Jump to content


Photo
- - - - -

พี่บัญชีของผมบอกว่า "คิดถึงหลักความเป็นจริง อีกไม่นานประเทศไทยเราจะกลายเป็นแบบกรีซ"


  • Please log in to reply
125 ความเห็นในกระทู้นี้

#51 พระฤๅษี

พระฤๅษี

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,127 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 12:23

>>> มันก็อาจจะ เป็นไปได้นะ ผึ้งน้อยฯ

ผมก็ฟังมา หลาย ๆ เสียงแล้ว... มันคง

น่าจะย่อยยับ.เรื่องนี้ กังวลบ้างเหมือนกัน

เพราะมีแนวโน้มว่าอย่างนั้น.......



#52 gass

gass

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,239 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 12:24

Let it be~~~  :lol:



#53 ปังตอ

ปังตอ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,229 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 12:32

<_< ....


ลูกหลานที่รัก จงจำปฏิปทานี้ไว้ “ถ้ามีความจำเป็นเราต้องเสียสละเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และปวงชนชาวไทย แม้แต่ชีวิตก็ต้องยอม”

 


#54 koong

koong

    ใช้ชีวิตกลางดงแดง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,147 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 12:34

:lol: 

:mellow: 


เงิน 2000 ที่แจก มาจากคนทำงานที่เสียประกันสังคมไม่ใช่เหรอ เงินเดือนต้องไม่เกิน 15000

รายละเอียดปลีกย่อยแยะแยะ จน(ตูอด) ต้องยื่นเอกสาร ต้องมีการเซ็นรับรอง



 



#55 คนไทย916

คนไทย916

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,396 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 12:42

ปู 8 ปี ไม่ใช่หรอคะ

นี่ยังไม่ได้แถลงผลงานเลย จะรีบเจ๊งไปไหน คิคิ

 

ยังไงรากหญ้าฐานเสียงก็ตายก่อน ถ้าไม่เอาภาษีของทุกคนไปอุ้มอ่ะน๊า :angry:

เลือกตั้ง รอบหน้าผม จะัเลือก เพื่อไทย ครับ ทั้ง พรรค และ สส

ให้เขาได้เป้น รบ เหมือนเดิม

อย่าไปตกหลุมเลือก ปชป. เพื่อให้มาหาเงิน เก็บแล้ว เพื่อไทยมาใช้ เช่น

ชวนหา ไปทักษิณ มา ใช้

มาคหา ไป ปูมา ใช้


เราตระกูลชินจัง ขอยก ฐานะ เสื้อแดง จาก ไพร่ เป็น ควายแดง ณ.บัดนี้  

    ถึงแม้ พ่อแม่ เองจะให้ฐานะความเป็น คน มาแต่กำเนิดก็ตาม 


#56 annykun

annykun

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,567 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 13:03

 

ขอยกเหตุการณ์ง่ายๆ มาเป็นตัวอย่างนะครับ

 

สมมติว่าผมเปิดบริษัทขายปูเค็มนะครับ  ผมซื้อของมาจากเกษตรกรในราคากิโลละ 150 บาท  ซื้อมา 20 กิโล

แต่ทีนี้พอผมเอามาขาย  ผมขายได้แค่ 10 กิโล  ในราคาโละ 80 บาท

 

สรุปคือผมลงทุนไป 150 x 20 = 3,000 บาท

แต่ขายของได้ 10 x 80 = 800 บาท

 

เงินหายไป 2,200 บาท  ส่วนปูเค็มผมก็อยู่ในโกดังหลังร้าน  ซึ่งเก็บไว้ได้ไม่นานเพราะเดี๋ยวมันก็จะเน่า

ทีนี้เงินไหลออกคราวละ 2,200 บาทไปเรื่อยๆ  พอทุนผมหมด  ผมก็เจ๊งก็ต้องปิดบริษัท  ล้มละลาย....

 

เรื่องราวก็ประมาณนี้แหละครับ

 

ป.ล. เหตุการณ์ทั้งหมดเป็นเหตุการณ์สมมตินะครับ  :lol:  :lol:  :lol:

 

พ่อค้าปูเค็มกับรัฐบาลไม่เหมือนกันครับ

รายได้หลักของพ่อค้าปูเค็มคือกำไรจากการขายปูเค็ม แต่รายได้หลักของรัฐบาลไม่ใช่มาจากกำไรจากการขายข้าวครับ

แต่มาจากภาษีที่เก็บจากระบบเศรษฐกิจที่มีการเคลื่อนไหว จากเงิน 15,000 ที่ลงไปยังชาวนา หมุนเวียนขึ้นมากระจายไปทุกภาคส่วน มีการใช้จ่ายหมุนเวียนกลับไปกลับมาหลายรอบ แต่ละรอบที่มีการจับจ่ายก็กลับมาเป็นรายได้ของรัฐบาลในรูปภาษี

 

การขาดทุนในการอุดหนุนชาวนาของรัฐคือเงินส่วนที่เป็นการลงทุนครับ รัฐบาลลงทุนเพื่อหวังผลกำไรกลับมาในรูปภาษี รัฐบาลลงทุนลงไปแล้วมีหน้าที่ต้องทำให้เงินที่ลงไปสามารถหมุนเวียนไปยังทุกส่วนได้โดยไม่ติดขัด และหมุนได้หลายรอบยิ่งดี

 

เจ้าของกระทู้ควรเปลี่ยนบริษัททำบัญชีได้แล้วครับ

 

 

ผมล่ะสงสัยจริงๆ  เงินมันจะลอยมาจากไหน?  เงินอยู่ๆมันเพิ่มมากจากอากาศได้หรอครับ  หากไม่ดึงความมั่ง

คั่งมาจากนอกประเทศ  เงินมันจะเพิ่มมาจากไหนครับ  มันหมุนเวียนภายใน  มันก็แค่ย้ายที่  แต่มันไม่ได้เพิ่มขึ้นนะครับ

 

เศรษฐหมุนเวียนภายใน  อาจทำให้ระบบเศรษฐกิจดำเนินไปได้ก็จริง  แต่มันไม่ได้ทำให้เรารวยขึ้นนะครับ  มันแค่ทำให้เราอยู่ได้ต่างหาก 

จะอยู่ได้ก็ต้องมีระบบที่เอื้อ  ให้อยู่ได้ด้วย  แต่ประเทศไทยเราอยู่ได้  ด้วยตัวเองแล้วหรอ?  เท่าที่เห็นยัง  และยังต้องพึ่งพาส่งออก  ต้องดึงเงินจากต่างประเทศเข้ามาอยู่เลย   

ยังมีเงื่อนไขอยู่อีกตรงที่  ต้องไม่มีรู่รั่ว  ไม่งั้น  ความมั่งคั่งจะไหลออกไปสู่ภายนอก  แน่นอนความมั่งคั่งภายในย่อมลดลง  หมายถึงเศรษฐกิจที่แย่ลงด้วย

แต่เท่าที่ผมเห็น  รูรั่วบานเบอะ  โดยเฉพาะการทุจริตคอรัปชั่นที่เป็นสาเหตุอันหนึ่ง

 

300  ทำให้คนชั้นล่างมีเงินมากขึ้น  จ่ายภาษีมากขึ่้น  แต่เจ้าของกิจการมีกำไรยน้อยลงเขาก็จ่ายภาษีน้อยลงเช่นกัน

รถคันแรก  รัฐได้ภาษีเพิ่มขึ้นในตอนแรก  แต่ชนชั้นกลางที่ซื้อรถ  ต่อๆมาก็ใช้จ่ายน้อยลง  เพื่อผ่อนรถ  รัฐก็ได้ภาษีลดลง

จำนำข้าว  รัฐได้ภาษีจากชนชั้นล่าง  แต่ขาดทุนบานเบอะ  เพราะขายข้าวไม่ได้

 

ประเด็นคือ  สิ่งที่รัฐได้จากภาษีที่เพิ่มขึ้น  คุ้มกับเงินที่รัฐจ่ายออกไปหรือไม่?  หากเงินที่รัฐจ่ายออกไป > ภาษีที่เก็บคืนได้  นั่นคือเจ๊ง

จาก รูรั่วต่างๆนาๆ  ทั้งการทุจริตคอรัปชั่น  การนำเข้าการขาดดุลการค้า  เงินที่หายไปจากระบบเพราะชาวบ้านไปใช้จ่าย

กับ  เรื่องที่อยู่นอกระบบภาษี เช่น  หวยใต้ดิน+เงินกู้นอกระบบ การบริโภคสินค้าบางอย่างที่ไม่จัดเก็บภาษีฯลฯ 

 

ประชานิยม  ถ้าจะให้ดี  ชนชั้นล่างที่ได้เงินไปต้องหาทางบริหารให้เขาสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ประเทศให้ได้  ลดผลกระทบกับชนชั้นอื่นๆ

ให้มากที่สุด  อุดรูรั่วทุกอย่างให้มากที่สุด  ......  ไม่ใช่  แค่แจกเงิน  แล้วอยู่เฉยๆ  ฝันละเมอไปเองว่า  ทุกอย่างจะดีขึ้นเอง :blink:  

 

ปล.  คุณอาจเถียงว่ารัฐบาลที่รักของคุณกำลังทำงานอยู่  ผมจะยอมเชื่อก็ได้  แต่ยิ่งแจกมากเท่าไหร่  รัฐยิ่งต้องทำงานหนัก

เพิ่มเพื่อมูลค่าให้ประเทศชาติมากขึ้นเท่านั้น  แต่ในเมื่อคุณ  แจก  มากเกินตัวไปแล้ว   ปัญหาที่ตามๆมา  ทั้งหลายเหล่

อยาก  ถามว่า...... จะไหวเร้อ?   <_<  


คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม  คือ   ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง

คุณธรรมที่พร้ำสอน  ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา   ส่วน  ประชาธิปไตยน่ะรึ  เอาเข้าจริงๆ  สำคัญอันใด?? 

 


#57 ต้นหอม

ต้นหอม

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,472 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 13:08

 

ซื้อมาราคาแพงเกินจริงเยอะแสดงว่าคิดจะเก็งกำไรค่ะ แต่ทำไมถือสินค้าไว้นานเกินมันจะกินต้นทุนค่าเสียโอกาสนะคะ(Econ101)

 

จะเก็งกำไรต้องซื้อในราคาต่ำๆ ครับ การซื้อราคาแพงเกินราคาตลาดเยอะคือการทุ่มตลาด (dumping) ซึ่ง WTO เขาจึงต้องกำหนดไม่ให้รัฐทุ่มตลาดด้วยการ subsidise ที่สูงเกินไป

 

อ๋อ....... สรุปว่าที่รัฐบาลทำคือการทุ่มตลาดใช่มั้ยคะ  :lol:  :lol:  :lol: จุดประสงค์เพื่อ....... :huh: ใช่ต้องการทำลายพ่อค้าคนกลางซื้อข้าวหรือเปล่าคะ ถ้าเป็นอย่างนั้นสองปีที่ผ่านมาพ่อค้าคนกลางเช่นโรงสี ตกเขียวก็ไม่ได้หายไปจากสารบบ กลับเติบโตขึ้นอีก ดังนั้นควรหยุดดีมั้ยคะ

 

ส่วนไอ้ที่ทำลายเค้าจริงๆคือพ่อค้าส่งออกซึ่งเค้าก็หาทางรอดไปซื้อข้าวต่างชาติขายแล้ว ไม่ต้องพึ่งชาวนาไทยอีกต่อไป

 

ไม่เข้าใจจริงๆว่าเพื่อไทยต้องการอะไร ประเทศเราเคยเป็นอันดับหนึ่งของผู้ส่งออกข้าว แต่ไม่เคยเป็นผู้ผลิตข้าวอันดับหนึ่ง แสดงให้เห็นแล้วว่าผู้ส่งออกเค้ามีความแข็งแกร่ง แต่ที่อ่อนปวกเปียกคือผู้ผลิต มาตรการนี้เราผลักผู้ส่งออกไปให้ส่งออกข้าวให้ประเทศอื่น ดันกระทรวงพานิชย์ที่ห่วยแตกมาเป็นผู้ส่งออกเสียเองมันเลยเป็นเช่นนี้


มันจะทำให้เราคิดก่อนพูดได้ดีขึ้น เมื่อเชื่อว่าคำพูดที่ออกไปเหล่านั้นคือคำที่เราจะได้ยินเองในอนาคต

และถ้าเราจะทำดีได้มากขึ้น เมื่อเชื่อว่าเราจะได้เจอสิ่งดีๆในอนาคต

แม้ว่าวันนี้เราจะยังไม่เห็นว่ามันดีอย่างไรแต่อย่างน้อยทำให้เราผ่านวันนี้ไปได้อย่างราบรื่น


#58 จูกัดขงเบ้ง

จูกัดขงเบ้ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,226 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 13:23

ชัวร์ครับ แต่พวกมันจะชิงยุบสภาก่อนวิบัตินี่สิ

รัฐบาลใหม่เข้ามา รับกรรมไป


แผ่นดินนี้ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก ทั้งกษัตริย์ยังทรงคุณธรรมอันสูงส่ง

จำคำนี้ไว้ไปบอกยมบาลเวลาเจ้าลงนรกก็แล้วกัน


#59 Emolution

Emolution

    โคตรพ่อโคตรแม่ควายแดง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,029 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 13:29

พวกแรกที่จะตายคือควายแดง หลังจากควายแดงตายหมดประเทศก็จะสงบสุข



#60 เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,247 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 13:40

เข้ามาแนะให้ไบกอนเหลืองงับไบกอนนั่นเข้าไปเลย แล้วหลับให้สบายนะคะ 


ทักษิณเป็นเทพเจ้าจริงๆนะ ไม่เชื่อถาม เสื้อแดง ดูสิ

#61 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 14:17

 

 

 

ซื้อมาราคาแพงเกินจริงเยอะแสดงว่าคิดจะเก็งกำไรค่ะ แต่ทำไมถือสินค้าไว้นานเกินมันจะกินต้นทุนค่าเสียโอกาสนะคะ(Econ101)

 

จะเก็งกำไรต้องซื้อในราคาต่ำๆ ครับ การซื้อราคาแพงเกินราคาตลาดเยอะคือการทุ่มตลาด (dumping) ซึ่ง WTO เขาจึงต้องกำหนดไม่ให้รัฐทุ่มตลาดด้วยการ subsidise ที่สูงเกินไป

 

 

ไม่ใช่เงินอุดหนุน ละ เหรอ

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาา

 

 

การ subsidise หรือการอุดหนุนทางการเกษตร กับการทุ่มตลาด (dumping) ก็คืออันเดียวกันแต่ละคนละชื่อครับ
หากยังไม่เกินขอบเขตที่ wto เขากำหนด เขาก็เรียกแค่ subsidise หากเกินไป เขาก็เรียกว่าเป็นการทุ่มตลาด

 

สมัยประชาธิปัตย์รัฐบาลประกันราคาข้าวคือจ่ายให้ชาวนาเท่ากับราคาตลาด ชาวนาไม่ได้อะไรเพิ่มจากที่ต้องได้ รัฐบาลไม่มีรายได้ มีแต่รายจ่าย เลยไม่เห็นว่ามีการขาดทุน แต่ไม่ได้มีเงินส่วนเกินที่จะให้ชาวนาเอาไปใช้เพื่อหมุนเวียนระบบเศรษฐกิจ ปชป ไปใช้การยืนแจกเงิน 2,000 บาทแก่คนทำงานแทน

 

สมัยเพื่อไทยรัฐบาลจ่ายสนับสนุนให้ชาวนาสูงกว่าราคาตลาด เพื่อหวังกำไรที่จะหมุนกลับมาจากเงินส่วนเกิน แต่เป็นโครงการที่เอาข้าวมาเก็บไว้เพื่อขายต่อ จึงมีรายได้และรายจ่าย จึงเห็นเป็นส่วนขาดทุน 

 

ทั้งสองส่วนก็คือการลงทุนของรัฐบาล เพียงแต่อันหนึ่งให้เปล่า เป็นรายจ่ายอย่างเดียว ไม่มีรายรับ จึงไม่เกิดคำว่าขาดทุน แต่อีกอันมันมีรายรับจึงเกิดคำว่าขาดทุน

 

 

นี่ ๆ ๆ  ขอร้องละนะ กรุณา อย่าเอามาปนกันนะ

 

สองอย่างนี่ มันแตกต่างกันนะ

 

การ subsidise หรือการอุดหนุนทางการเกษตร กับการทุ่มตลาด (dumping) ก็คืออันเดียวกันแต่ละคนละชื่อครับ

 

กรุณาช่วยไปศึกษามาใหม่นะ


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#62 sun

sun

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,371 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 14:33

รอเวลาให้ฝีมันเเตกเองอีกไม่นาน เชื่อเถอะ

 

ปล่อยให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในชะตากรรมของประเทศ

 

เเล้วความสำนึกในหน้าที่ของตนเองก็จะผลักดันให้ทำในสิ่งที่ต้องทำ

 

ดูเเลตัวเองเเละคนใกล้ชิดให้พร้อมรับสถานการณ์นั้น

 

ทุกคนมีหุ้นเท่าๆกันในประเทศนี้



#63 ไร้สีไร้กลิ่น

ไร้สีไร้กลิ่น

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,501 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 14:48

- ต่อให้อ้างคำพูดนักบัญชีมาก็เถอะ แต่ผมก็ยังมองว่าประเทศเราไม่มีทางตกต่ำถึงขั้นกรีซหรอกครับ

 

เศรษฐกิจจุลภาคกับมหภาคก็ต่างกัน 

 

- ถ้าได้ฟังข่าวล่าสุด ญี่ปุ่นซื้อหุ้นธนาคารกรุงศรีอยุธยาเป็นแสนล้าน เขามองเห็นอะไร แต่คนไทยเรากลับมองไม่เห็น

 

สิ่งสำคัญคือทำอย่างไรให้บ้านเมืองมีเสถียรภาพ ลดความแตกแยก ความวุ่นวาย ทำให้นักลงทุนมั่นใจที่จะมาลงทุน

 

- ตอนนี้ผมเองก็ต้องกลับมุมมองต่อสนธิใหม่ ผมดีใจที่เค้าไม่มาตั้งม็อบหรือปลุกปั่นให้เกิดความวุ่นวายอีก เดิมทีเข้าใจผิดว่าเขานิ่งเพราะเป็นแดง แต่ดูแล้วเขามีจุดยืนของเขาที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับทักษิณ ตอนนี้ผมเข้าใจแล้วว่าเขานิ่งเพราะอะไร และดีใจที่เขารักษาสัจจะได้ เอาเป็นว่าผมขอโทษที่เคยด่าทอเขาเสียหาย แต่ก็ไม่ได้แปลว่าเราต้องนิ่งหรือทำเป็นเมินเฉย ยังสามารถวิพากษ์วิจารณ์การเมือง ช่วยกันเป็นหูเป็นตาได้ ยังสามารถแสดงออกทางการเมืองอย่างสันติได้ แต่ขอให้อยู่บนผลประโยชน์ของชาติเป็นที่ตั้งละกัน


Edited by ไร้สีไร้กลิ่น, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 14:52.


#64 annykun

annykun

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,567 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 14:51

หากเปรียบประเทศชาติเป็นบริษัท  ๆ นึง  รัฐบาลคือผู้บริหาร  ประชาชนในชาติคือพนักงาน  ลูกค้าส่วนใหญ่คือต่างชาติ

หากผู้บริหารกำลังมีแนวคิด  ที่จะเพิ่มค่าแรงใช้พนักงานชั้นล่างมากๆ  เพื่อ.....

 

ความฝัน(แดงๆ) - เพื่อให้พนังงานชั้นล่างขยันๆ ทำผลผลิตเพิ่มขึ้น  เพื่อส่งขายเยอะๆ  ราคาแพงๆ  กำไรเข้าบริษัทมากๆ  พนักงานเองก็เป็นลูกค้าในตัว  เขาจะซื้อของๆ

                          บริษัท (กระตุ้นเศรษฐกิจภายใน) กำไรก็จะย้อนกลับมาให้บริษัทเติบโตขึ้น(ประเทศชาติเจริญ)

 

ความเป็นจริง  -   พนักงานชั้นล่าง  หากได้แต่เงิน  แต่ไม่มีนโยบายส่งเสริมให้พัฒนาตัวเองจริงๆ  เขาจะไม่ขยันขึ้น  ไม่ทำมูลค่าเพิ่มให้บริษัท

                     -   เพิ่มเงินให้พนักงาน  ต้นทุนเพิ่ม  มูลค่าเท่าเดิม  ของแพง  ขายไม่ได้  บริษัทขาดทุน

                     -   พนักงานเอง  หากไม่มีนโยบายส่งเสริม/บังคับให้ซื้อของ  บริษัทตัวเอง  เขาก็จะไปซื้อที่อื่น

                         (รั่วไหล 1 การกระตุ้นเศรษฐกิจภายในล้มเหลว  เงินที่จ่ายไม่ย้อนกลับมาหาบริษัท)

                     -   ทำไม่ได้ด้วย  พอดีบริษัท(ประเทศชาติ) เราไม่ได้  สมบูรณ์แบบขนาดนั้น  ขนาดที่จะให้พนักงานตัวเองซื้อแต่ของบริษัท  แล้วจะอยู่ได้

                     -   บริษัทจะเติบโตน้อยลง  ถดถอย(เศรษฐกิจชาติเริ่มถดถอย)

 

ปัญหาพิเศษ   -  บังเอิญบริษัทนี้มีคอรัปชั่นสูง  มั๊กๆ  เพราะผู้บริหารมันชิวๆ (ตัวมันก็โกง) เลยมีการคอรัปชั่นอย่างรุนแรงทั่วทุกระดับ 

                        (รั่วไหล 2  คิดว่าในสถานะการณ์แบบนี้มริงจะการกระตุ้นเศรษฐกิจภายในบริษัทขึ้นหรอวะ  รูรั่วไหลโจ๊กๆเลย)

                     -  พนักงานชั้นกลาง  ออฟฟิส  ได้เงินโบนัสน้อยลง  เนื่องจากกิจการไม่ดี -  พวกเขาจะยิ่งทำงานด้วยประสิทธิภาพต่ำลง/มองหางานใหม่ ยิ่งซ้ำเติมความ

                        ถดถอยของบริษัท (แต่ความจริงคงลาออกจากความเป็นคนไทยไม่ได้  หารู้สึกเสียดายภาษีทำได้แค่  ลดการลงทุนต่างๆลงเพื่อจ่ายภาษีให้น้อยลง)

                     -  หากผู้บริหาร  ไม่มีเงินมากพอ  ก็ต้องกู้เงินมาจ่าย  บริษัทก็เป็นหนี้มากขึ้น    หากทุกอย่างยังไม่ดีขึ้นและยังไม่ปรับแผน  บริษัทจะขาดทุนสะสม

                        และเป็นหนี้สูงขึ้นเรื่อยๆ  ทำให้ทุกอย่างแย่ลงอีก (เป็นหุ้นกรูขายหนีตายแล้ว  ***)

                     -  หากผู้บริหารเกิดงี่เง่า  ลดเงินเดือนพนักงานชั้นบน  เพื่อให้พนักงานชั้นล่าง(นโยบาย  กดคนชั้นกลาง/ปล้นคนรวยช่วยคนจน) -  พนักงานชั้นบนลาออก/

                        หยุดทำงาน/ทำงานด้วยประสิทธิภาพต่ำลง  บริษัทมีปัญหาในการดำเนินงานทันที  ทุกอย่างจะไปต่ออย่างยากลำบาก(ความขัดแย้งแตกแยก)  -  ด้วย  

                        เงื่อนไขพิเศษ  บริษัทนี้  พนักงานอาจไล่ผู้บริหารได้  แต่ลาออกจากบริษัทไปไม่ได้ 

                         

 

ถามจริงเหอะ  ไอ้บริษัท-ห่านี่  มันจะเจ๊งมั๊ยครับ?   :blink:


Edited by annykun, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 14:58.

คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม  คือ   ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง

คุณธรรมที่พร้ำสอน  ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา   ส่วน  ประชาธิปไตยน่ะรึ  เอาเข้าจริงๆ  สำคัญอันใด?? 

 


#65 ypk

ypk

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,173 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:09

เหอะ เหอะ  เรื่อง ข้าว ไม่เท่าไรครับ  ถ้าหมุนไม่ได้ เพราะขายไม่ออก ยังพอ

หักดิบ พี่น้องเสื้อแดงได้ เพราะพี่น้องเสื้อแดงไม่หือไม่อืออะไรอยู่แล้ว พร้อมที่

จะยอมอดยอมตายครับ (ไม่รู้เกิดมาทำไร)

 

ปัญหาใหญ่ที่มันคับอกแน่นปึ๋ง (ไม่รู้ของจริงของปลอม) คือ เงินกู้ครับ เพราะถ้า

กู้ไม่ได้ ตายอย่างเดียว ตายยกประเทศครับ เพราะนี่มันคือ รายได้ ที่จะนำมาช่วยเหลือ

พี่น้องเสื้อแดงให้พอลืมหน้าลืมหลัง เอ้ย ไม่ใช่ ช่วยเหลือพี่น้องเสื้อแดงให้ลืมตาอ้าปาก

ได้บ้าง ถ้าไม่ได้กู้มากันน้ำ กับทำทางให้รถไฟวิ่ง นี่ ธุรกิจในประเทศล้มระเนระนาดเลย

นะครับ

 

เรื่องอนาคต อย่าไปวิตกเกินเหตุครับ เอาปัจจุบันให้รอดก่อนเพราะ เงิน ไม่มีแล้ว ไม่กู้เขา

จะเอาอะไรกินกันละครับ เห็นใจพี่น้องเสื้อแดงบ้างนะครับ ท่านที่พอมีเงินเก็บ ก็อย่าลำพองใจ

ครับ เก็บได้ไม่นานครับ เพราะงานนี้ จนยาว ครับ



#66 pinkpanda

pinkpanda

    คุ้กกี้เกลียดควายแดงค่ะ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,600 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:22

 

 

ผมข้องใจกับ ตัวสีแดงครับ
 
เห็น ๆ อยู่ว่า รัฐรับซื้อราคาแพง แต่ขายข้าวราคาถูก
 
ส่วนเงินภาษีพวก 7 % ยังไงทุกคนต้องจ่ายอยู่แล้ว ไม่ใช่เฉพาะ เงินที่ชาวนาได้ 15000
 
เพราะมันไม่เกี่ยวกัน
 
สิ่งที่เกียวกันคือ รัฐขายข้าวได้เท่าไหร่ ขายได้กำไรไหม คุ้มค่ากับการลงทุนที่โครงการจำนำ ไหม

 
แยกให้ออกระหว่างการขาดทุนกับการลงทุน
 
การอุดหนุน (subsidies) ก็คือการที่รัฐเข้าไปซื้อในราคาที่แพงกว่าราคาตลาดเพื่อให้เกษตรกรอยู่ได้ และมีการหมุนเวียนของเงินลงไปข้างล่างกลับขึ้นมาข้างบน ในประเทศต่างๆ เช่น อเมริกาก็มีการอุดหนุนแบบนี้ เป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง เหมือนกับการไล่แจกเงิน 2,000 บาทกลางสี่แยก
 
ส่วนการเก็งกำไรคือการเข้าไปซื้อในราคาถูกเพื่อมาขายแพง
 
คุณคิดว่ารัฐกำลังอุดหนุนหรือเก็งกำไรหล่ะครับ?

 

 
แน่ใจนะครับว่า การอุดหนุน (subsidies) = การลงทุนของรัฐบาล (Government spending)

 

ยืนยันประโยคนี้นะครับ    ติ๊กต่อกๆ.... :lol:  :lol:  :lol:

 

 

 

 

ขอกลับไปคิดก่อน

 

 

เพราะทุกวันนี้หน่วยงาน รบ ก็ซับซิไดส์อยู่ ว่า เป็นการลงทุนของ รบ อย่างไร

 

 

เอ๊ะ หรือว่าเก็บกำไรจากเรา เอาไปหว่านประชานิยม อืมๆๆ นี่คงเป็นการลงทุนกระมัง 



#67 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:38

 

ปู 8 ปี ไม่ใช่หรอคะ

นี่ยังไม่ได้แถลงผลงานเลย จะรีบเจ๊งไปไหน คิคิ

 

ยังไงรากหญ้าฐานเสียงก็ตายก่อน ถ้าไม่เอาภาษีของทุกคนไปอุ้มอ่ะน๊า :angry:

เลือกตั้ง รอบหน้าผม จะัเลือก เพื่อไทย ครับ ทั้ง พรรค และ สส

ให้เขาได้เป้น รบ เหมือนเดิม

อย่าไปตกหลุมเลือก ปชป. เพื่อให้มาหาเงิน เก็บแล้ว เพื่อไทยมาใช้ เช่น

ชวนหา ไปทักษิณ มา ใช้

มาคหา ไป ปูมา ใช้

 

ไอ้แม้ว อีปู คงไม่หามาใช้หรอกครับ มันจะขูดรีดจากชาวบ้านนี่แหละ ที่่ต้องหามาใช้หนี้  :lol:



#68 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:39

 

 

 

 

ซื้อมาราคาแพงเกินจริงเยอะแสดงว่าคิดจะเก็งกำไรค่ะ แต่ทำไมถือสินค้าไว้นานเกินมันจะกินต้นทุนค่าเสียโอกาสนะคะ(Econ101)

 

จะเก็งกำไรต้องซื้อในราคาต่ำๆ ครับ การซื้อราคาแพงเกินราคาตลาดเยอะคือการทุ่มตลาด (dumping) ซึ่ง WTO เขาจึงต้องกำหนดไม่ให้รัฐทุ่มตลาดด้วยการ subsidise ที่สูงเกินไป

 

 

ไม่ใช่เงินอุดหนุน ละ เหรอ

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาา

 

 

การ subsidise หรือการอุดหนุนทางการเกษตร กับการทุ่มตลาด (dumping) ก็คืออันเดียวกันแต่ละคนละชื่อครับ
หากยังไม่เกินขอบเขตที่ wto เขากำหนด เขาก็เรียกแค่ subsidise หากเกินไป เขาก็เรียกว่าเป็นการทุ่มตลาด

 

สมัยประชาธิปัตย์รัฐบาลประกันราคาข้าวคือจ่ายให้ชาวนาเท่ากับราคาตลาด ชาวนาไม่ได้อะไรเพิ่มจากที่ต้องได้ รัฐบาลไม่มีรายได้ มีแต่รายจ่าย เลยไม่เห็นว่ามีการขาดทุน แต่ไม่ได้มีเงินส่วนเกินที่จะให้ชาวนาเอาไปใช้เพื่อหมุนเวียนระบบเศรษฐกิจ ปชป ไปใช้การยืนแจกเงิน 2,000 บาทแก่คนทำงานแทน

 

สมัยเพื่อไทยรัฐบาลจ่ายสนับสนุนให้ชาวนาสูงกว่าราคาตลาด เพื่อหวังกำไรที่จะหมุนกลับมาจากเงินส่วนเกิน แต่เป็นโครงการที่เอาข้าวมาเก็บไว้เพื่อขายต่อ จึงมีรายได้และรายจ่าย จึงเห็นเป็นส่วนขาดทุน 

 

ทั้งสองส่วนก็คือการลงทุนของรัฐบาล เพียงแต่อันหนึ่งให้เปล่า เป็นรายจ่ายอย่างเดียว ไม่มีรายรับ จึงไม่เกิดคำว่าขาดทุน แต่อีกอันมันมีรายรับจึงเกิดคำว่าขาดทุน

 

 

นี่ ๆ ๆ  ขอร้องละนะ กรุณา อย่าเอามาปนกันนะ

 

สองอย่างนี่ มันแตกต่างกันนะ

 

การ subsidise หรือการอุดหนุนทางการเกษตร กับการทุ่มตลาด (dumping) ก็คืออันเดียวกันแต่ละคนละชื่อครับ

 

กรุณาช่วยไปศึกษามาใหม่นะ

 

 

เข้าไป google นะ แล้ว search "agriculture subsidises,  dumping" แล้วอ่านเยอะๆ พูดให้มันน้อยๆ หน่อย



#69 ongard370

ongard370

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 654 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:43

พวกแรกที่จะตายคือควายแดง หลังจากควายแดงตายหมดประเทศก็จะสงบสุข

 

วันนี้ที่รอคอย  :)


 

 

 

 

 

 


#70 แฟนคลับจ่า

แฟนคลับจ่า

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 399 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:44

 

 

 

ผมข้องใจกับ ตัวสีแดงครับ
 
เห็น ๆ อยู่ว่า รัฐรับซื้อราคาแพง แต่ขายข้าวราคาถูก
 
ส่วนเงินภาษีพวก 7 % ยังไงทุกคนต้องจ่ายอยู่แล้ว ไม่ใช่เฉพาะ เงินที่ชาวนาได้ 15000
 
เพราะมันไม่เกี่ยวกัน
 
สิ่งที่เกียวกันคือ รัฐขายข้าวได้เท่าไหร่ ขายได้กำไรไหม คุ้มค่ากับการลงทุนที่โครงการจำนำ ไหม

 
แยกให้ออกระหว่างการขาดทุนกับการลงทุน
 
การอุดหนุน (subsidies) ก็คือการที่รัฐเข้าไปซื้อในราคาที่แพงกว่าราคาตลาดเพื่อให้เกษตรกรอยู่ได้ และมีการหมุนเวียนของเงินลงไปข้างล่างกลับขึ้นมาข้างบน ในประเทศต่างๆ เช่น อเมริกาก็มีการอุดหนุนแบบนี้ เป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง เหมือนกับการไล่แจกเงิน 2,000 บาทกลางสี่แยก
 
ส่วนการเก็งกำไรคือการเข้าไปซื้อในราคาถูกเพื่อมาขายแพง
 
คุณคิดว่ารัฐกำลังอุดหนุนหรือเก็งกำไรหล่ะครับ?

 

 
แน่ใจนะครับว่า การอุดหนุน (subsidies) = การลงทุนของรัฐบาล (Government spending)

 

ยืนยันประโยคนี้นะครับ    ติ๊กต่อกๆ.... :lol:  :lol:  :lol:

 

 

 

 

ขอกลับไปคิดก่อน

 

 

เพราะทุกวันนี้หน่วยงาน รบ ก็ซับซิไดส์อยู่ ว่า เป็นการลงทุนของ รบ อย่างไร

 

 

เอ๊ะ หรือว่าเก็บกำไรจากเรา เอาไปหว่านประชานิยม อืมๆๆ นี่คงเป็นการลงทุนกระมัง 

 

 

กรณีของคุณพิ๊งค์ผมมองว่าเป็นการลงทุนครับ เพราะผมมองว่าเป็นการลงทุนในหน่วยงานภาครัฐที่สามารถสร้างประโยชน์ได้ (แต่อาจจะในอนาคตก็ได้)

 

Government spending (or government expenditure) includes all government consumption and investment but excludes transfer payments.

Government acquisition of goods and services intended to create future benefits, such as infrastructure investment or research spending, is classed as government investment.

 

 

ในขณะที่การ subsidies มันไม่ถือเป็นการลงทุนภาครัฐ (ถือเป็น transfer payment ) เพราะมันไม่ก่อให้เกิดผลผลิตหรือ output ใดๆ ครับ

 

In economics, a transfer payment (or government transfer or simply transfer) is a redistribution of income in the market system. These payments are considered to be exhaustive because they do not directly absorb resources or create output. In other words, the transfer is made without any exchange of goods or services. Examples of certain transfer payments include welfare (financial aid), social security, and government making subsidies for certain businesses (firms).

 

 

Credit -

http://en.wikipedia....rnment_spending

http://en.wikipedia....ransfer_payment

 

 

คุณพิ๊งค์ไม่น่าเข้ามา quote ผมก่อนเลย  กำลังจะดักใครบางคนแท้ๆ  :lol:  :lol:  :lol:



#71 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:47

 

ผมล่ะสงสัยจริงๆ  เงินมันจะลอยมาจากไหน?  เงินอยู่ๆมันเพิ่มมากจากอากาศได้หรอครับ  หากไม่ดึงความมั่ง

คั่งมาจากนอกประเทศ  เงินมันจะเพิ่มมาจากไหนครับ  มันหมุนเวียนภายใน  มันก็แค่ย้ายที่  แต่มันไม่ได้เพิ่มขึ้นนะครับ

 

 

 

 

 

รัฐบาลทุกประเทศ subsidise สินค้าทางการเกษตรก็เพื่อให้สามารถขายในราคาที่ยังต่ำแข่งกับต่างประเทศได้ แต่เกษตรกรยังคงได้รายได้เท่าเดิม หรือมากกว่าเดิม

 

การรับจำนำข้าวเป้าหมายแรกคือเอาเงินใส่ลงไปที่ชาวนาให้มันหมุนเวียน เป็นการลงทุน

หากบังเอิญราคาข้าวในตลาดต่างประเทศสูงขึ้น รัฐบาลก็สามารถขายเพื่อเอาทุนที่ลงไปคืนได้ หรือชาวนาสามารถกลับมาถอนจำนำเพื่อเอาไปขายที่ราคาสูงกว่าราคาจำนำได้

 

แต่บังเอิญผลผลิตการเกษตรโลกมันดีกว่าปกติ ราคาข้าวมันก็เลยไม่วิ่ง รัฐบาลก็ไม่สามารถขายเอาทุนคืนได้ ก็เป็นขาดทุนซึ่งก็คือเงินที่รัฐบาลต้องการใส่ลงไปเป็นการลงทุนอยู่แล้ว

 

ตอนรัฐบาลปขป มันก็คือเงินส่วนต่างที่รัฐบาลจ่ายเข้าไปฟรีๆ ไม่มีรายได้อะไรกลับมานั่นแหล่ะครับ อันเดียวกัน



#72 pinkpanda

pinkpanda

    คุ้กกี้เกลียดควายแดงค่ะ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,600 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:51

 

 

 

 

ผมข้องใจกับ ตัวสีแดงครับ
 
เห็น ๆ อยู่ว่า รัฐรับซื้อราคาแพง แต่ขายข้าวราคาถูก
 
ส่วนเงินภาษีพวก 7 % ยังไงทุกคนต้องจ่ายอยู่แล้ว ไม่ใช่เฉพาะ เงินที่ชาวนาได้ 15000
 
เพราะมันไม่เกี่ยวกัน
 
สิ่งที่เกียวกันคือ รัฐขายข้าวได้เท่าไหร่ ขายได้กำไรไหม คุ้มค่ากับการลงทุนที่โครงการจำนำ ไหม

 
แยกให้ออกระหว่างการขาดทุนกับการลงทุน
 
การอุดหนุน (subsidies) ก็คือการที่รัฐเข้าไปซื้อในราคาที่แพงกว่าราคาตลาดเพื่อให้เกษตรกรอยู่ได้ และมีการหมุนเวียนของเงินลงไปข้างล่างกลับขึ้นมาข้างบน ในประเทศต่างๆ เช่น อเมริกาก็มีการอุดหนุนแบบนี้ เป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง เหมือนกับการไล่แจกเงิน 2,000 บาทกลางสี่แยก
 
ส่วนการเก็งกำไรคือการเข้าไปซื้อในราคาถูกเพื่อมาขายแพง
 
คุณคิดว่ารัฐกำลังอุดหนุนหรือเก็งกำไรหล่ะครับ?

 

 
แน่ใจนะครับว่า การอุดหนุน (subsidies) = การลงทุนของรัฐบาล (Government spending)

 

ยืนยันประโยคนี้นะครับ    ติ๊กต่อกๆ.... :lol:  :lol:  :lol:

 

 

 

 

ขอกลับไปคิดก่อน

 

 

เพราะทุกวันนี้หน่วยงาน รบ ก็ซับซิไดส์อยู่ ว่า เป็นการลงทุนของ รบ อย่างไร

 

 

เอ๊ะ หรือว่าเก็บกำไรจากเรา เอาไปหว่านประชานิยม อืมๆๆ นี่คงเป็นการลงทุนกระมัง 

 

 

กรณีของคุณพิ๊งค์ผมมองว่าเป็นการลงทุนครับ เพราะผมมองว่าเป็นการลงทุนในหน่วยงานภาครัฐที่สามารถสร้างประโยชน์ได้ (แต่อาจจะในอนาคตก็ได้)

 

Government spending (or government expenditure) includes all government consumption and investment but excludes transfer payments.

Government acquisition of goods and services intended to create future benefits, such as infrastructure investment or research spending, is classed as government investment.

 

 

ในขณะที่การ subsidies มันไม่ถือเป็นการลงทุนภาครัฐ (ถือเป็น transfer payment ) เพราะมันไม่ก่อให้เกิดผลผลิตหรือ output ใดๆ ครับ

 

In economics, a transfer payment (or government transfer or simply transfer) is a redistribution of income in the market system. These payments are considered to be exhaustive because they do not directly absorb resources or create output. In other words, the transfer is made without any exchange of goods or services. Examples of certain transfer payments include welfare (financial aid), social security, and government making subsidies for certain businesses (firms).

 

 

Credit -

http://en.wikipedia....rnment_spending

http://en.wikipedia....ransfer_payment

 

 

คุณพิ๊งค์ไม่น่าเข้ามา quote ผมก่อนเลย  กำลังจะดักใครบางคนแท้ๆ  :lol:  :lol:  :lol:

 

 

 

 

จริงๆ การซับซิดีส์ของเรา มันเป็นเหมือนการที่หน่วยงานลงทุนไป แต่ว่าหากเก็บค่าบริการตามจำนวนต้นทุนที่แท้จริง

 

 

ปชช.จะรับภาระหนักมาก เช่น ต้นทุนเฉลี่ย 17 บาท โดยเฉลี่ยน แต่ รบ กำหนดเพดานขาย 10 บาท

 

 

เพราะฉะนั้น รบ จะซับซีดิ๊้ส์ให้ 7 บาทค่ะ 

 

 

แต่อันนี้เป็นการลงทุนในระยะยาว โดยที่หน่วยงานเราต้องบริหารจัดการอย่างไรก็ได้ เพื่อให้ได้กำไร จากนั้นต้องส่งเงินเข้า ก.การคลัง คือ มันมีการรีเทิร์นเงินเข้าระบบเดิม ไม่ใช่สูญหายไปเลย

 

 

ก็เลยงงว่ามันเหมือนกรณีจำนำข้าวได้อย่างไร 

 

 

ปล.จริงๆ ใช้คำว่าซับซีดีส์อาจจะไม่ถูกนักในกรณีของเรานะคะ ยังงงว่าตอนนั้นพรีเซนต์ให้ต่างชาติฟังได้อย่างไร คงนึกคำไม่ออก เลยใช้คำนี้ไป 


Edited by pinkpanda, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:53.


#73 HiddenMan

HiddenMan

    Long Live The King

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,023 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:52

 

 

ผมล่ะสงสัยจริงๆ  เงินมันจะลอยมาจากไหน?  เงินอยู่ๆมันเพิ่มมากจากอากาศได้หรอครับ  หากไม่ดึงความมั่ง

คั่งมาจากนอกประเทศ  เงินมันจะเพิ่มมาจากไหนครับ  มันหมุนเวียนภายใน  มันก็แค่ย้ายที่  แต่มันไม่ได้เพิ่มขึ้นนะครับ

 

 

 

 

 

รัฐบาลทุกประเทศ subsidise สินค้าทางการเกษตรก็เพื่อให้สามารถขายในราคาที่ยังต่ำแข่งกับต่างประเทศได้ แต่เกษตรกรยังคงได้รายได้เท่าเดิม หรือมากกว่าเดิม

 

การรับจำนำข้าวเป้าหมายแรกคือเอาเงินใส่ลงไปที่ชาวนาให้มันหมุนเวียน เป็นการลงทุน

หากบังเอิญราคาข้าวในตลาดต่างประเทศสูงขึ้น รัฐบาลก็สามารถขายเพื่อเอาทุนที่ลงไปคืนได้ หรือชาวนาสามารถกลับมาถอนจำนำเพื่อเอาไปขายที่ราคาสูงกว่าราคาจำนำได้

 

แต่บังเอิญผลผลิตการเกษตรโลกมันดีกว่าปกติ ราคาข้าวมันก็เลยไม่วิ่ง รัฐบาลก็ไม่สามารถขายเอาทุนคืนได้ ก็เป็นขาดทุนซึ่งก็คือเงินที่รัฐบาลต้องการใส่ลงไปเป็นการลงทุนอยู่แล้ว

 

ตอนรัฐบาลปขป มันก็คือเงินส่วนต่างที่รัฐบาลจ่ายเข้าไปฟรีๆ ไม่มีรายได้อะไรกลับมานั่นแหล่ะครับ อันเดียวกัน

 

 

 

:o นโยบายระดับชาติขึ้นอยู่กับความบังเอิญ...


“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.”  - Mahatma Gandhi

 

สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด

https://www.facebook...denman.serithai


#74 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:56

 

 

 

ซื้อมาราคาแพงเกินจริงเยอะแสดงว่าคิดจะเก็งกำไรค่ะ แต่ทำไมถือสินค้าไว้นานเกินมันจะกินต้นทุนค่าเสียโอกาสนะคะ(Econ101)

 

จะเก็งกำไรต้องซื้อในราคาต่ำๆ ครับ การซื้อราคาแพงเกินราคาตลาดเยอะคือการทุ่มตลาด (dumping) ซึ่ง WTO เขาจึงต้องกำหนดไม่ให้รัฐทุ่มตลาดด้วยการ subsidise ที่สูงเกินไป

 

 

ไม่ใช่เงินอุดหนุน ละ เหรอ

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาา

 

 

การ subsidise หรือการอุดหนุนทางการเกษตร กับการทุ่มตลาด (dumping) ก็คืออันเดียวกันแต่ละคนละชื่อครับ
หากยังไม่เกินขอบเขตที่ wto เขากำหนด เขาก็เรียกแค่ subsidise หากเกินไป เขาก็เรียกว่าเป็นการทุ่มตลาด

 

สมัยประชาธิปัตย์รัฐบาลประกันราคาข้าวคือจ่ายให้ชาวนาเท่ากับราคาตลาด ชาวนาไม่ได้อะไรเพิ่มจากที่ต้องได้ รัฐบาลไม่มีรายได้ มีแต่รายจ่าย เลยไม่เห็นว่ามีการขาดทุน แต่ไม่ได้มีเงินส่วนเกินที่จะให้ชาวนาเอาไปใช้เพื่อหมุนเวียนระบบเศรษฐกิจ ปชป ไปใช้การยืนแจกเงิน 2,000 บาทแก่คนทำงานแทน

 

สมัยเพื่อไทยรัฐบาลจ่ายสนับสนุนให้ชาวนาสูงกว่าราคาตลาด เพื่อหวังกำไรที่จะหมุนกลับมาจากเงินส่วนเกิน แต่เป็นโครงการที่เอาข้าวมาเก็บไว้เพื่อขายต่อ จึงมีรายได้และรายจ่าย จึงเห็นเป็นส่วนขาดทุน 

 

ทั้งสองส่วนก็คือการลงทุนของรัฐบาล เพียงแต่อันหนึ่งให้เปล่า เป็นรายจ่ายอย่างเดียว ไม่มีรายรับ จึงไม่เกิดคำว่าขาดทุน แต่อีกอันมันมีรายรับจึงเกิดคำว่าขาดทุน

 

โห ปิดตามองด้านดีของรัฐบาลชุดนี้อย่างเดียวเลย บอกว่า รายได้ของรัฐบาลมาจากภาษี รัฐบาลชุดนี้ ให้ชาวนาที่่ 15000 บาท รัฐบาลจะมีรายได้ภาษีเพิ่มมากขึ้น แต่พอ ปชป ให้ชาวนาในส่วนต่างของราคาข้าว บอกว่ารัฐบาลไม่มีรายได้ มีแต่รายจ่าย ส่วนต่างที่ให้ชาวนา ชาวนาไม่เอาไปเก็บใส่ไหฝังดินหรือครับ ถึงไม่ได้เอาเงินส่วนต่างที่ได้ มาซื้อของเป็นภาษีกลับคืนสู่รัฐ 

 

จำนำข้าวต่างหาก ที่่ไม่มีรายได้เข้ารัฐเลย เพราะรัฐบาลเอาข้าวไปเก็บเน่าคาโกดัง ขายออกไปเมื่อไหร่ ก็ขาดทุนเมื่อนั้น เพราะขายในราคาต่ำกว่าจำนำที่ให้ชาวนา ส่วนที่่เสียไปในส่วนต่างคือ ผลขาดทุนที่หายไปแล้ว หายไปเลย ไม่กลับมาเป็นภาษีอีก ถ้ารัฐบาลนี้ขายได้ราคามากกว่าจำนำ คุณค่อยเอามาพูดว่า โครงการของรัฐบาลนี้มันดี ข้าวมันเก็บรักษาไว้ไม่ได้เหมือนทองคำ เหล็ก ยิ่งนานยิ่งเสื่อมราคา ก็ยิ่งเห็นผลขาดทุน เกร็งราคาไม่ได้ เพราะไทยไม่ได้ขายข้าวเป็นประเทศเดียวซะหน่อย 



#75 pinkpanda

pinkpanda

    คุ้กกี้เกลียดควายแดงค่ะ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,600 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:56

 

 

 

ผมล่ะสงสัยจริงๆ  เงินมันจะลอยมาจากไหน?  เงินอยู่ๆมันเพิ่มมากจากอากาศได้หรอครับ  หากไม่ดึงความมั่ง

คั่งมาจากนอกประเทศ  เงินมันจะเพิ่มมาจากไหนครับ  มันหมุนเวียนภายใน  มันก็แค่ย้ายที่  แต่มันไม่ได้เพิ่มขึ้นนะครับ

 

 

 

 

 

รัฐบาลทุกประเทศ subsidise สินค้าทางการเกษตรก็เพื่อให้สามารถขายในราคาที่ยังต่ำแข่งกับต่างประเทศได้ แต่เกษตรกรยังคงได้รายได้เท่าเดิม หรือมากกว่าเดิม

 

การรับจำนำข้าวเป้าหมายแรกคือเอาเงินใส่ลงไปที่ชาวนาให้มันหมุนเวียน เป็นการลงทุน

หากบังเอิญราคาข้าวในตลาดต่างประเทศสูงขึ้น รัฐบาลก็สามารถขายเพื่อเอาทุนที่ลงไปคืนได้ หรือชาวนาสามารถกลับมาถอนจำนำเพื่อเอาไปขายที่ราคาสูงกว่าราคาจำนำได้

 

แต่บังเอิญผลผลิตการเกษตรโลกมันดีกว่าปกติ ราคาข้าวมันก็เลยไม่วิ่ง รัฐบาลก็ไม่สามารถขายเอาทุนคืนได้ ก็เป็นขาดทุนซึ่งก็คือเงินที่รัฐบาลต้องการใส่ลงไปเป็นการลงทุนอยู่แล้ว

 

ตอนรัฐบาลปขป มันก็คือเงินส่วนต่างที่รัฐบาลจ่ายเข้าไปฟรีๆ ไม่มีรายได้อะไรกลับมานั่นแหล่ะครับ อันเดียวกัน

 

 

 

:o นโยบายระดับชาติขึ้นอยู่กับความบังเอิญ...

 

 

 

 

 

 

ผมล่ะสงสัยจริงๆ  เงินมันจะลอยมาจากไหน?  เงินอยู่ๆมันเพิ่มมากจากอากาศได้หรอครับ  หากไม่ดึงความมั่ง

คั่งมาจากนอกประเทศ  เงินมันจะเพิ่มมาจากไหนครับ  มันหมุนเวียนภายใน  มันก็แค่ย้ายที่  แต่มันไม่ได้เพิ่มขึ้นนะครับ

 

 

 

 

 

รัฐบาลทุกประเทศ subsidise สินค้าทางการเกษตรก็เพื่อให้สามารถขายในราคาที่ยังต่ำแข่งกับต่างประเทศได้ แต่เกษตรกรยังคงได้รายได้เท่าเดิม หรือมากกว่าเดิม

 

การรับจำนำข้าวเป้าหมายแรกคือเอาเงินใส่ลงไปที่ชาวนาให้มันหมุนเวียน เป็นการลงทุน

หากบังเอิญราคาข้าวในตลาดต่างประเทศสูงขึ้น รัฐบาลก็สามารถขายเพื่อเอาทุนที่ลงไปคืนได้ หรือชาวนาสามารถกลับมาถอนจำนำเพื่อเอาไปขายที่ราคาสูงกว่าราคาจำนำได้

 

แต่บังเอิญผลผลิตการเกษตรโลกมันดีกว่าปกติ ราคาข้าวมันก็เลยไม่วิ่ง รัฐบาลก็ไม่สามารถขายเอาทุนคืนได้ ก็เป็นขาดทุนซึ่งก็คือเงินที่รัฐบาลต้องการใส่ลงไปเป็นการลงทุนอยู่แล้ว

 

ตอนรัฐบาลปขป มันก็คือเงินส่วนต่างที่รัฐบาลจ่ายเข้าไปฟรีๆ ไม่มีรายได้อะไรกลับมานั่นแหล่ะครับ อันเดียวกัน

 

 

การวางยุทธศาสตร์ทางเศรษฐศาสตร์ทั้งระดังมหกับจุลภาค ไม่มีคำว่าบังเอิญหรอกนะคะ

 

 

Root Cause Analysis คือหัวใจสำคัญอย่างหนึ่ง ในการดำเนินกิจกรรมหรือกิจการต่างๆ 

 

 

ไม่รู้ว่าไบกอนเหลืองรู้จักรึเปล่า

 

 

และสินค้าทางการเกษตร ยิ่งเก็บยิ่งเสื่อม 

 

 

การจะขยับราคาได้สูขึ้น ต้องสร้างมูลค่าเพิ่มไม่ใช่หรือคะ


Edited by pinkpanda, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:58.


#76 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 15:57

 

 

 

 

 

ผมข้องใจกับ ตัวสีแดงครับ
 
เห็น ๆ อยู่ว่า รัฐรับซื้อราคาแพง แต่ขายข้าวราคาถูก
 
ส่วนเงินภาษีพวก 7 % ยังไงทุกคนต้องจ่ายอยู่แล้ว ไม่ใช่เฉพาะ เงินที่ชาวนาได้ 15000
 
เพราะมันไม่เกี่ยวกัน
 
สิ่งที่เกียวกันคือ รัฐขายข้าวได้เท่าไหร่ ขายได้กำไรไหม คุ้มค่ากับการลงทุนที่โครงการจำนำ ไหม

 
แยกให้ออกระหว่างการขาดทุนกับการลงทุน
 
การอุดหนุน (subsidies) ก็คือการที่รัฐเข้าไปซื้อในราคาที่แพงกว่าราคาตลาดเพื่อให้เกษตรกรอยู่ได้ และมีการหมุนเวียนของเงินลงไปข้างล่างกลับขึ้นมาข้างบน ในประเทศต่างๆ เช่น อเมริกาก็มีการอุดหนุนแบบนี้ เป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง เหมือนกับการไล่แจกเงิน 2,000 บาทกลางสี่แยก
 
ส่วนการเก็งกำไรคือการเข้าไปซื้อในราคาถูกเพื่อมาขายแพง
 
คุณคิดว่ารัฐกำลังอุดหนุนหรือเก็งกำไรหล่ะครับ?

 

 
แน่ใจนะครับว่า การอุดหนุน (subsidies) = การลงทุนของรัฐบาล (Government spending)

 

ยืนยันประโยคนี้นะครับ    ติ๊กต่อกๆ.... :lol:  :lol:  :lol:

 

 

 

 

ขอกลับไปคิดก่อน

 

 

เพราะทุกวันนี้หน่วยงาน รบ ก็ซับซิไดส์อยู่ ว่า เป็นการลงทุนของ รบ อย่างไร

 

 

เอ๊ะ หรือว่าเก็บกำไรจากเรา เอาไปหว่านประชานิยม อืมๆๆ นี่คงเป็นการลงทุนกระมัง 

 

 

กรณีของคุณพิ๊งค์ผมมองว่าเป็นการลงทุนครับ เพราะผมมองว่าเป็นการลงทุนในหน่วยงานภาครัฐที่สามารถสร้างประโยชน์ได้ (แต่อาจจะในอนาคตก็ได้)

 

Government spending (or government expenditure) includes all government consumption and investment but excludes transfer payments.

Government acquisition of goods and services intended to create future benefits, such as infrastructure investment or research spending, is classed as government investment.

 

 

ในขณะที่การ subsidies มันไม่ถือเป็นการลงทุนภาครัฐ (ถือเป็น transfer payment ) เพราะมันไม่ก่อให้เกิดผลผลิตหรือ output ใดๆ ครับ

 

In economics, a transfer payment (or government transfer or simply transfer) is a redistribution of income in the market system. These payments are considered to be exhaustive because they do not directly absorb resources or create output. In other words, the transfer is made without any exchange of goods or services. Examples of certain transfer payments include welfare (financial aid), social security, and government making subsidies for certain businesses (firms).

 

 

Credit -

http://en.wikipedia....rnment_spending

http://en.wikipedia....ransfer_payment

 

 

คุณพิ๊งค์ไม่น่าเข้ามา quote ผมก่อนเลย  กำลังจะดักใครบางคนแท้ๆ  :lol:  :lol:  :lol:

 

 

 

 

จริงๆ การซับซิดีส์ของเรา มันเป็นเหมือนการที่หน่วยงานลงทุนไป แต่ว่าหากเก็บค่าบริการตามจำนวนต้นทุนที่แท้จริง

 

 

ปชช.จะรับภาระหนักมาก เช่น ต้นทุนเฉลี่ย 17 บาท โดยเฉลี่ยน แต่ รบ กำหนดเพดานขาย 10 บาท

 

 

เพราะฉะนั้น รบ จะซับซีดิ๊้ส์ให้ 7 บาทค่ะ 

 

 

แต่อันนี้เป็นการลงทุนในระยะยาว โดยที่หน่วยงานเราต้องบริหารจัดการอย่างไรก็ได้ เพื่อให้ได้กำไร จากนั้นต้องส่งเงินเข้า ก.การคลัง คือ มันมีการรีเทิร์นเงินเข้าระบบเดิม ไม่ใช่สูญหายไปเลย

 

 

ก็เลยงงว่ามันเหมือนกรณีจำนำข้าวได้อย่างไร 

 

 

ปล.จริงๆ ใช้คำว่าซับซีดีส์อาจจะไม่ถูกนักในกรณีของเรานะคะ ยังงงว่าตอนนั้นพรีเซนต์ให้ต่างชาติฟังได้อย่างไร คงนึกคำไม่ออก เลยใช้คำนี้ไป 

 

 

นั่นละครับ 

 

ผมก้อยัง งง ๆ อยู่ว่า มันเอาไปโยงได้ไง

 

ในเมื่อ จำนำ ข้าวมันไม่มีกำไร


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#77 พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน

พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,450 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:03

 

ไม่เข้าใจจริงๆว่าเพื่อไทยต้องการอะไร ประเทศเราเคยเป็นอันดับหนึ่งของผู้ส่งออกข้าว แต่ไม่เคยเป็นผู้ผลิตข้าวอันดับหนึ่ง แสดงให้เห็นแล้วว่าผู้ส่งออกเค้ามีความแข็งแกร่ง แต่ที่อ่อนปวกเปียกคือผู้ผลิต มาตรการนี้เราผลักผู้ส่งออกไปให้ส่งออกข้าวให้ประเทศอื่น ดันกระทรวงพานิชย์ที่ห่วยแตกมาเป็นผู้ส่งออกเสียเองมันเลยเป็นเช่นนี้

 

 

ชอบประโยคนี้มากครับ โดน  :wub:


อยากรู้ว่าประชาธิปไตยไทยเป็นแบบไหน ให้ดูการใช้รถใช้ถนนรู้จักกันแต่สิทธิ แต่ไม่เคยรู้จักหน้าที่ ในการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่วางไว้

#78 ไร้สีไร้กลิ่น

ไร้สีไร้กลิ่น

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,501 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:04

เอ่อ จริงๆแล้วหลักการของรัฐบาลไม่ใช่องค์กรที่แสวงหาผลกำไรนะครับ รัฐบาลมีหน้าที่จัดสรรทรัพยากร นำเงินภาษีไปช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อน อย่างประเทศที่เจริญแล้ว คนรวยเขายินดีจ่ายภาษีเพราะเปรียบเหมือนการทำบุญอย่างหนึ่ง คนรวยก็จ่ายภาษีมากกว่าคนจน ถ้ามัวมาคิดว่าจ่ายภาษีแล้วเราจะได้อะไรตอบแทนแบบนั้นก็ทุกข์ใจเปล่าๆ

 

เท่าที่เห็นหลายท่านกำลังไม่สบายใจกลัวรัฐบาลบริหารงานผิดพลาดจนไปถึงขั้นประเทศล่มจม แต่จริงๆแล้วไม่ใช่ครับ เรื่องกู้ 2 ล้านล้านก็ไม่ใช่เพราะขาดเงิน ไม่ใช่ว่าเอามาแจกหมดแล้วก็กู้มากขึ้นเรื่อยๆ ยังไงพิจารณาให้รอบคอบก่อนดีกว่าครับ ผมถึงได้ชี้ให้เห็นว่าญี่ปุ่นเค้ายังมองออก แต่ทำไมคนไทยมองไม่ออก

 

ปล. เรื่องปัญหาของชาวนาเขาเดือดร้อนจริง การทำนามีปัญหาจริง แต่ก็กำลังมีการแก้ไขอยู่ครับ ไม่ใช่แจกเงินอย่างเดียวแล้วไม่ทำอย่างอื่น

อย่างท่านที่บอกประเทศจะล่มจมลองบอกมาซิว่าอีกกี่ปี แต่สำหรับผมบอกได้เลยว่าประเทศจะเจริญขึ้น อย่างน้อย 2 ปีน่าจะเริ่มเห็นผล


Edited by ไร้สีไร้กลิ่น, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:06.


#79 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:08

ปี 52/53 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 5.59 หมื่นล้านบาท
ปี 53/54 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 6.76 หมื่นล้านบาท
เป็นเงินให้ไปเปล่าๆ จากภาษีคุณและผมครับ ไม่มีรายได้จากการขายข้าวกลับมาเลยสักบาทเดียว จึงไม่มีการขาดทุน
ถามว่าเงินแสนกว่าล้านบาทที่จ่ายไปจากภาษีของคุณและผมนั่นเป็น subsidise หรือเปล่า เป็นการลงทุนหรือเปล่า?

Edited by ไบกอนเหลือง, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:08.


#80 Charlie

Charlie

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,449 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:19

เอ่อ จริงๆแล้วหลักการของรัฐบาลไม่ใช่องค์กรที่แสวงหาผลกำไรนะครับ รัฐบาลมีหน้าที่จัดสรรทรัพยากร นำเงินภาษีไปช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อน อย่างประเทศที่เจริญแล้ว คนรวยเขายินดีจ่ายภาษีเพราะเปรียบเหมือนการทำบุญอย่างหนึ่ง คนรวยก็จ่ายภาษีมากกว่าคนจน ถ้ามัวมาคิดว่าจ่ายภาษีแล้วเราจะได้อะไรตอบแทนแบบนั้นก็ทุกข์ใจเปล่าๆ

 

เท่าที่เห็นหลายท่านกำลังไม่สบายใจกลัวรัฐบาลบริหารงานผิดพลาดจนไปถึงขั้นประเทศล่มจม แต่จริงๆแล้วไม่ใช่ครับ เรื่องกู้ 2 ล้านล้านก็ไม่ใช่เพราะขาดเงิน ไม่ใช่ว่าเอามาแจกหมดแล้วก็กู้มากขึ้นเรื่อยๆ ยังไงพิจารณาให้รอบคอบก่อนดีกว่าครับ ผมถึงได้ชี้ให้เห็นว่าญี่ปุ่นเค้ายังมองออก แต่ทำไมคนไทยมองไม่ออก

 

ปล. เรื่องปัญหาของชาวนาเขาเดือดร้อนจริง การทำนามีปัญหาจริง แต่ก็กำลังมีการแก้ไขอยู่ครับ ไม่ใช่แจกเงินอย่างเดียวแล้วไม่ทำอย่างอื่น

อย่างท่านที่บอกประเทศจะล่มจมลองบอกมาซิว่าอีกกี่ปี แต่สำหรับผมบอกได้เลยว่าประเทศจะเจริญขึ้น อย่างน้อย 2 ปีน่าจะเริ่มเห็นผล

ถ้าจะอ้างเรื่องการซื้อธนาคารกรุงศรีอยุธยาผมว่า ธนาคารของไทยส่วนใหญ่ก็เป็นของต่างประเทศอยู่แล้วตั้งหลายที่

 

เหลือของไทยจริงๆเองไม่กี่ธนาคารเองครับ ส่วนใหญ่ผู้ถือหุ้นเป็นฝรั้งทั้งนั้น มองข่าวแบบนี้แล้วเฉยๆครับ

 

แล้วจริงๆ ธนาคารกรุงศรีอธธยาเป็นของกลุ่มจีอีแคปปิตอล ก็ต่างชาติอีกนั้นแหละ แค่เปลี่ยนมือคนทำกำไร

 

ญี่ปุ่นขนเงินมาลงทุนด้านธนาคารกับประเทศทางเอเชียไม่ใช่แค่ไทยครับ


คนดีจริงไม่โกงที่วัด ไม่ยุแยงให้คนแตกแยก ไม่หลอกคนอื่นให้มารับเคราะห์ตายแทน


#81 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:20

 

ปี 52/53 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 5.59 หมื่นล้านบาท
ปี 53/54 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 6.76 หมื่นล้านบาท
เป็นเงินให้ไปเปล่าๆ จากภาษีคุณและผมครับ ไม่มีรายได้จากการขายข้าวกลับมาเลยสักบาทเดียว จึงไม่มีการขาดทุน
ถามว่าเงินแสนกว่าล้านบาทที่จ่ายไปจากภาษีของคุณและผมนั่นเป็น subsidise หรือเปล่า เป็นการลงทุนหรือเปล่า?

 

 

 

 

ถามอีกหน่อยว่าแสนกว่าล้านนั้นคือกำไรหรือขาดทุนสำหรับคุณ?



#82 ไร้สีไร้กลิ่น

ไร้สีไร้กลิ่น

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,501 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:20

 

 

ถ้าจะอ้างเรื่องการซื้อธนาคารกรุงศรีอยุธยาผมว่า ธนาคารของไทยส่วนใหญ่ก็เป็นของต่างประเทศอยู่แล้วตั้งหลายที่

 

เหลือของไทยจริงๆเองไม่กี่ธนาคารเองครับ ส่วนใหญ่ผู้ถือหุ้นเป็นฝรั้งทั้งนั้น มองข่าวแบบนี้แล้วเฉยๆครับ

 

แล้วจริงๆ ธนาคารกรุงศรีอธธยาเป็นของกลุ่มจีอีแคปปิตอล ก็ต่างชาติอีกนั้นแหละ แค่เปลี่ยนมือคนทำกำไร

 

ญี่ปุ่นขนเงินมาลงทุนด้านธนาคารกับประเทศทางเอเชียไม่ใช่แค่ไทยครับ

 

แล้วถ้าเขาเห็นว่าประเทศไทยกำลังจะล่มจม เค้าจะกล้ามาลงทุนเหรอครับ


Edited by ไร้สีไร้กลิ่น, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:21.


#83 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:21

 

เอ่อ จริงๆแล้วหลักการของรัฐบาลไม่ใช่องค์กรที่แสวงหาผลกำไรนะครับ รัฐบาลมีหน้าที่จัดสรรทรัพยากร นำเงินภาษีไปช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อน อย่างประเทศที่เจริญแล้ว คนรวยเขายินดีจ่ายภาษีเพราะเปรียบเหมือนการทำบุญอย่างหนึ่ง คนรวยก็จ่ายภาษีมากกว่าคนจน ถ้ามัวมาคิดว่าจ่ายภาษีแล้วเราจะได้อะไรตอบแทนแบบนั้นก็ทุกข์ใจเปล่าๆ

 

เท่าที่เห็นหลายท่านกำลังไม่สบายใจกลัวรัฐบาลบริหารงานผิดพลาดจนไปถึงขั้นประเทศล่มจม แต่จริงๆแล้วไม่ใช่ครับ เรื่องกู้ 2 ล้านล้านก็ไม่ใช่เพราะขาดเงิน ไม่ใช่ว่าเอามาแจกหมดแล้วก็กู้มากขึ้นเรื่อยๆ ยังไงพิจารณาให้รอบคอบก่อนดีกว่าครับ ผมถึงได้ชี้ให้เห็นว่าญี่ปุ่นเค้ายังมองออก แต่ทำไมคนไทยมองไม่ออก

 

ปล. เรื่องปัญหาของชาวนาเขาเดือดร้อนจริง การทำนามีปัญหาจริง แต่ก็กำลังมีการแก้ไขอยู่ครับ ไม่ใช่แจกเงินอย่างเดียวแล้วไม่ทำอย่างอื่น

อย่างท่านที่บอกประเทศจะล่มจมลองบอกมาซิว่าอีกกี่ปี แต่สำหรับผมบอกได้เลยว่าประเทศจะเจริญขึ้น อย่างน้อย 2 ปีน่าจะเริ่มเห็นผล

ถ้าจะอ้างเรื่องการซื้อธนาคารกรุงศรีอยุธยาผมว่า ธนาคารของไทยส่วนใหญ่ก็เป็นของต่างประเทศอยู่แล้วตั้งหลายที่

 

เหลือของไทยจริงๆเองไม่กี่ธนาคารเองครับ ส่วนใหญ่ผู้ถือหุ้นเป็นฝรั้งทั้งนั้น มองข่าวแบบนี้แล้วเฉยๆครับ

 

แล้วจริงๆ ธนาคารกรุงศรีอธธยาเป็นของกลุ่มจีอีแคปปิตอล ก็ต่างชาติอีกนั้นแหละ แค่เปลี่ยนมือคนทำกำไร

 

ญี่ปุ่นขนเงินมาลงทุนด้านธนาคารกับประเทศทางเอเชียไม่ใช่แค่ไทยครับ

 

 

 

หากเป็นคุณ คุณจะเข้าไปลงทุนในตลาดที่คุณคิดว่ากำลังจะพัง ล้มละลายหรือไม่?

 

เขาเข้ามาลงทุนเพราะเขาเห็นของดี ราคาถูก ซึ่งในอนาคตมันจะกลายเป็นของแพง เขาจึงกล้าเอาเงินเป็นแสนล้านเข้ามาลงทุนครับ


Edited by ไบกอนเหลือง, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:22.


#84 Charlie

Charlie

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,449 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:32

 

 

เอ่อ จริงๆแล้วหลักการของรัฐบาลไม่ใช่องค์กรที่แสวงหาผลกำไรนะครับ รัฐบาลมีหน้าที่จัดสรรทรัพยากร นำเงินภาษีไปช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อน อย่างประเทศที่เจริญแล้ว คนรวยเขายินดีจ่ายภาษีเพราะเปรียบเหมือนการทำบุญอย่างหนึ่ง คนรวยก็จ่ายภาษีมากกว่าคนจน ถ้ามัวมาคิดว่าจ่ายภาษีแล้วเราจะได้อะไรตอบแทนแบบนั้นก็ทุกข์ใจเปล่าๆ

 

เท่าที่เห็นหลายท่านกำลังไม่สบายใจกลัวรัฐบาลบริหารงานผิดพลาดจนไปถึงขั้นประเทศล่มจม แต่จริงๆแล้วไม่ใช่ครับ เรื่องกู้ 2 ล้านล้านก็ไม่ใช่เพราะขาดเงิน ไม่ใช่ว่าเอามาแจกหมดแล้วก็กู้มากขึ้นเรื่อยๆ ยังไงพิจารณาให้รอบคอบก่อนดีกว่าครับ ผมถึงได้ชี้ให้เห็นว่าญี่ปุ่นเค้ายังมองออก แต่ทำไมคนไทยมองไม่ออก

 

ปล. เรื่องปัญหาของชาวนาเขาเดือดร้อนจริง การทำนามีปัญหาจริง แต่ก็กำลังมีการแก้ไขอยู่ครับ ไม่ใช่แจกเงินอย่างเดียวแล้วไม่ทำอย่างอื่น

อย่างท่านที่บอกประเทศจะล่มจมลองบอกมาซิว่าอีกกี่ปี แต่สำหรับผมบอกได้เลยว่าประเทศจะเจริญขึ้น อย่างน้อย 2 ปีน่าจะเริ่มเห็นผล

ถ้าจะอ้างเรื่องการซื้อธนาคารกรุงศรีอยุธยาผมว่า ธนาคารของไทยส่วนใหญ่ก็เป็นของต่างประเทศอยู่แล้วตั้งหลายที่

 

เหลือของไทยจริงๆเองไม่กี่ธนาคารเองครับ ส่วนใหญ่ผู้ถือหุ้นเป็นฝรั้งทั้งนั้น มองข่าวแบบนี้แล้วเฉยๆครับ

 

แล้วจริงๆ ธนาคารกรุงศรีอธธยาเป็นของกลุ่มจีอีแคปปิตอล ก็ต่างชาติอีกนั้นแหละ แค่เปลี่ยนมือคนทำกำไร

 

ญี่ปุ่นขนเงินมาลงทุนด้านธนาคารกับประเทศทางเอเชียไม่ใช่แค่ไทยครับ

 

 

 

หากเป็นคุณ คุณจะเข้าไปลงทุนในตลาดที่คุณคิดว่ากำลังจะพัง ล้มละลายหรือไม่?

 

เขาเข้ามาลงทุนเพราะเขาเห็นของดี ราคาถูก ซึ่งในอนาคตมันจะกลายเป็นของแพง เขาจึงกล้าเอาเงินเป็นแสนล้านเข้ามาลงทุนครับ

 

ญี่ปุ่นเป็นประเทศเล็กแต่มีวินัยทางการเงินมากจึงเป็นประเทศที่เป็นผู้ให้กู้มานักต่อนักแล้วครับ กำไรจากเรื่องให้กู้มาเยอะครับ

 

ถ้าประเทศที่มีสถานะการเงินที่มั่นคง มีการกู้ทำโครงการต่างในขั้นต่ำ โดยมีงบประมาณที่พอเพียง การเข้าไปลงทุนก็กำไรน้อยครับดอกเบี้ยถูก

 

กลับกันประเทศที่มีความเสี่ยงและมีการกู้ของเงินในระบบมากๆ เป็นตัวทำกำไรมากกว่า เพราะในการกู้จะดอกแพง

 

ดอกเบี้ยแพงเพราะค่าความเสี่ยงสูง จิงจำต้องจ่ายดอกแพงเพื่อเรียกความเชื่อถือในการกู้

 

แล้วคิดหรอว่านักลงทุนเค้าไม่รู้ เค้ามาลงทุนในธนาคารกันนานแล้วครับ แต่ท่านไปหยิบข่าวมาโยงกันเอง

 

ถ้าลงทุนในภาคอื่นๆ เพิ่มสิครับถึงจะเรียกว่าดี เงินไหลออก กับเงินไหลเข้าต่างกันไหม


Edited by Charlie, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:35.

คนดีจริงไม่โกงที่วัด ไม่ยุแยงให้คนแตกแยก ไม่หลอกคนอื่นให้มารับเคราะห์ตายแทน


#85 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:38

 

 

 

เอ่อ จริงๆแล้วหลักการของรัฐบาลไม่ใช่องค์กรที่แสวงหาผลกำไรนะครับ รัฐบาลมีหน้าที่จัดสรรทรัพยากร นำเงินภาษีไปช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อน อย่างประเทศที่เจริญแล้ว คนรวยเขายินดีจ่ายภาษีเพราะเปรียบเหมือนการทำบุญอย่างหนึ่ง คนรวยก็จ่ายภาษีมากกว่าคนจน ถ้ามัวมาคิดว่าจ่ายภาษีแล้วเราจะได้อะไรตอบแทนแบบนั้นก็ทุกข์ใจเปล่าๆ

 

เท่าที่เห็นหลายท่านกำลังไม่สบายใจกลัวรัฐบาลบริหารงานผิดพลาดจนไปถึงขั้นประเทศล่มจม แต่จริงๆแล้วไม่ใช่ครับ เรื่องกู้ 2 ล้านล้านก็ไม่ใช่เพราะขาดเงิน ไม่ใช่ว่าเอามาแจกหมดแล้วก็กู้มากขึ้นเรื่อยๆ ยังไงพิจารณาให้รอบคอบก่อนดีกว่าครับ ผมถึงได้ชี้ให้เห็นว่าญี่ปุ่นเค้ายังมองออก แต่ทำไมคนไทยมองไม่ออก

 

ปล. เรื่องปัญหาของชาวนาเขาเดือดร้อนจริง การทำนามีปัญหาจริง แต่ก็กำลังมีการแก้ไขอยู่ครับ ไม่ใช่แจกเงินอย่างเดียวแล้วไม่ทำอย่างอื่น

อย่างท่านที่บอกประเทศจะล่มจมลองบอกมาซิว่าอีกกี่ปี แต่สำหรับผมบอกได้เลยว่าประเทศจะเจริญขึ้น อย่างน้อย 2 ปีน่าจะเริ่มเห็นผล

ถ้าจะอ้างเรื่องการซื้อธนาคารกรุงศรีอยุธยาผมว่า ธนาคารของไทยส่วนใหญ่ก็เป็นของต่างประเทศอยู่แล้วตั้งหลายที่

 

เหลือของไทยจริงๆเองไม่กี่ธนาคารเองครับ ส่วนใหญ่ผู้ถือหุ้นเป็นฝรั้งทั้งนั้น มองข่าวแบบนี้แล้วเฉยๆครับ

 

แล้วจริงๆ ธนาคารกรุงศรีอธธยาเป็นของกลุ่มจีอีแคปปิตอล ก็ต่างชาติอีกนั้นแหละ แค่เปลี่ยนมือคนทำกำไร

 

ญี่ปุ่นขนเงินมาลงทุนด้านธนาคารกับประเทศทางเอเชียไม่ใช่แค่ไทยครับ

 

 

 

หากเป็นคุณ คุณจะเข้าไปลงทุนในตลาดที่คุณคิดว่ากำลังจะพัง ล้มละลายหรือไม่?

 

เขาเข้ามาลงทุนเพราะเขาเห็นของดี ราคาถูก ซึ่งในอนาคตมันจะกลายเป็นของแพง เขาจึงกล้าเอาเงินเป็นแสนล้านเข้ามาลงทุนครับ

 

ญี่ปุ่นเป็นประเทศเล็กแต่มีวินัยทางการเงินมากจึงเป็นประเทศที่เป็นผู้ให้กู้มานักต่อนักแล้วครับ กำไรจากเรื่องให้กู้มาเยอะครับ

 

ถ้าประเทศที่มีสถานะการเงินที่มั่นคง มีการกู้ทำโครงการต่างในขั้นต่ำ โดยมีงบประมาณที่พอเพียง การเข้าไปลงทุนก็กำไรน้อยครับดอกเบี้ยถูก

 

กลับกันประเทศที่มีความเสี่ยงและมีการกู้ของเงินในระบบมากๆ เป็นตัวทำกำไรมากกว่า เพราะในการกู้จะดอกแพง

 

ดอกเบี้ยแพงเพราะค่าความเสี่ยงสูง จิงจำต้องจ่ายดอกแพงเพื่อเรียกความเชื่อถือในการกู้

 

แล้วคิดหรอว่านักลงทุนเค้าไม่รู้ เค้ามาลงทุนในธนาคารกันนานแล้วครับ แต่ท่านไปหยิบข่าวมาโยงกันเอง

 

ถ้าลงทุนในภาคอื่นๆ เพิ่มสิครับถึงจะเรียกว่าดี เงินไหลออก กับเงินไหลเข้าต่างกันไหม

 

 

 

แล้วเขาไม่กลัวเจ๊งเหรอครับ?
 
ประเทศที่สามารถทำกำไรได้เยอะจากอัตราดอกเบี้ยสูงกับประเทศที่กำลังจะล้มละลายเหมือนกรีซมันเหมือนกันเหรอ?
อย่างนั้นเขาไปลงทุนที่กรีซไม่ดีกว่าเหรอ?
 
หากเขาเห็นว่าประเทศไทยจะเจ๊งล้มละลายเหมือนพี่นักบัญชีที่เจ้าของกระทู้ว่า เขาคงรอจนมันเจ๊งเรียบร้อยก่อน แล้วค่อยเข้ามาซื้อของลดราคา ถูกไหม?
 
หรือเขาโง่กว่าพี่นักลงบัญชีของเจ้าของกระทู้ซึ่งมองทะลุกว่าบริษัทการเงินยักษ์ใหญ่จากญี่ปุ่น?


#86 ppneer

ppneer

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,201 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 16:42

 

 

 

แต่มาจากภาษีที่เก็บจากระบบเศรษฐกิจที่มีการเคลื่อนไหว จากเงิน 15,000 ที่ลงไปยังชาวนา หมุนเวียนขึ้นมากระจายไปทุกภาคส่วน มีการใช้จ่ายหมุนเวียนกลับไปกลับมาหลายรอบ แต่ละรอบที่มีการจับจ่ายก็กลับมาเป็นรายได้ของรัฐบาลในรูปภาษี

 

การขาดทุนในการอุดหนุนชาวนาของรัฐคือเงินส่วนที่เป็นการลงทุนครับ รัฐบาลลงทุนเพื่อหวังผลกำไรกลับมาในรูปภาษี รัฐบาลลงทุนลงไปแล้วมีหน้าที่ต้องทำให้เงินที่ลงไปสามารถหมุนเวียนไปยังทุกส่วนได้โดยไม่ติดขัด และหมุนได้หลายรอบยิ่งดี

 

เจ้าของกระทู้ควรเปลี่ยนบริษัททำบัญชีได้แล้วครับ

 

 

 

ถามง่ายๆนะ

ถ้ารัฐได้ทุนคืนในรูปภาษีใช้จ่ายจริงแบบคุณว่า  แล้วรัฐบาลมันจะบ้าลดราคาเหลือ 12000 ทำไม ให้โดนประท้วงทั้งประเทศล่ะ?

 

ตอบข้อนี้ให้ได้ก่อนดีกว่าจะบอกให้ผมเปลี่ยนบริษัทเน่อ

 

 

 

ปล.

พี่บัญชีคนนี้ทำบัญชีให้เสี่ยวิสูตร พูนวรลักษณ์ครับ

 

 

 

กลับไปเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์ใหม่นะว่ารายได้ของรัฐบาลมาจากไหน 
แล้วกลับไปถามคนทำบัญชีของคุณว่ารายได้หลักของรัฐบาลมาจากกำไรในการขายข้าวหรือ?

 

 

 

เอาง่ายๆครับ

 

จำนำข้าวทั้ง 3 ครั้ง ลงทุนไปทั้งหมด 6.5แสนล้าน

 

จำนวนชาวนาทั้งหมดที่ได้จำนำ 3 ล้านครอบครัวๆละ กี่เกวียนครับ


ขวานทอง บรรพบุรุษ เป็นคนสร้างให้เราทุกวันนี้ ตัวกูจะปกปักรักษาเท่าชีวิตเพื่อ พ่อหลวง กูถวายชีวิตใอ้แม้ว ออกไปๆๆๆ กูเกลียดใอ้แม้ว

#87 Charlie

Charlie

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,449 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:01

 

 

 

 

เอ่อ จริงๆแล้วหลักการของรัฐบาลไม่ใช่องค์กรที่แสวงหาผลกำไรนะครับ รัฐบาลมีหน้าที่จัดสรรทรัพยากร นำเงินภาษีไปช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อน อย่างประเทศที่เจริญแล้ว คนรวยเขายินดีจ่ายภาษีเพราะเปรียบเหมือนการทำบุญอย่างหนึ่ง คนรวยก็จ่ายภาษีมากกว่าคนจน ถ้ามัวมาคิดว่าจ่ายภาษีแล้วเราจะได้อะไรตอบแทนแบบนั้นก็ทุกข์ใจเปล่าๆ

 

เท่าที่เห็นหลายท่านกำลังไม่สบายใจกลัวรัฐบาลบริหารงานผิดพลาดจนไปถึงขั้นประเทศล่มจม แต่จริงๆแล้วไม่ใช่ครับ เรื่องกู้ 2 ล้านล้านก็ไม่ใช่เพราะขาดเงิน ไม่ใช่ว่าเอามาแจกหมดแล้วก็กู้มากขึ้นเรื่อยๆ ยังไงพิจารณาให้รอบคอบก่อนดีกว่าครับ ผมถึงได้ชี้ให้เห็นว่าญี่ปุ่นเค้ายังมองออก แต่ทำไมคนไทยมองไม่ออก

 

ปล. เรื่องปัญหาของชาวนาเขาเดือดร้อนจริง การทำนามีปัญหาจริง แต่ก็กำลังมีการแก้ไขอยู่ครับ ไม่ใช่แจกเงินอย่างเดียวแล้วไม่ทำอย่างอื่น

อย่างท่านที่บอกประเทศจะล่มจมลองบอกมาซิว่าอีกกี่ปี แต่สำหรับผมบอกได้เลยว่าประเทศจะเจริญขึ้น อย่างน้อย 2 ปีน่าจะเริ่มเห็นผล

ถ้าจะอ้างเรื่องการซื้อธนาคารกรุงศรีอยุธยาผมว่า ธนาคารของไทยส่วนใหญ่ก็เป็นของต่างประเทศอยู่แล้วตั้งหลายที่

 

เหลือของไทยจริงๆเองไม่กี่ธนาคารเองครับ ส่วนใหญ่ผู้ถือหุ้นเป็นฝรั้งทั้งนั้น มองข่าวแบบนี้แล้วเฉยๆครับ

 

แล้วจริงๆ ธนาคารกรุงศรีอธธยาเป็นของกลุ่มจีอีแคปปิตอล ก็ต่างชาติอีกนั้นแหละ แค่เปลี่ยนมือคนทำกำไร

 

ญี่ปุ่นขนเงินมาลงทุนด้านธนาคารกับประเทศทางเอเชียไม่ใช่แค่ไทยครับ

 

 

 

หากเป็นคุณ คุณจะเข้าไปลงทุนในตลาดที่คุณคิดว่ากำลังจะพัง ล้มละลายหรือไม่?

 

เขาเข้ามาลงทุนเพราะเขาเห็นของดี ราคาถูก ซึ่งในอนาคตมันจะกลายเป็นของแพง เขาจึงกล้าเอาเงินเป็นแสนล้านเข้ามาลงทุนครับ

 

ญี่ปุ่นเป็นประเทศเล็กแต่มีวินัยทางการเงินมากจึงเป็นประเทศที่เป็นผู้ให้กู้มานักต่อนักแล้วครับ กำไรจากเรื่องให้กู้มาเยอะครับ

 

ถ้าประเทศที่มีสถานะการเงินที่มั่นคง มีการกู้ทำโครงการต่างในขั้นต่ำ โดยมีงบประมาณที่พอเพียง การเข้าไปลงทุนก็กำไรน้อยครับดอกเบี้ยถูก

 

กลับกันประเทศที่มีความเสี่ยงและมีการกู้ของเงินในระบบมากๆ เป็นตัวทำกำไรมากกว่า เพราะในการกู้จะดอกแพง

 

ดอกเบี้ยแพงเพราะค่าความเสี่ยงสูง จิงจำต้องจ่ายดอกแพงเพื่อเรียกความเชื่อถือในการกู้

 

แล้วคิดหรอว่านักลงทุนเค้าไม่รู้ เค้ามาลงทุนในธนาคารกันนานแล้วครับ แต่ท่านไปหยิบข่าวมาโยงกันเอง

 

ถ้าลงทุนในภาคอื่นๆ เพิ่มสิครับถึงจะเรียกว่าดี เงินไหลออก กับเงินไหลเข้าต่างกันไหม

 

 

 

แล้วเขาไม่กลัวเจ๊งเหรอครับ?
 
ประเทศที่สามารถทำกำไรได้เยอะจากอัตราดอกเบี้ยสูงกับประเทศที่กำลังจะล้มละลายเหมือนกรีซมันเหมือนกันเหรอ?
อย่างนั้นเขาไปลงทุนที่กรีซไม่ดีกว่าเหรอ?
 
หากเขาเห็นว่าประเทศไทยจะเจ๊งล้มละลายเหมือนพี่นักบัญชีที่เจ้าของกระทู้ว่า เขาคงรอจนมันเจ๊งเรียบร้อยก่อน แล้วค่อยเข้ามาซื้อของลดราคา ถูกไหม?
 
หรือเขาโง่กว่าพี่นักลงบัญชีของเจ้าของกระทู้ซึ่งมองทะลุกว่าบริษัทการเงินยักษ์ใหญ่จากญี่ปุ่น?

 

กรีซเบี้ยวหนี้ครับ มันโยงกันกับอียู และไซบรัส หาอ่านเอานเองนะยาวมากกว่าจะเรียบเรียงให้อยู่ในสามบรรทัด

 

มาประเทศไทย หนักสุดก็ล้มเอาประเทศไปจำนำเหมือนสมัย imf เพราะกู้โดยไม่มีแผนงานแบบรัฐบาลนี้ ทั้งๆทีใช้งบในภาคปกติได้

 

นักบัญชีที่ท่านว่าเค้าไม่ได้โง่หรอกเค้าเตือนด้วยความหวังดีตะหากหากยังทำแผนการเงินแบบนี้ เผลอหนักกว่ากรีซอีก

 

ถึงตอนนั้นทุกภาคธุระกิจเดี้ยงกันเป็นแถวแน่ เจ้าหนี้อยากได้อะไรเค้าจะเอาอะไรก็ซื้อได้ในราคาถูกๆ ครับ


คนดีจริงไม่โกงที่วัด ไม่ยุแยงให้คนแตกแยก ไม่หลอกคนอื่นให้มารับเคราะห์ตายแทน


#88 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:05

 

 

ปี 52/53 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 5.59 หมื่นล้านบาท
ปี 53/54 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 6.76 หมื่นล้านบาท
เป็นเงินให้ไปเปล่าๆ จากภาษีคุณและผมครับ ไม่มีรายได้จากการขายข้าวกลับมาเลยสักบาทเดียว จึงไม่มีการขาดทุน
ถามว่าเงินแสนกว่าล้านบาทที่จ่ายไปจากภาษีของคุณและผมนั่นเป็น subsidise หรือเปล่า เป็นการลงทุนหรือเปล่า?

 

 

ถามอีกหน่อยว่าแสนกว่าล้านนั้นคือกำไรหรือขาดทุนสำหรับคุณ?

 

 

 

^^ ยังไม่มีใครตอบเลยว่าแสนกว่าล้านที่จ่ายไปในโครงการประกันราคาข้าวเป็นอะไรกันแน่? มีรายรับกลับมาหรือไม่? และกำไรขาดทุนเท่าไหร่? หากทำต่อไปอีก 10 ปี จำนวนเงินที่ต้องจ่ายไปก็อาจจะถึง 6-7 แสนล้านบาท จะทำให้ประเทศไทยเจ๊งไหม? เพราะเหตุใด?

 

ลองคิดดูครับ ลับสมอง



#89 HiddenMan

HiddenMan

    Long Live The King

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,023 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:11

 

 

 

ปี 52/53 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 5.59 หมื่นล้านบาท
ปี 53/54 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 6.76 หมื่นล้านบาท
เป็นเงินให้ไปเปล่าๆ จากภาษีคุณและผมครับ ไม่มีรายได้จากการขายข้าวกลับมาเลยสักบาทเดียว จึงไม่มีการขาดทุน
ถามว่าเงินแสนกว่าล้านบาทที่จ่ายไปจากภาษีของคุณและผมนั่นเป็น subsidise หรือเปล่า เป็นการลงทุนหรือเปล่า?

 

 

ถามอีกหน่อยว่าแสนกว่าล้านนั้นคือกำไรหรือขาดทุนสำหรับคุณ?

 

 

 

^^ ยังไม่มีใครตอบเลยว่าแสนกว่าล้านที่จ่ายไปในโครงการประกันราคาข้าวเป็นอะไรกันแน่? มีรายรับกลับมาหรือไม่? และกำไรขาดทุนเท่าไหร่? หากทำต่อไปอีก 10 ปี จำนวนเงินที่ต้องจ่ายไปก็อาจจะถึง 6-7 แสนล้านบาท จะทำให้ประเทศไทยเจ๊งไหม? เพราะเหตุใด?

 

ลองคิดดูครับ ลับสมอง

 

 

:D ลับสมอง... สถิติการส่งออกข้าวเป็นยังไง


“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.”  - Mahatma Gandhi

 

สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด

https://www.facebook...denman.serithai


#90 ppneer

ppneer

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,201 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:18

 

 

ปี 52/53 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 5.59 หมื่นล้านบาท
ปี 53/54 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 6.76 หมื่นล้านบาท
เป็นเงินให้ไปเปล่าๆ จากภาษีคุณและผมครับ ไม่มีรายได้จากการขายข้าวกลับมาเลยสักบาทเดียว จึงไม่มีการขาดทุน
ถามว่าเงินแสนกว่าล้านบาทที่จ่ายไปจากภาษีของคุณและผมนั่นเป็น subsidise หรือเปล่า เป็นการลงทุนหรือเปล่า?

 

 

 

 

ถามอีกหน่อยว่าแสนกว่าล้านนั้นคือกำไรหรือขาดทุนสำหรับคุณ?

 

 

 

ถ้าส่งออกข้าวได้มากกว่าตามจำนวนผลผลิตถือว่าขาดทุนหรือกำไรครับ

 

ถ้าส่งออกข้าวได้น้อยกว่าตามจำนวนผลผลิตถือว่าขาดทุนหรือกำไรครับ


Edited by ppneer, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:18.

ขวานทอง บรรพบุรุษ เป็นคนสร้างให้เราทุกวันนี้ ตัวกูจะปกปักรักษาเท่าชีวิตเพื่อ พ่อหลวง กูถวายชีวิตใอ้แม้ว ออกไปๆๆๆ กูเกลียดใอ้แม้ว

#91 หงส์เฒ่าเสาร์ธรรม

หงส์เฒ่าเสาร์ธรรม

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,408 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:35

ใช้งบ ๓.๕ แสนล้าน มาปิด โครงการจำนำข้าว

แล้วใช้งบ ๒.๒ ล้านๆ มาปิด โครงการจัดการน้ำ ใช้หนี้ต่อ ๕๐ ปี

แล้วก็หางบใหม่ ... มาปิด โครงการรถไฟความเร็วสูง  ใช้หนี้ต่ออีก ๑๐๐ ปี


จินตนาการสำคัญกว่าความรู้ ... ศีลธรรม เป็นกรอบรักษาจินตนาการให้ดำรงอยู่ด้วยความดีงาม... -_- 


#92 union18j

union18j

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 347 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:42

รุ่นพี่ที่อยู่ในวงการหุ้นที่ญี่ปุ่น เค้ามองกันไว้ว่า อีกประมาณ 11 เดือน  เค้าบอกว่า 

"ในกรณีที่จะมีการเปลี่ยนแปลง ทางพวกมีเงินซึ่งเป็นญาติโกของเขาก็จะเริ่มผันเงิน แล้วจะมีการเพิ่มค่าเงินบาทสักพักเพื่อเอาเงินออกแล้ว ก็จะมี การทำให้ค่าของเงินตก"  อันนี้นักลงทุนที่ญี่ปุ่นเค้ามองไว้ ไม่รู้จะเดาแม่นกี่เปอร์เซ็นต์



#93 เส้นใหญ่ไม่งอก

เส้นใหญ่ไม่งอก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,033 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:48

 

รัฐบาลทุกประเทศ subsidise สินค้าทางการเกษตรก็เพื่อให้สามารถขายในราคาที่ยังต่ำแข่งกับต่างประเทศได้ แต่เกษตรกรยังคงได้รายได้เท่าเดิม หรือมากกว่าเดิม

 

การรับจำนำข้าวเป้าหมายแรกคือเอาเงินใส่ลงไปที่ชาวนาให้มันหมุนเวียน เป็นการลงทุน

หากบังเอิญราคาข้าวในตลาดต่างประเทศสูงขึ้น รัฐบาลก็สามารถขายเพื่อเอาทุนที่ลงไปคืนได้ หรือชาวนาสามารถกลับมาถอนจำนำเพื่อเอาไปขายที่ราคาสูงกว่าราคาจำนำได้

 

แต่บังเอิญผลผลิตการเกษตรโลกมันดีกว่าปกติ ราคาข้าวมันก็เลยไม่วิ่ง รัฐบาลก็ไม่สามารถขายเอาทุนคืนได้ ก็เป็นขาดทุนซึ่งก็คือเงินที่รัฐบาลต้องการใส่ลงไปเป็นการลงทุนอยู่แล้ว

 

ตอนรัฐบาลปขป มันก็คือเงินส่วนต่างที่รัฐบาลจ่ายเข้าไปฟรีๆ ไม่มีรายได้อะไรกลับมานั่นแหล่ะครับ อันเดียวกัน

 

 

ผมค่อนข้างจะเห็นด้วยกับคุณไบกอน แต่ติดตรงที่คุณไบกอนบอกว่ารัฐบาลไม่ได้มีรายได้จากการค้าขายแต่มาจากภาษี

 

ในขณะเดียวกันคุณไบกอนบอกเงินที่มารับจำนำข้าวเป็นการลงทุน ก็แสดงว่ารัฐบาลหวังว่าจะมีผลกำไรจากการลงทุนนั้น (คุณไบกอนบอกว่าหวังผลกำไรในรูปแบบของภาษี ซึ่งถูกต้องครับ)

 

ในขณะที่รัฐบาลกลับทำตัวเป็นผู้ค้าข้าว โดยอ้างว่าขายแบบ จีทูจี

 

อย่างนี้ก็คงบอกได้ไม่เต็มปากนะครับว่ารัฐบาลไม่ต้องการกำไรจากการขายของ

 

ผมเลยสงสัยว่า 1. รัฐบาลนี้ได้คำนวณก่อนตั้งราคารับจำนำข้าวหรือไม่ ว่ารัฐบาลจะได้กำไรในรูปแบบของภาษีเท่าไหร่ คุ้มหรือไม่เมื่อเทียบกับการลงทุนที่ว่าของรัฐบาล?

 

2. ถ้าจะขาดทุน ต้องใช้ตัวเลขขาดทุนเท่าไหร่ที่จะยกฐานะให้ชาวนาได้กลายเป็นชาวนารวยจริงๆ อย่างที่โฆษณาชวนเชื่อ? (หรือที่จริงไม่เคยคิดถึงเรื่องอะไรแบบนี้อยู่แล้ว โดยอ้างว่าให้ชาวนาไปเถอะ เขาลำบากมานานแล้ว)

 

ผมเห็นด้วยกับนโยบายที่ทำให้ประชาชนไม่ว่าสาขาอาชีพใดๆ มีความเป็นอยู่ดีขึ้น แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถยอมรับกับนโยบายที่ผิดพลาดที่ทำร้ายระบบเศรษฐกิจโดยรวมของรัฐบาลได้

 

คุณไบกอนรู้สึกอย่างไรครับที่รัฐบาลใช้เงินภาษี (ที่คุณเรียกว่าการลงทุน) ไปรับจำนำข้าวสวมสิทธิ์ราคาถูกจากเวียดนาม จากเขมร จากพม่า คุณรู้สึกเจ็บปวดเหมือนอย่างที่คนไทยอีกมากมายรู้สึกไหมครับ?

 

ขอเพิ่มเติมที่ประโยคสีแดง ผมงงกับการ subsidise ของรัฐบาลนี้ครับ ข้าวไทยตอนนี้มีราคาต่ำแข่งกับต่างประเทศได้หรือครับ

 

 


หากเป็นคุณ คุณจะเข้าไปลงทุนในตลาดที่คุณคิดว่ากำลังจะพัง ล้มละลายหรือไม่?

 

เขาเข้ามาลงทุนเพราะเขาเห็นของดี ราคาถูก ซึ่งในอนาคตมันจะกลายเป็นของแพง เขาจึงกล้าเอาเงินเป็นแสนล้านเข้ามาลงทุนครับ

 

 

เรื่องของดี ราคาถูกเป็นเรื่องจริงครับ แต่ของดี ราคาถูกที่ว่าเกิดจากพื้นฐานของโครงสร้างประเทศ ไม่ใช่เกิดจากการบริหารของรัฐบาล

 

คือพื้นฐานของประเทศเป็นของดี ส่วนราคาถูกเกิดจากการบริหารของรัฐบาลนี้แหละครับ

 

การวางนโยบายกับการบริหารที่ผิดพลาดของรัฐบาลเป็นสิ่งที่ต่างชาติชอบที่สุด

 

เพราะนั่นแหละทำให้เขากล้ามาช้อนซื้อของดี ราคาถูกจากรัฐบาลโง่ๆ เพื่อรอรัฐบาลที่ฉลาดๆ มารับช่วงฟื้นฟู


Edited by เส้นใหญ่ไม่งอก, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:52.


#94 เหล่าฮู

เหล่าฮู

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 993 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 17:58

กรีซบ้านคุณสิ เพดานเงินกู้ประเทศไทย น้อยกว่า ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เสียด้วยซ้ำ เอาไปหลอกพวกในทุ่งนาเถอะนะ 



#95 ppneer

ppneer

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,201 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:04

กรีซบ้านคุณสิ เพดานเงินกู้ประเทศไทย น้อยกว่า ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เสียด้วยซ้ำ เอาไปหลอกพวกในทุ่งนาเถอะนะ 

 

 

อ้าวแล้วที่เอาหนี้ไปซุกเอาไว้ที่ ธปท.แล้วร่วมกับ +หนี้ตอนนี้+หนี้ที่กู้ 3.5 +กู้ 2.2 ร่วมแล้วเท่าไหร่มิทราบครับท่านเหล่าฮู้


ขวานทอง บรรพบุรุษ เป็นคนสร้างให้เราทุกวันนี้ ตัวกูจะปกปักรักษาเท่าชีวิตเพื่อ พ่อหลวง กูถวายชีวิตใอ้แม้ว ออกไปๆๆๆ กูเกลียดใอ้แม้ว

#96 เหล่าฮู

เหล่าฮู

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 993 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:10

 

กรีซบ้านคุณสิ เพดานเงินกู้ประเทศไทย น้อยกว่า ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เสียด้วยซ้ำ เอาไปหลอกพวกในทุ่งนาเถอะนะ 

 

 

อ้าวแล้วที่เอาหนี้ไปซุกเอาไว้ที่ ธปท.แล้วร่วมกับ +หนี้ตอนนี้+หนี้ที่กู้ 3.5 +กู้ 2.2 ร่วมแล้วเท่าไหร่มิทราบครับท่านเหล่าฮู้

ก็เป็นหนี้ที่ ธปท ทำเจ๊งเอง สมัยสู้ค่าเงินบาทกับโซรอส ก็เอาไปใช้เองดิ เป็นหนี้ที่มากกว่าจำนำข้าวด้วย ไม่เห็นโวยวายกัน ฮ่วย

 

ส่วนกู้ 2.2ล้าน มันเอาไปใช้กี่ปีครับพี่ ถ้าเฉลี่ยต่อปี ก็ตกปีละ 3แสนล้านเองมั้ง 

 

แล้วการกู้ 2.2 ล้านๆ มันก็คือเอามาปฎิรูปคมนาคมของประเทศครั้งใหญ่ เหมือนสมัย รัชกาลที่5 ที่ท่านก่อสร้างรางรถไฟไปทั่วประเทศนั่นปะไร



#97 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:16

กรีซบ้านคุณสิ เพดานเงินกู้ประเทศไทย น้อยกว่า ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เสียด้วยซ้ำ เอาไปหลอกพวกในทุ่งนาเถอะนะ 

 

 

โดนเค้าหลอกให้เป็นกระบืออีกแระ เอาหนี้ประเทศไทยไปเทียบ เกาหลี ญี่ปุ่น

 

:lol: :lol:  :lol:  



#98 โจ เอาเย็น

โจ เอาเย็น

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 4 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:23

 

 

 

ปี 52/53 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 5.59 หมื่นล้านบาท
ปี 53/54 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 6.76 หมื่นล้านบาท
เป็นเงินให้ไปเปล่าๆ จากภาษีคุณและผมครับ ไม่มีรายได้จากการขายข้าวกลับมาเลยสักบาทเดียว จึงไม่มีการขาดทุน
ถามว่าเงินแสนกว่าล้านบาทที่จ่ายไปจากภาษีของคุณและผมนั่นเป็น subsidise หรือเปล่า เป็นการลงทุนหรือเปล่า?

 

 

ถามอีกหน่อยว่าแสนกว่าล้านนั้นคือกำไรหรือขาดทุนสำหรับคุณ?

 

 

 

^^ ยังไม่มีใครตอบเลยว่าแสนกว่าล้านที่จ่ายไปในโครงการประกันราคาข้าวเป็นอะไรกันแน่? มีรายรับกลับมาหรือไม่? และกำไรขาดทุนเท่าไหร่? หากทำต่อไปอีก 10 ปี จำนวนเงินที่ต้องจ่ายไปก็อาจจะถึง 6-7 แสนล้านบาท จะทำให้ประเทศไทยเจ๊งไหม? เพราะเหตุใด?

 

ลองคิดดูครับ ลับสมอง

 

เงินที่จ่ายไปคือส่วนต่างจากราคาขายข้าวของชาวนา โดยมีเพดานราคา+ราคากลางกำหนดไว้ครับ อย่างข้าวเปลือกเจ้าก็อยู่ที่ 1 หมื่น ราคากลาง 8500 ส่วนต่างคือ 1500 ครับ เงินส่วนต่างนี้โอนตรงเข้ามือชาวนาครับ และเงินส่วนต่างนี้คือแสนกว่าล้านที่ท่านอ้างถึง
ผมคงไม่ต้องอธิบายนะครับว่า รายได้ของชาวนาที่เพิ่มขึ้นในส่วนนี้ มันจะหมุนไปในระบบอย่างไร

ลองคิดเล่นๆ นะครับ ขนาดประกันรายได้ไม่มีต้นทุนที่มองไม่เห็นเหมือนกับจำนำข้าว แต่ยังใช้เงินไปแสนกว่าล้าน แล้วจำนำข้าวที่ใช้จ่ายเงินไปแล้วกว่า 6 แสนล้าน จะขาดทุนเท่าใด
ประกันรายได้ออกมาช่วยเกษตกรในระยะสั้นครับ เมื่อสต็อกข้าวของเรามีพอแค่บริโภคภายในประเทศปีต่อปี เมื่อนั้นราคาข้าวจะสูงตามกลไกตลาดครับ



#99 ไบกอนเหลือง

ไบกอนเหลือง

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 514 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:25

 

 

กรีซบ้านคุณสิ เพดานเงินกู้ประเทศไทย น้อยกว่า ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เสียด้วยซ้ำ เอาไปหลอกพวกในทุ่งนาเถอะนะ 

 

 

อ้าวแล้วที่เอาหนี้ไปซุกเอาไว้ที่ ธปท.แล้วร่วมกับ +หนี้ตอนนี้+หนี้ที่กู้ 3.5 +กู้ 2.2 ร่วมแล้วเท่าไหร่มิทราบครับท่านเหล่าฮู้

ก็เป็นหนี้ที่ ธปท ทำเจ๊งเอง สมัยสู้ค่าเงินบาทกับโซรอส ก็เอาไปใช้เองดิ เป็นหนี้ที่มากกว่าจำนำข้าวด้วย ไม่เห็นโวยวายกัน ฮ่วย

 

ส่วนกู้ 2.2ล้าน มันเอาไปใช้กี่ปีครับพี่ ถ้าเฉลี่ยต่อปี ก็ตกปีละ 3แสนล้านเองมั้ง 

 

แล้วการกู้ 2.2 ล้านๆ มันก็คือเอามาปฎิรูปคมนาคมของประเทศครั้งใหญ่ เหมือนสมัย รัชกาลที่5 ที่ท่านก่อสร้างรางรถไฟไปทั่วประเทศนั่นปะไร

 

 

 

ถูกครับ หากไม่ลงทุนในระบบ infrastructure ครั้งใหญ่ เมืองไทยก็จะหยุดชะงัก เดินหน้าต่อไม่ไหว และไม่สามารถกระจายความมั่งคั่ง เปิดโอกาสในการทำธุรกิจใหม่ๆ ได้

 

2.2 ล้านในการลงทุน infrastructure ถูกมากหากเทียบกับ 8 แสนล้านที่กู้มาละลายหายไปกับโครงการไทยเข้มแข็ง
ซึ่งจนป่านนี้ ผมยังไม่รู้เลยว่าชาวบ้านได้ประโยชน์อะไรบ้าง กระจัดกระจายเป็นเบี้ยหัวแตก หายไปกับสายลม

 

กู้เงิน 8 แสนล้านบาท โครงการนอกงบฯ 1.4 ล้านล้านบาทประชาชนอย่าเผลอ!!!


#100 โจ เอาเย็น

โจ เอาเย็น

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 4 posts

ตอบ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:31

ไทยเข็มแข็งใช้เงินแค่ 4 แสนล้านนะครับ ผมแนะนำลองเข้าไปศึกษาในเว็บโดยตรงจะดีกว่า
เงินกระจายไปทุกภูมิภาค ไม่ได้หายไปอย่างที่ท่านว่า

http://www.tkk2555.c...php?page_id=127






ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน