่วนมาตรการของรัฐที่บอกว่าจะตั้งโต๊ะรับซื้อหากราคาข้าวตกต่ำ แต่ในความเป็นจริง รัฐกลับไม่มีงบประมาณในส่วนนี้ ทำให้ราคาข้าวยังคงร่วงลงเรื่อยๆแนะตั้งราคาขั้นต่ำดึงข้าวเข้าสต็อกทั้งนี้ หากรัฐบาลมีการจัดการที่ดีในระบบการค้าข้าว ก็จะช่วยดึงราคาตลาดโลกได้มากเพราะไทยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุดของโลกมีส่วนแบ่งการตลาด 40% ถึงแม้ว่าเวียดนามส่งออกเก่งที่สุดก็ไม่เกิน 8 ล้านตัน ไทยก็มีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ที่ 8-9 ล้านตันอยู่แล้ว ถ้าไทยควบคุมปริมาณส่งออกข้าวให้ลดไปจากตลาดประมาณ 2 ล้านตัน ก็จะดึงข้าวโลกให้พุ่งขึ้นได้ ดังนั้นรับจะต้องกำหนดราคาขั้นต่ำ และดึงข้าวเข้าสต็อกรัฐ เพื่อควบคุมราคา และปริมาณข้าวที่ออกไปสู่ตลาดโลกประกันราคาฉุดคุณภาพข้าวหล่นวูบด้านโรงสีรายหนึ่งในจังหวัดพิจิตร กล่าวว่า การที่รัฐมุ่งเน้นโครงการประกันราคา ก็มีส่วนสำคัญที่ทำให้คุณภาพข้าวลดลง เพราะเกษตรกรไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันในการปลูก มีการนำข้างพันธุ์เบาที่แตกหักง่าย แต่เป็นข้าวที่ปลูกง่ายโตไวออกมาขายโรงสีโดยไม่มองเรื่องราคา เพราะรัฐบาลต้องชดเชยส่วนต่างให้อยู่แล้ว ประกอบกับในช่วงนี้เพลี้ยระบาดรุนแรงในพื้นที่ภาคกลางไล่จากพิจิตร ชัยนาทไปจนถึงจังหวัดนครปฐมแล้ว รวมทั้งฤดูการที่ผันผวน ทำให้คุณภาพข้าวลดลง ซึ่งปัจจัยต่างๆเหล่านี้ล้วนทำให้คุณภาพข้าวไทยแย่ลง ทั้งๆที่สถานการณืในปัจจุบันนี้ไทยจะต้องยกระดับคุณภาพของข้าว เพื่อหนีคู่แข่งที่ต้นทุนถูกกว่าอย่างเวียดนาม แต่รัฐกลับไม่มีนโยบายเพิ่มคุณภาพข้าวเลย มีแต่เพียงการอัดเงินลงไปซื้อเสียงจากชาวนาโดยที่ประเทศชาติต้องเสียหายอย่างมหาศาลอย่างไรก็ตามแม้คุณภาพข้าวไทยจะลด แต่ขณะนี้ยังมีคุณภาพดีกว่าเวียดนาม เพราะไทยมีเทคโนโลยีการสี และการนึ่งสูงกว่า ทำให้ถึงแม้ว่าข้าวเวียดนามจะถูกกว่าไทย 5% แต่ข้าวไทยก็ยังขายได้อยู่ แต่ในอนาคตถ้าไทยยังปล่อยให้สถานการณ์เป็นเช่นนี้ต่อไปจนเวียดนามพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตที่สู้กับไทยได้ ก็จะทำให้ไทยเสียเปลียบทุกด้านในการแข่งขันประเทศเอเชียรุมสวดไทยต้นเหตุทำให้จนส่วนราคาข้าวที่ลดลงเรื่อยๆ ก็เนื่องจากรัฐบาลไม่กำหนดราคาขั้นต่ำเข้ามาซื้อข้าวหากราคาต่ำกว่าที่กำหนด แต่การที่รัฐไม่ทำอะไรเลยก็เป็นการชี้นำให้ราคาข้างตกลงเรื่อยๆ ทำให้โรงสี และผู้ส่งออกไม่กล้าซื้อเต็มที่เพราะกลัวราคาที่ผันผวน เมื่อซื้อข้าวได้ก็จะขายทันทีไม่กล้าเก็บไว้ ทำให้ข้าวราคาถูกใหลออกนอกประเทศโดยไม่มีใครเข้ามาควบคุม แต่ถ้ามีราคาขั้นต่ำ ก็ทำให้ราคาข้าวมีเสถียรภาพนอกจากนี้เวียดนามก็เห็นนโยบายของไทยที่ทำให้ราคาข้าวต่ำก็เลยขายข้าวตัดหน้าไทยทำให้ราคาข้าวโลกยิ่งร่วงลงไปอีก ไม่เพียงความเดือดร้อนที่เกิดขึ้นในประเทศเพียงเท่านั้น ประเทศผู้ปลูกข้าวอื่นๆในเอเชีย ต่างก็ไม่พอใจนโยบายของรัฐบาลไทย เพราะทำให้ราคาตลาดโลกลดลงจนทำให้เกษตรกรในประเทศเหล่านี้ยากจน เพราะรัฐบาลของเขาไม่ได้มีเงินมากแบบรัฐบาลไทยที่จะอัดฉีดให้เกษตรกรอย่างฟรีๆได้ชี้ชาวนาดีแต่จ้างปลูกไม่ตั้งใจผลิตคมกฤชช์ ธรรมรัตนกุล เจ้าของโรงสี จังหวัดนครสวรรค์กล่าวว่าในปัจจุบันพฤติกรรมการปลูกข้าว และการเก็บเกี่ยวของชาวนาเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตที่ทำด้วยตนเอง และครอบครัว มาเป็นการทำการเพาะปลูกในเชิงธุรกิจมากขึ้น มีการจ้างแรงงานทำในทุกขั้นตอน เช่น จ้างปลูก จ้างใส่ปุ๋ย จ้างเก็บ ฯลฯ จึงทำให้ขาดความละเอียดในการดูแลคุณภาพของข้าว ทั้งยังส่งผลกระทบใหญ่ที่เป็นปัญหาต่อรายรับของเกษตรกรที่ไม่เพียงพอต่อรายจ่าย เนื่องจากเมื่อราคาข้าวสูงขึ้น ค่าจ้างในในการเพาะปลูก เก็บเกี่ยวก็จะขึ้นราคาตามไปด้วยหลังจากการเก็บเกี่ยวข้าวชาวบ้านนิยมนำข้าวสดขายมากกว่าข้าวแห้งที่ต้องผ่านกระบวนการเอาน้ำออกก่อนขาย เนื่องจากได้เงินเร็วกว่า และไม่เป็นภาระในส่วนนี้ ส่วนข้าวสดนั้นจะต้องนำมาทำให้แห้ง จึงทำให้มีค่าใช้จ่าย และต้องหักน้ำหนักที่เสียออกไป ทำให้ข้าวเบาลง ราคาข้าวที่ขายแบบสดจะคำนึงถึงส่วนนี้เป็นสำคัญอีกด้วยในด้านการประกันราคาข้าวของรัฐบาลนั้น ยังไม่แน่ชัดว่าจะทำให้คุณภาพข้าวแย่ลงกว่าเดิมหรือไม่ เพราะต้องใช้เวลาในการปรับตัว และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ส่วนการจำนำข้าวนั้น ที่ผ่านมาเห็นได้ชัดว่ามีส่วนทำให้คุณภาพข้าวลดลง เพราะเกษตรกรเน้นขายปริมาณข้าวมากกว่าจะดูแลเรื่องคุณภาพ และในเชิงจิตวิทยาชาวบ้านจะชอบมากกว่าการประกันข้าว เนื่องจากได้เงินเร็ว ตรงจุดมากกว่า ทั้งนี้ควรนำ 2 มาตรการมาปรับใช้ด้วยกัน เช่น บางอย่างควรจำนำ บางอย่างควรประกันราคาข้าว เป็นต้น
คุณงงเต่าครับ รัฐบวมของคุณอะปีเดียวล่อไป 5 เเสนล้านเเล้วครับ จน ธกส จะเจ๊งบ๊งเเล้ว ข้าวขายไม่ได้
รัฐบาลชุดก่อนมีปัญหายังไงเค้าก็เเก้ไข ข้าวยังระบายออกไปได้ รบกวนอย่าเเถไปเรื่อยๆ ครับ
มาละ ทฤษฎี เลวน้อย เลวกว่า ฟังแล้วอยากอ้วก
ถ้าตัวเองก็ผิด แทนที่จะยกเลิกทั้งหมด กลับไปด่าทอคนอื่น เพื่อให้ตัวเองดูดีขึ้น
#103
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:44
แฉนโยบายประกันราคาข้าวสุดห่วย รัฐทำเจ๊งกว่าแสนล้าน - คุณภาพตกต่ำ
โรงสี-ผู้ส่งออกข้าวโวย นโยบายประกันราคาข้าว 2 ปี ทำรัฐเจ๊งกว่าแสนล้าน แถมฉุดราคาข้าวโลกร่วง และรัฐไทยยังเป็นผู้แบกรับค่าใช้จ่ายให้คนทั้งโลก ขณะที่คุณภาพข้าวตกต่ำ เพราะขายได้เท่าไรรัฐก็จ่ายชดเชย ด้านพ่อค้าส่งออกถือโอกาสกดราคาโรงสี สะท้อนภาพคนไม่ได้ปลูกข้าว กับพวกเจ้าของที่ดินรับเละ ส่วนชาวนาตัวจริง ถูกกดราคา ซ้ำไม่ได้เงินประกัน แนะตั้งราคาขั้นต่ำ -ยุ้งฉางให้กับชาวนาในพื้นที่ เพื่อให้เกษตรกรได้ราคาผลผลิตดีที่สุด
จากปริมาณการส่งออกข้าวตั้งแต่ต้นปีนี้จนถึงเดือน ก.พ.54 ไทยมียอดส่งออกข้าวคิดเป็นปริมาณเพิ่มขึ้น 25.6% แต่มูลค่าเพิ่มเพียง 9.4% ทั้งๆที่ตลาดโลกต้องการข้าวสูง คู่แข่งงดส่งออก โดยแหล่งข่าวผู้ส่งออกข้าวกล่าวว่า ขณะนี้ชาวนาที่ปลูกข้าวแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.ชาวนาที่ไม่ได้ปลูกข้าวแต่มีที่ดินขึ้นทะเบียนเพื่อขอชดเชยราคาข้าว แต่ใช้ที่ดินไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ได้กำไรมากกว่าหรือให้เช่าที่นา 2.ชาวนาที่ปลูกข้าวไว้เพื่อกินเองโดยไม่ได้เน้นการขาย และ3.ชาวนาที่ปลูกข้าวเพื่อขายอย่างแท้จริงแต่ส่วนใหญ่ต้องเช่าที่นา ซึ่งใน 3 กลุ่มนี้ ชาวนาที่ปลูกข้าวเพื่อขายมีจำนวนมากที่สุดคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 50-60% โดยชาวนากลุ่มนี้แทบจะไม่ได้ประโยชน์จากโครงการประกันราคาของรัฐบาล เพราะส่วนใหญ่ต้องเช่าที่นา ขณะที่เจ้าของที่ดินกลับไปขึ้นทะเบียนได้ส่วนต่างตรงนี้ไป และยังได้ค่าเช่าจากผู้ปลูกตัวจริงอีกทอดระบุชาวนาตัวจริงชวดเงินประกันทั้งนี้ พวกที่ไม่ได้ปลูกข้าว แค่อยู่เฉยๆก็ได้เงินจากรัฐอย่างสบาย เช่น ถ้ามีที่ดิน 100 ไร่ แบ่งออกเป็นผู้ถือครองขึ้นทะเบียน 2 ชื่อ ก็ได้รับเงินชดเชยจากรัฐ 60 ตัน มีมูลค่ากว่า 1 แสนบาทต่อฤดูการเพาะปลูก ส่วนพวกที่ปลุกไว้กินมีที่ดินจำนวนน้อยประมาณ 10 ไร่ ก็จะได้เงินชดเชยกว่า 1 หมื่นบาท โดยกลุ่มที่ 3 น่าส่งสารที่สุดไม่ได้รับการช่วยเหลือใดๆเลย ซึ่งรัฐบาลคิดว่าการชดเชยแบบนี้เงินถึงมือเกษตรกรอย่างแท้จริง น่าจะได้คะแนนนิยมมาก แต่ในความเป็นจริงชาวนากลุ่มใหญ่กลับไม่ได้ประโยชน์อะไร โดยเฉพาะในภาคอีสาน ที่จะส่งผลต่อคะแนนเลือกตั้งในครั้งหน้าอย่างแน่นอนนอกจากนี้ราคาที่รัฐบาลชดเชยก็มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะถูกผู้ส่งออกกดราคามายังโรงสี และโรงสีก็กดราคารับซื้อจากเกษตรกรอีกทอด ส่วนชาวนาก็เต็มใจขายข้าวแม้ไม่ได้ราคาเพราะมั่นใจว่ารัฐบาลก็จะต้องชดเชยส่วนต่างให้ แต่ในความจริงแล้วชาวนาก็แทบจะไม่ได้กำไร เพราะขณะนี้ต้นทุนการทำนาประมาณ 6-7 พันบาท/ตัน แต่พ่อค้ารับซื้อในราคาเกือบเท่าทุนที่ 6-7 พันบาท/ตัน จากนั้นชาวนาก็ได้เงินชดเชยจากรัฐประมาณ 2 พันบาท รวมแล้วประมาณ 8-9 พันบาท/ตัน สรุปว่าชาวนาได้กำไร10% กว่าๆ เมื่อเทียบกับบางพื้นที่ทำนาได้เพียงปีละ 1 ครั้งส่วนต่างที่ได้จึงแทบจะไม่พอค่าใช้จ่ายทั้งปีโรงสีบ่นอุบส่งออกรวยโรงสีจนส่วนโรงสีก็แทบจะไม่ได้กำไร เพราะราคาข้าวผันผวน ถ้าราคาข้าวลงผู้ส่งออกก็หาข้ออ้างไม่ซื้อข้าว ทำให้โรงสีต้องยอมขายข้าวขาดทุน สุดท้ายผู้ที่ได้กำไรมากสุดก็คือผู้ส่งออกบางราย ซ้ำในช่วงปลายปีที่ผ่านมารัฐบาลก็เทขายข้าวมาอีก 4 ล้านตัน ทำให้ภาพรวมประเทศชาติเสียหายมาก รัฐบาลต้องนำเงินภาษีนับแสนล้านบาท มาอุดหนุนให้เกษตรกร ฉุดราคาข้าวในตลาดโลกร่วงลงมาก ก็เท่ากับรัฐบาลไทยทำหน้าที่ควักกระเป๋าจ่ายเงินให้ชาวโลกได้กินข้าวราคาถูกชาวนาผีขึ้นทะเบียนรับเงินเพียบนอกจากนี้รัฐบาลยังจ่ายเงินชดเชยเกินจริงไปมาก โดยในช่วงนาปรังที่ผ่านมา มีตัวเลขที่รัฐต้องชดเชยส่วนต่างระหว่างราคาประกันกับราคาอ้างอิงจำนวน 11.2 ล้านตันที่คิดจากตัวเลขพื้นที่ปลูกข้าวที่เข้าร่วมโครงการ แต่จริงๆแล้วในช่วงที่ก่อนมีโครงการประกันราคาจะมีปริมาณข้าวไม่เกิน 8 ล้านตัน ทำให้รัฐต้องชดเชยอย่างสูญเปล่าไป 3-4 ล้านตัน ส่วนนาปีก็มีตัวเลขมากกว่านี้ คาดว่ามีผลผลิตที่เข้าร่วมโครงการประมาณ 30 ล้านตัน ขณะที่ตัวเลขจริงน่าจะมีประมาณ 24-25 ล้านตัน รัฐต้องจ่ายเกินไปถึง 5 ล้านตัน มูลค่าการชดเชยโครงการนาปีมีสูงถึง 3.5 หมื่นล้านบาท หรือชดเชยมากกว่า 2 พันบาทต่อตัน ทำให้เห็นได้ชัดว่ามีเกษตรกรจำนวนมากมาขึ้นทะเบียนโดยไม่ได้ปลูกข้าวจริงโดยตัวเลขเป็นทางการของรัฐระบุว่า โครงการประกันรายได้ชาวนาปี 2553-54 รอบที่ 2 มีวงเงินทั้งสิ้น 19,000 ล้านบาท เพื่อชดเชยส่วนต่างระหว่างราคาประกันกับราคาอ้างอิง ซึ่งประมาณการผลผลิตที่เข้าร่วมโครงการประมาณ 10 ล้านตัน หรือเฉลี่ยตันละ 1,900 บาท แต่ตัวเลขจริงในขณะนี้ตั้งแต่ 28 มี.ค.- 3 เม.ย. 54 ราคาอ้างอิง 8,310 บาท ทำให้รัฐต้องชดเชยสูงถึง 2,690 บาท/ตัน ในขณะยอกการชดเชยนาปีที่ผ่านมา 35,121 ล้านบาทยอด 2 ปี รัฐกระเป๋าฉีก 1.14 แสนล.ดังนั้น ในฤดูการเพาะปลูก 2552/53 รัฐบาลจ่ายไปแล้ว 5 หมื่นล้านบาท และฤดูผลิต 2553/54 คาดว่าจะใช้เงินชดเชยไม่ต่ำกว่า 6 หมื่นล้านบาท เท่ากับการใช้นโยบายประกันราคารัฐบาลเสียหายไปแล้ว 1.1 แสนล้านบาท ส่วนความเสียหายอันเนื่องมาจากการขายข้าวได้ราคาต่ำ ในปีที่ผ่านมาส่งออกไป 9 ล้านตัน เสียหายไปประมาณ 1.4 หมื่นล้านบาท ด้านความเสียหายจากสต็อกข้าวในโกดังรัฐที่ระบายออกมา 5 ล้านตัน ในราคา 1.2 หมื่นบาท/ตัน จากราคาก่อนหน้านั้นที่พุ่งไปถึง 1.7 หมื่นบาท/ตัน แต่ก็ไม่ขาย เท่ากับมีความเสียหาย 2.5 หมื่นล้านบาท ขณะที่สต็อกข้าวที่อยู่ในมือผู้ค้าข้าว และชาวนาอีกประมาณ 5 ล้านตัน เงินหายไปประมาณ 2.5 หมื่นล้านบาท รวมปี 52-53 มียอดความเสียหายรวมทั้งสิ้น 1.14 แสนล้านบาท ส่วนมาตรการของรัฐที่บอกว่าจะตั้งโต๊ะรับซื้อหากราคาข้าวตกต่ำ แต่ในความเป็นจริง รัฐกลับไม่มีงบประมาณในส่วนนี้ ทำให้ราคาข้าวยังคงร่วงลงเรื่อยๆแนะตั้งราคาขั้นต่ำดึงข้าวเข้าสต็อกทั้งนี้ หากรัฐบาลมีการจัดการที่ดีในระบบการค้าข้าว ก็จะช่วยดึงราคาตลาดโลกได้มากเพราะไทยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุดของโลกมีส่วนแบ่งการตลาด 40% ถึงแม้ว่าเวียดนามส่งออกเก่งที่สุดก็ไม่เกิน 8 ล้านตัน ไทยก็มีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ที่ 8-9 ล้านตันอยู่แล้ว ถ้าไทยควบคุมปริมาณส่งออกข้าวให้ลดไปจากตลาดประมาณ 2 ล้านตัน ก็จะดึงข้าวโลกให้พุ่งขึ้นได้ ดังนั้นรับจะต้องกำหนดราคาขั้นต่ำ และดึงข้าวเข้าสต็อกรัฐ เพื่อควบคุมราคา และปริมาณข้าวที่ออกไปสู่ตลาดโลกประกันราคาฉุดคุณภาพข้าวหล่นวูบด้านโรงสีรายหนึ่งในจังหวัดพิจิตร กล่าวว่า การที่รัฐมุ่งเน้นโครงการประกันราคา ก็มีส่วนสำคัญที่ทำให้คุณภาพข้าวลดลง เพราะเกษตรกรไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันในการปลูก มีการนำข้างพันธุ์เบาที่แตกหักง่าย แต่เป็นข้าวที่ปลูกง่ายโตไวออกมาขายโรงสีโดยไม่มองเรื่องราคา เพราะรัฐบาลต้องชดเชยส่วนต่างให้อยู่แล้ว ประกอบกับในช่วงนี้เพลี้ยระบาดรุนแรงในพื้นที่ภาคกลางไล่จากพิจิตร ชัยนาทไปจนถึงจังหวัดนครปฐมแล้ว รวมทั้งฤดูการที่ผันผวน ทำให้คุณภาพข้าวลดลง ซึ่งปัจจัยต่างๆเหล่านี้ล้วนทำให้คุณภาพข้าวไทยแย่ลง ทั้งๆที่สถานการณืในปัจจุบันนี้ไทยจะต้องยกระดับคุณภาพของข้าว เพื่อหนีคู่แข่งที่ต้นทุนถูกกว่าอย่างเวียดนาม แต่รัฐกลับไม่มีนโยบายเพิ่มคุณภาพข้าวเลย มีแต่เพียงการอัดเงินลงไปซื้อเสียงจากชาวนาโดยที่ประเทศชาติต้องเสียหายอย่างมหาศาลอย่างไรก็ตามแม้คุณภาพข้าวไทยจะลด แต่ขณะนี้ยังมีคุณภาพดีกว่าเวียดนาม เพราะไทยมีเทคโนโลยีการสี และการนึ่งสูงกว่า ทำให้ถึงแม้ว่าข้าวเวียดนามจะถูกกว่าไทย 5% แต่ข้าวไทยก็ยังขายได้อยู่ แต่ในอนาคตถ้าไทยยังปล่อยให้สถานการณ์เป็นเช่นนี้ต่อไปจนเวียดนามพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตที่สู้กับไทยได้ ก็จะทำให้ไทยเสียเปลียบทุกด้านในการแข่งขันประเทศเอเชียรุมสวดไทยต้นเหตุทำให้จนส่วนราคาข้าวที่ลดลงเรื่อยๆ ก็เนื่องจากรัฐบาลไม่กำหนดราคาขั้นต่ำเข้ามาซื้อข้าวหากราคาต่ำกว่าที่กำหนด แต่การที่รัฐไม่ทำอะไรเลยก็เป็นการชี้นำให้ราคาข้างตกลงเรื่อยๆ ทำให้โรงสี และผู้ส่งออกไม่กล้าซื้อเต็มที่เพราะกลัวราคาที่ผันผวน เมื่อซื้อข้าวได้ก็จะขายทันทีไม่กล้าเก็บไว้ ทำให้ข้าวราคาถูกใหลออกนอกประเทศโดยไม่มีใครเข้ามาควบคุม แต่ถ้ามีราคาขั้นต่ำ ก็ทำให้ราคาข้าวมีเสถียรภาพนอกจากนี้เวียดนามก็เห็นนโยบายของไทยที่ทำให้ราคาข้าวต่ำก็เลยขายข้าวตัดหน้าไทยทำให้ราคาข้าวโลกยิ่งร่วงลงไปอีก ไม่เพียงความเดือดร้อนที่เกิดขึ้นในประเทศเพียงเท่านั้น ประเทศผู้ปลูกข้าวอื่นๆในเอเชีย ต่างก็ไม่พอใจนโยบายของรัฐบาลไทย เพราะทำให้ราคาตลาดโลกลดลงจนทำให้เกษตรกรในประเทศเหล่านี้ยากจน เพราะรัฐบาลของเขาไม่ได้มีเงินมากแบบรัฐบาลไทยที่จะอัดฉีดให้เกษตรกรอย่างฟรีๆได้ชี้ชาวนาดีแต่จ้างปลูกไม่ตั้งใจผลิตคมกฤชช์ ธรรมรัตนกุล เจ้าของโรงสี จังหวัดนครสวรรค์กล่าวว่าในปัจจุบันพฤติกรรมการปลูกข้าว และการเก็บเกี่ยวของชาวนาเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตที่ทำด้วยตนเอง และครอบครัว มาเป็นการทำการเพาะปลูกในเชิงธุรกิจมากขึ้น มีการจ้างแรงงานทำในทุกขั้นตอน เช่น จ้างปลูก จ้างใส่ปุ๋ย จ้างเก็บ ฯลฯ จึงทำให้ขาดความละเอียดในการดูแลคุณภาพของข้าว ทั้งยังส่งผลกระทบใหญ่ที่เป็นปัญหาต่อรายรับของเกษตรกรที่ไม่เพียงพอต่อรายจ่าย เนื่องจากเมื่อราคาข้าวสูงขึ้น ค่าจ้างในในการเพาะปลูก เก็บเกี่ยวก็จะขึ้นราคาตามไปด้วยหลังจากการเก็บเกี่ยวข้าวชาวบ้านนิยมนำข้าวสดขายมากกว่าข้าวแห้งที่ต้องผ่านกระบวนการเอาน้ำออกก่อนขาย เนื่องจากได้เงินเร็วกว่า และไม่เป็นภาระในส่วนนี้ ส่วนข้าวสดนั้นจะต้องนำมาทำให้แห้ง จึงทำให้มีค่าใช้จ่าย และต้องหักน้ำหนักที่เสียออกไป ทำให้ข้าวเบาลง ราคาข้าวที่ขายแบบสดจะคำนึงถึงส่วนนี้เป็นสำคัญอีกด้วยในด้านการประกันราคาข้าวของรัฐบาลนั้น ยังไม่แน่ชัดว่าจะทำให้คุณภาพข้าวแย่ลงกว่าเดิมหรือไม่ เพราะต้องใช้เวลาในการปรับตัว และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ส่วนการจำนำข้าวนั้น ที่ผ่านมาเห็นได้ชัดว่ามีส่วนทำให้คุณภาพข้าวลดลง เพราะเกษตรกรเน้นขายปริมาณข้าวมากกว่าจะดูแลเรื่องคุณภาพ และในเชิงจิตวิทยาชาวบ้านจะชอบมากกว่าการประกันข้าว เนื่องจากได้เงินเร็ว ตรงจุดมากกว่า ทั้งนี้ควรนำ 2 มาตรการมาปรับใช้ด้วยกัน เช่น บางอย่างควรจำนำ บางอย่างควรประกันราคาข้าว เป็นต้น
คุณงงเต่าครับ รัฐบวมของคุณอะปีเดียวล่อไป 5 เเสนล้านเเล้วครับ จน ธกส จะเจ๊งบ๊งเเล้ว ข้าวขายไม่ได้
รัฐบาลชุดก่อนมีปัญหายังไงเค้าก็เเก้ไข ข้าวยังระบายออกไปได้ รบกวนอย่าเเถไปเรื่อยๆ ครับ
มาละ ทฤษฎี เลวน้อย เลวกว่า ฟังแล้วอยากอ้วก
ถ้าตัวเองก็ผิด แทนที่จะยกเลิกทั้งหมด กลับไปด่าทอคนอื่น เพื่อให้ตัวเองดูดีขึ้น
รัฐบาลของคุณอะนอกจากทำธนาคารเกือบเจ๊งเเล้ว เงิน ห้าเเสนล้านสูญสลาย ข้าวยังเน่าอีก เสียเเชมป์ส่งออกอีก เลวโคตรๆอะ รัฐบวมคุณอะ
#104
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:44
เลยมึนๆงงๆ
อ่านให้ครับนะ ข่าวที่เอามาลง เด๋วจะเงิบ
ห้าาาาาาา
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
#105
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:44
http://www.oknation....2/10/05/entry-2
ยิ่งลักษณ์!! กิตติรัตน์!! บวกเลขเป็นรึเปล่า!! จำนำข้าว VS ประกันข้าว ดูกันชัดๆ
ผมสมมติ ให้ที่จำนวนตัน(เกวียน)ที่เท่ากัน เอาตัวเลขกลมๆ ที่ รัฐบาลออกมาบอกว่าจะรับจำนำในปี 55 - 56 ประมาณ 15ล้านตัน
ประกันราคาข้าว
ประกันราคาข้าวของ อภิสิทธิ์ 11000 บาทต่อตัน(เกวียน) ราคาซื้อขายจริงที่ชาวนาจะได้รับ ประมาณ 8000 ดังนั้นส่วนต่าง ต่อเกวียนคือ 11000 - 8000 = 3000 บาทต่อตัน(เกวียน) (อ้างอิงข้อมูลจากปีก่อนที่มีการประกันรายได้จริง)
ข้าวที่จะรับประกันทั้งหมด 15ล้านตัน เท่ากับว่า ประกันรายได้จะสูญเสียเงินไป 15ล้าน * 3000 = 45,000ล้านบาทต่อปี
ซึ่งตัวเลขนี้ก็ตรงกับที่ทางเพื่อไทยหรือ พานทองแท้ ออกมาพ่นว่า ประกันรายได้สูญเสียเงินไป แสนล้านใน 2ปี
ในด้านการโกง ประกันรายได้ จะมีการโกงกินได้ตรงที่ จำนวนพื้นที่ทำนา ที่แจ้งมาไม่ตรง กับพื้นที่ทำนาทีแท้จริง ซึ่งตรงนี้ถ้ารัฐบาลเอาจริงเอาจัง ก็สามารถตรวจสอบได้ไม่ยากว่า พื้นที่ที่แจ้งมาทำนาจริงหรือไม่ และ ลดการโกงไปได้ระดับหนึ่ง แต่ถ้าคนโกงเป็น ชาวนา อย่างไรก็ตามคนที่ได้เงินจากการโกง ก็ยังเป็นชาวนาที่ได้รับผลประโยชน์ตรงนี้ มิใช่นายทุนแต่อย่างใด
และกรณีที่เกิดภัย พิบัติ รัฐบาลก็อาจสูญเสียเงินเพิ่ม จากตรงนี้ เพราะว่าไม่ได้ข้าวมาขาย แต่ชาวนาจะได้รับผลประโยชน์เต็มๆ ตรงนี้ผม คิดคร่าวๆให้เลย เผื่อแบบเยอะๆเลยว่า ใช้เงินประมาณ 15000 ล้านต่อปี ดังนั้น
ประกันรายได้จะสูญเสียเงินไป 15000 + 45000 = 60000ล้านบาทต่อปี
จำนำข้าว
จำนำข้าวของ ยิ่งลักษณ์ รับจำนำข้าวเปลือกที่ 15000 ต่อตัน(เกวียน) แต่เมื่อผ่านขบวนการมาเป็นข้าวสาร แล้วต้นทุนจะอยู่ที่ 23000 - 24000 บาทต่อตัน(เกวียน)
ราคาส่งออกของไทย ในตลาดโลก อยู่ที่ประมาณ 550-600 US$ ตกราวๆ 16500 - 18000
ดังนั้นจำนำข้าว จะสูญเสียเงิน(กรณีที่ขายข้าวส่งออกได้) 24000 - 18000 = 6000 บาทต่อตัน(เกวียน)
ข้าวที่จะรับจำนำทั้งหมด 15ล้านตัน เท่ากับว่า จำนำรายได้จะสูญเสียเงินไป 15ล้าน*6000 = 90,000ล้านบาทต่อปี
ในด้านการโกง จำนำรายได้ จะมีการโกงได้หลายรูปแบบมาก
1. นายทุน ซื้อข้าวจากต่างประเทศ มาสวมสิทธิ ชาวนาเสียประโยชน์เต็มๆ
2. โรงสี กดราคา อ้างความชื้น อ้างคุณภาพ ชาวนาเสียประโยชน์เต็มๆ
ยังไม่จบๆ ที่บอกว่ารัฐเสีย 90000 ล้านบาทต่อปีในกรณีที่ข้าว 15 ล้านตันขายได้หมด ลองมาดูความเป็นจริง
ข้อมูลจาก http://www.thairiceexporters.or.th/
ประกันข้าว ช่วงเวลา 1ม.ค. - 1ต.ค. 2554 ส่งออกข้าวได้ 9.1 ล้านตัน
จำนำข้าว ช่วงเวลา 1ม.ค. - 1ต.ค. 2555 ส่งออกข้าวได้ 5 ล้านตัน
เปรียบเทียบแล้ว ข้าวที่ส่งออกได้ ลดลงมาประมาณ 50เปอร์เซนต์ หรือ ครึ่งหนึ่งเลย
ผมคิดแบบเผื่อให้ ยิ่งลักษณ์ เลยว่า ทั้งปีจะสามารถส่งออกได้ 8ล้านตัน คิดเผื่อให้เยอะๆแล้วนะ
1. กรณีที่แย่ที่สุด ที่รัฐบาลจะสูญเสียเงิน
ดังนั้น รัฐบาลจะสูญเสียเงินจาก กรณีจำนำข้าว คือ 8ล้าน * 6000 = 48000ล้านบาท
บวกกับ ข้าวที่ยังขายไม่ได้ 7ล้านตัน * 24000 (คิดราคาเต็มเพราะยังขายข้าวไม่ได้) = 168,000ล้านบาท
ดังนั้น รัฐบาลจะสูญเสีย เงินในกรณีแย่ที่สุด(ขายข้าวที่เหลือไม่ได้) 48000 + 168000 = 216,000 ล้านบาท
2. กรณีดีที่สุด
สมมติ ข้าวที่ยังขายไมได้ 7ล้านตัน (ต้องเข้าใจสภาพของข้าวว่า เก็บรักษาได้ประมาณ2ปี และยิ่งเก็บนานยิ่งเสื่อมคุณภาพ)
สมมติว่า รัฐบาลยอมเสียหน้า เสียคำพูด แล้วยอมขายข้าวที่เหลือทั้งหมดในราคา เท่า เวียดนามคือ 450US$ หรือ 13500บาทต่อตัน รัฐบาลจะขาดทุน 24000 - 13500 = 10500บาทต่อตัน(เกวียน)
ดังนั้น รัฐบาลจะสูญเสียเงินใน กรณีนี้ 8ล้าน * 6000 = 48000ล้านบาท
บวกกับ ข้าวที่เหลือที่ยอมขายถูก 7ล้าน * 10500 = 73500ล้านบาท
ดังนั้น รัฐบาล จะสูญเสียเงินกรณีนี้ไป 48000 + 73500 = 121,500 ล้านบาท
สรุป
ประกันรายได้ สูญเสียเงินต่อปี 60,000 ล้านบาทต่อปี
จำนำข้าว สูญเสียเงินต่อปี กรณีแย่สุด 216,000 ล้านบาทต่อปี
จำนำข้าว สูญเสียเงินต่อปี กรณีระบายข้าวค้างได้ 121,500 ล้านบาทต่อปี
ชัดไหมครับ ผมเปรียบเทียบให้เห็นแบบนี้แล้ว ชัดไหมครับ เพื่อไทย ยิ่งลักษณ์ กิตติรัตน์ กองเชียร์
1. นี่ผมยังไม่พูดถึงปัญหาที่จะตามมา กรณี ข้าวค้างสต๊อก แล้วระบายไม่ได้ ข้าวใหม่ที่เข้ามาไม่มีทีเก็บ
2. ยังไม่พูดถึง กรณีโกงกินที่ ชาวนาไม่ได้รับประโยชน์เลย ถ้าเป็นจำนำข้าว เพราะนายทุนได้เต็มๆ
3. ยังไม่พูดถึงกรณี มีภัยพิบัติ ซึ่งประกันรายได้ ชาวนาได้เงินแน่นอน แต่จำนำจะไม่ได้เงินเลยสักแดงเดียว
4. ยังไม่พูดถึงกรณี ไทยสูญเสียแชมป์ ส่งออก กระทบทั้ง GDP ทั้งผู้ส่งออก ทั้งชือเสียงที่สั่งสมมากว่า 50ปี
แล้วยังมีคนประเภทไหนอีก ที่บอกว่า จำนำ ดีกว่า ประกันรายได้
ปล. อย่ามาบอกอีกนะครับว่าไงๆ ชาวนาก็ได้เงินจากจำนำมากกว่าประกัน ก็ถ้าส่วนต่างเป็นแสนล้าน ที่จำนำรายได้ต้องสูญเสียเงินไป แต่ชาวนาได้เพิ่มเพียงนิดน้อย เทียบกับ ประกันรายได้ที่ จะเหลือเงินไว้พัฒนาประเทศ ส่วนอื่นๆได้อีกเป็น แสนล้าน หรือถ้าจะเอาเงินไปให้ชาวนา หรือเพิ่มราคาประกันก็ยังได้ และดีกว่าที่ต้องเสียเงินไปมากมายแต่ ประโยชน์ไม่ได้ตกกับชาวนาอย่างแท้จริง มันเป็นแค่เทคนิคหาเสียง สั่วๆ ที่คนเลวๆ เค้าทำกัน ต้องการแค่เสียงจากรากหญ้า โดยไม่มองผลประโยชน์ส่วนรวมมาก่อน
ถ้า ปชป. ยอมเป็นคนเลว ใช้ประชานิยมบ้าง ให้ประกันข้าว ตันละ15000 ชาวนาได้ผลประโยชน์มากกว่า มีภัยธรรมชาติ ก็ได้เงิน ใช้งบน้อยกว่าจำนำ ข้าวก็ส่งออกได้ไม่ค้างสต็อค คุณภาพข้าวก็ไม่เสื่อม ส่งออกก็ยังครองแชมป์ GDP ก็ดี แต่จะขาดทุนกับ นโยบาย ประชานิยมแบบนี้ เป็นแสนล้าน แล้วประเทศก็จะขาดงบ พัฒนาในส่วนอื่นๆ เพียงเพื่อต้องการคะแนนเสียงรากหญ้า คนดีๆเค้าไม่ทำกันหรอกครับ เพื่อคะแนนเสียง แล้วก็มาบอกว่าเป็นเทคนิคหาเสียง เมื่อทำไม่ได้จริง มันน่าอนาถใจครับ
สุดท้ายแล้วผมคงบอกได้แค่ว่า ที่ ยิ่งลักษณ์ กับ กิตติรัตน์ ออกมาแก้เกี้ยวนั้น มันก็เป็นแค่การ...
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
#106
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:44
แฉนโยบายประกันราคาข้าวสุดห่วย รัฐทำเจ๊งกว่าแสนล้าน - คุณภาพตกต่ำ
โรงสี-ผู้ส่งออกข้าวโวย นโยบายประกันราคาข้าว 2 ปี ทำรัฐเจ๊งกว่าแสนล้าน แถมฉุดราคาข้าวโลกร่วง และรัฐไทยยังเป็นผู้แบกรับค่าใช้จ่ายให้คนทั้งโลก ขณะที่คุณภาพข้าวตกต่ำ เพราะขายได้เท่าไรรัฐก็จ่ายชดเชย ด้านพ่อค้าส่งออกถือโอกาสกดราคาโรงสี สะท้อนภาพคนไม่ได้ปลูกข้าว กับพวกเจ้าของที่ดินรับเละ ส่วนชาวนาตัวจริง ถูกกดราคา ซ้ำไม่ได้เงินประกัน แนะตั้งราคาขั้นต่ำ -ยุ้งฉางให้กับชาวนาในพื้นที่ เพื่อให้เกษตรกรได้ราคาผลผลิตดีที่สุด
จากปริมาณการส่งออกข้าวตั้งแต่ต้นปีนี้จนถึงเดือน ก.พ.54 ไทยมียอดส่งออกข้าวคิดเป็นปริมาณเพิ่มขึ้น 25.6% แต่มูลค่าเพิ่มเพียง 9.4% ทั้งๆที่ตลาดโลกต้องการข้าวสูง คู่แข่งงดส่งออก โดยแหล่งข่าวผู้ส่งออกข้าวกล่าวว่า ขณะนี้ชาวนาที่ปลูกข้าวแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.ชาวนาที่ไม่ได้ปลูกข้าวแต่มีที่ดินขึ้นทะเบียนเพื่อขอชดเชยราคาข้าว แต่ใช้ที่ดินไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ได้กำไรมากกว่าหรือให้เช่าที่นา 2.ชาวนาที่ปลูกข้าวไว้เพื่อกินเองโดยไม่ได้เน้นการขาย และ3.ชาวนาที่ปลูกข้าวเพื่อขายอย่างแท้จริงแต่ส่วนใหญ่ต้องเช่าที่นา ซึ่งใน 3 กลุ่มนี้ ชาวนาที่ปลูกข้าวเพื่อขายมีจำนวนมากที่สุดคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 50-60% โดยชาวนากลุ่มนี้แทบจะไม่ได้ประโยชน์จากโครงการประกันราคาของรัฐบาล เพราะส่วนใหญ่ต้องเช่าที่นา ขณะที่เจ้าของที่ดินกลับไปขึ้นทะเบียนได้ส่วนต่างตรงนี้ไป และยังได้ค่าเช่าจากผู้ปลูกตัวจริงอีกทอดระบุชาวนาตัวจริงชวดเงินประกันทั้งนี้ พวกที่ไม่ได้ปลูกข้าว แค่อยู่เฉยๆก็ได้เงินจากรัฐอย่างสบาย เช่น ถ้ามีที่ดิน 100 ไร่ แบ่งออกเป็นผู้ถือครองขึ้นทะเบียน 2 ชื่อ ก็ได้รับเงินชดเชยจากรัฐ 60 ตัน มีมูลค่ากว่า 1 แสนบาทต่อฤดูการเพาะปลูก ส่วนพวกที่ปลุกไว้กินมีที่ดินจำนวนน้อยประมาณ 10 ไร่ ก็จะได้เงินชดเชยกว่า 1 หมื่นบาท โดยกลุ่มที่ 3 น่าส่งสารที่สุดไม่ได้รับการช่วยเหลือใดๆเลย ซึ่งรัฐบาลคิดว่าการชดเชยแบบนี้เงินถึงมือเกษตรกรอย่างแท้จริง น่าจะได้คะแนนนิยมมาก แต่ในความเป็นจริงชาวนากลุ่มใหญ่กลับไม่ได้ประโยชน์อะไร โดยเฉพาะในภาคอีสาน ที่จะส่งผลต่อคะแนนเลือกตั้งในครั้งหน้าอย่างแน่นอนนอกจากนี้ราคาที่รัฐบาลชดเชยก็มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะถูกผู้ส่งออกกดราคามายังโรงสี และโรงสีก็กดราคารับซื้อจากเกษตรกรอีกทอด ส่วนชาวนาก็เต็มใจขายข้าวแม้ไม่ได้ราคาเพราะมั่นใจว่ารัฐบาลก็จะต้องชดเชยส่วนต่างให้ แต่ในความจริงแล้วชาวนาก็แทบจะไม่ได้กำไร เพราะขณะนี้ต้นทุนการทำนาประมาณ 6-7 พันบาท/ตัน แต่พ่อค้ารับซื้อในราคาเกือบเท่าทุนที่ 6-7 พันบาท/ตัน จากนั้นชาวนาก็ได้เงินชดเชยจากรัฐประมาณ 2 พันบาท รวมแล้วประมาณ 8-9 พันบาท/ตัน สรุปว่าชาวนาได้กำไร10% กว่าๆ เมื่อเทียบกับบางพื้นที่ทำนาได้เพียงปีละ 1 ครั้งส่วนต่างที่ได้จึงแทบจะไม่พอค่าใช้จ่ายทั้งปีโรงสีบ่นอุบส่งออกรวยโรงสีจนส่วนโรงสีก็แทบจะไม่ได้กำไร เพราะราคาข้าวผันผวน ถ้าราคาข้าวลงผู้ส่งออกก็หาข้ออ้างไม่ซื้อข้าว ทำให้โรงสีต้องยอมขายข้าวขาดทุน สุดท้ายผู้ที่ได้กำไรมากสุดก็คือผู้ส่งออกบางราย ซ้ำในช่วงปลายปีที่ผ่านมารัฐบาลก็เทขายข้าวมาอีก 4 ล้านตัน ทำให้ภาพรวมประเทศชาติเสียหายมาก รัฐบาลต้องนำเงินภาษีนับแสนล้านบาท มาอุดหนุนให้เกษตรกร ฉุดราคาข้าวในตลาดโลกร่วงลงมาก ก็เท่ากับรัฐบาลไทยทำหน้าที่ควักกระเป๋าจ่ายเงินให้ชาวโลกได้กินข้าวราคาถูกชาวนาผีขึ้นทะเบียนรับเงินเพียบนอกจากนี้รัฐบาลยังจ่ายเงินชดเชยเกินจริงไปมาก โดยในช่วงนาปรังที่ผ่านมา มีตัวเลขที่รัฐต้องชดเชยส่วนต่างระหว่างราคาประกันกับราคาอ้างอิงจำนวน 11.2 ล้านตันที่คิดจากตัวเลขพื้นที่ปลูกข้าวที่เข้าร่วมโครงการ แต่จริงๆแล้วในช่วงที่ก่อนมีโครงการประกันราคาจะมีปริมาณข้าวไม่เกิน 8 ล้านตัน ทำให้รัฐต้องชดเชยอย่างสูญเปล่าไป 3-4 ล้านตัน ส่วนนาปีก็มีตัวเลขมากกว่านี้ คาดว่ามีผลผลิตที่เข้าร่วมโครงการประมาณ 30 ล้านตัน ขณะที่ตัวเลขจริงน่าจะมีประมาณ 24-25 ล้านตัน รัฐต้องจ่ายเกินไปถึง 5 ล้านตัน มูลค่าการชดเชยโครงการนาปีมีสูงถึง 3.5 หมื่นล้านบาท หรือชดเชยมากกว่า 2 พันบาทต่อตัน ทำให้เห็นได้ชัดว่ามีเกษตรกรจำนวนมากมาขึ้นทะเบียนโดยไม่ได้ปลูกข้าวจริงโดยตัวเลขเป็นทางการของรัฐระบุว่า โครงการประกันรายได้ชาวนาปี 2553-54 รอบที่ 2 มีวงเงินทั้งสิ้น 19,000 ล้านบาท เพื่อชดเชยส่วนต่างระหว่างราคาประกันกับราคาอ้างอิง ซึ่งประมาณการผลผลิตที่เข้าร่วมโครงการประมาณ 10 ล้านตัน หรือเฉลี่ยตันละ 1,900 บาท แต่ตัวเลขจริงในขณะนี้ตั้งแต่ 28 มี.ค.- 3 เม.ย. 54 ราคาอ้างอิง 8,310 บาท ทำให้รัฐต้องชดเชยสูงถึง 2,690 บาท/ตัน ในขณะยอกการชดเชยนาปีที่ผ่านมา 35,121 ล้านบาทยอด 2 ปี รัฐกระเป๋าฉีก 1.14 แสนล.ดังนั้น ในฤดูการเพาะปลูก 2552/53 รัฐบาลจ่ายไปแล้ว 5 หมื่นล้านบาท และฤดูผลิต 2553/54 คาดว่าจะใช้เงินชดเชยไม่ต่ำกว่า 6 หมื่นล้านบาท เท่ากับการใช้นโยบายประกันราคารัฐบาลเสียหายไปแล้ว 1.1 แสนล้านบาท ส่วนความเสียหายอันเนื่องมาจากการขายข้าวได้ราคาต่ำ ในปีที่ผ่านมาส่งออกไป 9 ล้านตัน เสียหายไปประมาณ 1.4 หมื่นล้านบาท ด้านความเสียหายจากสต็อกข้าวในโกดังรัฐที่ระบายออกมา 5 ล้านตัน ในราคา 1.2 หมื่นบาท/ตัน จากราคาก่อนหน้านั้นที่พุ่งไปถึง 1.7 หมื่นบาท/ตัน แต่ก็ไม่ขาย เท่ากับมีความเสียหาย 2.5 หมื่นล้านบาท ขณะที่สต็อกข้าวที่อยู่ในมือผู้ค้าข้าว และชาวนาอีกประมาณ 5 ล้านตัน เงินหายไปประมาณ 2.5 หมื่นล้านบาท รวมปี 52-53 มียอดความเสียหายรวมทั้งสิ้น 1.14 แสนล้านบาท ส่วนมาตรการของรัฐที่บอกว่าจะตั้งโต๊ะรับซื้อหากราคาข้าวตกต่ำ แต่ในความเป็นจริง รัฐกลับไม่มีงบประมาณในส่วนนี้ ทำให้ราคาข้าวยังคงร่วงลงเรื่อยๆแนะตั้งราคาขั้นต่ำดึงข้าวเข้าสต็อกทั้งนี้ หากรัฐบาลมีการจัดการที่ดีในระบบการค้าข้าว ก็จะช่วยดึงราคาตลาดโลกได้มากเพราะไทยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุดของโลกมีส่วนแบ่งการตลาด 40% ถึงแม้ว่าเวียดนามส่งออกเก่งที่สุดก็ไม่เกิน 8 ล้านตัน ไทยก็มีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ที่ 8-9 ล้านตันอยู่แล้ว ถ้าไทยควบคุมปริมาณส่งออกข้าวให้ลดไปจากตลาดประมาณ 2 ล้านตัน ก็จะดึงข้าวโลกให้พุ่งขึ้นได้ ดังนั้นรับจะต้องกำหนดราคาขั้นต่ำ และดึงข้าวเข้าสต็อกรัฐ เพื่อควบคุมราคา และปริมาณข้าวที่ออกไปสู่ตลาดโลกประกันราคาฉุดคุณภาพข้าวหล่นวูบด้านโรงสีรายหนึ่งในจังหวัดพิจิตร กล่าวว่า การที่รัฐมุ่งเน้นโครงการประกันราคา ก็มีส่วนสำคัญที่ทำให้คุณภาพข้าวลดลง เพราะเกษตรกรไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันในการปลูก มีการนำข้างพันธุ์เบาที่แตกหักง่าย แต่เป็นข้าวที่ปลูกง่ายโตไวออกมาขายโรงสีโดยไม่มองเรื่องราคา เพราะรัฐบาลต้องชดเชยส่วนต่างให้อยู่แล้ว ประกอบกับในช่วงนี้เพลี้ยระบาดรุนแรงในพื้นที่ภาคกลางไล่จากพิจิตร ชัยนาทไปจนถึงจังหวัดนครปฐมแล้ว รวมทั้งฤดูการที่ผันผวน ทำให้คุณภาพข้าวลดลง ซึ่งปัจจัยต่างๆเหล่านี้ล้วนทำให้คุณภาพข้าวไทยแย่ลง ทั้งๆที่สถานการณืในปัจจุบันนี้ไทยจะต้องยกระดับคุณภาพของข้าว เพื่อหนีคู่แข่งที่ต้นทุนถูกกว่าอย่างเวียดนาม แต่รัฐกลับไม่มีนโยบายเพิ่มคุณภาพข้าวเลย มีแต่เพียงการอัดเงินลงไปซื้อเสียงจากชาวนาโดยที่ประเทศชาติต้องเสียหายอย่างมหาศาลอย่างไรก็ตามแม้คุณภาพข้าวไทยจะลด แต่ขณะนี้ยังมีคุณภาพดีกว่าเวียดนาม เพราะไทยมีเทคโนโลยีการสี และการนึ่งสูงกว่า ทำให้ถึงแม้ว่าข้าวเวียดนามจะถูกกว่าไทย 5% แต่ข้าวไทยก็ยังขายได้อยู่ แต่ในอนาคตถ้าไทยยังปล่อยให้สถานการณ์เป็นเช่นนี้ต่อไปจนเวียดนามพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตที่สู้กับไทยได้ ก็จะทำให้ไทยเสียเปลียบทุกด้านในการแข่งขันประเทศเอเชียรุมสวดไทยต้นเหตุทำให้จนส่วนราคาข้าวที่ลดลงเรื่อยๆ ก็เนื่องจากรัฐบาลไม่กำหนดราคาขั้นต่ำเข้ามาซื้อข้าวหากราคาต่ำกว่าที่กำหนด แต่การที่รัฐไม่ทำอะไรเลยก็เป็นการชี้นำให้ราคาข้างตกลงเรื่อยๆ ทำให้โรงสี และผู้ส่งออกไม่กล้าซื้อเต็มที่เพราะกลัวราคาที่ผันผวน เมื่อซื้อข้าวได้ก็จะขายทันทีไม่กล้าเก็บไว้ ทำให้ข้าวราคาถูกใหลออกนอกประเทศโดยไม่มีใครเข้ามาควบคุม แต่ถ้ามีราคาขั้นต่ำ ก็ทำให้ราคาข้าวมีเสถียรภาพนอกจากนี้เวียดนามก็เห็นนโยบายของไทยที่ทำให้ราคาข้าวต่ำก็เลยขายข้าวตัดหน้าไทยทำให้ราคาข้าวโลกยิ่งร่วงลงไปอีก ไม่เพียงความเดือดร้อนที่เกิดขึ้นในประเทศเพียงเท่านั้น ประเทศผู้ปลูกข้าวอื่นๆในเอเชีย ต่างก็ไม่พอใจนโยบายของรัฐบาลไทย เพราะทำให้ราคาตลาดโลกลดลงจนทำให้เกษตรกรในประเทศเหล่านี้ยากจน เพราะรัฐบาลของเขาไม่ได้มีเงินมากแบบรัฐบาลไทยที่จะอัดฉีดให้เกษตรกรอย่างฟรีๆได้ชี้ชาวนาดีแต่จ้างปลูกไม่ตั้งใจผลิตคมกฤชช์ ธรรมรัตนกุล เจ้าของโรงสี จังหวัดนครสวรรค์กล่าวว่าในปัจจุบันพฤติกรรมการปลูกข้าว และการเก็บเกี่ยวของชาวนาเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตที่ทำด้วยตนเอง และครอบครัว มาเป็นการทำการเพาะปลูกในเชิงธุรกิจมากขึ้น มีการจ้างแรงงานทำในทุกขั้นตอน เช่น จ้างปลูก จ้างใส่ปุ๋ย จ้างเก็บ ฯลฯ จึงทำให้ขาดความละเอียดในการดูแลคุณภาพของข้าว ทั้งยังส่งผลกระทบใหญ่ที่เป็นปัญหาต่อรายรับของเกษตรกรที่ไม่เพียงพอต่อรายจ่าย เนื่องจากเมื่อราคาข้าวสูงขึ้น ค่าจ้างในในการเพาะปลูก เก็บเกี่ยวก็จะขึ้นราคาตามไปด้วยหลังจากการเก็บเกี่ยวข้าวชาวบ้านนิยมนำข้าวสดขายมากกว่าข้าวแห้งที่ต้องผ่านกระบวนการเอาน้ำออกก่อนขาย เนื่องจากได้เงินเร็วกว่า และไม่เป็นภาระในส่วนนี้ ส่วนข้าวสดนั้นจะต้องนำมาทำให้แห้ง จึงทำให้มีค่าใช้จ่าย และต้องหักน้ำหนักที่เสียออกไป ทำให้ข้าวเบาลง ราคาข้าวที่ขายแบบสดจะคำนึงถึงส่วนนี้เป็นสำคัญอีกด้วยในด้านการประกันราคาข้าวของรัฐบาลนั้น ยังไม่แน่ชัดว่าจะทำให้คุณภาพข้าวแย่ลงกว่าเดิมหรือไม่ เพราะต้องใช้เวลาในการปรับตัว และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ส่วนการจำนำข้าวนั้น ที่ผ่านมาเห็นได้ชัดว่ามีส่วนทำให้คุณภาพข้าวลดลง เพราะเกษตรกรเน้นขายปริมาณข้าวมากกว่าจะดูแลเรื่องคุณภาพ และในเชิงจิตวิทยาชาวบ้านจะชอบมากกว่าการประกันข้าว เนื่องจากได้เงินเร็ว ตรงจุดมากกว่า ทั้งนี้ควรนำ 2 มาตรการมาปรับใช้ด้วยกัน เช่น บางอย่างควรจำนำ บางอย่างควรประกันราคาข้าว เป็นต้น
เชื่อละครับ ดีแต่ลงข่าว
- เพราะขายได้เท่าไรรัฐก็จ่ายชดเชย <<<<<<<<< ถ้าราคาข้าวเกินราคากลาง รัฐไม่ชดเชยครับ ชดเชยเฉพาะตอนไม่เกิน
- เจ้าของที่ดินรับเละ ส่วนชาวนาตัวจริง ถูกกดราคา ซ้ำไม่ได้เงินประกัน<<<<<<<<<<<<< ถึง แม้ไม่มีประกัน คนได้ก้คือเจ้าของที่ดิน ชาวนาไม่มีที่ดิน ก็เหมือนลูกจ้าง จะต่างอะไรกับพนักงานกินเงินเดือน ที่ไม่มีบริษัทเป็นของตัวเอง โทษใครได้ ขายที่ให้คนอื่นทำไม คือจะให้ ชาวนารับเงินเต็มๆ แล้วเจ้าของที่ดิน จะได้อะไร เขาลงทุนที่ดิน เจ้าของที่ดินก็มีสิทธิ ที่จะตั้งตัวเองว่ามีอาชีพชาวนา เปรียบกับไปอีก ถ้าเป็นลูกน้องกินเงินเดือน ทำงานได้เท่าไร ไม่ต้องแบ่งให้เจ้าของบริษัท ตัวเองรับคนเดียว มีบริษัทไหนบ้างที่ยอม เช่นกัน ถ้าบริษัทเอ็งผลิตสบู่ เอ็งลงทุน ใครถามเอ็งว่ามีอาชีพอะไร ก็ต้องตอบซิ ว่าอาชีพผลิตสบู่ ส่วนลูกน้องที่มี ก็กินเงินเดือนไปตามระเบียบ
- ในด้านการประกันราคาข้าวของรัฐบาลนั้น ยังไม่แน่ชัดว่าจะทำให้คุณภาพข้าวแย่ลงกว่าเดิมหรือไม่ เพราะต้องใช้เวลาในการปรับตัว และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ส่วนการจำนำข้าวนั้น ที่ผ่านมาเห็นได้ชัดว่ามีส่วนทำให้คุณภาพข้าวลดลง<<<<<<<<<<<<<เชื่อละ อ่านไม่เกิน สามบรรทัด
- อย่างไรก็ตามแม้คุณภาพข้าวไทยจะลด แต่ขณะนี้ยังมีคุณภาพดีกว่าเวียดนาม เพราะไทยมีเทคโนโลยีการสี และการนึ่งสูงกว่า ทำให้ถึงแม้ว่าข้าวเวียดนามจะถูกกว่าไทย 5% แต่ข้าวไทยก็ยังขายได้อยู่ แต่ในอนาคตถ้าไทยยังปล่อยให้สถานการณ์เป็นเช่นนี้ต่อไปจนเวียดนามพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตที่สู้กับไทยได้ ก็จะทำให้ไทยเสียเปลียบทุกด้านในการแข่งขัน <<<<<<<<<<<<แต่รัฐบาลปู คุณภาพข้าวเวียดแซงไทยไปแล้ว แถมเวียดยังขายถูกกว่าไทยมากมาย
Edited by โคนัน, 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:19.
- HiddenMan likes this
#107
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:00
จะได้ไม่เงิบทีหลัง
Edited by พอล คุง, 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:02.
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
#108
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:10
กรูถามดอนยวย แต่ดอนยวย ตอบแบบแถไปแถมาตลอด
งั้นถามใหม่การจำนำยกระดับราคาข้าวได้ แล้ว ทำไม เราขายข้าวได้น้อยลง
ห้ามบอกว่าแต่ราคาต่อตันเพิ่มขึ้นนะครับ เพราะว่า มีข่าวออกมาแล้วว่า
เราขายได้น้อยลงทั้งปริมาณ และราคา แ้ม้ราคาเฉลี่ยต่อตันจะเพิ่มขึ้น แต่เพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่น้อยกว่า การลดลงของปริมาณจำหน่ายข้าวได้
อีกข้อ ข้าว เป็นสินค้า Commodity หรือ เป็นสินค้า Monopoly
- ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่ likes this
#109
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:17
กรูถามดอนยวย แต่ดอนยวย ตอบแบบแถไปแถมาตลอด
งั้นถามใหม่การจำนำยกระดับราคาข้าวได้ แล้ว ทำไม เราขายข้าวได้น้อยลง
ห้ามบอกว่าแต่ราคาต่อตันเพิ่มขึ้นนะครับ เพราะว่า มีข่าวออกมาแล้วว่า
เราขายได้น้อยลงทั้งปริมาณ และราคา แ้ม้ราคาเฉลี่ยต่อตันจะเพิ่มขึ้น แต่เพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่น้อยกว่า การลดลงของปริมาณจำหน่ายข้าวได้
อีกข้อ ข้าว เป็นสินค้า Commodity หรือ เป็นสินค้า Monopoly
โหท่าน อย่าถามเชิงลึกสิท่าน
เด๋วมันตอบไม่ได้จะหนีเอา
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
#110
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:25
"ดิฉันอยากเห็นจำนวนเงินมากกว่าจำนวนตัน"
ว้าวๆทั่นนางโย้กกกกก...พอดีมันมี Youtube นะครับ
- พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน and wizard like this
เขียนเรื่องการเมือง : ดราม่า ,เขียนเรื่องสังคม : ดราม่า เขียนเรื่องบันเทิง : ดราม่า
แต่พอโพสเรื่องหื่น : มีความเห็นเป็นไปทางเดียวกันเสมอ >3<
#113
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:47
กรูถามดอนยวย แต่ดอนยวย ตอบแบบแถไปแถมาตลอด
งั้นถามใหม่การจำนำยกระดับราคาข้าวได้ แล้ว ทำไม เราขายข้าวได้น้อยลง
ห้ามบอกว่าแต่ราคาต่อตันเพิ่มขึ้นนะครับ เพราะว่า มีข่าวออกมาแล้วว่า
เราขายได้น้อยลงทั้งปริมาณ และราคา แ้ม้ราคาเฉลี่ยต่อตันจะเพิ่มขึ้น แต่เพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่น้อยกว่า การลดลงของปริมาณจำหน่ายข้าวได้
อีกข้อ ข้าว เป็นสินค้า Commodity หรือ เป็นสินค้า Monopoly
โหท่าน อย่าถามเชิงลึกสิท่าน
เด๋วมันตอบไม่ได้จะหนีเอา
อยากทดสอบควายหน่อยนะครับ
อ้อ ถามอีก เพราะรู้สึกข้างบน จะถามพลาดไปนิดนึง ถามใหม่
ตลาดค้าข้าว เป็น ตลาด Monopoly or Oligopoly or Competition
or High Competition
นักเรียน ดอนยวย มาตอบหน่อย เพราะหากดอนยวยมาตอบผมจะถามต่ออีก
#114
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:52
อยากทดสอบควายหน่อยนะครับโหท่าน อย่าถามเชิงลึกสิท่าน
กรูถามดอนยวย แต่ดอนยวย ตอบแบบแถไปแถมาตลอด
งั้นถามใหม่การจำนำยกระดับราคาข้าวได้ แล้ว ทำไม เราขายข้าวได้น้อยลง
ห้ามบอกว่าแต่ราคาต่อตันเพิ่มขึ้นนะครับ เพราะว่า มีข่าวออกมาแล้วว่า
เราขายได้น้อยลงทั้งปริมาณ และราคา แ้ม้ราคาเฉลี่ยต่อตันจะเพิ่มขึ้น แต่เพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่น้อยกว่า การลดลงของปริมาณจำหน่ายข้าวได้
อีกข้อ ข้าว เป็นสินค้า Commodity หรือ เป็นสินค้า Monopoly
เด๋วมันตอบไม่ได้จะหนีเอา
อ้อ ถามอีก เพราะรู้สึกข้างบน จะถามพลาดไปนิดนึง ถามใหม่
ตลาดค้าข้าว เป็น ตลาด Monopoly or Oligopoly or Competition
or High Competition
นักเรียน ดอนยวย มาตอบหน่อย เพราะหากดอนยวยมาตอบผมจะถามต่ออีก
ห้าาาาา
แล้วผมจะรอดไม่อะ ยิ่งความรู้ด้านปะกิด ผมติดลบทุกเทอม
ห้าาาาาาา
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
#115
ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 22:32
โอฬาร ไชยประวัติ บอกว่าโครงการรับจำนำข้าวไม่มีเจ๊ง เรื่องนี้ไม่น่าเป็นห่วง
ดังนั้นนโยบายจำนำข้าวยังคงเดินหน้าต่อ / อยากให้เรียกนโยบายนี้ว่า "จำนำพลัส" --โอ! พระเจ้า คนเคยเป็นใหญ่ในไทยพาณิชย์ เค้าคิดได้แค่นี้หรือ
ผมเจอแล้วครับ ผู้ที่ต้องรับผิดชอบส่วนต่างที่ขาดทุนไป...............
#116
ตอบ 9 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 02:51
เป็นเพราะ หมอ วรงค์ เอาข้าวเน่ามาออกทีวีไงล่ะครับ
ต่างชาติก็เลยตกใจ ไม่กล้าซื้อ กดราคาเรา ทั้งๆ ที่ รัฐบาลตกลงจีทูจี ขายได้ตันละ 30,000.- แท้ๆ เสียโอกาสหมด
ทั้งนี้ทั้งนั้นเพราะพวกอำมาตย์ต้องการทำร้ายประเทศชาติ ไม่อยากให้ชาวนาได้ลืมตาอ้าปากครับ
เป็นความผิดของ พรรคประชาธิปัตย์. ครับ
และทางพรรคเพื่อไทยจะมีการประชุมเพื่อหาทางยื่นเรื่องฟ้องร้องต่อดีเอสไอ
ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์จะต้องโดนฟ้องร้อง ในข้อหากระทำการทำใ้ห้รัฐเสียผลประโยชน์และลักทรัพย์ต่อไปครับ
หากมีอะไรคืบหน้า จะนำมาเสนอให้ทราบในโอกาสต่อไปครับ
Edited by ดาร์ค สวอน, 9 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 02:53.
ถ้าอยากได้ความเท่าเทียม
ก็ปีนป่ายขึ้นไปให้อยู่เทียบเท่ากับคนอื่นเค้า
อย่าได้กระชากฉุดให้คนอื่นเขาลงมาตกต่ำเท่ากับตน
#117
ตอบ 9 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 05:10
#118
ตอบ 9 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 08:13
#119
ตอบ 9 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 14:49
ไม่ใช่แค่รัฐยอมจำนน... ชาวนาก็ด้วย
ชาวนาพิษณุโลก เกี่ยวข้าวแล้วต้องขายสด ยอมได้เงินน้อยกว่าโครงการรับจำนำ ตันละหลายพันบาท ขณะที่โรงสีอ้างโกดังเต็ม
http://www.innnews.c...newscode=439057
หลังโรงสี 22 แห่ง ใน จ.พิษณุโลก หยุดรับจำนำข้าวเปลือกจากชาวนา ทำให้หลายรายที่ต้องเกี่ยวข้าวระยะนี้ ต้องขายสด แม้จะได้ราคาต่ำกว่าจำนำหลายพันบาท นางอิน อ่อนเพชร อายุ 66 ปี อยู่ที่ ต.บ้านกร่าง อ.เมือง จ.พิษณุโลก เปิดเผยว่า ขณะนี้นาข้าว กว่า 10 ไร่ ของตนเอง ได้อายุเก็บเกี่ยว ซึ่งไม่สามารถรอเวลาได้ จึงตัดสินใจเกี่ยวข้าวแล้วนำไปขายกับโรงสีทันที โดยไม่รอโครงการรับจำนำ ก่อนหน้านี้ โรงสีที่ตนเองนำข้าวไปเข้าโครงการ ก็มีปัญหาอ้างว่า โกดังเต็ม ไม่มีที่เก็บข้าว จนต้องตัดใจขายข้าวสดแทนเข้าโครงการ โดยสามารถขายได้ตันละ 8,000 - 9,000 บาทเท่านั้น ยอมรับว่าโครงการรับจำนำข้าว แม้ว่าจะได้ราคาดีกว่า ขายสดให้กับโรงสี แต่ก็มีความยุ่งยาก ทั้งเรื่องเอกสาร อีกทั้งกว่าจะได้รับเงินจาก ธ.ก.ส. ก็ใช้เวลานาน เพื่อนเกษตรกรหลายคนรอมานานกว่า 3 เดือน ก็ยังไม่ได้รับเงินจากการที่นำข้าวเข้าโครงการรับจำนำข้าวเปลือกของรัฐบาล ซึ่งตนเองมีภาระที่จำเป็นจะต้องใช้เงิน ทั้งค่าปุ๋ย ค่ายา ค่าจ้างรถเกี่ยวข้าวที่มีแต่แพงขึ้น ค่าใช้จ่ายทุกอย่าง จำเป็นต้องจ่ายเงินทันที ไม่สามารถที่จะรอเวลาได้นาน จึงตัดสินใจที่จะขายข้าวเปลือกกับโรงสี ไม่นำข้าวเปลือกเข้าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลในระยะนี้ แม้ว่าจะได้ในราคาต่ำกว่าหลายพันบาท
Edited by HiddenMan, 9 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 14:50.
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
#120
ตอบ 9 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 21:21
ไอ้คำถามเรื่องโกดังเก็บ เรื่องการขาดทุนจากการระบายสต๊อค เรื่องปัญหาการส่งออก เรื่องโกงใบประทวน
เป็นคำถามที่สังคมคลางแคลงใจตั้งแต่เริ่มโครงการแล้ว...ไม่ใช่มีปัญหาแล้วจึงพูดถึง
แต่มันก็ยังดึงดันจะทำนโยบายจำนำข้าว....อ้างว่าหาเสียงไปแล้วต้องทำ
อีกหน่อยใครหาเสียงทำนโยบายชาติชิบหายยังไง ก็ต้องปล่อยให้มันทำว่างั้นเถอะ
#121
ตอบ 10 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 00:18
ไอ้คำถามเรื่องโกดังเก็บ เรื่องการขาดทุนจากการระบายสต๊อค เรื่องปัญหาการส่งออก เรื่องโกงใบประทวน
เป็นคำถามที่สังคมคลางแคลงใจตั้งแต่เริ่มโครงการแล้ว...ไม่ใช่มีปัญหาแล้วจึงพูดถึง
แต่มันก็ยังดึงดันจะทำนโยบายจำนำข้าว....อ้างว่าหาเสียงไปแล้วต้องทำ
อีกหน่อยใครหาเสียงทำนโยบายชาติชิบหายยังไง ก็ต้องปล่อยให้มันทำว่างั้นเถอะ
ไม่ใช่ว่าแค่อ้างว่าหาเสียงไปแล้วต้องทำ แต่มันโกงได้เป็นกอบเป็นกำได้ด้วยนี่สิครับ มันถึงได้ดันทุรังจะทำ
#122
ตอบ 10 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 07:54
ระวังควายแดง ขอหลักฐานน่ะพี่น้อง
หลักฐานก็คือข้าวในโกดังที่โดนเผา 5-6 เเห่ง
ระวังควายเเดงโดนข้อหาทำลายหลักฐานนะครับ
เป็นเห็บเกาะไข่ระบบรัฐประหาร
#123
ตอบ 10 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 08:06
"ดิฉันอยากเห็นจำนวนเงินมากกว่าจำนวนตัน"
ว้าวๆทั่นนางโย้กกกกก...พอดีมันมี Youtube นะครับ
แล้วตัวเงินตอนนี้ ขาดทุนไปเท่าไรแล้ว ท่านนน นาาาโยกกกกก
#124
ตอบ 10 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 18:04
“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” - Mahatma Gandhi
สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด
#125
ตอบ 10 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:01
"ดิฉันอยากเห็นจำนวนเงินมากกว่าจำนวนตัน"
ว้าวๆทั่นนางโย้กกกกก...พอดีมันมี Youtube นะครับ
แล้วตัวเงินตอนนี้ ขาดทุนไปเท่าไรแล้ว ท่านนน นาาาโยกกกกก
ตอนนี้ยังประเมินไม่ได้...นอกจากจะต้องขาดทุนจากผลต่างราคาซื้อขายแล้ว
ต้นทุนในการจัดเก็บ ก็ยังไม่จบ...เพราะเก็บไปเรื่อย ๆ ก็โดนค่าเช่าโกดังไปเรื่อย ๆ
ข้าวที่เอามาเก็บก็เสื่อมคุณภาพเรื่อย ๆ ...สุดท้ายมันก็คงเสียหายมากกว่าที่ประเมินกันไว้
#126
ตอบ 10 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:06
อยากให้มีการตรวจโกดังข้าวของรัฐแบบครั้งใหญ่จังวุ้ย ไม่รู้เน่าไปหมดรึยัง หรือแอบขนไปทิ้งแล้ว
ฉันมาที่บอร์ดแห่งนี้ เพื่อหยุดระบอบทักษิณ
#127
ตอบ 10 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:22
จะขายขาดทุน...ถามประชาชนรึยัง
#128
ตอบ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 01:44
ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับเบีื้องลึก เบื้องหลัง ใครเป็นใคร ยังไง แต่ตั้งแต่ตอนหาเสียงแล้ว ก็ยังคุยกันอยู่ว่า ไอ้นโยบายแบบนี้ มันจะไม่รอดเอา คงจะดีแค่ช่วงแรกๆอ่ะแหล่ะ และก็ไม่ได้เลือกนโยบายนี้ด้วย แต่ทำไงได้ เสียงส่วนใหญ่เขาเลือกกัน แล้วเป็นไง ทำไมวันนี้ต้องมารับผลกรรมนี่ด้วยอ่ะ
ที่บ้านทำนา ขายข้าวไปแล้ว ส่งใบประทวนเรียบร้อย ได้เงินมารอบแรกแค่ 1 ใน 5 ที่เหลือส่วนเกิน ป่านนี้ยังไม่มีวี่แวว ไปถามทีไร ก็ต้องรอ รอตรวจสอบ ตรวจอะไรอ่ะ ก็ไม่เห็นมีหน้าไหนโผล่มา เงินรอบแรกก็ต้องกินต้องใช้ หนี้ก็มี ไหนเงินลงทุนรอบต่อไปอีก ตอนนี้จะให้เอาที่ไหนอ่ะ นามันรอเงินจากรัฐได้ไหมล่ะ มันไม่ได้ ถึงเวลามันก็ต้องทำ ก็ต้องไปหาหยิบยืมเขามาอีก เวรกรรม เงินตัวเองมีแต่ตัวเลข ตัวเงินไม่มาซักที อยากถามว่า ตรูผิดอะไรฟระ ตรูก็ไม่ได้อยากได้เงินค่าข้าว 15000 ของพวกเอ็งซะหน่อย ไม่ได้เข้าข้างพรรคเดิม แต่ที่ผ่านมา ประกันก็ไม่มีปัญหาอะไร เงินมันก็ได้ตามที่ควรจะได้ ตรูก็ไม่เคยโกงนารัฐบาลเดิม แล้วทำไมรัฐบาลใหม่ต้องมาโกงตังค์ตรูด้วยฟระ ข้าวก็เอาของตรูไปเก็บไว้จนเน่า สงสารข้าว สงสารตัวเอง เฮ้อ........
ปอลอ ขออภัย สมัครเข้ามาบ่นโดยเฉพาะ เก็บกดมาหลายเดือนแล้ว ไม่รู้จะร้องเรียนที่ไหน ถึงร้องไปก็ไม่มีเสียง อยากเคาะกะโหลกไอ้พวกที่โง่+เห็นแก่ตัวเลขเขาเอามาล่อ เป็นไงละ จะ... กันทั้งประเทศแล้ว อายประเทศเพื่อนบ้างเขาบ้างไหมเนี่ย
Edited by คนจนๆ, 12 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 01:44.
- นายตัวเกร็ง likes this
#129
ตอบ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 08:25
แล้ว ยิ่งลักษณ์จะรับผิดชอบยังไง ในการเปลี่ยนนโยบายของรัฐบาลก่อนเรื่องประกันราคาข้าว แลัวเกิดความเสียหายแก่ประเทศ ถามแค่นี้แหละ
ผู้ใช้ 0 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน