การหา อัตราส่วนเปรียบเทียบ ดอกเบี้ย
จะทำเป็น ลักษณะ อนุกรม ( series )
คือจะเริ่ม ต้นที่ k = 1 ไปจนถึง k = N
แล้วคำนวณ ตามสูตร ตัวตั้งคือ redemption x (rate/frequency)
เหมือนกัน ทุกครั้ง
แต่เปลี่ยนตัวหาร (denominator) โดยเปลี่ยนค่า k ไปทุกครั้ง
คือ [ 1 + (yeild/frequency) ] ^ [ (k-1) + (dsc/e) ]
ในครั้งแรก ๆ ที่จำนวน k ยังน้อยอยู่ อัตราผลตอบแทน
ที่ควรได้รับ เมื่อเทียบกับ ผลตอบแทนตาม อัตราหน้าตั๋วจริง
[redemption x (rate/frequency) ] / [ 1 + (yeild/frequency) ] ^ [ (k-1) + (dsc/e) ]
จะใกล้เคียงกัน เพราะจำนวนครั้งที่ยกกำลัง จะยังน้อยอยู่
พูดง่าย ๆ คือ ค่า pv ใกล้เคียงค่า fv
เพราะช่วงเวลาคำนวณ ดอกเบี้ย ยังน้อย
แต่ ถ้า ค่า k มากขึ้น ซึ่งเท่ากับ จำนวนช่วงเวลา มากขึ้น
ค่า pv จะยิ่งน้อยลงเรื่อย ๆ เมื่อเทียบกับ fv
เพราะอัตรายกกำลัง สูงขึ้น ตามจำนวนครั้งของ period
หลังจาก ได้ค่า pv ทั้งหมด N ครั้งแล้ว (ยอดที่ได้ ไม่เท่ากัน
จะค่อย ๆ ลดลงเรื่อย ๆ )
ก็นำผลรวม ของ series ดังกล่าว
มาเป็น pv รวม ของ ดอกเบี้ย ที่ได้รับ N ครั้ง
ขั้นตอนที่สาม
จะต้องมีการ คำนวณ ส่วนลด
เพราะเนื่องจาก ดอกเบี้ย ที่ได้ ในครั้งสุดท้าย
จะได้ไม่เต็ม period เพราะ จำนวนวัน ไม่เต็ม 182.5
ก็ต้อง ไปใช้ ค่า A คือ จำนวนวัน ที่การคำนวณ
ผลตอบแทน หน้าตั๋ว ไปไม่ถึง
ที่ต้องคำนวณ ส่่วนลดนี้ เนื่องจาก
ตอนเรา คำนวณ series ของดอกเบี้ยหน้าตั๋ว นั้น
เรา ใช้ ดอกเบี้ยหน้าตั๋ว คูณ ระยะเวลาใน period
ที่เต็มทุกครั้ง เป็นจำนวน N ครั้ง
แต่ความเป็นจริง ครั้งสุดท้าย จะไม่เต็ม period
ดังนั้น ต้องคิดส่วนลด ตรงนี้
โดย สูตร redemption x ( rate/frequency ) x A/E
ก็เป็นการคำนวณ ดอกเบี้ยจากหน้าตั๋ว
ที่เราจะถูกตัดออกไป ด้วยระยะเวลา ที่เกินจาก
maturity date ไปจนถึง settlement date (อีกรอบ)
พอเรา คำนวณ 3 ขั้นตอน สำเร็จ
ก็เอา ขั้นตอนแรก + ขั้นตอน ที่สอง - ขั้นตอนที่สาม
จึงเป็นสูตร
ขอให้พวกเรา ชาวหลากสี และพันธมิตร จงมีชีวิตรอด จากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ฝีมือปูนา ไปตลอดรอดฝั่งด้วยครับ
PEMDAS ย่อมาจาก ลำดับการคำนวณ Parentheses , Exponentials , Multiply , Divide , Add , Subtract
FWGHSO ย่อมาจาก ลำดับการประเมินผลของ query FROM, WHERE, GROUP BY, HAVING, SELECT, ORDER BY