Jump to content


Photo
- - - - -

ไขประเด็นร้อนกรณีที่ดิน "อุเทนถวาย" vs "จุฬาฯ" #EP1


  • Please log in to reply
41 ความเห็นในกระทู้นี้

#1 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 16:59

เนื่องจากประเด็นการต่อสู้เกี่ยวกับเรื่องสิทธ์ในที่ดินระหว่าง อุเทนถวาย กับ จุฬาฯ มีหลายแง่มุม ตัวผมเองไม่ได้อยู่ในคณะทำงานอย่างเป็นทางการ ดังนั้น ผมขอนำเสนอข้อมูลในมุมของ "ศิษย์เก่าอุเทนถวายคนหนึ่ง" เท่านั้นนะครับ (ยังมีข้อมูลที่จัดอยู่ในหมวดข้อมูลความลับ ที่ศิษย์เก่าทั่วไปก็ไม่ทราบอีกระดับหนึ่ง) ข้อมูลที่ผมนำเสนอจะเป็นข้อมูลที่ผมพิจารณาแล้วว่าสมควรเผยแพร่ได้ ส่วนที่เผยแพร่ไม่ได้เอาไว้ใช้ในการต่อสู้ทางกฏหมายนะครับ
 
โดยที่ ผมจะพยายามนำเสนอเป็นตอนๆ เป็นเรื่องๆ ไป ตามสถานการณ์และข้อมูลที่ผมมีอยู่ในมือโดยมิได้เรียงลำดับนะครับ
 
ปล. ผมไม่ได้มองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องการเมือง แต่ผมไม่ทราบจะโพสไว้ที่บอร์ดไหน หากเนื้อหาไม่ตรงหมวดรบกวนผู้ดูแลพิจารณาตามความเหมาะสมนะครับ
 
 
EP1 อุเทนถวายเช่าที่จุฬาฯ ตั้งแต่ปี 2478 จริงหรือไม่?
 
ดังที่จุฬาฯ อ้างถึงเอกสารการเช่าที่ดินฉบับนี้
 
41260-6.jpg
 
เพื่อระบุว่าอุเทนถวายเช่าพื้นที่ตั้งแต่ปี 2478 เมื่อเปรียบเทียบกับเอกสารในราชกิจจานุเบกษาที่จุฬาฯ อ้างว่ามีการเริ่มให้มีการเช่าพื้นที่ ฉบับนี้
 
 
หากพิจารณาอัตราเช่ากับพื้นที่อุเทนถวาย ไม่ว่าจะเป็นเรทใดจะเห็นว่าไม่สอดคล้องกัน (ตกตารางเมตรละ 1.5 สตางค์ ผมไม่ทราบว่าพื้นที่อุเทนถวายขณะนั้นเท่ากับปัจจุบันหรือไม่ผมใช้พื้นที่ปัจจุบันคือ 20ไร่ 3งาน 29ตารางวา)
 
คำถาม
- ทำไมเอกสารจึงออกในปี 2480?
- เอกสารนี้เป็นการเช่าที่ดินแปลงใด? เพราะไม่ได้ระบุในเอกสาร (จากการค้นหาข้อมูล อุเทนถวายเคยมีการเช่าที่จุฬาฯ จริง แต่เป็นการเช่าพื้นที่เล็กๆ เพื่อใช้เก็บอุปกรณ์สำรวจ คาดว่าเอกสารนี้เป็นการชำระเงินค่าเช่าพื้นที่นั้น)
- ประกาศในราชกิจจาฯ เป็นการเก็บค่าเช่าเข้าหน่วยงานใด เพราะพื้นที่ยังมิได้เป็นของจุฬาฯ หากเก็บเข้าจุฬาฯจะเป็นการผิดกฏหมายหรือไม่?
- พื้นที่อุเทนถวายไม่ได้อยู่ในพื้นที่ที่ระบุในประกาศนี้ เอามาอ้างอิงทำไม?
- เอกสารสัญญาเช่าอยู่ไหน? ถ้ามีคงไม่เอาเอกสารการจ่ายเงินนี้มาอ้าง
- ทำไมเอกสารการเช่าจีงมีเฉพาะปี 2478 ปีเดียว? แล้วเอกสารการจ่ายเงินที่เหลือจนถึงปี 2546 มีหรือไม่?
- จุฬาฯ อ้างว่าอุเทนถวายเช่าตั้งแต่ปี 2478-2546 รวม 68 ปี มีเอกสารอ้างอิงหรือไม่?
- หากอุเทนถวายเช่าที่ดินจุฬาฯ จริง ทำไมถึงไม่มีรายการเช่าที่ดินของอุเทนถวาย ระบุในหลังโฉนด?
- อุเทนถวายจะเช่าพื้นที่ตรงนั้นได้อย่างไร? ในเมื่อจุฬาก็ต่อสัญญาเช่ากับพระคลังข้างที่ เป็นระยะเวลา 30 ปี ในปี 2478 เช่นกัน ในขณะที่อุเทนถวายไม่เคยมีชื่ออยู่ในรายการการเช่าที่หลังโฉนด (สำเนาโฉนดผมมี แต่ขอเช็คก่อนครับว่าเป็นความลับหรือไม่)
- อุเทนถวาย ก่อตั้งเมื่อปี 2475 แปลว่าตั้งแต่ 2475-2478 อุเทนถวายอยู่ตรงนั้นแบบเถื่อนๆ หรือ?
- พรบ.ปล้นที่ดินผืนนี้โอนให้เป็นของจุฬาฯ ออกเมือปี 2482 จุฬาฯ สามารถเก็บค่าเช่าโดยมิได้เป็นเจ้าของกรรมสิทธ์ที่ดินได้หรือไม่?

"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#2 เคนอิจิ-นามิ

เคนอิจิ-นามิ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Banned
  • PipPipPipPip
  • 4,447 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 17:16

มองเห็นไม่ชัดนะครับ
แต่ไม่มีบอกยอดรวม และหน่วยตารางเมตรใช่ไหม?
รวมทั้งไม่บอกพิกัดด้วย ?

แล้วตรงนี้ใครเป็นคนจ่าย มีหลักฐานการจ่ายไหม? บิล แวท เขามีกันยังสมัยนั้น?
แบบนี้ เริ่มชักสงสัยว่า เงินเข้ากระเป๋าใคร?

ตรรกของผมที่แตกต่างจากสมาชิกคนอื่นใน สรท นิ๊ดเดียว  :D http://webboard.seri...e-3#entry634878

รอแมงวันหน้าสันขวานดิ้นดุ๊กดิ้กมาขอขมาอยู่นะ http://webboard.seri...-แวร์/?p=609037

ความตอแหลขอไอ้แมงวัน  http://webboard.seri...-แวร์/?p=609177

 


#3 hentai

hentai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,046 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 17:18

ขอสนับสนุนการต่อ สู้บนหลักกฏหมาย ครับ..  

 

 

ผมแปลกใจนิดนึงครับ ทำไมคำถามของท่าน ถึงเป็นคำถามที่ ทาง อุเทนสามารถตอบได้หมดเลย. 

เช่น เอกสารนี้เป็นการเช่าที่ดินแปลงใด, ทำไมเอกสารจึงออกในปี 2480 ....

 

ผมไม่แน่ใจว่าท่านมีคำตอบอยู่แล้ว แต่ เก็บไว้ก่อน  หรือท่านก็ไม่ทราบจริงๆ..  เพราะ หลายอย่าง 

ทาง อุเทนตอบได้ครับ เพราะ เป็นคนออกหนังสือ..

 

 

:D


"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"

"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"

"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"


#4 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 17:23

มองเห็นไม่ชัดนะครับ
แต่ไม่มีบอกยอดรวม และหน่วยตารางเมตรใช่ไหม?
รวมทั้งไม่บอกพิกัดด้วย ?

แล้วตรงนี้ใครเป็นคนจ่าย มีหลักฐานการจ่ายไหม? บิล แวท เขามีกันยังสมัยนั้น?
แบบนี้ เริ่มชักสงสัยว่า เงินเข้ากระเป๋าใคร?

 

พื้นที่ของอุเทนถวายปัจจุบันคือ 20ไร่ 3งาน 29ตารางวา เท่ากับ 33,316 ตารางเมตร

ค่าเช่าที่ระบุในเอกสารคือ 514 บาท 64 สตางค์

คำนวนเป็นเค่าเช่าเท่ากับประมาณ 1.5 สตางค์ ต่อ ตารางเมตร

ในประกาศระบุค่าเช่า 40,15,12 สตางค์ ต่อ ตารางเมตร


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#5 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 17:24

ขอสนับสนุนการต่อ สู้บนหลักกฏหมาย ครับ..  

 

 

ผมแปลกใจนิดนึงครับ ทำไมคำถามของท่าน ถึงเป็นคำถามที่ ทาง อุเทนสามารถตอบได้หมดเลย. 

เช่น เอกสารนี้เป็นการเช่าที่ดินแปลงใด, ทำไมเอกสารจึงออกในปี 2480 ....

 

ผมไม่แน่ใจว่าท่านมีคำตอบอยู่แล้ว แต่ เก็บไว้ก่อน  หรือท่านก็ไม่ทราบจริงๆ..  เพราะ หลายอย่าง 

ทาง อุเทนตอบได้ครับ เพราะ เป็นคนออกหนังสือ..

 

 

:D

 

คุณคิดว่าพวกเราชาวอุเทนถวาย ทราบหรือไม่ครับ  :)


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#6 gears

gears

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,450 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 18:00

น่าสน มาลงชื่ออ่าน

#7 คนดื่มเบียร์

คนดื่มเบียร์

    พอจะทนแดงได้หน่อยๆ

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,721 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 18:01

เด็กอัสสัมฯ เข้ามามุงเฉยๆ น่ะ


ช่วงนี้ คนเป่านกหวีดเสียงดังกันเยอะ ปีนี้เลยกลายเป็น " ปี แสบ หู "


#8 ramboboy26

ramboboy26

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,532 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 18:11

ที่สำคัญคือศาลตัดสินไปแล้ว เอาเอกสารมาโชว์ตอนนี้ผมว่ามันทำอะไรไม่ได้หรอกนะ

ถ้าอยากจะทำจริงๆตอนนี้ช่วยกันรวมหัวหาช่องทางเรียกร้องตามหลักของกฏหมายจะดีกว่านะครับ (ฝากไปบอกถึงกลุ่มที่ชวนกันไปชุมนุมด้วยครับ)


กูขอปฏิญาณ ต่อหน้าสถูปสถานศักดิ์สิทธิ์ ต่อหน้าอิฐหินดินทราย ขอจองล้างจองผลาญจนตาย ต่อผู้ทำลาย แผ่นดิน...

#9 DarkSwan

DarkSwan

    Reporter Activated

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,689 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 18:12

เด็กราชภัฏก็เข้ามายืนดูห่างๆ ครับ


ถ้าอยากได้ความเท่าเทียม

ก็ปีนป่ายขึ้นไปให้อยู่เทียบเท่ากับคนอื่นเค้า

อย่าได้กระชากฉุดให้คนอื่นเขาลงมาตกต่ำเท่ากับตน


#10 hentai

hentai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,046 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 18:15

ขอสนับสนุนการต่อ สู้บนหลักกฏหมาย ครับ..  

 

 

ผมแปลกใจนิดนึงครับ ทำไมคำถามของท่าน ถึงเป็นคำถามที่ ทาง อุเทนสามารถตอบได้หมดเลย. 

เช่น เอกสารนี้เป็นการเช่าที่ดินแปลงใด, ทำไมเอกสารจึงออกในปี 2480 ....

 

ผมไม่แน่ใจว่าท่านมีคำตอบอยู่แล้ว แต่ เก็บไว้ก่อน  หรือท่านก็ไม่ทราบจริงๆ..  เพราะ หลายอย่าง 

ทาง อุเทนตอบได้ครับ เพราะ เป็นคนออกหนังสือ..

 

 

:D

 

คุณคิดว่าพวกเราชาวอุเทนถวาย ทราบหรือไม่ครับ  :)

 

ดูจาก กระบวนท่านนี้ งั้นผมต้อง เดาว่า ทราบแล้วละครับ

 

อย่าหาว่า คนนอกไม่เกี่ยว อย่ายุ่งเหมือนบางท่านเลย... แล้วไม่ทราบว่า

 

- ฏีกา .  ที่ถูกตอบ กลับมาว่าให้ทำตามมติ กยพ ได้ เคยใช้ หลักฐานนี้แย้งหรือยังครับ หรือ ว่า เป็น หลักฐานใหม่เพิ่งค้นพบ.. 

 

- ค่าเสียหาย ล้านกว่าต่อปี ทางอุเทนได้  จ่ายให้ จุฬาหรือยังครับ...    ถ้าจ่ายนี่ จบเลย...  

 

- จาก ราชกิจจาอันนี้ 

http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF

จุฬามีพื้นที่พระราชทาน  ครอบคลุมทั้ง block เลย..   ไม่ทราบว่า ทาง อุเทนจะแย้งยังไง... 

 

ตอบเท่าที่จะเปิดเผยได้ละกันนะครับ.. . 

 

:D


"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"

"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"

"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"


#11 kim

kim

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,724 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 18:30

แล้วหนังสือ 125/2480 มันหายไปไหนละครับ ใจความหลักของเอกสารนั้นน่าจะอยู่ในนั้น



#12 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 18:44

ที่สำคัญคือศาลตัดสินไปแล้ว เอาเอกสารมาโชว์ตอนนี้ผมว่ามันทำอะไรไม่ได้หรอกนะ

ถ้าอยากจะทำจริงๆตอนนี้ช่วยกันรวมหัวหาช่องทางเรียกร้องตามหลักของกฏหมายจะดีกว่านะครับ (ฝากไปบอกถึงกลุ่มที่ชวนกันไปชุมนุมด้วยครับ)

 

ด้วยความเคารพครับ เรื่องกรณีที่ดินอุเทนถวาย มิเคยมีการไต่สวน และตัดสินโดยศาลครับผม

 

คนที่อ่านข้อมูลเข้าใจกันเองว่าเรื่องนี้ศาลตัดสินแล้ว แต่ความจริงคือ เรื่องนี้ถูกพิจารณาโดย กยพ. (คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) ในกำกับดูแลโดย สำนักงานอัยการสูงสุดเท่านั้นครับ เป็นการพิจารณาในที่ประชุมโดยที่อุเทนถวายมิได้มีส่วนร่วมในการโต้แย้งครับผม

 

ซึ่งตอนนี้ก็มีการเรียกร้องตามกฏหมายครับไม่ใช่ไม่ทำครับ

 

http://www.mcot.net/...52#.UUb9UhxhiJE

 

และที่เราชุมนุม เราชุมนุมโดยสงบตามกฏหมาย มิได้มีความรุนแรงอย่างที่โดนใส่ร้ายแม้แต่นิด หรือว่าเพราะเป็นอุเทนถวายถึงชุมนุมเรียกร้องไม่ได้ครับ


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#13 kim

kim

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,724 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:03

ที่สำคัญคือศาลตัดสินไปแล้ว เอาเอกสารมาโชว์ตอนนี้ผมว่ามันทำอะไรไม่ได้หรอกนะ

ถ้าอยากจะทำจริงๆตอนนี้ช่วยกันรวมหัวหาช่องทางเรียกร้องตามหลักของกฏหมายจะดีกว่านะครับ (ฝากไปบอกถึงกลุ่มที่ชวนกันไปชุมนุมด้วยครับ)

 

ด้วยความเคารพครับ เรื่องกรณีที่ดินอุเทนถวาย มิเคยมีการไต่สวน และตัดสินโดยศาลครับผม

 

คนที่อ่านข้อมูลเข้าใจกันเองว่าเรื่องนี้ศาลตัดสินแล้ว แต่ความจริงคือ เรื่องนี้ถูกพิจารณาโดย กยพ. (คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) ในกำกับดูแลโดย สำนักงานอัยการสูงสุดเท่านั้นครับ เป็นการพิจารณาในที่ประชุมโดยที่อุเทนถวายมิได้มีส่วนร่วมในการโต้แย้งครับผม

 

ซึ่งตอนนี้ก็มีการเรียกร้องตามกฏหมายครับไม่ใช่ไม่ทำครับ

 

http://www.mcot.net/...52#.UUb9UhxhiJE

 

และที่เราชุมนุม เราชุมนุมโดยสงบตามกฏหมาย มิได้มีความรุนแรงอย่างที่โดนใส่ร้ายแม้แต่นิด หรือว่าเพราะเป็นอุเทนถวายถึงชุมนุมเรียกร้องไม่ได้ครับ

 

ผมว่าเอาจริงๆต้องไปขุดศพจอมพลป.ตัวดีเอามาถามให้แน่นอนไปเลยว่าทำไปเพื่ออะไรก่อปัญหาไว้ให้รุ่นหลานเค้าเดือดร้อนกัน

 

แต่อย่าไปบอกฝั่งจุฬานะเพราะที่จุฬามีวันนี้ได้เพราะจอมพลป.ให้



#14 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:09

 

ขอสนับสนุนการต่อ สู้บนหลักกฏหมาย ครับ..  
 
 
ผมแปลกใจนิดนึงครับ ทำไมคำถามของท่าน ถึงเป็นคำถามที่ ทาง อุเทนสามารถตอบได้หมดเลย. 
เช่น เอกสารนี้เป็นการเช่าที่ดินแปลงใด, ทำไมเอกสารจึงออกในปี 2480 ....
 
ผมไม่แน่ใจว่าท่านมีคำตอบอยู่แล้ว แต่ เก็บไว้ก่อน  หรือท่านก็ไม่ทราบจริงๆ..  เพราะ หลายอย่าง 
ทาง อุเทนตอบได้ครับ เพราะ เป็นคนออกหนังสือ..
 
 
:D

 
คุณคิดว่าพวกเราชาวอุเทนถวาย ทราบหรือไม่ครับ  :)

 

 
ดูจาก กระบวนท่านนี้ งั้นผมต้อง เดาว่า ทราบแล้วละครับ
 
อย่าหาว่า คนนอกไม่เกี่ยว อย่ายุ่งเหมือนบางท่านเลย... แล้วไม่ทราบว่า
 
- ฏีกา .  ที่ถูกตอบ กลับมาว่าให้ทำตามมติ กยพ ได้ เคยใช้ หลักฐานนี้แย้งหรือยังครับ หรือ ว่า เป็น หลักฐานใหม่เพิ่งค้นพบ.. 
 
- ค่าเสียหาย ล้านกว่าต่อปี ทางอุเทนได้  จ่ายให้ จุฬาหรือยังครับ...    ถ้าจ่ายนี่ จบเลย...  
 
- จาก ราชกิจจาอันนี้ 
http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF
จุฬามีพื้นที่พระราชทาน  ครอบคลุมทั้ง block เลย..   ไม่ทราบว่า ทาง อุเทนจะแย้งยังไง... 
 
ตอบเท่าที่จะเปิดเผยได้ละกันนะครับ.. . 
 
:D

 
ผมรอให้ท่าน Reply กลับอย่างใจจดใจจ่อเลยครับ
 
อุเทนถวายมีข้อมูลอยู่ในมือพอสมควรครับ แต่เหตุผลที่ผมใช้การตั้งคำถาม แทนการนำเสนอข้อมูลตรงๆ เพราะอยากให้สังคมได้ฉุกคิดกันซักนิดว่า วันนี้คุณเลือกที่จะเชื่อข้อมูลที่คุณได้รับ เพราะอะไร?
 
- เชื่อจุฬาฯ เพราะจุฬาฯเป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่ง
- เชื่อจุฬาฯ เพราะจุฬาฯเป็นสถาบันที่มีเกียรติย์
- เชื่อจุฬาฯ เพราะอุเทน กุ๊ย เถื่อน อันธพาล
- เชื่อจุฬาฯ เพราะพิสูจน์แล้วว่าเป็นเรื่องจริง
- ฯลฯ
 
ลองถามตัวเองว่าคุณเคยตั้งคำถามกับข้อมูลที่คุณเสพแล้วหรือยัง (พูดรวมๆ นะครับ ไม่ได้เจาะจงบุคคล)
 
 
 
 
อย่าหาว่า คนนอกไม่เกี่ยว อย่ายุ่งเหมือนบางท่านเลย... แล้วไม่ทราบว่า
หามิได้ครับ ผมมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของคนไทยด้วยซ้ำครับ ต้นตอปัญหาของไทยส่วนหนึ่งมาจากการใช้ความรู้ การศึกษา เอาเปรียบผู้ที่ด้อยกว่า จริงๆ อยากให้ประชาชนทั่วไปมามีส่วนร่วมด้วยซ้ำครับ ซึ่งขณะนี้เรามีความร่วมมืออย่างเป็นทางการกับกลุ่มแนวร่วมนิสิตนักศึกษาคัดค้าน ม.นอกระบบ ซึ่งประกอบด้วย นักศึกษา,ศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,เกษตรศาสตร์,สถาบันราชภัฎ ต่างๆ ครับ
 
 
- ฏีกา .  ที่ถูกตอบ กลับมาว่าให้ทำตามมติ กยพ ได้ เคยใช้ หลักฐานนี้แย้งหรือยังครับ หรือ ว่า เป็น หลักฐานใหม่เพิ่งค้นพบ.. 
เรื่องนี้ผมทราบรายละเอียดว่า ฎีกาที่เคยทูลเกล้าฯ ทั้ง 2 ครั้ง ถูกตีกลับโดยสำนักราชเลขาฯ ยังไม่เคยมีพระบรมราชวินิจฉัยลงมาทั้ง 2 ครั้งครับ โดยให้ยืนตามคำตัดสินของ กยพ. (เรื่องนี้ผมยังไม่ขอพูดตอนนี้นะครับ เอาเป็นข้อมูลคร่าวๆ ไว้แค่นี้ก่อน พูดไปเดี๋ยวจะโดนหาว่าจินตนาการ)
 
 
- จาก ราชกิจจาอันนี้ 
http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF
จุฬามีพื้นที่พระราชทาน  ครอบคลุมทั้ง block เลย..   ไม่ทราบว่า ทาง อุเทนจะแย้งยังไง...

ผมขอตอบสั้นๆ ตอนนี้ก่อนว่า คุณหาคำว่า "พระราชทาน" เจอมั๊ยครับ ในราชกิจจาฯเป็นการกำหนดเขตการใช้ที่ดินบนที่ดินพระคลังข้างที่ครับ

 

กรณีที่เกี่ยวข้อง พระราชทานที่ดิน ก่อตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (คนละส่วนกับโรงเรียนมหาดเล็กที่ต่อมาเป็นจุฬาฯ นะครับ)

http://www.ratchakit...F/2454/D/15.PDF

 

กรณีที่เกี่ยวข้อง พระราชทานที่ดิน ก่อตั้งสถานเสาวภา

http://www.ratchakit...2465/D/2570.PDF

 

เรื่องรายละเอียดการกล่าวอ้างการพระราชทานที่ดิน คงได้มีโอกาสนำเสนอข้อมูลรายละเอียดในโอกาสหน้าครับ


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#15 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:15

 

ที่สำคัญคือศาลตัดสินไปแล้ว เอาเอกสารมาโชว์ตอนนี้ผมว่ามันทำอะไรไม่ได้หรอกนะ

ถ้าอยากจะทำจริงๆตอนนี้ช่วยกันรวมหัวหาช่องทางเรียกร้องตามหลักของกฏหมายจะดีกว่านะครับ (ฝากไปบอกถึงกลุ่มที่ชวนกันไปชุมนุมด้วยครับ)

 

ด้วยความเคารพครับ เรื่องกรณีที่ดินอุเทนถวาย มิเคยมีการไต่สวน และตัดสินโดยศาลครับผม

 

คนที่อ่านข้อมูลเข้าใจกันเองว่าเรื่องนี้ศาลตัดสินแล้ว แต่ความจริงคือ เรื่องนี้ถูกพิจารณาโดย กยพ. (คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) ในกำกับดูแลโดย สำนักงานอัยการสูงสุดเท่านั้นครับ เป็นการพิจารณาในที่ประชุมโดยที่อุเทนถวายมิได้มีส่วนร่วมในการโต้แย้งครับผม

 

ซึ่งตอนนี้ก็มีการเรียกร้องตามกฏหมายครับไม่ใช่ไม่ทำครับ

 

http://www.mcot.net/...52#.UUb9UhxhiJE

 

และที่เราชุมนุม เราชุมนุมโดยสงบตามกฏหมาย มิได้มีความรุนแรงอย่างที่โดนใส่ร้ายแม้แต่นิด หรือว่าเพราะเป็นอุเทนถวายถึงชุมนุมเรียกร้องไม่ได้ครับ

 

ผมว่าเอาจริงๆต้องไปขุดศพจอมพลป.ตัวดีเอามาถามให้แน่นอนไปเลยว่าทำไปเพื่ออะไรก่อปัญหาไว้ให้รุ่นหลานเค้าเดือดร้อนกัน

 

แต่อย่าไปบอกฝั่งจุฬานะเพราะที่จุฬามีวันนี้ได้เพราะจอมพลป.ให้

 

คงไม่ต้องถึงกับขุดศพท่านขึ้นมาหาหลักฐานหรอกมังครับ จะเป็นการรบกวนท่านเกินไป แค่หลักฐานหนังสือประวัติศาตร์ เอกสารต่างๆ ที่ยังหลงเหลืออยู่ คงพอกระมังครับ

 

http://webboard.seri...e-2#entry643912


Edited by Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน, 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 19:16.

"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#16 ก๊องส์ไข่กวน

ก๊องส์ไข่กวน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,012 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:00

เรื่องนี้ สงสัย จะยาว

#17 เคนอิจิ-นามิ

เคนอิจิ-นามิ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Banned
  • PipPipPipPip
  • 4,447 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:08

สรุปว่า อุเทนจะย้ายไหมครับ? 

แล้ว มีเอาสารเรื่องการรับรู้ว่าจะต้องย้ายไหมครับ? 

 

แล้วมีหลักฐานการจ่ายเงินไหมครับ? 


ตรรกของผมที่แตกต่างจากสมาชิกคนอื่นใน สรท นิ๊ดเดียว  :D http://webboard.seri...e-3#entry634878

รอแมงวันหน้าสันขวานดิ้นดุ๊กดิ้กมาขอขมาอยู่นะ http://webboard.seri...-แวร์/?p=609037

ความตอแหลขอไอ้แมงวัน  http://webboard.seri...-แวร์/?p=609177

 


#18 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:20

สรุปว่า อุเทนจะย้ายไหมครับ? 
แล้ว มีเอาสารเรื่องการรับรู้ว่าจะต้องย้ายไหมครับ? 
 
แล้วมีหลักฐานการจ่ายเงินไหมครับ?

 
ถ้าถามตอนนี้ ขณะที่เราต่อสู้อยู่ขณะนี้ ยืนยันว่าเรา "ไม่ย้าย" ครับ 
 
เอกสารรับทราบการย้าย "มี" ครับ แต่ที่มาของเอกสารนี้ ดังที่ผมเคยตอบไปแล้วครับ

 

ในเมื่อ ทางผู้บริหารอุเทน เค้าก็ตกลงกันกับ ผู้บริหารจุฬาด้วยดี แล้วว่าจะย้าย...     
แล้ว  ศิษย์เก่า กับ ปัจจุบัน จะ ประท้วงทำไมกันครับ...     
ประเด็นคือ อะไร...   ใช้ความชอบธรรมอะไร...    จุฬาทำอะไรผิด...
 
ถ้าท่านให้ที่เค้าเช่า ทำสัญญาเรียบร้อย พอครบสัญญา จะเอาที่คืน ไม่ว่าจะไปทำอะไร..
ทำไม่ได้หรือครับ...      แบบนี้ ถ้าย้อนเวลากลับได้ จะให้เช่าไหม...   
 
:D

หากคุณทราบข้อมูลทั้งหมด คุณคงไม่คิดแบบนี้ เอกสารยอมรับการย้ายเป็นปลายทางแล้วครับ ซึ่งผู้ที่เซ็นเอกสารเป็นรักษาการณ์ ผอ. ที่เพิ่งเข้ามารับหน้าที่ได้เพียง 2 เดือน ซึ่งท่านทำไปตามหน้าที่โดยที่ยังไม่ทราบที่มาที่ไปของเรื่อง รวมถึงคณะอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยไม่ทราบเรื่องนี้เลย เป็นความหัวหมอของผู้บริหารจุฬาฯ โดยแท้

และที่อยากให้ทราบคือ ตั้งแต่ก่อตั้งโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย เดิมทั้งอุเทนถวายและจุฬาฯได้เช่าที่ดินจากพระคลังข้างที่ จนกระทั่งปี 2482 จอมพลป. ได้กระทำการรวบรัดออกพรบ.จุฬาฯ ปล้นที่ดินส่วนพระมหากษัตริย์มาเป็นของจุฬาฯ โดยแต่เดิมเป็นการให้ใช้พื้นที่โดยกำหนดอาณาเขตเท่านั้น ไม่เคยมีการพระราชทานให้แต่อย่างใด ส่วนปล้นอย่างไรผมจะทำข้อมูลนำเสนอต่อไปครับ

"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#19 เคนอิจิ-นามิ

เคนอิจิ-นามิ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Banned
  • PipPipPipPip
  • 4,447 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:23

แล้วหลักฐานการจ่ายเงิน? 

ทำไมไม่ตอบ หรือว่า ผมถามผิด :D 


ตรรกของผมที่แตกต่างจากสมาชิกคนอื่นใน สรท นิ๊ดเดียว  :D http://webboard.seri...e-3#entry634878

รอแมงวันหน้าสันขวานดิ้นดุ๊กดิ้กมาขอขมาอยู่นะ http://webboard.seri...-แวร์/?p=609037

ความตอแหลขอไอ้แมงวัน  http://webboard.seri...-แวร์/?p=609177

 


#20 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 20:44

แล้วหลักฐานการจ่ายเงิน? 

ทำไมไม่ตอบ หรือว่า ผมถามผิด :D

 

ถ้าถามถึงการจ่ายเงินค่าเช่าที่ดิน อุเทนถวายไม่เคยจ่ายครับ

 

แต่ถ้าถามถึงการจ่ายเงินตามคำตัดสินของ กยพ. ตอนนี้ผมยังไม่ทราบนะครับ


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#21 โจโฉ นายกตลอดกาล

โจโฉ นายกตลอดกาล

    น้องใหม่

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,795 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 21:10

แล้วที่กระทรวงธรรมการ หรือ ศึกษาธิการในปัจจุบันมีบันทึกเอกสารเกี่ยวข้องเก็บไว้ไหมครับ
เชื่อเถอะ อีกไม่ช้า นายเวร จะเสียฉายา "ร้อยล๊อกอิน" ไปในไม่กีอึดใจนี้

#22 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 21:29

แล้วที่กระทรวงธรรมการ หรือ ศึกษาธิการในปัจจุบันมีบันทึกเอกสารเกี่ยวข้องเก็บไว้ไหมครับ

 

เอกสารนำจ่ายฉบับนี้ อยู่ที่จุฬาฯ ครับ และเข้าใจว่าที่อุเทนถวายน่าจะไม่มีคู่ฉบับ เพราะเป็นแค่หนังสื้อแจ้งครับ

 

ส่วนเอกสารเกี่ยวกับการเช่าที่ดิน "ถ้ามี" ที่กระทรวงไม่น่าจะมีครับ น่าจะเป็นการทำนิติกรรมระหว่างอุเทนถวายกับจุฬาฯ ครับ แต่ถึง ณ ตอนนี้ยังไม่มีใครเคยได้เห็นหนังสือสัญญาเช่า หรือเอกสารการจ่ายค่าเช่านอกเหนือจากฉบับนี้เลยครับ และอย่างที่ผมเสนอในกระทู้ ในปีเดียวกันนี้ได้ปรากฏหลักฐานที่จุฬาฯ ต่อสัญญาเช่ากับพระคลังข้างที่เป็นเวลา 30 ปี อยู่ที่หลังโฉนดครับ

 

คำถามที่เกิดขึ้นก็คือ จุฬาฯ อ้างว่าได้รับพระราชทานที่ดินก่อนหน้านี้หลายสิบปี ตั้งแต่ปี 2458 ที่ย้ายการเรียนการสอนจากในพระบรมมหาราชวังมาที่ทุ่งพญาไท ทำไมจึงยังต้องเช่าอีก


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#23 เคนอิจิ-นามิ

เคนอิจิ-นามิ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Banned
  • PipPipPipPip
  • 4,447 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 22:03

แล้วที่กระทรวงจ่าย สองร้อยล้าน จริงไหม?

ตรรกของผมที่แตกต่างจากสมาชิกคนอื่นใน สรท นิ๊ดเดียว  :D http://webboard.seri...e-3#entry634878

รอแมงวันหน้าสันขวานดิ้นดุ๊กดิ้กมาขอขมาอยู่นะ http://webboard.seri...-แวร์/?p=609037

ความตอแหลขอไอ้แมงวัน  http://webboard.seri...-แวร์/?p=609177

 


#24 mongdoodee

mongdoodee

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 667 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 22:30

ตามกฎหมาย (ไทย)

สัญญาเช่า มีอายุุสัญญาสูงสุด ไม่เกิน 30 ปี  เมื่่อครบแล้ว จะต่ออายุ หรือทำสัญญากันใหม่ ก็ได้

 

 

ผมนั่งรอชมข้อมูลต่อครับ (อยากรู้เหมือนกัน) 



#25 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 22:30

แล้วที่กระทรวงจ่าย สองร้อยล้าน จริงไหม?

 

เคยมีการเสนองบ 200 ล้านบาทเพื่อสนับสนุนการย้ายของอุเทนถวาย แต่ไม่เคยมีการเบิกจ่ายครับ ชื่องบก็บอกอยู่แล้วครับท่าน


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#26 test

test

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 216 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 22:43

สิ่งที่ จขกท. ถามมา ผมขอตอบว่า ผมไม่ทราบสักข้อ ใครรู้ก็ช่วยตอบ
แต่ความเข้าใจของผม ปัจจุบันพื้นที่ตรงนี้เป็นของ จุฬาฯ ไม่ใช่พื้นที่ ของอุเทนฯ
ไม่งั้นจุฬาฯไม่กล้าทวงแน่ ก็เป็นไปตามการพัฒนาในช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พัฒนากันมาเรื่อยๆแก้ไขกันมาเรื่อยๆจนมาปัจจุบัน

และตามเอกสารที่ จขกท. เอามาแสดงก็ชัดเจนอยู่แล้ว ใครรับ ใครจ่าย
ก็คงเป็นหนังสือที่อุเทนฯ ตอบกลับที่จุฬาส่งหนังสือไปทวงค่าเช่ากระมัง
และบอกต่อว่าปีอื่นๆก็ไปเก็บที่กระทรวงแทน ประมาณนี้หรือเปล่า (ผมก็เดาๆเอา)
ฉะนั้นทาง อุเทนฯ น่าจะยอมรับตรงนี้ พิจารณา ย้ายออก
ถ้าไม่ยอมรับก็ต้องว่ากันไป ตามกระบวนการ

#27 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 23:00

สิ่งที่ จขกท. ถามมา ผมขอตอบว่า ผมไม่ทราบสักข้อ ใครรู้ก็ช่วยตอบ
แต่ความเข้าใจของผม ปัจจุบันพื้นที่ตรงนี้เป็นของ จุฬาฯ ไม่ใช่พื้นที่ ของอุเทนฯ
ไม่งั้นจุฬาฯไม่กล้าทวงแน่ ก็เป็นไปตามการพัฒนาในช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พัฒนากันมาเรื่อยๆแก้ไขกันมาเรื่อยๆจนมาปัจจุบัน

และตามเอกสารที่ จขกท. เอามาแสดงก็ชัดเจนอยู่แล้ว ใครรับ ใครจ่าย
ก็คงเป็นหนังสือที่อุเทนฯ ตอบกลับที่จุฬาส่งหนังสือไปทวงค่าเช่ากระมัง
และบอกต่อว่าปีอื่นๆก็ไปเก็บที่กระทรวงแทน ประมาณนี้หรือเปล่า (ผมก็เดาๆเอา)
ฉะนั้นทาง อุเทนฯ น่าจะยอมรับตรงนี้ พิจารณา ย้ายออก
ถ้าไม่ยอมรับก็ต้องว่ากันไป ตามกระบวนการ

 

สรุปว่า ผมคงผิดเอง ที่ไม่สามารถทำให้ท่านเข้าใจสิ่งที่ผมต้องการนำเสนอได้ แต่จากการอ่านความเห็นของท่านผมคงไม่สามารถอธิบายให้ท่านเข้าใจได้ครับ

 

เพราะคำตอบมันอยู่ในคำถามของผมอยู่แล้ว


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#28 lagrangian

lagrangian

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 229 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 03:10

รัชกาลที่ 6 ไม่เคยพระราชทานที่ดินให้กับ โรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ แต่เป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ เช่าที่จากพระคลังข้างที่
ตามลิงค์นะครับ
หัวข้อความคิดจัดการโรงเรียนข้าราชการพลเรือน  อันนี้ปี 2455
คำกราบบังคมทูลของนายกสภากรรมการ  ส่วนอันนี้ปี 2458



#29 susu

susu

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,066 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 10:35

 

ขอสนับสนุนการต่อ สู้บนหลักกฏหมาย ครับ..  

 

 

ผมแปลกใจนิดนึงครับ ทำไมคำถามของท่าน ถึงเป็นคำถามที่ ทาง อุเทนสามารถตอบได้หมดเลย. 

เช่น เอกสารนี้เป็นการเช่าที่ดินแปลงใด, ทำไมเอกสารจึงออกในปี 2480 ....

 

ผมไม่แน่ใจว่าท่านมีคำตอบอยู่แล้ว แต่ เก็บไว้ก่อน  หรือท่านก็ไม่ทราบจริงๆ..  เพราะ หลายอย่าง 

ทาง อุเทนตอบได้ครับ เพราะ เป็นคนออกหนังสือ..

 

 

:D

 

คุณคิดว่าพวกเราชาวอุเทนถวาย ทราบหรือไม่ครับ  :)

 

ดูจาก กระบวนท่านนี้ งั้นผมต้อง เดาว่า ทราบแล้วละครับ

 

อย่าหาว่า คนนอกไม่เกี่ยว อย่ายุ่งเหมือนบางท่านเลย... แล้วไม่ทราบว่า

 

- ฏีกา .  ที่ถูกตอบ กลับมาว่าให้ทำตามมติ กยพ ได้ เคยใช้ หลักฐานนี้แย้งหรือยังครับ หรือ ว่า เป็น หลักฐานใหม่เพิ่งค้นพบ.. 

 

- ค่าเสียหาย ล้านกว่าต่อปี ทางอุเทนได้  จ่ายให้ จุฬาหรือยังครับ...    ถ้าจ่ายนี่ จบเลย...  

 

- จาก ราชกิจจาอันนี้ 

http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF

จุฬามีพื้นที่พระราชทาน  ครอบคลุมทั้ง block เลย..   ไม่ทราบว่า ทาง อุเทนจะแย้งยังไง... 

 

ตอบเท่าที่จะเปิดเผยได้ละกันนะครับ.. . 

 

:D

หากเขียนลักษณะ แบบนี้ตั้งแต่เเรก...ไม่มีใครว่าหรอกครับ ...จำแม่น นะ ไต :lol:



#30 Gop

Gop

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,450 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 11:52

ผมจำไม่ได้ว่ากระทู้ไหนที่มีคนให้ link ของพันทิปเอาไว้ http://pantip.com/topic/30252097

 

ผมอ่านถึงแค่ที่คุณ JD300 ได้อธิบายเอาไว้ อยากให้คุณ Zilong ลองชี้แจงหน่อยนะครับ

 

ความคิดเห็นที่ 12

 
ประวัติศาสตร์ของพื้นที่นี้
------------------------

จาก http://pantip.com/to...19033/comment71

ในช่วงหลายที่ผ่านมา ทีมงานของเราได้ไปพยายามทดลองค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับกับการจุฬาฯ และอุเทนถวายในอดีต ตั้งแต่สมัยเริ่มก่อตั้งใหม่ๆ เลย ก็พบข้อมูลที่น่าสนใจหลายอย่าง จึงอยากนำมาแบ่งปันให้ทุกท่านได้ทราบกัน โดยจะเรียงลำดับเหตุการณ์ตามเส้นเวลาที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้สะดวกต่อการดูข้อมูลในอดีตที่เกิดขึ้น
- 6 เมษายน พ.ศ. 2445 : มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ประกาศตั้งโรงเรียนมหาดเล็กขึ้นในพระตำหนักสวนจิตรลดา
- 2 เมษายน พ.ศ. 2454 : พระราชทานที่ดินสวนดุสิตระหว่างถนนซางฮี้ ถนนตวงเดือนใน และคลองเปรมแระชากร ให้เป็นที่ตั้งโรงเรียนแห่งใหม่
- 1 มกราคม พ.ศ. 2453 : พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกโรงเรียนมหาดเล็กเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุล จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- 7 มกราคม พ.ศ. 2456 : โรงเรียนฝึกหัดการหัตถกรรม ซึ่งกระทรวงธรรมการได้จัดการก่อสร้างขึ้นในตำบลข้างถนนตรีเพ็ชร เมื่อโรงเรียนได้สร้างสำเร็จแล้ว กระทรวงธรรมการได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานนาม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า"โรงเรียนเพาะช่าง"
- 3 มกราคม พ.ศ. 2458 : ประกาศกระแสพระบรมราชโองการบรรจุในศิลาพระฤกษ์โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ไว้เปนเขตร์โรงเรียน ทิศเหนือจดถนนสระปทุม ทิศใต้จดถนนหัวลำโพง ทิศตวันออกจดถนนสนามม้า ทิศตวันตกจดคลองสวนหลวง สิริรวมเปนเนื้อที่ ๑,๓๐๙ ไร่" และ"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จาฤกกระแสพระบรมราชโองการนี้ บรรจุไว้ในศิลาพระฤกษ์พร้อมด้วยแบบรูปโรงเรียนและแผนที่อาณาเขตร์โรงเรียน"
- 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 : ประกาศประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโอนไปขึ้นอยู่ในกระทรวงธรรมการ
- 7 ธันวาคม พ.ศ. 2465 : เปิดสถานเสาวภา โดยพระราชทานที่ดินอันจดถนนพระราม ๑ ด้านหนึ่ง ถนนสนามม้าด้านหนึ่ง

- 15 เมษายน พ.ศ. 2476 : มีบัญชาจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ ออกประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเรื่องกำหนดชั้นที่ดิน (เริ่มอนุญาตให้เช่าพื้นที่บริเวณผ่อนผันของจุฬาฯ ได้เป็นบางตอน)
- 6 ตุลาคม พ.ศ. 2478 : นายจัง จรงจิตร์ ผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง ถามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ เรื่องรัฐบาลตั้งโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย เกี่ยวกับความไม่โปร่งใสต่างๆ ภายในโรงเรียน (เนื่องจากไม่สามารถหาราชกิจจานุเบกษาเกี่ยวกับการสร้างโรงเรียนช่างก่อ สร้างอุเทนถวายได้ ราชกิจจานุเบกษาที่อ้างถึงนี้เป็นเล่มแรกที่เกี่ยวกับโรงเรียนช่างก่อสร้าง อุเทนถวาย)
- 20 ตุลาคม พ.ศ. 2482 : พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตำบลปทุมวัน อำเภอปทุมวัน จังหวัดพระนคร ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย "๓ แปลง คือ แปลงที่ ๑ ทิศเหนือจดถนนพระรามที่ ๑ ทิศใต้จดถนนพระรามที่ ๔ ทิศตะวันออกจดคลองอรชร ทิศตะวันตกจดถนนพญาไท แปลงที่ ๒ ทิศเหนือจดถนนพระรามที่ ๑ ทิศใต้จดถนนพระรามที่ ๔ ทิศตะวันออกจดถนนพญาไท ทิศตะวันตกจดถนนพระรามที่ ๖ แปลงที่ ๓ ทิศเหนือจดถนนพระรามที่ ๑ ทิศใต้จดถนนพระรามที่ ๔ ทิศตะวันออกจดถนนพระรามที่ ๖ ทิศตะวันตกจดคลองสวนหลวง รวมเนื้อที่ประมาณ ๑๑๙๖ ไร่ ๓๒ ตารางวา"
- 24 ธันวาคม พ.ศ. 2522 : พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้แก่สภากาชาด ไทย (หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ ด้วยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทานที่ดินของพระคลัง ข้างที่สำหรับสร้างสถานเสาวภา แต่โดยที่พระราชบัญญัติโอนที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษตริย์ให้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๔๘๒ ได้รวมที่ดินของสถานเสาวภา เพื่อให้เป็นไปตามพระราชประสงค์จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น เพราะการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกล่าวจะกระทำได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ)

สรุปจากที่ได้อ่านและค้นคว้าราชกิจจานุเบกษามาหลายฉบับ ข้าพเจ้าก็สรุปได้ใจความของเนื้อหา(โดยส่วนตัว)ดังต่อไปนี้
- ก่อนเป็นจุฬาฯ ก็ย้ายมาจากสวนจิตรลดาและสวนดุสิต แล้วก็มาอยู่ที่ปัจจุบันในทุกวันนี้
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดิน และมอบแผนที่อาณาเขตไว้ใต้ศิลาพระฤกษ์
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตั้งขึ้นตามพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- ก่อนเป็นอุเทนถวาย ก็เป็นโรงเรียนเพาะช่างสร้างขึ้นที่ตำบลข้างถนนตรีเพ็ชร แล้วจึงมาอยู่ที่ปัจจุบันในทุกวันนี้
- โรงเรียนเพาะช่างจัดการก่อสร้างขึ้นโดยกระทรวงธรรมการ
- ไม่มีหลักฐานในราชกิจจานุเบกษาว่าโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายสร้างขึ้น โดยใคร และเมื่อใด (แต่คาดเดาว่าสร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2456 - 2478)

- สถานเสาวภาจัดตั้งขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- กระทรวงธรรมการออกประกาศให้เก็บค่าเช่าในปี พ.ศ. 2476 ซึ่งก็สอดคล้องกับคำกล่าวที่ว่า"อุเทนถวายทำสัญญาเช่าที่กับจุฬาฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2478 - 2546"
- จุฬาฯ ได้พระราชบัญญัติในพื้นที่จำนวน 1,196 ไร่ 32 ตารางวา (น้อยลงกว่าในกระแสพระบรมราชโองการที่กำหนดให้ 1,309 ไร่)
- ที่ดินของสถานเสาวภาที่ได้รับพระราชทานตั้งอยู่ในพื้นที่กรรมสิทธิ์ของจุฬาฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตราพระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่สถานเสาวภา
11
530182_3277286117_DSCF7247-JPG_m.jpg
JD300
15 มีนาคม เวลา 10:41 น.

 

๑ อยากเรียนถามว่า ลำดับเวลาและข้อความเหล่านี้จริงเท็จประการได?? เพราะผมไม่ได้ตรวจสอบอย่างละเอียด

 

๒ ข้อความที่เน้นนั้นมีสองประเด็นคือ

 

๒.๑ มีการตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนในปี ๒๔๕๘ โดยกำหนดเขตที่ดินต่างๆเอาไว้ ปีถัดมาคือ ๒๔๕๙ ได้ยกฐานะเป็นจฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมสามารถสรุปได้หรือไม่ ว่าพื้นที่ของโรงเรียนข้าราชการพลเรือนนั้น ก็คือพื้นที่เดียวกันกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย??

 

๒.๒ ตามที่คุณ JD300 กล่าว เดิมนั้น อุเทนถวายเป็นวิทยาลัยเพาะช่าง อยู่ที่ถนนตรีเพชร แต่ไม่มีใครทราบว่าโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายนั้นสร้างขึ้นเมื่อได และมาอยู่ในพื้นที่ปัจจุบันได้อย่างไร?? และไม่มีหลักฐานไดๆ ในราชกิจจานุเบกษา เกี่ยวกับโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายเลย

 

ข้อความนี้ของคุณ JD300 นั้นจริงเท็จประการได้ครับ??


หลักฐานไม่เคยโกหก (Gilbert Grissom C.S.I.)<p>Beneath this mask there is more than flesh. Beneath this mask there is an idea, Mr. Creedy, and ideas are bulletproof.

 


#31 hentai

hentai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,046 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 12:00

 

 

ขอสนับสนุนการต่อ สู้บนหลักกฏหมาย ครับ..  
 
 
ผมแปลกใจนิดนึงครับ ทำไมคำถามของท่าน ถึงเป็นคำถามที่ ทาง อุเทนสามารถตอบได้หมดเลย. 
เช่น เอกสารนี้เป็นการเช่าที่ดินแปลงใด, ทำไมเอกสารจึงออกในปี 2480 ....
 
ผมไม่แน่ใจว่าท่านมีคำตอบอยู่แล้ว แต่ เก็บไว้ก่อน  หรือท่านก็ไม่ทราบจริงๆ..  เพราะ หลายอย่าง 
ทาง อุเทนตอบได้ครับ เพราะ เป็นคนออกหนังสือ..
 
 
:D

 
คุณคิดว่าพวกเราชาวอุเทนถวาย ทราบหรือไม่ครับ  :)

 

 
ดูจาก กระบวนท่านนี้ งั้นผมต้อง เดาว่า ทราบแล้วละครับ
 
อย่าหาว่า คนนอกไม่เกี่ยว อย่ายุ่งเหมือนบางท่านเลย... แล้วไม่ทราบว่า
 
- ฏีกา .  ที่ถูกตอบ กลับมาว่าให้ทำตามมติ กยพ ได้ เคยใช้ หลักฐานนี้แย้งหรือยังครับ หรือ ว่า เป็น หลักฐานใหม่เพิ่งค้นพบ.. 
 
- ค่าเสียหาย ล้านกว่าต่อปี ทางอุเทนได้  จ่ายให้ จุฬาหรือยังครับ...    ถ้าจ่ายนี่ จบเลย...  
 
- จาก ราชกิจจาอันนี้ 
http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF
จุฬามีพื้นที่พระราชทาน  ครอบคลุมทั้ง block เลย..   ไม่ทราบว่า ทาง อุเทนจะแย้งยังไง... 
 
ตอบเท่าที่จะเปิดเผยได้ละกันนะครับ.. . 
 
:D

 
ผมรอให้ท่าน Reply กลับอย่างใจจดใจจ่อเลยครับ
 
อุเทนถวายมีข้อมูลอยู่ในมือพอสมควรครับ แต่เหตุผลที่ผมใช้การตั้งคำถาม แทนการนำเสนอข้อมูลตรงๆ เพราะอยากให้สังคมได้ฉุกคิดกันซักนิดว่า วันนี้คุณเลือกที่จะเชื่อข้อมูลที่คุณได้รับ เพราะอะไร?
 
- เชื่อจุฬาฯ เพราะจุฬาฯเป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่ง
- เชื่อจุฬาฯ เพราะจุฬาฯเป็นสถาบันที่มีเกียรติย์
- เชื่อจุฬาฯ เพราะอุเทน กุ๊ย เถื่อน อันธพาล
- เชื่อจุฬาฯ เพราะพิสูจน์แล้วว่าเป็นเรื่องจริง
- ฯลฯ
 
ลองถามตัวเองว่าคุณเคยตั้งคำถามกับข้อมูลที่คุณเสพแล้วหรือยัง (พูดรวมๆ นะครับ ไม่ได้เจาะจงบุคคล)
 
 
 
 
อย่าหาว่า คนนอกไม่เกี่ยว อย่ายุ่งเหมือนบางท่านเลย... แล้วไม่ทราบว่า
หามิได้ครับ ผมมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของคนไทยด้วยซ้ำครับ ต้นตอปัญหาของไทยส่วนหนึ่งมาจากการใช้ความรู้ การศึกษา เอาเปรียบผู้ที่ด้อยกว่า จริงๆ อยากให้ประชาชนทั่วไปมามีส่วนร่วมด้วยซ้ำครับ ซึ่งขณะนี้เรามีความร่วมมืออย่างเป็นทางการกับกลุ่มแนวร่วมนิสิตนักศึกษาคัดค้าน ม.นอกระบบ ซึ่งประกอบด้วย นักศึกษา,ศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,เกษตรศาสตร์,สถาบันราชภัฎ ต่างๆ ครับ
 
 
- ฏีกา .  ที่ถูกตอบ กลับมาว่าให้ทำตามมติ กยพ ได้ เคยใช้ หลักฐานนี้แย้งหรือยังครับ หรือ ว่า เป็น หลักฐานใหม่เพิ่งค้นพบ.. 
เรื่องนี้ผมทราบรายละเอียดว่า ฎีกาที่เคยทูลเกล้าฯ ทั้ง 2 ครั้ง ถูกตีกลับโดยสำนักราชเลขาฯ ยังไม่เคยมีพระบรมราชวินิจฉัยลงมาทั้ง 2 ครั้งครับ โดยให้ยืนตามคำตัดสินของ กยพ. (เรื่องนี้ผมยังไม่ขอพูดตอนนี้นะครับ เอาเป็นข้อมูลคร่าวๆ ไว้แค่นี้ก่อน พูดไปเดี๋ยวจะโดนหาว่าจินตนาการ)
 
 
- จาก ราชกิจจาอันนี้ 
http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF
จุฬามีพื้นที่พระราชทาน  ครอบคลุมทั้ง block เลย..   ไม่ทราบว่า ทาง อุเทนจะแย้งยังไง...

ผมขอตอบสั้นๆ ตอนนี้ก่อนว่า คุณหาคำว่า "พระราชทาน" เจอมั๊ยครับ ในราชกิจจาฯเป็นการกำหนดเขตการใช้ที่ดินบนที่ดินพระคลังข้างที่ครับ

 

กรณีที่เกี่ยวข้อง พระราชทานที่ดิน ก่อตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (คนละส่วนกับโรงเรียนมหาดเล็กที่ต่อมาเป็นจุฬาฯ นะครับ)

http://www.ratchakit...F/2454/D/15.PDF

 

กรณีที่เกี่ยวข้อง พระราชทานที่ดิน ก่อตั้งสถานเสาวภา

http://www.ratchakit...2465/D/2570.PDF

 

เรื่องรายละเอียดการกล่าวอ้างการพระราชทานที่ดิน คงได้มีโอกาสนำเสนอข้อมูลรายละเอียดในโอกาสหน้าครับ

 

ดีครับ ที่ไม่รังเกียจคนนอก..      งั้นผมเข้าส่วนที่ คนที่ได้รับข้อมูลปกติจะ สงสัยต่อนะครับ ... ท่านตอบตามที่เห็นสมควรเหมือนเดิม.. 

 

จาก  ราชกิจจาอันนี้ http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF  ที่ผมให้ไว้...   

หน้า 2564 บอกชัดครับว่า  เป็น 

 “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว”   ซึง ต่อมา เป็น จุฬา..     อันนี้น่าจะเข้าใจตรงกัน...  

 

คนละที่กับ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง  (ที่มีอยู่ก่อนแล้ว) แบบที่ท่านว่าถูกต้อง...

 

หน้า 2565 ก็บอกว่า 

"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ ไว้เป็นเขตร์โรงเรียน  ทิศเหนือจดถนน สระปทุม...   "

คำถามคือ  โรงเรียนอะไร...   ก็ต้อง “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว”    ซึง ต่อมา เป็น จุฬา..

 

ไม่มีคำว่า พระราชทานจริงครับ...   แต่ ความหมายของการ ให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ ไว้เป็นเขตร์โรงเรียน 

มันก็ไม่ต่าง ...  หรือป่าว..   

 

ไม่ทราบว่ามีราชกิจจา เรื่องที่ดินของ ทาง อุเทน หรือป่าวครับว่า ไปอยู่ตรงนั้นได้อย่างไร...   ผมคนนอกไม่ทราบจริงๆ

 

:D


"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"

"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"

"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"


#32 hentai

hentai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,046 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 12:23

หากเขียนลักษณะ แบบนี้ตั้งแต่เเรก...ไม่มีใครว่าหรอกครับ ...จำแม่น นะ ไต :lol:

 

ทู้นั้นผมก็เขียน ลักษณะ แบบนี้...(แบบคนปกติทั่วไป ที่เป็น  คนนอก แต่ ขี้สงสัย ที่ไม่ค่อยมีความรู้  รู้จากสื่อ)   

:D


"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"

"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"

"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"


#33 susu

susu

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,066 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 12:30

หากเขียนลักษณะ แบบนี้ตั้งแต่เเรก...ไม่มีใครว่าหรอกครับ ...จำแม่น นะ ไต :lol:

 

ทู้นั้นผมก็เขียน ลักษณะ แบบนี้...(แบบคนปกติทั่วไป ที่เป็น  คนนอก แต่ ขี้สงสัย ที่ไม่ค่อยมีความรู้  รู้จากสื่อ)   

:D

ไต..เอ๋ย ...ลดๆลงบาง กรู หน่าย ...ขี้เกียจพื้น



#34 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 13:47

ผมจำไม่ได้ว่ากระทู้ไหนที่มีคนให้ link ของพันทิปเอาไว้ http://pantip.com/topic/30252097

 

ผมอ่านถึงแค่ที่คุณ JD300 ได้อธิบายเอาไว้ อยากให้คุณ Zilong ลองชี้แจงหน่อยนะครับ

 

 

ความคิดเห็นที่ 12

 
ประวัติศาสตร์ของพื้นที่นี้
------------------------

จาก http://pantip.com/to...19033/comment71

ในช่วงหลายที่ผ่านมา ทีมงานของเราได้ไปพยายามทดลองค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับกับการจุฬาฯ และอุเทนถวายในอดีต ตั้งแต่สมัยเริ่มก่อตั้งใหม่ๆ เลย ก็พบข้อมูลที่น่าสนใจหลายอย่าง จึงอยากนำมาแบ่งปันให้ทุกท่านได้ทราบกัน โดยจะเรียงลำดับเหตุการณ์ตามเส้นเวลาที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้สะดวกต่อการดูข้อมูลในอดีตที่เกิดขึ้น
- 6 เมษายน พ.ศ. 2445 : มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ประกาศตั้งโรงเรียนมหาดเล็กขึ้นในพระตำหนักสวนจิตรลดา
- 2 เมษายน พ.ศ. 2454 : พระราชทานที่ดินสวนดุสิตระหว่างถนนซางฮี้ ถนนตวงเดือนใน และคลองเปรมแระชากร ให้เป็นที่ตั้งโรงเรียนแห่งใหม่
- 1 มกราคม พ.ศ. 2453 : พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกโรงเรียนมหาดเล็กเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุล จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- 7 มกราคม พ.ศ. 2456 : โรงเรียนฝึกหัดการหัตถกรรม ซึ่งกระทรวงธรรมการได้จัดการก่อสร้างขึ้นในตำบลข้างถนนตรีเพ็ชร เมื่อโรงเรียนได้สร้างสำเร็จแล้ว กระทรวงธรรมการได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานนาม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า"โรงเรียนเพาะช่าง"
- 3 มกราคม พ.ศ. 2458 : ประกาศกระแสพระบรมราชโองการบรรจุในศิลาพระฤกษ์โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ไว้เปนเขตร์โรงเรียน ทิศเหนือจดถนนสระปทุม ทิศใต้จดถนนหัวลำโพง ทิศตวันออกจดถนนสนามม้า ทิศตวันตกจดคลองสวนหลวง สิริรวมเปนเนื้อที่ ๑,๓๐๙ ไร่" และ"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จาฤกกระแสพระบรมราชโองการนี้ บรรจุไว้ในศิลาพระฤกษ์พร้อมด้วยแบบรูปโรงเรียนและแผนที่อาณาเขตร์โรงเรียน"
- 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 : ประกาศประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโอนไปขึ้นอยู่ในกระทรวงธรรมการ
- 7 ธันวาคม พ.ศ. 2465 : เปิดสถานเสาวภา โดยพระราชทานที่ดินอันจดถนนพระราม ๑ ด้านหนึ่ง ถนนสนามม้าด้านหนึ่ง

- 15 เมษายน พ.ศ. 2476 : มีบัญชาจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ ออกประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเรื่องกำหนดชั้นที่ดิน (เริ่มอนุญาตให้เช่าพื้นที่บริเวณผ่อนผันของจุฬาฯ ได้เป็นบางตอน)
- 6 ตุลาคม พ.ศ. 2478 : นายจัง จรงจิตร์ ผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง ถามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ เรื่องรัฐบาลตั้งโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย เกี่ยวกับความไม่โปร่งใสต่างๆ ภายในโรงเรียน (เนื่องจากไม่สามารถหาราชกิจจานุเบกษาเกี่ยวกับการสร้างโรงเรียนช่างก่อ สร้างอุเทนถวายได้ ราชกิจจานุเบกษาที่อ้างถึงนี้เป็นเล่มแรกที่เกี่ยวกับโรงเรียนช่างก่อสร้าง อุเทนถวาย)
- 20 ตุลาคม พ.ศ. 2482 : พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตำบลปทุมวัน อำเภอปทุมวัน จังหวัดพระนคร ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย "๓ แปลง คือ แปลงที่ ๑ ทิศเหนือจดถนนพระรามที่ ๑ ทิศใต้จดถนนพระรามที่ ๔ ทิศตะวันออกจดคลองอรชร ทิศตะวันตกจดถนนพญาไท แปลงที่ ๒ ทิศเหนือจดถนนพระรามที่ ๑ ทิศใต้จดถนนพระรามที่ ๔ ทิศตะวันออกจดถนนพญาไท ทิศตะวันตกจดถนนพระรามที่ ๖ แปลงที่ ๓ ทิศเหนือจดถนนพระรามที่ ๑ ทิศใต้จดถนนพระรามที่ ๔ ทิศตะวันออกจดถนนพระรามที่ ๖ ทิศตะวันตกจดคลองสวนหลวง รวมเนื้อที่ประมาณ ๑๑๙๖ ไร่ ๓๒ ตารางวา"
- 24 ธันวาคม พ.ศ. 2522 : พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้แก่สภากาชาด ไทย (หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ ด้วยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทานที่ดินของพระคลัง ข้างที่สำหรับสร้างสถานเสาวภา แต่โดยที่พระราชบัญญัติโอนที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษตริย์ให้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๔๘๒ ได้รวมที่ดินของสถานเสาวภา เพื่อให้เป็นไปตามพระราชประสงค์จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น เพราะการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกล่าวจะกระทำได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ)

สรุปจากที่ได้อ่านและค้นคว้าราชกิจจานุเบกษามาหลายฉบับ ข้าพเจ้าก็สรุปได้ใจความของเนื้อหา(โดยส่วนตัว)ดังต่อไปนี้
- ก่อนเป็นจุฬาฯ ก็ย้ายมาจากสวนจิตรลดาและสวนดุสิต แล้วก็มาอยู่ที่ปัจจุบันในทุกวันนี้
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดิน และมอบแผนที่อาณาเขตไว้ใต้ศิลาพระฤกษ์
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตั้งขึ้นตามพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- ก่อนเป็นอุเทนถวาย ก็เป็นโรงเรียนเพาะช่างสร้างขึ้นที่ตำบลข้างถนนตรีเพ็ชร แล้วจึงมาอยู่ที่ปัจจุบันในทุกวันนี้
- โรงเรียนเพาะช่างจัดการก่อสร้างขึ้นโดยกระทรวงธรรมการ
- ไม่มีหลักฐานในราชกิจจานุเบกษาว่าโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายสร้างขึ้น โดยใคร และเมื่อใด (แต่คาดเดาว่าสร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2456 - 2478)

- สถานเสาวภาจัดตั้งขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- กระทรวงธรรมการออกประกาศให้เก็บค่าเช่าในปี พ.ศ. 2476 ซึ่งก็สอดคล้องกับคำกล่าวที่ว่า"อุเทนถวายทำสัญญาเช่าที่กับจุฬาฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2478 - 2546"
- จุฬาฯ ได้พระราชบัญญัติในพื้นที่จำนวน 1,196 ไร่ 32 ตารางวา (น้อยลงกว่าในกระแสพระบรมราชโองการที่กำหนดให้ 1,309 ไร่)
- ที่ดินของสถานเสาวภาที่ได้รับพระราชทานตั้งอยู่ในพื้นที่กรรมสิทธิ์ของจุฬาฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตราพระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่สถานเสาวภา
11
530182_3277286117_DSCF7247-JPG_m.jpg
JD300
15 มีนาคม เวลา 10:41 น.

 

๑ อยากเรียนถามว่า ลำดับเวลาและข้อความเหล่านี้จริงเท็จประการได?? เพราะผมไม่ได้ตรวจสอบอย่างละเอียด

 

๒ ข้อความที่เน้นนั้นมีสองประเด็นคือ

 

๒.๑ มีการตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนในปี ๒๔๕๘ โดยกำหนดเขตที่ดินต่างๆเอาไว้ ปีถัดมาคือ ๒๔๕๙ ได้ยกฐานะเป็นจฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมสามารถสรุปได้หรือไม่ ว่าพื้นที่ของโรงเรียนข้าราชการพลเรือนนั้น ก็คือพื้นที่เดียวกันกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย??

 

๒.๒ ตามที่คุณ JD300 กล่าว เดิมนั้น อุเทนถวายเป็นวิทยาลัยเพาะช่าง อยู่ที่ถนนตรีเพชร แต่ไม่มีใครทราบว่าโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายนั้นสร้างขึ้นเมื่อได และมาอยู่ในพื้นที่ปัจจุบันได้อย่างไร?? และไม่มีหลักฐานไดๆ ในราชกิจจานุเบกษา เกี่ยวกับโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายเลย

 

ข้อความนี้ของคุณ JD300 นั้นจริงเท็จประการได้ครับ??

 

 

- 7 มกราคม พ.ศ. 2456 : โรงเรียนฝึกหัดการหัตถกรรม ซึ่งกระทรวงธรรมการได้จัดการก่อสร้างขึ้นในตำบลข้างถนนตรีเพ็ชร เมื่อโรงเรียนได้สร้างสำเร็จแล้ว กระทรวงธรรมการได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานนาม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า"โรงเรียนเพาะช่าง"

กำเนิดโรงเรียนเพาะช่าง อยู่ตรงถนนตรีเพชร จนถึงปัจจุบันครับ

 

- 3 มกราคม พ.ศ. 2458 : ประกาศกระแสพระบรมราชโองการบรรจุในศิลาพระฤกษ์โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ไว้เปนเขตร์โรงเรียน ทิศเหนือจดถนนสระปทุม ทิศใต้จดถนนหัวลำโพง ทิศตวันออกจดถนนสนามม้า ทิศตวันตกจดคลองสวนหลวง สิริรวมเปนเนื้อที่ ๑,๓๐๙ ไร่" และ"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จาฤกกระแสพระบรมราชโองการนี้ บรรจุไว้ในศิลาพระฤกษ์พร้อมด้วยแบบรูปโรงเรียนและแผนที่อาณาเขตร์โรงเรียน"

รบกวนดูที่ท้ายราชกิจจาฯ ฉบับนี้ หน้า 2568 ข้อ 2 ครับ ว่าพระราชทาน หรือ เช่า

http://www.ratchakit...2455/D/2566.PDF

 

- ไม่มีหลักฐานในราชกิจจานุเบกษาว่าโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายสร้างขึ้น โดยใคร และเมื่อใด (แต่คาดเดาว่าสร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2456 - 2478)

​ตอบด้วยรูปนะครับ

625457_482257465157338_819069220_n.jpg

 

 

อาจารย์เจษบอกว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ แต่ก็เอาข้อโต้แย้งของสำนักทรัพย์สินมาตัดแปะ ตลกดี

 

ส่วนเรื่องลำดับการจัดตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ อยู่ใน EP2 เขียนเสร็จแล้วขอเกลาอีกนิดนึงครับ


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#35 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 13:49

 

 

 

ขอสนับสนุนการต่อ สู้บนหลักกฏหมาย ครับ..  
 
 
ผมแปลกใจนิดนึงครับ ทำไมคำถามของท่าน ถึงเป็นคำถามที่ ทาง อุเทนสามารถตอบได้หมดเลย. 
เช่น เอกสารนี้เป็นการเช่าที่ดินแปลงใด, ทำไมเอกสารจึงออกในปี 2480 ....
 
ผมไม่แน่ใจว่าท่านมีคำตอบอยู่แล้ว แต่ เก็บไว้ก่อน  หรือท่านก็ไม่ทราบจริงๆ..  เพราะ หลายอย่าง 
ทาง อุเทนตอบได้ครับ เพราะ เป็นคนออกหนังสือ..
 
 
:D

 
คุณคิดว่าพวกเราชาวอุเทนถวาย ทราบหรือไม่ครับ  :)

 

 
ดูจาก กระบวนท่านนี้ งั้นผมต้อง เดาว่า ทราบแล้วละครับ
 
อย่าหาว่า คนนอกไม่เกี่ยว อย่ายุ่งเหมือนบางท่านเลย... แล้วไม่ทราบว่า
 
- ฏีกา .  ที่ถูกตอบ กลับมาว่าให้ทำตามมติ กยพ ได้ เคยใช้ หลักฐานนี้แย้งหรือยังครับ หรือ ว่า เป็น หลักฐานใหม่เพิ่งค้นพบ.. 
 
- ค่าเสียหาย ล้านกว่าต่อปี ทางอุเทนได้  จ่ายให้ จุฬาหรือยังครับ...    ถ้าจ่ายนี่ จบเลย...  
 
- จาก ราชกิจจาอันนี้ 
http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF
จุฬามีพื้นที่พระราชทาน  ครอบคลุมทั้ง block เลย..   ไม่ทราบว่า ทาง อุเทนจะแย้งยังไง... 
 
ตอบเท่าที่จะเปิดเผยได้ละกันนะครับ.. . 
 
:D

 
ผมรอให้ท่าน Reply กลับอย่างใจจดใจจ่อเลยครับ
 
อุเทนถวายมีข้อมูลอยู่ในมือพอสมควรครับ แต่เหตุผลที่ผมใช้การตั้งคำถาม แทนการนำเสนอข้อมูลตรงๆ เพราะอยากให้สังคมได้ฉุกคิดกันซักนิดว่า วันนี้คุณเลือกที่จะเชื่อข้อมูลที่คุณได้รับ เพราะอะไร?
 
- เชื่อจุฬาฯ เพราะจุฬาฯเป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่ง
- เชื่อจุฬาฯ เพราะจุฬาฯเป็นสถาบันที่มีเกียรติย์
- เชื่อจุฬาฯ เพราะอุเทน กุ๊ย เถื่อน อันธพาล
- เชื่อจุฬาฯ เพราะพิสูจน์แล้วว่าเป็นเรื่องจริง
- ฯลฯ
 
ลองถามตัวเองว่าคุณเคยตั้งคำถามกับข้อมูลที่คุณเสพแล้วหรือยัง (พูดรวมๆ นะครับ ไม่ได้เจาะจงบุคคล)
 
 
 
 
อย่าหาว่า คนนอกไม่เกี่ยว อย่ายุ่งเหมือนบางท่านเลย... แล้วไม่ทราบว่า
หามิได้ครับ ผมมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของคนไทยด้วยซ้ำครับ ต้นตอปัญหาของไทยส่วนหนึ่งมาจากการใช้ความรู้ การศึกษา เอาเปรียบผู้ที่ด้อยกว่า จริงๆ อยากให้ประชาชนทั่วไปมามีส่วนร่วมด้วยซ้ำครับ ซึ่งขณะนี้เรามีความร่วมมืออย่างเป็นทางการกับกลุ่มแนวร่วมนิสิตนักศึกษาคัดค้าน ม.นอกระบบ ซึ่งประกอบด้วย นักศึกษา,ศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,เกษตรศาสตร์,สถาบันราชภัฎ ต่างๆ ครับ
 
 
- ฏีกา .  ที่ถูกตอบ กลับมาว่าให้ทำตามมติ กยพ ได้ เคยใช้ หลักฐานนี้แย้งหรือยังครับ หรือ ว่า เป็น หลักฐานใหม่เพิ่งค้นพบ.. 
เรื่องนี้ผมทราบรายละเอียดว่า ฎีกาที่เคยทูลเกล้าฯ ทั้ง 2 ครั้ง ถูกตีกลับโดยสำนักราชเลขาฯ ยังไม่เคยมีพระบรมราชวินิจฉัยลงมาทั้ง 2 ครั้งครับ โดยให้ยืนตามคำตัดสินของ กยพ. (เรื่องนี้ผมยังไม่ขอพูดตอนนี้นะครับ เอาเป็นข้อมูลคร่าวๆ ไว้แค่นี้ก่อน พูดไปเดี๋ยวจะโดนหาว่าจินตนาการ)
 
 
- จาก ราชกิจจาอันนี้ 
http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF
จุฬามีพื้นที่พระราชทาน  ครอบคลุมทั้ง block เลย..   ไม่ทราบว่า ทาง อุเทนจะแย้งยังไง...

ผมขอตอบสั้นๆ ตอนนี้ก่อนว่า คุณหาคำว่า "พระราชทาน" เจอมั๊ยครับ ในราชกิจจาฯเป็นการกำหนดเขตการใช้ที่ดินบนที่ดินพระคลังข้างที่ครับ

 

กรณีที่เกี่ยวข้อง พระราชทานที่ดิน ก่อตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (คนละส่วนกับโรงเรียนมหาดเล็กที่ต่อมาเป็นจุฬาฯ นะครับ)

http://www.ratchakit...F/2454/D/15.PDF

 

กรณีที่เกี่ยวข้อง พระราชทานที่ดิน ก่อตั้งสถานเสาวภา

http://www.ratchakit...2465/D/2570.PDF

 

เรื่องรายละเอียดการกล่าวอ้างการพระราชทานที่ดิน คงได้มีโอกาสนำเสนอข้อมูลรายละเอียดในโอกาสหน้าครับ

 

ดีครับ ที่ไม่รังเกียจคนนอก..      งั้นผมเข้าส่วนที่ คนที่ได้รับข้อมูลปกติจะ สงสัยต่อนะครับ ... ท่านตอบตามที่เห็นสมควรเหมือนเดิม.. 

 

จาก  ราชกิจจาอันนี้ http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF  ที่ผมให้ไว้...   

หน้า 2564 บอกชัดครับว่า  เป็น 

 “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว”   ซึง ต่อมา เป็น จุฬา..     อันนี้น่าจะเข้าใจตรงกัน...  

 

คนละที่กับ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง  (ที่มีอยู่ก่อนแล้ว) แบบที่ท่านว่าถูกต้อง...

 

หน้า 2565 ก็บอกว่า 

"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ ไว้เป็นเขตร์โรงเรียน  ทิศเหนือจดถนน สระปทุม...   "

คำถามคือ  โรงเรียนอะไร...   ก็ต้อง “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว”    ซึง ต่อมา เป็น จุฬา..

 

ไม่มีคำว่า พระราชทานจริงครับ...   แต่ ความหมายของการ ให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ ไว้เป็นเขตร์โรงเรียน 

มันก็ไม่ต่าง ...  หรือป่าว..   

 

ไม่ทราบว่ามีราชกิจจา เรื่องที่ดินของ ทาง อุเทน หรือป่าวครับว่า ไปอยู่ตรงนั้นได้อย่างไร...   ผมคนนอกไม่ทราบจริงๆ

 

:D

รบกวนดูที่ราชกิจจาฯ ฉบับนี้ หน้า 2568 ข้อ 2 ครับ ว่าพระราชทาน หรือ เช่า

http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/D/2566.PDF


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#36 numkorat

numkorat

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,118 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 13:51

ผมจำไม่ได้ว่ากระทู้ไหนที่มีคนให้ link ของพันทิปเอาไว้ http://pantip.com/topic/30252097

 

ผมอ่านถึงแค่ที่คุณ JD300 ได้อธิบายเอาไว้ อยากให้คุณ Zilong ลองชี้แจงหน่อยนะครับ

 

 

ความคิดเห็นที่ 12

 
ประวัติศาสตร์ของพื้นที่นี้
------------------------

จาก http://pantip.com/to...19033/comment71

ในช่วงหลายที่ผ่านมา ทีมงานของเราได้ไปพยายามทดลองค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับกับการจุฬาฯ และอุเทนถวายในอดีต ตั้งแต่สมัยเริ่มก่อตั้งใหม่ๆ เลย ก็พบข้อมูลที่น่าสนใจหลายอย่าง จึงอยากนำมาแบ่งปันให้ทุกท่านได้ทราบกัน โดยจะเรียงลำดับเหตุการณ์ตามเส้นเวลาที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้สะดวกต่อการดูข้อมูลในอดีตที่เกิดขึ้น
- 6 เมษายน พ.ศ. 2445 : มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ประกาศตั้งโรงเรียนมหาดเล็กขึ้นในพระตำหนักสวนจิตรลดา
- 2 เมษายน พ.ศ. 2454 : พระราชทานที่ดินสวนดุสิตระหว่างถนนซางฮี้ ถนนตวงเดือนใน และคลองเปรมแระชากร ให้เป็นที่ตั้งโรงเรียนแห่งใหม่
- 1 มกราคม พ.ศ. 2453 : พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกโรงเรียนมหาดเล็กเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุล จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- 7 มกราคม พ.ศ. 2456 : โรงเรียนฝึกหัดการหัตถกรรม ซึ่งกระทรวงธรรมการได้จัดการก่อสร้างขึ้นในตำบลข้างถนนตรีเพ็ชร เมื่อโรงเรียนได้สร้างสำเร็จแล้ว กระทรวงธรรมการได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานนาม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า"โรงเรียนเพาะช่าง"
- 3 มกราคม พ.ศ. 2458 : ประกาศกระแสพระบรมราชโองการบรรจุในศิลาพระฤกษ์โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ไว้เปนเขตร์โรงเรียน ทิศเหนือจดถนนสระปทุม ทิศใต้จดถนนหัวลำโพง ทิศตวันออกจดถนนสนามม้า ทิศตวันตกจดคลองสวนหลวง สิริรวมเปนเนื้อที่ ๑,๓๐๙ ไร่" และ"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จาฤกกระแสพระบรมราชโองการนี้ บรรจุไว้ในศิลาพระฤกษ์พร้อมด้วยแบบรูปโรงเรียนและแผนที่อาณาเขตร์โรงเรียน"
- 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 : ประกาศประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโอนไปขึ้นอยู่ในกระทรวงธรรมการ
- 7 ธันวาคม พ.ศ. 2465 : เปิดสถานเสาวภา โดยพระราชทานที่ดินอันจดถนนพระราม ๑ ด้านหนึ่ง ถนนสนามม้าด้านหนึ่ง

- 15 เมษายน พ.ศ. 2476 : มีบัญชาจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ ออกประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเรื่องกำหนดชั้นที่ดิน (เริ่มอนุญาตให้เช่าพื้นที่บริเวณผ่อนผันของจุฬาฯ ได้เป็นบางตอน)
- 6 ตุลาคม พ.ศ. 2478 : นายจัง จรงจิตร์ ผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง ถามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ เรื่องรัฐบาลตั้งโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย เกี่ยวกับความไม่โปร่งใสต่างๆ ภายในโรงเรียน (เนื่องจากไม่สามารถหาราชกิจจานุเบกษาเกี่ยวกับการสร้างโรงเรียนช่างก่อ สร้างอุเทนถวายได้ ราชกิจจานุเบกษาที่อ้างถึงนี้เป็นเล่มแรกที่เกี่ยวกับโรงเรียนช่างก่อสร้าง อุเทนถวาย)
- 20 ตุลาคม พ.ศ. 2482 : พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตำบลปทุมวัน อำเภอปทุมวัน จังหวัดพระนคร ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย "๓ แปลง คือ แปลงที่ ๑ ทิศเหนือจดถนนพระรามที่ ๑ ทิศใต้จดถนนพระรามที่ ๔ ทิศตะวันออกจดคลองอรชร ทิศตะวันตกจดถนนพญาไท แปลงที่ ๒ ทิศเหนือจดถนนพระรามที่ ๑ ทิศใต้จดถนนพระรามที่ ๔ ทิศตะวันออกจดถนนพญาไท ทิศตะวันตกจดถนนพระรามที่ ๖ แปลงที่ ๓ ทิศเหนือจดถนนพระรามที่ ๑ ทิศใต้จดถนนพระรามที่ ๔ ทิศตะวันออกจดถนนพระรามที่ ๖ ทิศตะวันตกจดคลองสวนหลวง รวมเนื้อที่ประมาณ ๑๑๙๖ ไร่ ๓๒ ตารางวา"
- 24 ธันวาคม พ.ศ. 2522 : พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้แก่สภากาชาด ไทย (หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ ด้วยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทานที่ดินของพระคลัง ข้างที่สำหรับสร้างสถานเสาวภา แต่โดยที่พระราชบัญญัติโอนที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษตริย์ให้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๔๘๒ ได้รวมที่ดินของสถานเสาวภา เพื่อให้เป็นไปตามพระราชประสงค์จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น เพราะการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกล่าวจะกระทำได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ)

สรุปจากที่ได้อ่านและค้นคว้าราชกิจจานุเบกษามาหลายฉบับ ข้าพเจ้าก็สรุปได้ใจความของเนื้อหา(โดยส่วนตัว)ดังต่อไปนี้
- ก่อนเป็นจุฬาฯ ก็ย้ายมาจากสวนจิตรลดาและสวนดุสิต แล้วก็มาอยู่ที่ปัจจุบันในทุกวันนี้
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดิน และมอบแผนที่อาณาเขตไว้ใต้ศิลาพระฤกษ์
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตั้งขึ้นตามพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- ก่อนเป็นอุเทนถวาย ก็เป็นโรงเรียนเพาะช่างสร้างขึ้นที่ตำบลข้างถนนตรีเพ็ชร แล้วจึงมาอยู่ที่ปัจจุบันในทุกวันนี้
- โรงเรียนเพาะช่างจัดการก่อสร้างขึ้นโดยกระทรวงธรรมการ
- ไม่มีหลักฐานในราชกิจจานุเบกษาว่าโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายสร้างขึ้น โดยใคร และเมื่อใด (แต่คาดเดาว่าสร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2456 - 2478)

- สถานเสาวภาจัดตั้งขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- กระทรวงธรรมการออกประกาศให้เก็บค่าเช่าในปี พ.ศ. 2476 ซึ่งก็สอดคล้องกับคำกล่าวที่ว่า"อุเทนถวายทำสัญญาเช่าที่กับจุฬาฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2478 - 2546"
- จุฬาฯ ได้พระราชบัญญัติในพื้นที่จำนวน 1,196 ไร่ 32 ตารางวา (น้อยลงกว่าในกระแสพระบรมราชโองการที่กำหนดให้ 1,309 ไร่)
- ที่ดินของสถานเสาวภาที่ได้รับพระราชทานตั้งอยู่ในพื้นที่กรรมสิทธิ์ของจุฬาฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตราพระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่สถานเสาวภา
11
530182_3277286117_DSCF7247-JPG_m.jpg
JD300
15 มีนาคม เวลา 10:41 น.

 

๑ อยากเรียนถามว่า ลำดับเวลาและข้อความเหล่านี้จริงเท็จประการได?? เพราะผมไม่ได้ตรวจสอบอย่างละเอียด

 

๒ ข้อความที่เน้นนั้นมีสองประเด็นคือ

 

๒.๑ มีการตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนในปี ๒๔๕๘ โดยกำหนดเขตที่ดินต่างๆเอาไว้ ปีถัดมาคือ ๒๔๕๙ ได้ยกฐานะเป็นจฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมสามารถสรุปได้หรือไม่ ว่าพื้นที่ของโรงเรียนข้าราชการพลเรือนนั้น ก็คือพื้นที่เดียวกันกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย??

 

๒.๒ ตามที่คุณ JD300 กล่าว เดิมนั้น อุเทนถวายเป็นวิทยาลัยเพาะช่าง อยู่ที่ถนนตรีเพชร แต่ไม่มีใครทราบว่าโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายนั้นสร้างขึ้นเมื่อได และมาอยู่ในพื้นที่ปัจจุบันได้อย่างไร?? และไม่มีหลักฐานไดๆ ในราชกิจจานุเบกษา เกี่ยวกับโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายเลย

 

ข้อความนี้ของคุณ JD300 นั้นจริงเท็จประการได้ครับ??

 

 

- 7 มกราคม พ.ศ. 2456 : โรงเรียนฝึกหัดการหัตถกรรม ซึ่งกระทรวงธรรมการได้จัดการก่อสร้างขึ้นในตำบลข้างถนนตรีเพ็ชร เมื่อโรงเรียนได้สร้างสำเร็จแล้ว กระทรวงธรรมการได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานนาม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า"โรงเรียนเพาะช่าง"

กำเนิดโรงเรียนเพาะช่าง อยู่ตรงถนนตรีเพชร จนถึงปัจจุบันครับ

 

- 3 มกราคม พ.ศ. 2458 : ประกาศกระแสพระบรมราชโองการบรรจุในศิลาพระฤกษ์โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ไว้เปนเขตร์โรงเรียน ทิศเหนือจดถนนสระปทุม ทิศใต้จดถนนหัวลำโพง ทิศตวันออกจดถนนสนามม้า ทิศตวันตกจดคลองสวนหลวง สิริรวมเปนเนื้อที่ ๑,๓๐๙ ไร่" และ"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จาฤกกระแสพระบรมราชโองการนี้ บรรจุไว้ในศิลาพระฤกษ์พร้อมด้วยแบบรูปโรงเรียนและแผนที่อาณาเขตร์โรงเรียน"

รบกวนดูที่ท้ายราชกิจจาฯ ฉบับนี้ หน้า 2568 ข้อ 2 ครับ ว่าพระราชทาน หรือ เช่า

http://www.ratchakit...2455/D/2566.PDF

 

- ไม่มีหลักฐานในราชกิจจานุเบกษาว่าโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวายสร้างขึ้น โดยใคร และเมื่อใด (แต่คาดเดาว่าสร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2456 - 2478)

​ตอบด้วยรูปนะครับ

625457_482257465157338_819069220_n.jpg

 

 

อาจารย์เจษบอกว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ แต่ก็เอาข้อโต้แย้งของสำนักทรัพย์สินมาตัดแปะ ตลกดี

 

ส่วนเรื่องลำดับการจัดตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ อยู่ใน EP2 เขียนเสร็จแล้วขอเกลาอีกนิดนึงครับ

ในฐานะศิษย์เก่า เพาะช่าง ประวัติ อุเทนถวายมีอยู่ในหนังสือประวัติโรงเรียนเพาะช่าง ชัดเจนครับ.เคยอ่านเจอครับ.


ปริมาณมิได้บ่งบอก รอยหยักของ สมอง

#37 hentai

hentai

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,046 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 15:26

 

ดีครับ ที่ไม่รังเกียจคนนอก..      งั้นผมเข้าส่วนที่ คนที่ได้รับข้อมูลปกติจะ สงสัยต่อนะครับ ... ท่านตอบตามที่เห็นสมควรเหมือนเดิม.. 

 

จาก  ราชกิจจาอันนี้ http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF  ที่ผมให้ไว้...   

หน้า 2564 บอกชัดครับว่า  เป็น 

 “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว”   ซึง ต่อมา เป็น จุฬา..     อันนี้น่าจะเข้าใจตรงกัน...  

 

คนละที่กับ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง  (ที่มีอยู่ก่อนแล้ว) แบบที่ท่านว่าถูกต้อง...

 

หน้า 2565 ก็บอกว่า 

"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ ไว้เป็นเขตร์โรงเรียน  ทิศเหนือจดถนน สระปทุม...   "

คำถามคือ  โรงเรียนอะไร...   ก็ต้อง “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว”    ซึง ต่อมา เป็น จุฬา..

 

ไม่มีคำว่า พระราชทานจริงครับ...   แต่ ความหมายของการ ให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ ไว้เป็นเขตร์โรงเรียน 

มันก็ไม่ต่าง ...  หรือป่าว..   

 

ไม่ทราบว่ามีราชกิจจา เรื่องที่ดินของ ทาง อุเทน หรือป่าวครับว่า ไปอยู่ตรงนั้นได้อย่างไร...   ผมคนนอกไม่ทราบจริงๆ

 

:D

รบกวนดูที่ราชกิจจาฯ ฉบับนี้ หน้า 2568 ข้อ 2 ครับ ว่าพระราชทาน หรือ เช่า

http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/D/2566.PDF

 

โอ ความรู้ใหม่จริงๆครับ...  เช่าที่พระคลังข้างที่ไม่มีกำหนด...  

 

เผอิญได้อ่าน ความเห็น ของทางอุเทน จากที่อื่น มากขึ้น..   เริ่มเข้าใจประเด็นของทาง ท่านแล้ว...   ไม่ทราบประมาณนี้หรือป่าว... 

 

 

1.แต่เดิมที่ดินผืนนี้ได้ทรงทำพินัยกรรมมอบให้เป็นกองทุนเลี้ยงชีพบาทบริจาริกา โดยให้เช่าเพื่อใช้เป็นพื้นที่เพื่อการศึกษา ซึ่ง จุฬาฯก็
เป็นผู้เช่าที่ดินผืนนี้กับพระคลังข้างที่เช่นกัน
2.จุฬา "มาเช่าที่ "จากกระทรวงพระคลัง
3. อุเทน " เข้ามาอยู่โดยดำหริของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี" และ จ่ายค่าเช่าให้กระทรวงพระคลัง เช่นเดียวกัน ทั้งอุเทน และจุฬา //
ตอนนั้นจุฬาก็ไม่ได้เป็นเจ้าของที่ดินตรงนั้น //
4.จนเมื่อปี2479 พ.อ.หลวงพิบูลย์สงคราม(จอมพลป.)อธิการบดีจุฬาฯในขณะนั้น ได้ทำหนังสือขอให้คณะผู้สำเร็จราชการฯ(เพิ่ง
เปลี่ยนแปลงการปกครองใหม่ๆ) ยกที่ดินผืนนี้ให้กับจุฬาฯ พร้อมกับขอให้ยกหนี้สินค่าเช่าที่ดินที่จุฬาฯติดค้างอยู่กับพระคลังข้างที่ ให้
กับจุฬาฯ แต่ไม่สำเร็จ เนื่องจากคณะผู้สำเร็จราชการพิจารณาแล้วว่าที่ดินผืนนี้ ทรงพระราชทานให้เป็นที่ดินเลี้ยงชีพบาทบริจาริกา
5.จนกระทั่งปี 2482 อธิการบดีคนใหม่ได้ทำหนังสือขอที่ดินผืนนี้ไปยังคณะผู้สำเร็จราชการอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งขณะนั้นพ.อ.หลวงพิบูลย์
สงคราม(จอมพลป.อธิการบดีคนเก่าซึ่งเคยขอที่ไปแล้วแต่ไม่สำเร็จ)ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี จึงได้มีการเสนอร่างพ.ร.บ.โอนกรรมสิทธิ์
ที่ดินผืนนี้เมื่อ30ตุลาคม2482 เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนฯ แล้วส่งกรรมาธิการแปรญัตติภายใน 1 วัน
วันที่7ตุลาคม สภาผู้แทนฯพิจารณาร่างพ.ร.บ.นี้ในวาระที่2และ3 และเห็นควรให้ออกเป็นกฎหมายโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินได้ รวมระยะ
เวลาที่ใช้ในการพิจารณาโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินของพระมหากษัตริย์ซึ่งได้ทำพินัยกรรมมอบเป็นทุนเลี้ยงชีพแก่บาทบริจาริกา ให้กลาย
เป็นของจุฬาฯเพียง 5 วันเท่านั้น
6.ต่อมาจอมพล ป ซึ่งเป็น อดีตอธิการจุฬา ก็ยึดเอาที่ดินทั้งหมดตรงนั้นให้กับจุฬา และยังให้กระทรวงพระคลังยกหนี้ให้
กับจุฬาด้วย ที่ดินตรงนั้นสมัยนั้นก็ปักเขตกันไม่ชัดเจน แต่ไป ๆ มา ๆ ที่ดินที่อุเทนถวายก็ถูกเหมารวมเข้าไปอยู่ตรง
นั้นด้วย
ทางอุเทนถวายได้ทำเรื่องขอความเป็นธรรมแล้ว แต่เนื่องจากเสียงน้อย ไม่ไม่เคยมีอธิการเป็นนายกรัฐมนตรี จึงตก
อยู่ในภาวะจำยอม แต่จุฬาได้เคยทำบันทึกข้อตกลงว่า จะให้อุเทนใช้ที่ตรงนี้ได้ไม่กำหนดระยะเวลา ถ้าเป็นการใช้
เพื่อการศึกษา เรื่องถึงได้จบ
แต่ในที่สุดจุฬาได้ฉีกข้อตกลงนี้ทิ้ง และคู่ฉบับที่อุเทนก็ถูกขโมย (เขาว่าจากการสมรู้ร่วมคิดของคนบางคน) จากนั้น
จุฬาก็เก็บค่าเช่าจากอุเทนปีละแสนกว่า ๆ และต่อมาก็ต่อสัญญาแบบปีต่อปี ค่าเช่าก็เก็บมากขึ้น ล่าสุดไม่ยอมให้ต่อ
สัญญา
7.จุฬาได้ที่ดินด้วยอำนาจอะไรก็แล้วแต่ แล้วก็ เหมาร่วมถึง ที่ดิน ที่ตั้งของอุเทนด้วย
แล้ว ที่บอกพัฒนา พื้นที่เพื่อการศึกษา --- ล่าสุดตอนนี้ มีคอนโดให้เช่า อายุ 30 ปีแล้วครับ
แล้วอีกไม่นานก็จะมี ศูนย์การค้า คล้ายๆ ลา วิลล่า (La Villa) ตรง จุฬาซอย 22 แล้วครับ mk Mc KFc , ฯลฯ
มีแน่นอน เพื่อการศึกษา ทั้งนั้น

http://www.skyscrape...=1600469&page=4

 

ความลำบากคือ...  ทางโน้นเค้ามี พรบ พ.ร.บ.โอนกรรมสิทธิ์ ที่ดินผืนนี้เมื่อ 30ตุลาคม2482   ที่ อ บางคนถึงคิดจะเปลี่ยนชื่อมหาลัยเพื่อเป็น การขอบคุณ... 

ถ้า จะงัดกับ พรบ นี้  ตามกฏหมาย แทบเป็นไปไม่ได้เลยครับ...        

แล้ว ผลของ ฏีกา สองครั้ง  ก็ยัง ยืนตาม  กยพ  ...  

โอกาศเดียวคือ บันมึกข้อตกลง ที่ว่าจะให้เช่าเพื่อการศึกษา  ถ้ามี...  

 

 

ผมหมดประเด็นแล้ว ขอบคุณที่ช่วยอธิบาย ผมเข้าใจทางอุเทนมากขึ้นกว่าก่อนเยอะครับ.. 

(มิน่า อธิการบดี จุฬา ก็ยังบอกเห็นใจ... )

 

แต่ต้องเข้าใจว่า สิ่งที่ถูกต้องและควรจะเป็น กับ สิ่งที่ถูกตามกฏหมาย บางทีเป็นคนละสิ่ง..

ไม่เชื่อ ถาม พระพยอมได้...  

เอาใจช่วยครับ..

 

:D

 


"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"

"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"

"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"


#38 ไอโอดีนแมน

ไอโอดีนแมน

    มันเป็นศาสตร์ของความฮา!

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,014 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 16:05

มู้นี้ตามเชียร์ Hentai ครับ

 

เหตุผลไม่ต้องถาม ... ผม"อำมาตย์" ครับ

 

:P  :P  :P


"If you tell the truth, you don’t have to remember anything."

#39 Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

Zǐlóng สุภาพบุรุษเสียงสาน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 520 posts

ตอบ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 16:22

 

 

ดีครับ ที่ไม่รังเกียจคนนอก..      งั้นผมเข้าส่วนที่ คนที่ได้รับข้อมูลปกติจะ สงสัยต่อนะครับ ... ท่านตอบตามที่เห็นสมควรเหมือนเดิม.. 

 

จาก  ราชกิจจาอันนี้ http://www.ratchakit...2458/D/2562.PDF  ที่ผมให้ไว้...   

หน้า 2564 บอกชัดครับว่า  เป็น 

 “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว”   ซึง ต่อมา เป็น จุฬา..     อันนี้น่าจะเข้าใจตรงกัน...  

 

คนละที่กับ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง  (ที่มีอยู่ก่อนแล้ว) แบบที่ท่านว่าถูกต้อง...

 

หน้า 2565 ก็บอกว่า 

"ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ ไว้เป็นเขตร์โรงเรียน  ทิศเหนือจดถนน สระปทุม...   "

คำถามคือ  โรงเรียนอะไร...   ก็ต้อง “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว”    ซึง ต่อมา เป็น จุฬา..

 

ไม่มีคำว่า พระราชทานจริงครับ...   แต่ ความหมายของการ ให้กำหนดที่ดินพระคลังข้างที่ ไว้เป็นเขตร์โรงเรียน 

มันก็ไม่ต่าง ...  หรือป่าว..   

 

ไม่ทราบว่ามีราชกิจจา เรื่องที่ดินของ ทาง อุเทน หรือป่าวครับว่า ไปอยู่ตรงนั้นได้อย่างไร...   ผมคนนอกไม่ทราบจริงๆ

 

:D

รบกวนดูที่ราชกิจจาฯ ฉบับนี้ หน้า 2568 ข้อ 2 ครับ ว่าพระราชทาน หรือ เช่า

http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/D/2566.PDF

 

โอ ความรู้ใหม่จริงๆครับ...  เช่าที่พระคลังข้างที่ไม่มีกำหนด...  

 

เผอิญได้อ่าน ความเห็น ของทางอุเทน จากที่อื่น มากขึ้น..   เริ่มเข้าใจประเด็นของทาง ท่านแล้ว...   ไม่ทราบประมาณนี้หรือป่าว... 

 

 

1.แต่เดิมที่ดินผืนนี้ได้ทรงทำพินัยกรรมมอบให้เป็นกองทุนเลี้ยงชีพบาทบริจาริกา โดยให้เช่าเพื่อใช้เป็นพื้นที่เพื่อการศึกษา ซึ่ง จุฬาฯก็
เป็นผู้เช่าที่ดินผืนนี้กับพระคลังข้างที่เช่นกัน
2.จุฬา "มาเช่าที่ "จากกระทรวงพระคลัง
3. อุเทน " เข้ามาอยู่โดยดำหริของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี" และ จ่ายค่าเช่าให้กระทรวงพระคลัง เช่นเดียวกัน ทั้งอุเทน และจุฬา //
ตอนนั้นจุฬาก็ไม่ได้เป็นเจ้าของที่ดินตรงนั้น //
4.จนเมื่อปี2479 พ.อ.หลวงพิบูลย์สงคราม(จอมพลป.)อธิการบดีจุฬาฯในขณะนั้น ได้ทำหนังสือขอให้คณะผู้สำเร็จราชการฯ(เพิ่ง
เปลี่ยนแปลงการปกครองใหม่ๆ) ยกที่ดินผืนนี้ให้กับจุฬาฯ พร้อมกับขอให้ยกหนี้สินค่าเช่าที่ดินที่จุฬาฯติดค้างอยู่กับพระคลังข้างที่ ให้
กับจุฬาฯ แต่ไม่สำเร็จ เนื่องจากคณะผู้สำเร็จราชการพิจารณาแล้วว่าที่ดินผืนนี้ ทรงพระราชทานให้เป็นที่ดินเลี้ยงชีพบาทบริจาริกา
5.จนกระทั่งปี 2482 อธิการบดีคนใหม่ได้ทำหนังสือขอที่ดินผืนนี้ไปยังคณะผู้สำเร็จราชการอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งขณะนั้นพ.อ.หลวงพิบูลย์
สงคราม(จอมพลป.อธิการบดีคนเก่าซึ่งเคยขอที่ไปแล้วแต่ไม่สำเร็จ)ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี จึงได้มีการเสนอร่างพ.ร.บ.โอนกรรมสิทธิ์
ที่ดินผืนนี้เมื่อ30ตุลาคม2482 เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนฯ แล้วส่งกรรมาธิการแปรญัตติภายใน 1 วัน
วันที่7ตุลาคม สภาผู้แทนฯพิจารณาร่างพ.ร.บ.นี้ในวาระที่2และ3 และเห็นควรให้ออกเป็นกฎหมายโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินได้ รวมระยะ
เวลาที่ใช้ในการพิจารณาโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินของพระมหากษัตริย์ซึ่งได้ทำพินัยกรรมมอบเป็นทุนเลี้ยงชีพแก่บาทบริจาริกา ให้กลาย
เป็นของจุฬาฯเพียง 5 วันเท่านั้น
6.ต่อมาจอมพล ป ซึ่งเป็น อดีตอธิการจุฬา ก็ยึดเอาที่ดินทั้งหมดตรงนั้นให้กับจุฬา และยังให้กระทรวงพระคลังยกหนี้ให้
กับจุฬาด้วย ที่ดินตรงนั้นสมัยนั้นก็ปักเขตกันไม่ชัดเจน แต่ไป ๆ มา ๆ ที่ดินที่อุเทนถวายก็ถูกเหมารวมเข้าไปอยู่ตรง
นั้นด้วย
ทางอุเทนถวายได้ทำเรื่องขอความเป็นธรรมแล้ว แต่เนื่องจากเสียงน้อย ไม่ไม่เคยมีอธิการเป็นนายกรัฐมนตรี จึงตก
อยู่ในภาวะจำยอม แต่จุฬาได้เคยทำบันทึกข้อตกลงว่า จะให้อุเทนใช้ที่ตรงนี้ได้ไม่กำหนดระยะเวลา ถ้าเป็นการใช้
เพื่อการศึกษา เรื่องถึงได้จบ
แต่ในที่สุดจุฬาได้ฉีกข้อตกลงนี้ทิ้ง และคู่ฉบับที่อุเทนก็ถูกขโมย (เขาว่าจากการสมรู้ร่วมคิดของคนบางคน) จากนั้น
จุฬาก็เก็บค่าเช่าจากอุเทนปีละแสนกว่า ๆ และต่อมาก็ต่อสัญญาแบบปีต่อปี ค่าเช่าก็เก็บมากขึ้น ล่าสุดไม่ยอมให้ต่อ
สัญญา
7.จุฬาได้ที่ดินด้วยอำนาจอะไรก็แล้วแต่ แล้วก็ เหมาร่วมถึง ที่ดิน ที่ตั้งของอุเทนด้วย
แล้ว ที่บอกพัฒนา พื้นที่เพื่อการศึกษา --- ล่าสุดตอนนี้ มีคอนโดให้เช่า อายุ 30 ปีแล้วครับ
แล้วอีกไม่นานก็จะมี ศูนย์การค้า คล้ายๆ ลา วิลล่า (La Villa) ตรง จุฬาซอย 22 แล้วครับ mk Mc KFc , ฯลฯ
มีแน่นอน เพื่อการศึกษา ทั้งนั้น

http://www.skyscrape...=1600469&page=4

 

ความลำบากคือ...  ทางโน้นเค้ามี พรบ พ.ร.บ.โอนกรรมสิทธิ์ ที่ดินผืนนี้เมื่อ 30ตุลาคม2482   ที่ อ บางคนถึงคิดจะเปลี่ยนชื่อมหาลัยเพื่อเป็น การขอบคุณ... 

ถ้า จะงัดกับ พรบ นี้  ตามกฏหมาย แทบเป็นไปไม่ได้เลยครับ...        

แล้ว ผลของ ฏีกา สองครั้ง  ก็ยัง ยืนตาม  กยพ  ...  

โอกาศเดียวคือ บันมึกข้อตกลง ที่ว่าจะให้เช่าเพื่อการศึกษา  ถ้ามี...  

 

 

ผมหมดประเด็นแล้ว ขอบคุณที่ช่วยอธิบาย ผมเข้าใจทางอุเทนมากขึ้นกว่าก่อนเยอะครับ.. 

(มิน่า อธิการบดี จุฬา ก็ยังบอกเห็นใจ... )

 

แต่ต้องเข้าใจว่า สิ่งที่ถูกต้องและควรจะเป็น กับ สิ่งที่ถูกตามกฏหมาย บางทีเป็นคนละสิ่ง..

ไม่เชื่อ ถาม พระพยอมได้...  

เอาใจช่วยครับ..

 

:D

 

 

 

ดีใจที่มีคนเข้าใจพวกเราเพิ่มขึ้นครับ ส่วนเรื่องพรบ. นั้นถ้าผมเข้าใจไม่ผิดสามารถแก้ไขได้โดยพระราชกฤษฎีกา (ผิดถูกประการใดขอผู้รู้ช่วยให้ความรู้ด้วยนะครับ)

 

หลังจากนี้คงต้องว่ากันด้วยที่มาของพรบ.โอนกรรมสิทธ์นี้ มาโดยชอบธรรมหรือไม่ดังที่ผมเคยโพสไว้ครับ โดยพิจารณาประกอบกับประวัติศาสตร์ช่วงหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตามลิงก์นี้ครับ

 

http://webboard.seri...e-2#entry643912

 

ส่วนผลปลายทางที่ผมมองในฐานะศิษย์เก่าไม่ใช่ความเห็นของคณะทำงานนะครับ

1. กรรมสิทธ์ที่ดินยังคงเป็นของจุฬาฯ แต่ทำหนังสือเป็นลายลักษณ์อักษรว่าให้เช่าโดยไม่มีกำหนดตราบใดที่ใช้พื้นที่นี้เพื่อการศึกษา และกำหนดอัตราเช่าให้ชัดเจน (เป็นต่ำสุดที่ผมรับได้ แต่ถ้าออกมาแบบนี้เกรงว่าอนาคตจุฬาฯจะลุกขึ้นทำแบบในตอนนี้อีก)

2. ตราพรบ.โอนที่ดินให้แก่อุเทนถวาย ดังที่สถานเสาวภาเคยต่อสู้ เพื่อให้อุเทนถวายบริหารพื้นที่ตรงนี้อย่างไม่ต้องหวาดระแวง (เป็นสิ่งที่พวกเราอุเทนถวายอยากให้เป็นมากที่สุด กรณีศึกษาสถานเสาวภาเคยต่อสู้เรื่องนี้มาแล้ว เนื้องจากพรบ.โอนที่ดินจุฬาฯ ครอบคลุมพื้นที่พระราชทานของสถานเสาวภาด้วยเช่นกัน)

3. ขอสงวนไม่ ไม่พูดถึงนะครับ


"จนยากแต่มิใช่เห็นเงินทองก็ตาลุก ชาวเสียงสานต้องการดื่มเกียรติ"

งานเสวนาวิชาการ "เหลียวหลัง แลหน้าสู่ 1 ศตวรรษโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย คุณค่าที่ควรอยู่"

#40 lagrangian

lagrangian

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 229 posts

ตอบ 20 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 01:34

รัชกาลที่ 6 ไม่เคยพระราชทานที่ดินให้กับ โรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ แต่เป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ เช่าที่จากพระคลังข้างที่
ตามลิงค์นะครับ
หัวข้อความคิดจัดการโรงเรียนข้าราชการพลเรือน  อันนี้ปี 2455
คำกราบบังคมทูลของนายกสภากรรมการ  ส่วนอันนี้ปี 2458

ขอแก้ไขคำผิดนะครับ

รัชกาลที่ 6 ไม่เคยพระราชทานที่ดินให้กับ โรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ แต่เป็นกระทรวงธรรมการ(หรือส่วนราชการที่เป็นนิติบุคคลภายใต้กระทรวงธรรมการ) เช่าที่จากพระคลังข้างที่



#41 lagrangian

lagrangian

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 229 posts

ตอบ 20 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 02:25

ขอนำเสนอประกาศต่าง ๆ ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตามลำดับเหตุการณ์ดังนี้นะครับ
 
ประกาศจัดตั้งสภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยาม  (ร.ศ. ๑๑๒)
มีผลทำให้สภาอุณาโลมแดง(สภากาชาดไทยในปัจจุบัน) มีสถานะเป็นนิติบุคคล
 
คำกราบบังคมทูลในการเปิดสถานเสาวภาภายใต้สภากาชาดไทย (พ.ศ. ๒๔๖๕)
มีการพระราชทานที่ดินให้กับสถานเสาวภา
 
พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๔๗๗
ตามมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัตินี้ทำให้จุฬาลงกรณ์มีสถานะเป็นนิติบุคคล
 
พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ. ๒๔๗๙
มีผลทำให้ที่ดินต.ปทุมวัน เป็นของสำนักงานทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ภายใต้กระทรวงการคลัง
 
พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตำบลปทุมวัน อำเภอปทุมวัน จังหวัดพระนคร ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๔๘๒
มีผลทำให้ที่ดินต.ปทุมวัน(รวมทั้งที่ดินของสถานเสาวภาภายใต้สภากาชาดไทย) เป็นของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินของจุฬาลงกรณ์ให้แก่สภากาชาดไทย พ.ศ. ๒๕๒๒
มีผลทำให้ที่ดินของจุฬาฯส่วนที่ตั้งของสถานเสาวภาเป็นของสภากาชาดไทย
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
ตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัตินี้ มีผลทำให้อุเทนถวายมีสถานะเป็นนิติบุคคล
 
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘

ตามมาตรา ๕ และมาตรา ๖๕ แห่งพระราชบัญญัตินี้ ทำให้อุเทนถวายสิ้นสถานะนิติบุคคล

 

หมายเหตุ  ประเทศไทยมีการเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ในปี พ.ศ. ๒๔๘๔  



#42 คนบ้านนอก

คนบ้านนอก

    ร้านเก่า เจ้าเดิม

  • Members
  • PipPipPip
  • 568 posts

ตอบ 20 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 10:18

เด็ก กศน  ตามมาดู ครับ :)


อยากให้เมืองไทย เป็นเหมือนเดิม 





ผู้ใช้ 0 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน