Jump to content


Photo
- - - - -

"นโยบายจำนำข้าวที่สูงเกินจริง สร้างบรรทัดฐานใหม่ให้คนไทย"


  • Please log in to reply
424 ความเห็นในกระทู้นี้

#151 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:38

 

 

บุ๊คมาร์คเอ๊ย  

ใครโง่ใครฉลาดน่ะ  จะมาป้ายสีกันโดยเขียนข้อความครึ่งบรรทัดด่ากันไม่ได้หรอกเฮิ๊ย   คนอ่านเขาไม่โง่หรอก เขาดูกันที่ข้อมูลหว่ะ

 

เอามาให้Tfexดู ว่าที่มันบอกว่าไม่ควรประกันและจำนำข้าว เพราะราคาข้าวไม่ได้ตกต่ำน่ะ 

 แต่ความจริงมันยิ่งกว่าตกต่ำอีก  เพราะชาวนาเขาเป็นหนี้ติดลบบานตะไทกันไปตั้งนานแล้ว

 

อยุธยา: การเปลี่ยนผ่าน เมืองเกษตรสู่นครโรงงาน

กิมอัง พงษ์นารายณ์ ชาวนา จ.ชัยนาท ผู้ประสานงานสภาเครือข่ายองค์กรเกษตรกรแห่งประเทศไทย (สค.ปท.) นำเสนอผลสรุปกรณีศึกษา จ.อยุธยาว่า อยุธยาจากที่เคยเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำ ตอนนี้กลายเป็นแหล่งอุตสาหกรรม โดยผลผลิตมวลรวม (จีดีพี) ของจังหวัดมาจากภาคอุตสาหกรรมถึง 98.27% และจากภาคเกษตรกรรมเพียง 1.73%

ชาวนาส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 62 ปี และมีแนวโน้มไม่มีลูกหลานสืบทอดอาชีพเกษตรกรต่อ ปัจจุบันเกษตรถึง 84 % เปลี่ยนไปทำอาชีพนอกภาคเกษตร ด้วยสาเหตุที่ว่ารายได้ไม่เพียงพอ ภาระหนี้สิน ราคาผลผลิตตกต่ำ และสุขภาพไม่เอื้ออำนวยตามลำดับ

ในส่วนของพื้นที่ ปัจจุบันเนื้อที่ 60% ของจ.อยุธยายังคงเป็นที่ทำนาปลูกข้าว แต่มีแนวโน้มลดลง และชาวนาส่วนใหญ่คือ 72% ไม่มีที่ดินเป็นของตนเองจึงมีการเช่าทำนามายาวนานตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย

กิมอัง กล่าวด้วยว่า ในปัจจุบันเกษตรกร 27% มีที่ดินน้อยกว่า 1 ไร่ เกษตรกร 45% มีที่ดิน 1-4 ไร่ ส่วนเกษตรกรที่มีที่ดิน 5-9 ไร่ คิดเป็น 15% รวมแล้วเกษตรกร 87% มีที่ดินน้อยกว่า 10 ไร่ และมีคนที่ต้องเช่าที่นาทำนาถึง 85% โดยเสียค่าเช่านาประมาณ 1,052 บาทต่อไร่ ซึ่งคิดเป็น 17.5% ของต้นทุนทำนาทั้งหมด 6,007 บาทต่อไร่

สำหรับเรื่องหนี้สิน เกษตรกรอยุธยากลุ่มตัวอย่างมีหนี้สินเฉลี่ย 636,387 บาทต่อครัวเรือน ในจำนวนนี้เป็นดอกเบี้ยถึง 58% ของหนี้สินทั้งหมด

 

 

 

รู้มั้ยว่า เกษตรกรที่มีที่นาน้อยกว่า 10 ไร่น่ะ ไม่มีสิทธิ์เข้าโครงการจำนำข้าว และรู้มั้ยทำไมคนไทยชอบทำงานขายของห้างกับโรงงาน มากกว่า ทำงานกรรมกร ทั้งๆ ที่ งานกรรมกร ได้เงินมากกว่า 

ไอ้ที่มีหนี้ติดลบบานตะไทน่ะ ไม่คิดว่ามันอยู่ที่การใช้เงินบ้างหรือ ทำนาแบบขี้เกียจ มันก็จน ไปดูชาวนาเงินล้านสิ เค้าบอกว่า เค้าสอนชาวนาทุกคนแหละที่เข้ามา แต่ไม่มีใครทำตาม เพราะมันขี้เกียจ ว่างก็กินเหล้า ไม่เคยคิดจะพัฒนาตัวเอง รอเงินภาษีชาวบ้านมาปลดหนี้หรือ อาชีพชาวนาบอกลำบาก มันลำบากเป็นช่วงๆ เท่านั้นแหละ เวลาว่างมันเยอะ ไม่งั้นจะอ้างได้หรือว่า ช่วงว่างต้องเข้ามาหางานทำในกรุงเทพ ถ้าไม่เข้ามาทำงานในกรุงเทพ นั่นหมายถึงมันนั่งๆ นอนๆ เลยได้ใช่มั้ยล่ะ 


Edited by Bookmarks, 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:44.


#152 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 20:11

กรณีsubsidyสินค้าเกษตร ช่วยดูไฮไลท์ตัวสีแดงด้านบนนะครับ (แต่หากเป็นช่วงที่ราคาต่ำมาก ก็จำเป็นต้องใช้มาตรการเข้ามาช่วยเหลือ)[/size]

 
 
ประเทศคู่แข่งทางการเกษตรของไทยเขา subsidy กันมากกว่าเรามากครับ และไม่ได้ subsidy เฉพาะช่วงที่ราคาต่ำมาก บางที่เขาคิดเหมาต่อที่ดินไปเลยเพื่อให้เกษตรกรเขาอยู่รอด และเขาทำมานานแล้ว ประเทศไทยเรียกว่าเพิ่งตั้งไข่เลยแหล่ะ
 
ผมเอาคู่แข่งของประเทศไทยมาให้ดูนะ
 
 
U.S.
The United States currently pays around $20 billion per year to farmers in direct subsidies as "farm income stabilization"[9][10][11] via U.S. farm bills. These bills pre-date the economic turmoil of the Great Depression with the 1922 Grain Futures Act, the 1929 Agricultural Marketing Act and the 1933 Agricultural Adjustment Act creating a tradition of government support.
 
 
 
European Union
In 2010, the EU spent €57 billion on agricultural development, of which €39 billion was spent on direct subsidies.[1] Agricultural and fisheries subsidies form over 40% of the EU budget.[2] Since 1992 (and especially since 2005), the EU's Common Agricultural Policy has undergone significant change as subsidies have mostly been decoupled from production. The largest subsidy is the Single Farm Payment.
 
The Single Farm Payment is a large proportion of income for many farmers,[8] who say they could not profit without subsidies.[9][10] However, farm subsidies in developed countries push down food prices and impoverish third-world farmers. Taxpayers in the EU get very little in return for their money.[11][12]
 
Japan
In 2009, Japan paid USD$46.5 billion in subsidies to its farmers,[22] and continued state support of farmers in Japan remains a controversial topic.[23]
 
 
 
ถามว่า หากมันง่ายอย่างนั้น ประเทศยักษ์ใหญ่ขนาดนั้น ทำไมเขาถึงไม่ทำแบบที่คุณว่า คือ จ่ายครั้งเดียวจบ ด้วยการส่งเสริมเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต ปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืชแทน?

กินไปคุยไปนะครับ

ที่คุณยกมา อยากทราบว่า

1. US subsidize เกษตรกรเค้าด้วยวิธีใด

2. ทำไมตัวเลขการใช้เงินของทั้ง US EU และญี่ปุ่น จึงต่ำเมื่อเทียบกับประเทศไทย

#153 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 20:24

อีกนิด

ในบรรทัดสุดท้ายที่คุณยกมา แสดงให้เห็นว่าญี่ปุ่นเองก็ยังมีความเห็นที่แตกต่างในเรื่องนี้

US ก็ด้วย เค้าบอกbillนี้แต่ก่อนเหมาะ แต่เดี๋ยวนี้ไม่แล้ว อ่านดูครับ

http://www.cato.org/...-farm-subsidies

#154 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:04

 

1. US subsidize เกษตรกรเค้าด้วยวิธีใด

 

 

การ subsidize เกษตรกร เหมือนกันทั่วโลก คือเอาเงินภาษีเข้าไปจ่ายอุดหนุนเกษตรกรทั้งทางตรงและทางอ้อมครับ

 

 

 

2. ทำไมตัวเลขการใช้เงินของทั้ง US EU และญี่ปุ่น จึงต่ำเมื่อเทียบกับประเทศไทย

 

 

US  $20 billion = 6 แสนล้านต่อปี
EU  €39 billion = 1.6 ล้านล้านต่อปี
ญี่ปุ่น     $46.5  billion  = 1.39 ล้านล้านต่อปี
 
 

อีกนิด

ในบรรทัดสุดท้ายที่คุณยกมา แสดงให้เห็นว่าญี่ปุ่นเองก็ยังมีความเห็นที่แตกต่างในเรื่องนี้

US ก็ด้วย เค้าบอกbillนี้แต่ก่อนเหมาะ แต่เดี๋ยวนี้ไม่แล้ว อ่านดูครับ

http://www.cato.org/...-farm-subsidies

 

 

 

เขาเลิกอุดหนุนแล้วเหรอครับ?


Edited by ประชาธิปด, 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:05.


#155 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:07

กรณีsubsidyสินค้าเกษตร ช่วยดูไฮไลท์ตัวสีแดงด้านบนนะครับ (แต่หากเป็นช่วงที่ราคาต่ำมาก ก็จำเป็นต้องใช้มาตรการเข้ามาช่วยเหลือ)[/size]



ประเทศคู่แข่งทางการเกษตรของไทยเขา subsidy กันมากกว่าเรามากครับ และไม่ได้ subsidy เฉพาะช่วงที่ราคาต่ำมาก บางที่เขาคิดเหมาต่อที่ดินไปเลยเพื่อให้เกษตรกรเขาอยู่รอด และเขาทำมานานแล้ว ประเทศไทยเรียกว่าเพิ่งตั้งไข่เลยแหล่ะ

ผมเอาคู่แข่งของประเทศไทยมาให้ดูนะ

U.S.
The United States currently pays around $20 billion per year to farmers in direct subsidies as "farm income stabilization"[9][10][11] via U.S. farm bills. These bills pre-date the economic turmoil of the Great Depression with the 1922 Grain Futures Act, the 1929 Agricultural Marketing Act and the 1933 Agricultural Adjustment Act creating a tradition of government support.


European Union
In 2010, the EU spent €57 billion on agricultural development, of which €39 billion was spent on direct subsidies.[1] Agricultural and fisheries subsidies form over 40% of the EU budget.[2] Since 1992 (and especially since 2005), the EU's Common Agricultural Policy has undergone significant change as subsidies have mostly been decoupled from production. The largest subsidy is the Single Farm Payment.

The Single Farm Payment is a large proportion of income for many farmers,[8] who say they could not profit without subsidies.[9][10] However, farm subsidies in developed countries push down food prices and impoverish third-world farmers. Taxpayers in the EU get very little in return for their money.[11][12]
Japan
In 2009, Japan paid USD$46.5 billion in subsidies to its farmers,[22] and continued state support of farmers in Japan remains a controversial topic.[23]



ถามว่า หากมันง่ายอย่างนั้น ประเทศยักษ์ใหญ่ขนาดนั้น ทำไมเขาถึงไม่ทำแบบที่คุณว่า คือ จ่ายครั้งเดียวจบ ด้วยการส่งเสริมเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต ปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืชแทน?
กินไปคุยไปนะครับ
ที่คุณยกมา อยากทราบว่า
1. US subsidize เกษตรกรเค้าด้วยวิธีใด
2. ทำไมตัวเลขการใช้เงินของทั้ง US EU และญี่ปุ่น จึงต่ำเมื่อเทียบกับประเทศไทย
อ่านนี่นะครับ จะเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบัน ความเข้าใจของคุณอาจถูกต้อง แต่เป็นสมัยสงครามโลก ไม่ใช่ตอนนี้

http://m.wisegeek.or...m-subsidies.htm

Edited by TFEX, 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:09.


#156 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:13

 

 

 

กรณีsubsidyสินค้าเกษตร ช่วยดูไฮไลท์ตัวสีแดงด้านบนนะครับ (แต่หากเป็นช่วงที่ราคาต่ำมาก ก็จำเป็นต้องใช้มาตรการเข้ามาช่วยเหลือ)[/size]



ประเทศคู่แข่งทางการเกษตรของไทยเขา subsidy กันมากกว่าเรามากครับ และไม่ได้ subsidy เฉพาะช่วงที่ราคาต่ำมาก บางที่เขาคิดเหมาต่อที่ดินไปเลยเพื่อให้เกษตรกรเขาอยู่รอด และเขาทำมานานแล้ว ประเทศไทยเรียกว่าเพิ่งตั้งไข่เลยแหล่ะ

ผมเอาคู่แข่งของประเทศไทยมาให้ดูนะ

U.S.
The United States currently pays around $20 billion per year to farmers in direct subsidies as "farm income stabilization"[9][10][11] via U.S. farm bills. These bills pre-date the economic turmoil of the Great Depression with the 1922 Grain Futures Act, the 1929 Agricultural Marketing Act and the 1933 Agricultural Adjustment Act creating a tradition of government support.


European Union
In 2010, the EU spent €57 billion on agricultural development, of which €39 billion was spent on direct subsidies.[1] Agricultural and fisheries subsidies form over 40% of the EU budget.[2] Since 1992 (and especially since 2005), the EU's Common Agricultural Policy has undergone significant change as subsidies have mostly been decoupled from production. The largest subsidy is the Single Farm Payment.

The Single Farm Payment is a large proportion of income for many farmers,[8] who say they could not profit without subsidies.[9][10] However, farm subsidies in developed countries push down food prices and impoverish third-world farmers. Taxpayers in the EU get very little in return for their money.[11][12]
Japan
In 2009, Japan paid USD$46.5 billion in subsidies to its farmers,[22] and continued state support of farmers in Japan remains a controversial topic.[23]



ถามว่า หากมันง่ายอย่างนั้น ประเทศยักษ์ใหญ่ขนาดนั้น ทำไมเขาถึงไม่ทำแบบที่คุณว่า คือ จ่ายครั้งเดียวจบ ด้วยการส่งเสริมเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต ปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืชแทน?
กินไปคุยไปนะครับ
ที่คุณยกมา อยากทราบว่า
1. US subsidize เกษตรกรเค้าด้วยวิธีใด
2. ทำไมตัวเลขการใช้เงินของทั้ง US EU และญี่ปุ่น จึงต่ำเมื่อเทียบกับประเทศไทย
อ่านนี่นะครับ จะเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบัน ความเข้าใจของคุณอาจถูกต้อง แต่เป็นสมัยสงครามโลก ไม่ใช่ตอนนี้

http://m.wisegeek.or...m-subsidies.htm

 

 

 

คุณครับ เกษตรกรสหรัฐ ญี่ปุ่น ยุโรป เขาฐานะมั่นคงมากกว่าเกษตรกรไทยมากมาย 

เขายังอุดหนุนเกษตรกรเขา

เราเพิ่งเริ่ม เกษตรกรเรายังจมปลักหนี้สินล้นพ้นอยุ่เลย เพราะเขาต้องขายข้าวราคาถูกให้พวกคุณกินมานานหลายทศวรรษ

วันนี้รัฐบาลจะให้เขาขายข้าวราคาเดิมให้คุณกิน แต่เอาเงินภาษีคุณในส่วนที่เขาควรจะได้ไปคืนให้เขา คุณกลับไปบอกให้เขาไปช่วยตัวเอง

แล้วไอ้ที่ subsidise โรงงานทอผ้า โรงงานรองเท้าโลวเทค โดยการกดค่าแรงคนงานเขาไว้ตั้งหลายปี ทำไมไม่บอกให้เขาไปช่วยตัวเองหล่ะครับ?



#157 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:17

TFEX ผมถามคุณนะ หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณอยากทำหรือเปล่า?



#158 -3-

-3-

    ตัวละครลับ

  • Moderators
  • 8,707 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:27

 

คุณครับ เกษตรกรสหรัฐ ญี่ปุ่น ยุโรป เขาฐานะมั่นคงมากกว่าเกษตรกรไทยมากมาย 

เขายังอุดหนุนเกษตรกรเขา

เราเพิ่งเริ่ม เกษตรกรเรายังจมปลักหนี้สินล้นพ้นอยุ่เลย เพราะเขาต้องขายข้าวราคาถูกให้พวกคุณกินมานานหลายทศวรรษ

วันนี้รัฐบาลจะให้เขาขายข้าวราคาเดิมให้คุณกิน แต่เอาเงินภาษีคุณในส่วนที่เขาควรจะได้ไปคืนให้เขา คุณกลับไปบอกให้เขาไปช่วยตัวเอง

แล้วไอ้ที่ subsidise โรงงานทอผ้า โรงงานรองเท้าโลวเทค โดยการกดค่าแรงคนงานเขาไว้ตั้งหลายปี ทำไมไม่บอกให้เขาไปช่วยตัวเองหล่ะครับ?

 

 

เขาขายข้าวให้ใครครับ ให้ผมโดยตรงเหรอ?

 

แต่ที่แน่ๆ ผมก็ซื้อข้าวกินครับ ไม่ได้ขอฟรีๆ  :huh:


"I want you to form a contract with me and become magical girls!" - kyubey
 
/人 ‿‿ ◕人\

#159 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:32

เอาเรื่องเดิมก่อนนะครับ

1. US ไม่ได้รับจำนำ แต่ใช้วิธีให้เงินโดยตรง คือการให้แบบครั้งเดียวจบ เหมือนที่ผมบอกให้ช่วยเรื่องปุ๋ย/ยาปราบศัตรูพืช ใช่หรือไม่

2. ตัวเลขของทั้ง3ประเทศที่คุณยกมา เป็นยอดเงินการอุดหนุนสินค้าเกษตรประเภทอื่นรวมอยู่ด้วย อีกทั้งจำนวนผู้ได้รับการช่วยเหลือนั้นมากมายนัก ลองคำนวนดูครับว่าเราอุดหนุนแค่ข้าวอย่างเดียวเป็นสัดส่วนเท่าไหร่ มากหรือน้อยเมื่อเปรียบเทียบกัน

#160 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:39

เอาเรื่องเดิมก่อนนะครับ

1. US ไม่ได้รับจำนำ แต่ใช้วิธีให้เงินโดยตรง คือการให้แบบครั้งเดียวจบ เหมือนที่ผมบอกให้ช่วยเรื่องปุ๋ย/ยาปราบศัตรูพืช ใช่หรือไม่
 

 

เขาให้ทุกปีครับ

ช่วยเรื่องยาเรื่องปุ๋ยมันข้ออ้างครับ มันก็คือการเอาเงินไปแจกนั่นแหล่ะ

 

2. ตัวเลขของทั้ง3ประเทศที่คุณยกมา เป็นยอดเงินการอุดหนุนสินค้าเกษตรประเภทอื่นรวมอยู่ด้วย อีกทั้งจำนวนผู้ได้รับการช่วยเหลือนั้นมากมายนัก ลองคำนวนดูครับว่าเราอุดหนุนแค่ข้าวอย่างเดียวเป็นสัดส่วนเท่าไหร่ มากหรือน้อยเมื่อเปรียบเทียบกัน

 

 

ญี่ปุ่นมีประชากรมากกว่าไทย 2 เท่าเท่านั้นนะครับ % เกษตรกร-สหรัฐ ญี่ปุ่น อียู ต่ำกว่าไทยมาก

ลองหารต่อหัวดูสิครับ



#161 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:47

ที่ผมบอกว่าให้ครั้งเดียวจบ ไม่ได้หมายถึงให้แค่ปีเดียวครับ หมานถึงให้ครั้งเดียวแล้วรัฐไม่ต้องรับภาระเรื่องการดูแลรักษาและการระบายข้าวครับ

เรื่องตัวเลขการอุดหนุน อย่าลืมเอาค่าเงิน ค่าครองชีพมาคำนวนด้วยนะครับ

#162 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:58

ผมสรุปว่า ประเทศอื่นเค้ากำลังจะเลิกอุดหนุน เช่น อเมริกา เพราะสถาณการณ์ปัจจุบันมันไม่ใช่แล้ว แต่เรากลับสวนทาง

ลองอ่านลิงค์ที่ผมแปะไปนะครับ

#163 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:58

ที่ผมบอกว่าให้ครั้งเดียวจบ ไม่ได้หมายถึงให้แค่ปีเดียวครับ หมานถึงให้ครั้งเดียวแล้วรัฐไม่ต้องรับภาระเรื่องการดูแลรักษาและการระบายข้าวครับ

เรื่องตัวเลขการอุดหนุน อย่าลืมเอาค่าเงิน ค่าครองชีพมาคำนวนด้วยนะครับ

 

 

แต่ละประเทศมีวิธีการให้เงินไม่เหมือนกันครับ วิธีคิดรายละเอียดต่างกัน แต่หลักการใหญ่เหมือนกัน คือความมั่นคงทางอาหารเป็นเรื่องหลัก

 

เรื่องค่าครองชีพ ผมถามว่าเกษตรกรไทยยังจนกว่าเกษตรกรในสหรัฐ อียู ญี่ปุ่น ถูกไหม 

 

เกษตรกรในสามภูมิภาคนั้นรัฐบาลเขาให้แค่ที่คุณเห็น เขาอยู่ได้

 

เกษตรกรเราให้เขาโลละ 15 บาท เขา "กัดฟัน" อยู่ได้

 

ผมจึงถามคุณว่า  หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณจะไปทำหรือเปล่า?



#164 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 21:59

ผมสรุปว่า ประเทศอื่นเค้ากำลังจะเลิกอุดหนุน เช่น อเมริกา เพราะสถาณการณ์ปัจจุบันมันไม่ใช่แล้ว แต่เรากลับสวนทาง

ลองอ่านลิงค์ที่ผมแปะไปนะครับ

 

 

เขาเลิกแล้วยังครับ?



#165 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:00

 

ที่ผมบอกว่าให้ครั้งเดียวจบ ไม่ได้หมายถึงให้แค่ปีเดียวครับ หมานถึงให้ครั้งเดียวแล้วรัฐไม่ต้องรับภาระเรื่องการดูแลรักษาและการระบายข้าวครับ

เรื่องตัวเลขการอุดหนุน อย่าลืมเอาค่าเงิน ค่าครองชีพมาคำนวนด้วยนะครับ

 

 

แต่ละประเทศมีวิธีการให้เงินไม่เหมือนกันครับ วิธีคิดรายละเอียดต่างกัน แต่หลักการใหญ่เหมือนกัน คือความมั่นคงทางอาหารเป็นเรื่องหลัก

 

เรื่องค่าครองชีพ ผมถามว่าเกษตรกรไทยยังจนกว่าเกษตรกรในสหรัฐ อียู ญี่ปุ่น ถูกไหม 

 

เกษตรกรในสามภูมิภาคนั้นรัฐบาลเขาให้แค่ที่คุณเห็น เขาอยู่ได้

 

เกษตรกรเราให้เขาโลละ 15 บาท เขา "กัดฟัน" อยู่ได้

 

ผมจึงถามคุณว่า  หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณจะไปทำหรือเปล่า?

 

 

ราคาดีกว่า NGV อีกนะ :lol:  :lol:  :lol:  :lol:  :lol:


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#166 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:01

 

 

 

 

กรณีsubsidyสินค้าเกษตร ช่วยดูไฮไลท์ตัวสีแดงด้านบนนะครับ (แต่หากเป็นช่วงที่ราคาต่ำมาก ก็จำเป็นต้องใช้มาตรการเข้ามาช่วยเหลือ)[/size]



ประเทศคู่แข่งทางการเกษตรของไทยเขา subsidy กันมากกว่าเรามากครับ และไม่ได้ subsidy เฉพาะช่วงที่ราคาต่ำมาก บางที่เขาคิดเหมาต่อที่ดินไปเลยเพื่อให้เกษตรกรเขาอยู่รอด และเขาทำมานานแล้ว ประเทศไทยเรียกว่าเพิ่งตั้งไข่เลยแหล่ะ

ผมเอาคู่แข่งของประเทศไทยมาให้ดูนะ

U.S.
The United States currently pays around $20 billion per year to farmers in direct subsidies as "farm income stabilization"[9][10][11] via U.S. farm bills. These bills pre-date the economic turmoil of the Great Depression with the 1922 Grain Futures Act, the 1929 Agricultural Marketing Act and the 1933 Agricultural Adjustment Act creating a tradition of government support.


European Union
In 2010, the EU spent €57 billion on agricultural development, of which €39 billion was spent on direct subsidies.[1] Agricultural and fisheries subsidies form over 40% of the EU budget.[2] Since 1992 (and especially since 2005), the EU's Common Agricultural Policy has undergone significant change as subsidies have mostly been decoupled from production. The largest subsidy is the Single Farm Payment.

The Single Farm Payment is a large proportion of income for many farmers,[8] who say they could not profit without subsidies.[9][10] However, farm subsidies in developed countries push down food prices and impoverish third-world farmers. Taxpayers in the EU get very little in return for their money.[11][12]
Japan
In 2009, Japan paid USD$46.5 billion in subsidies to its farmers,[22] and continued state support of farmers in Japan remains a controversial topic.[23]



ถามว่า หากมันง่ายอย่างนั้น ประเทศยักษ์ใหญ่ขนาดนั้น ทำไมเขาถึงไม่ทำแบบที่คุณว่า คือ จ่ายครั้งเดียวจบ ด้วยการส่งเสริมเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต ปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืชแทน?
กินไปคุยไปนะครับ
ที่คุณยกมา อยากทราบว่า
1. US subsidize เกษตรกรเค้าด้วยวิธีใด
2. ทำไมตัวเลขการใช้เงินของทั้ง US EU และญี่ปุ่น จึงต่ำเมื่อเทียบกับประเทศไทย
อ่านนี่นะครับ จะเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบัน ความเข้าใจของคุณอาจถูกต้อง แต่เป็นสมัยสงครามโลก ไม่ใช่ตอนนี้

http://m.wisegeek.or...m-subsidies.htm

 

 

 

คุณครับ เกษตรกรสหรัฐ ญี่ปุ่น ยุโรป เขาฐานะมั่นคงมากกว่าเกษตรกรไทยมากมาย 

เขายังอุดหนุนเกษตรกรเขา

เราเพิ่งเริ่ม เกษตรกรเรายังจมปลักหนี้สินล้นพ้นอยุ่เลย เพราะเขาต้องขายข้าวราคาถูกให้พวกคุณกินมานานหลายทศวรรษ

วันนี้รัฐบาลจะให้เขาขายข้าวราคาเดิมให้คุณกิน แต่เอาเงินภาษีคุณในส่วนที่เขาควรจะได้ไปคืนให้เขา คุณกลับไปบอกให้เขาไปช่วยตัวเอง

แล้วไอ้ที่ subsidise โรงงานทอผ้า โรงงานรองเท้าโลวเทค โดยการกดค่าแรงคนงานเขาไว้ตั้งหลายปี ทำไมไม่บอกให้เขาไปช่วยตัวเองหล่ะครับ?

 

ชาวนาขายข้าวราคาถูกให้กิน หรือว่า พ่อค้าคนกลางมันเอาไปหมด อย่าว่าแต่ข้าวเลย สินค้าเกษตรทุกตัว พ่อค้าคนกลางมันกดราคาไว้อยู่ 



#167 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:10

 

 

 

 

 

กรณีsubsidyสินค้าเกษตร ช่วยดูไฮไลท์ตัวสีแดงด้านบนนะครับ (แต่หากเป็นช่วงที่ราคาต่ำมาก ก็จำเป็นต้องใช้มาตรการเข้ามาช่วยเหลือ)[/size]



ประเทศคู่แข่งทางการเกษตรของไทยเขา subsidy กันมากกว่าเรามากครับ และไม่ได้ subsidy เฉพาะช่วงที่ราคาต่ำมาก บางที่เขาคิดเหมาต่อที่ดินไปเลยเพื่อให้เกษตรกรเขาอยู่รอด และเขาทำมานานแล้ว ประเทศไทยเรียกว่าเพิ่งตั้งไข่เลยแหล่ะ

ผมเอาคู่แข่งของประเทศไทยมาให้ดูนะ

U.S.
The United States currently pays around $20 billion per year to farmers in direct subsidies as "farm income stabilization"[9][10][11] via U.S. farm bills. These bills pre-date the economic turmoil of the Great Depression with the 1922 Grain Futures Act, the 1929 Agricultural Marketing Act and the 1933 Agricultural Adjustment Act creating a tradition of government support.


European Union
In 2010, the EU spent €57 billion on agricultural development, of which €39 billion was spent on direct subsidies.[1] Agricultural and fisheries subsidies form over 40% of the EU budget.[2] Since 1992 (and especially since 2005), the EU's Common Agricultural Policy has undergone significant change as subsidies have mostly been decoupled from production. The largest subsidy is the Single Farm Payment.

The Single Farm Payment is a large proportion of income for many farmers,[8] who say they could not profit without subsidies.[9][10] However, farm subsidies in developed countries push down food prices and impoverish third-world farmers. Taxpayers in the EU get very little in return for their money.[11][12]
Japan
In 2009, Japan paid USD$46.5 billion in subsidies to its farmers,[22] and continued state support of farmers in Japan remains a controversial topic.[23]



ถามว่า หากมันง่ายอย่างนั้น ประเทศยักษ์ใหญ่ขนาดนั้น ทำไมเขาถึงไม่ทำแบบที่คุณว่า คือ จ่ายครั้งเดียวจบ ด้วยการส่งเสริมเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต ปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืชแทน?
กินไปคุยไปนะครับ
ที่คุณยกมา อยากทราบว่า
1. US subsidize เกษตรกรเค้าด้วยวิธีใด
2. ทำไมตัวเลขการใช้เงินของทั้ง US EU และญี่ปุ่น จึงต่ำเมื่อเทียบกับประเทศไทย
อ่านนี่นะครับ จะเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบัน ความเข้าใจของคุณอาจถูกต้อง แต่เป็นสมัยสงครามโลก ไม่ใช่ตอนนี้

http://m.wisegeek.or...m-subsidies.htm

 

 

 

คุณครับ เกษตรกรสหรัฐ ญี่ปุ่น ยุโรป เขาฐานะมั่นคงมากกว่าเกษตรกรไทยมากมาย 

เขายังอุดหนุนเกษตรกรเขา

เราเพิ่งเริ่ม เกษตรกรเรายังจมปลักหนี้สินล้นพ้นอยุ่เลย เพราะเขาต้องขายข้าวราคาถูกให้พวกคุณกินมานานหลายทศวรรษ

วันนี้รัฐบาลจะให้เขาขายข้าวราคาเดิมให้คุณกิน แต่เอาเงินภาษีคุณในส่วนที่เขาควรจะได้ไปคืนให้เขา คุณกลับไปบอกให้เขาไปช่วยตัวเอง

แล้วไอ้ที่ subsidise โรงงานทอผ้า โรงงานรองเท้าโลวเทค โดยการกดค่าแรงคนงานเขาไว้ตั้งหลายปี ทำไมไม่บอกให้เขาไปช่วยตัวเองหล่ะครับ?

 

ชาวนาขายข้าวราคาถูกให้กิน หรือว่า พ่อค้าคนกลางมันเอาไปหมด อย่าว่าแต่ข้าวเลย สินค้าเกษตรทุกตัว พ่อค้าคนกลางมันกดราคาไว้อยู่ 

 

 

 

ที่เขากดได้ก็เพราะชาวนาขายข้าวได้โลละ 15 ไงครับ

ถูกอย่างกะขี้

 

ผมถาม TFEX ว่าเอาไหม ไปปลูกข้าวขายโลละ 15 บาท เขายังคิดอยู่ตั้งนาน ตอบไม่ได้เลย

ยางโลละ 100 นะ ชาวนาแห่เอาที่นาไปปลูกยางหมด

 

ตอนนี้ยางเหลือโลละ 80 หากเห็นว่าถูกกว่าข้าวที่โลละ 15 ก็แห่กลับมาปลูกข้าวเลยครับ

ตามหลัก demand-supply



#168 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:11

ที่ผมบอกว่าให้ครั้งเดียวจบ ไม่ได้หมายถึงให้แค่ปีเดียวครับ หมานถึงให้ครั้งเดียวแล้วรัฐไม่ต้องรับภาระเรื่องการดูแลรักษาและการระบายข้าวครับ
เรื่องตัวเลขการอุดหนุน อย่าลืมเอาค่าเงิน ค่าครองชีพมาคำนวนด้วยนะครับ

 
 
แต่ละประเทศมีวิธีการให้เงินไม่เหมือนกันครับ วิธีคิดรายละเอียดต่างกัน แต่หลักการใหญ่เหมือนกัน คือความมั่นคงทางอาหารเป็นเรื่องหลัก
 
เรื่องค่าครองชีพ ผมถามว่าเกษตรกรไทยยังจนกว่าเกษตรกรในสหรัฐ อียู ญี่ปุ่น ถูกไหม 
 
เกษตรกรในสามภูมิภาคนั้นรัฐบาลเขาให้แค่ที่คุณเห็น เขาอยู่ได้
 
เกษตรกรเราให้เขาโลละ 15 บาท เขา "กัดฟัน" อยู่ได้
 
ผมจึงถามคุณว่า  หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณจะไปทำหรือเปล่า?

ผมคิดว่าประเด็นความมั่นคงทางด้านอาหาร ไม่ใช่เหตุผลที่รัฐบาลตปท.ยังsubsidizeอยู่ครับ มันเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องมาจากช่วงสงครามและภัยพิบัติทางธรรมชาติในอดีต

ปัจจุบันไม่มีเรื่องอย่างนั้นแล้ว ความเสี่ยงด้านความมั่นคงทางอาหารไม่มี เค้าถึงเรียกร้องให้ยกเลิกกันครับ

ปล.เว้นแต่ประเด็นเรื่องการลดการพึ่งพาการนำเข้าอาหารจากต่างประเทศ อันนี้ยังมีอยู่

#169 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:17

 

 

ที่ผมบอกว่าให้ครั้งเดียวจบ ไม่ได้หมายถึงให้แค่ปีเดียวครับ หมานถึงให้ครั้งเดียวแล้วรัฐไม่ต้องรับภาระเรื่องการดูแลรักษาและการระบายข้าวครับ
เรื่องตัวเลขการอุดหนุน อย่าลืมเอาค่าเงิน ค่าครองชีพมาคำนวนด้วยนะครับ

 
 
แต่ละประเทศมีวิธีการให้เงินไม่เหมือนกันครับ วิธีคิดรายละเอียดต่างกัน แต่หลักการใหญ่เหมือนกัน คือความมั่นคงทางอาหารเป็นเรื่องหลัก
 
เรื่องค่าครองชีพ ผมถามว่าเกษตรกรไทยยังจนกว่าเกษตรกรในสหรัฐ อียู ญี่ปุ่น ถูกไหม 
 
เกษตรกรในสามภูมิภาคนั้นรัฐบาลเขาให้แค่ที่คุณเห็น เขาอยู่ได้
 
เกษตรกรเราให้เขาโลละ 15 บาท เขา "กัดฟัน" อยู่ได้
 
ผมจึงถามคุณว่า  หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณจะไปทำหรือเปล่า?

ผมคิดว่าประเด็นความมั่นคงทางด้านอาหาร ไม่ใช่เหตุผลที่รัฐบาลตปท.ยังsubsidizeอยู่ครับ มันเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องมาจากช่วงสงครามและภัยพิบัติทางธรรมชาติในอดีต

ปัจจุบันไม่มีเรื่องอย่างนั้นแล้ว ความเสี่ยงด้านความมั่นคงทางอาหารไม่มี เค้าถึงเรียกร้องให้ยกเลิกกันครับ

ปล.เว้นแต่ประเด็นเรื่องการลดการพึ่งพาการนำเข้าอาหารจากต่างประเทศ อันนี้ยังมีอยู่

 

 

เอางี้ TFEX คุณบอกว่าประเด็นความมั่นคงทางอาหารไม่มีแล้ว

งั้นเราให้ชาวนาเปลี่ยนไปทำสวนยางให้หมดทั้งประเทศ ให้ราคาโลละ 100 แล้วซื้อข้าวมากินกัน

เอาไหม?

 

คุณนั่งคิดจากห้องแอร์ กินข้าวเปล่าจานละ 10 บาท ถูกยังกะขี้ กินทิ้งกินขว้างได้เพราะอะไรรู้ไหม หากไม่ใช่เพราะชาวนาเขาลำบากทำนามาขายโลละ 15 ไง

คุณเองยังไม่อยากไปทำเลย

ดันไปบอกให้เขาเพิ่มประสิทธิภาพ ยังกะมันทำได้ง่ายๆ เหมือนในตำราที่คุณเรียนมา



#170 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:21

 

 

 

ที่ผมบอกว่าให้ครั้งเดียวจบ ไม่ได้หมายถึงให้แค่ปีเดียวครับ หมานถึงให้ครั้งเดียวแล้วรัฐไม่ต้องรับภาระเรื่องการดูแลรักษาและการระบายข้าวครับ
เรื่องตัวเลขการอุดหนุน อย่าลืมเอาค่าเงิน ค่าครองชีพมาคำนวนด้วยนะครับ

 
 
แต่ละประเทศมีวิธีการให้เงินไม่เหมือนกันครับ วิธีคิดรายละเอียดต่างกัน แต่หลักการใหญ่เหมือนกัน คือความมั่นคงทางอาหารเป็นเรื่องหลัก
 
เรื่องค่าครองชีพ ผมถามว่าเกษตรกรไทยยังจนกว่าเกษตรกรในสหรัฐ อียู ญี่ปุ่น ถูกไหม 
 
เกษตรกรในสามภูมิภาคนั้นรัฐบาลเขาให้แค่ที่คุณเห็น เขาอยู่ได้
 
เกษตรกรเราให้เขาโลละ 15 บาท เขา "กัดฟัน" อยู่ได้
 
ผมจึงถามคุณว่า  หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณจะไปทำหรือเปล่า?

ผมคิดว่าประเด็นความมั่นคงทางด้านอาหาร ไม่ใช่เหตุผลที่รัฐบาลตปท.ยังsubsidizeอยู่ครับ มันเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องมาจากช่วงสงครามและภัยพิบัติทางธรรมชาติในอดีต

ปัจจุบันไม่มีเรื่องอย่างนั้นแล้ว ความเสี่ยงด้านความมั่นคงทางอาหารไม่มี เค้าถึงเรียกร้องให้ยกเลิกกันครับ

ปล.เว้นแต่ประเด็นเรื่องการลดการพึ่งพาการนำเข้าอาหารจากต่างประเทศ อันนี้ยังมีอยู่

 

 

เอางี้ TFEX คุณบอกว่าประเด็นความมั่นคงทางอาหารไม่มีแล้ว

งั้นเราให้ชาวนาเปลี่ยนไปทำสวนยางให้หมดทั้งประเทศ ให้ราคาโลละ 100 แล้วซื้อข้าวมากินกัน

เอาไหม?

 

คุณนั่งคิดจากห้องแอร์ กินข้าวเปล่าจานละ 10 บาท ถูกยังกะขี้ กินทิ้งกินขว้างได้เพราะอะไรรู้ไหม หากไม่ใช่เพราะชาวนาเขาลำบากทำนามาขายโลละ 15 ไง

คุณเองยังไม่อยากไปทำเลย

ดันไปบอกให้เขาเพิ่มประสิทธิภาพ ยังกะมันทำได้ง่ายๆ เหมือนในตำราที่คุณเรียนมา

 

 

NGV ทำจากขี้ก็มีนะ ถูกด้วย ไม่เกิน กก.ละ 5 บาท สนใจไหม


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#171 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:56

 

 

 

 

 

 

กรณีsubsidyสินค้าเกษตร ช่วยดูไฮไลท์ตัวสีแดงด้านบนนะครับ (แต่หากเป็นช่วงที่ราคาต่ำมาก ก็จำเป็นต้องใช้มาตรการเข้ามาช่วยเหลือ)[/size]



ประเทศคู่แข่งทางการเกษตรของไทยเขา subsidy กันมากกว่าเรามากครับ และไม่ได้ subsidy เฉพาะช่วงที่ราคาต่ำมาก บางที่เขาคิดเหมาต่อที่ดินไปเลยเพื่อให้เกษตรกรเขาอยู่รอด และเขาทำมานานแล้ว ประเทศไทยเรียกว่าเพิ่งตั้งไข่เลยแหล่ะ

ผมเอาคู่แข่งของประเทศไทยมาให้ดูนะ

U.S.
The United States currently pays around $20 billion per year to farmers in direct subsidies as "farm income stabilization"[9][10][11] via U.S. farm bills. These bills pre-date the economic turmoil of the Great Depression with the 1922 Grain Futures Act, the 1929 Agricultural Marketing Act and the 1933 Agricultural Adjustment Act creating a tradition of government support.


European Union
In 2010, the EU spent €57 billion on agricultural development, of which €39 billion was spent on direct subsidies.[1] Agricultural and fisheries subsidies form over 40% of the EU budget.[2] Since 1992 (and especially since 2005), the EU's Common Agricultural Policy has undergone significant change as subsidies have mostly been decoupled from production. The largest subsidy is the Single Farm Payment.

The Single Farm Payment is a large proportion of income for many farmers,[8] who say they could not profit without subsidies.[9][10] However, farm subsidies in developed countries push down food prices and impoverish third-world farmers. Taxpayers in the EU get very little in return for their money.[11][12]
Japan
In 2009, Japan paid USD$46.5 billion in subsidies to its farmers,[22] and continued state support of farmers in Japan remains a controversial topic.[23]



ถามว่า หากมันง่ายอย่างนั้น ประเทศยักษ์ใหญ่ขนาดนั้น ทำไมเขาถึงไม่ทำแบบที่คุณว่า คือ จ่ายครั้งเดียวจบ ด้วยการส่งเสริมเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต ปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืชแทน?
กินไปคุยไปนะครับ
ที่คุณยกมา อยากทราบว่า
1. US subsidize เกษตรกรเค้าด้วยวิธีใด
2. ทำไมตัวเลขการใช้เงินของทั้ง US EU และญี่ปุ่น จึงต่ำเมื่อเทียบกับประเทศไทย
อ่านนี่นะครับ จะเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบัน ความเข้าใจของคุณอาจถูกต้อง แต่เป็นสมัยสงครามโลก ไม่ใช่ตอนนี้

http://m.wisegeek.or...m-subsidies.htm

 

 

 

คุณครับ เกษตรกรสหรัฐ ญี่ปุ่น ยุโรป เขาฐานะมั่นคงมากกว่าเกษตรกรไทยมากมาย 

เขายังอุดหนุนเกษตรกรเขา

เราเพิ่งเริ่ม เกษตรกรเรายังจมปลักหนี้สินล้นพ้นอยุ่เลย เพราะเขาต้องขายข้าวราคาถูกให้พวกคุณกินมานานหลายทศวรรษ

วันนี้รัฐบาลจะให้เขาขายข้าวราคาเดิมให้คุณกิน แต่เอาเงินภาษีคุณในส่วนที่เขาควรจะได้ไปคืนให้เขา คุณกลับไปบอกให้เขาไปช่วยตัวเอง

แล้วไอ้ที่ subsidise โรงงานทอผ้า โรงงานรองเท้าโลวเทค โดยการกดค่าแรงคนงานเขาไว้ตั้งหลายปี ทำไมไม่บอกให้เขาไปช่วยตัวเองหล่ะครับ?

 

ชาวนาขายข้าวราคาถูกให้กิน หรือว่า พ่อค้าคนกลางมันเอาไปหมด อย่าว่าแต่ข้าวเลย สินค้าเกษตรทุกตัว พ่อค้าคนกลางมันกดราคาไว้อยู่ 

 

 

 

ที่เขากดได้ก็เพราะชาวนาขายข้าวได้โลละ 15 ไงครับ

ถูกอย่างกะขี้

 

ผมถาม TFEX ว่าเอาไหม ไปปลูกข้าวขายโลละ 15 บาท เขายังคิดอยู่ตั้งนาน ตอบไม่ได้เลย

ยางโลละ 100 นะ ชาวนาแห่เอาที่นาไปปลูกยางหมด

 

ตอนนี้ยางเหลือโลละ 80 หากเห็นว่าถูกกว่าข้าวที่โลละ 15 ก็แห่กลับมาปลูกข้าวเลยครับ

ตามหลัก demand-supply

 

ก็แล้วทำไมไม่ใ้ห้ชาวนาไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ราคามันดีล่ะ ถ้าคิดแบบนี้ จะได้ไม่ต้องจ่ายส่วนต่างเกือบเท่าตัวด้วยเงินภาษีชาวบ้าน ข้าวที่ชาวนาขายได้มันถูกยังกับขี้ อันนี้รัฐบาลต้องไปควบคุมพ่อค้าคนกลาง ไม่ใช่เอาเงินภาษีชาวบ้านไปจ่ายส่วนต่างให้ แล้วโรงสีก็กดราคาชาวนาอยู่ดี และชาวบ้านทีกินข้าวน่ะ ก็ไม่ได้กินข้าวที่ราคาถูกยังกับขี้ด้วยนะ แต่กินข้าวในราคาแพง แถมยังต้องเอาเงินภาษีไปให้ชาวนาอีก ไปดูสื่อต่างประเทศที่เค้าวิจารณ์สิ เอาเงินมาจ่ายส่วนตรงนี้ แทนที่จะพัฒนาชาวนาให้ลดต้นทุน 

เหตุผลอะไรถึงต้องให้ชาวนาที่ 15000 บาท เพราะชาวนาเป็นหนี้หรือ เลยต้องใช้วิธีนี้ปลดหนี้ให้ชาวนา เหตุผลมันทุเรศ ชิบหาย ประเทศนี้ไม่ได้มีอาชีพชาวนาเท่านั้น ที่ลำบากนะ ถึงได้ช่วยแต่ชาวนา 


Edited by Bookmarks, 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:59.


#172 เซงกี่ เออเดะ

เซงกี่ เออเดะ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 342 posts

ตอบ 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 23:57

 

 

 

ที่ผมบอกว่าให้ครั้งเดียวจบ ไม่ได้หมายถึงให้แค่ปีเดียวครับ หมานถึงให้ครั้งเดียวแล้วรัฐไม่ต้องรับภาระเรื่องการดูแลรักษาและการระบายข้าวครับ
เรื่องตัวเลขการอุดหนุน อย่าลืมเอาค่าเงิน ค่าครองชีพมาคำนวนด้วยนะครับ

 
 
แต่ละประเทศมีวิธีการให้เงินไม่เหมือนกันครับ วิธีคิดรายละเอียดต่างกัน แต่หลักการใหญ่เหมือนกัน คือความมั่นคงทางอาหารเป็นเรื่องหลัก
 
เรื่องค่าครองชีพ ผมถามว่าเกษตรกรไทยยังจนกว่าเกษตรกรในสหรัฐ อียู ญี่ปุ่น ถูกไหม 
 
เกษตรกรในสามภูมิภาคนั้นรัฐบาลเขาให้แค่ที่คุณเห็น เขาอยู่ได้
 
เกษตรกรเราให้เขาโลละ 15 บาท เขา "กัดฟัน" อยู่ได้
 
ผมจึงถามคุณว่า  หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณจะไปทำหรือเปล่า?

ผมคิดว่าประเด็นความมั่นคงทางด้านอาหาร ไม่ใช่เหตุผลที่รัฐบาลตปท.ยังsubsidizeอยู่ครับ มันเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องมาจากช่วงสงครามและภัยพิบัติทางธรรมชาติในอดีต

ปัจจุบันไม่มีเรื่องอย่างนั้นแล้ว ความเสี่ยงด้านความมั่นคงทางอาหารไม่มี เค้าถึงเรียกร้องให้ยกเลิกกันครับ

ปล.เว้นแต่ประเด็นเรื่องการลดการพึ่งพาการนำเข้าอาหารจากต่างประเทศ อันนี้ยังมีอยู่

 

 

เอางี้ TFEX คุณบอกว่าประเด็นความมั่นคงทางอาหารไม่มีแล้ว

งั้นเราให้ชาวนาเปลี่ยนไปทำสวนยางให้หมดทั้งประเทศ ให้ราคาโลละ 100 แล้วซื้อข้าวมากินกัน

เอาไหม?

 เหมือนมีใครไม่รุ้พยายามให้ปลูกยางทั่วประเทศจนตอนนี้ก้ะมียางอยุ่หลายภูมิภาค คุณคิดว่าเขาบ้าหรือเปล่า??

 

คุณนั่งคิดจากห้องแอร์ กินข้าวเปล่าจานละ 10 บาท ถูกยังกะขี้ กินทิ้งกินขว้างได้เพราะอะไรรู้ไหม หากไม่ใช่เพราะชาวนาเขาลำบากทำนามาขายโลละ 15 ไง

คุณเองยังไม่อยากไปทำเลย

ดันไปบอกให้เขาเพิ่มประสิทธิภาพ ยังกะมันทำได้ง่ายๆ เหมือนในตำราที่คุณเรียนมา

แล้วคุณคิดว่าคนที่ทำนาเงินล้านมีหรือเปล่าล่ะ??


Edited by เซงกี่ เออเดะ, 1 กันยายน พ.ศ. 2556 - 23:59.


#173 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 01:22

 

 

 

ที่ผมบอกว่าให้ครั้งเดียวจบ ไม่ได้หมายถึงให้แค่ปีเดียวครับ หมานถึงให้ครั้งเดียวแล้วรัฐไม่ต้องรับภาระเรื่องการดูแลรักษาและการระบายข้าวครับ
เรื่องตัวเลขการอุดหนุน อย่าลืมเอาค่าเงิน ค่าครองชีพมาคำนวนด้วยนะครับ

 
 
แต่ละประเทศมีวิธีการให้เงินไม่เหมือนกันครับ วิธีคิดรายละเอียดต่างกัน แต่หลักการใหญ่เหมือนกัน คือความมั่นคงทางอาหารเป็นเรื่องหลัก
 
เรื่องค่าครองชีพ ผมถามว่าเกษตรกรไทยยังจนกว่าเกษตรกรในสหรัฐ อียู ญี่ปุ่น ถูกไหม 
 
เกษตรกรในสามภูมิภาคนั้นรัฐบาลเขาให้แค่ที่คุณเห็น เขาอยู่ได้
 
เกษตรกรเราให้เขาโลละ 15 บาท เขา "กัดฟัน" อยู่ได้
 
ผมจึงถามคุณว่า  หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณจะไปทำหรือเปล่า?

ผมคิดว่าประเด็นความมั่นคงทางด้านอาหาร ไม่ใช่เหตุผลที่รัฐบาลตปท.ยังsubsidizeอยู่ครับ มันเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องมาจากช่วงสงครามและภัยพิบัติทางธรรมชาติในอดีต

ปัจจุบันไม่มีเรื่องอย่างนั้นแล้ว ความเสี่ยงด้านความมั่นคงทางอาหารไม่มี เค้าถึงเรียกร้องให้ยกเลิกกันครับ

ปล.เว้นแต่ประเด็นเรื่องการลดการพึ่งพาการนำเข้าอาหารจากต่างประเทศ อันนี้ยังมีอยู่

 

 

เอางี้ TFEX คุณบอกว่าประเด็นความมั่นคงทางอาหารไม่มีแล้ว

งั้นเราให้ชาวนาเปลี่ยนไปทำสวนยางให้หมดทั้งประเทศ ให้ราคาโลละ 100 แล้วซื้อข้าวมากินกัน

เอาไหม?

 

คุณนั่งคิดจากห้องแอร์ กินข้าวเปล่าจานละ 10 บาท ถูกยังกะขี้ กินทิ้งกินขว้างได้เพราะอะไรรู้ไหม หากไม่ใช่เพราะชาวนาเขาลำบากทำนามาขายโลละ 15 ไง

คุณเองยังไม่อยากไปทำเลย

ดันไปบอกให้เขาเพิ่มประสิทธิภาพ ยังกะมันทำได้ง่ายๆ เหมือนในตำราที่คุณเรียนมา

 

 

ผมพูดถึงประเด็นความมั่นคงทางอาหาร เพราะคุณได้ยกขึ้นมาครับ ผมจึงไปหาข้อมูลและได้รับทราบว่า อเมริการเองก็รู้อยู่ว่าเหตุผลนี้มันไม่ใช่ในปัจจุบันแล้ว การsubsidizeกลายเป็นภาระโดยไม่มีความจำเป็นครับ ลองดูข้อความบางส่วนจากลิงค์ที่ผมแปะไว้นะครับ

 

http://www.cato.org/...-farm-subsidies

 

A major farm bill being debated in Congress gives policymakers a good opportunity to cut costly subsidy programs.

 

Farm subsidies cost taxpayers up to $35 billion annually and tie farmers in a knot of unproductive regulations.

 

Most farm programs originated in the Great Depression of the 1930s, but they make little sense in today’s more prosperous and dynamic economy.

 

Here are 10 reasons for Congress to reconsider the need for farm programs and to begin cutting them:

 

» Farm subsidies transfer the earnings of average taxpaying families to well–off farm businesses. In 2005, the average income of farm households was $79,965, or 26 percent higher than the $63,344 average for all U.S. households. Farm subsidies are welfare for the well–to–do — even millionaire farmland owners such as David Rockefeller and Edgar Bronfman receive farm subsidies.

 

» Although politicians love to discuss the plight of small farmers, the vast majority of farm subsidies go to the largest farms. In recent years, the biggest 10 percent of farm businesses have received 72 percent of farm subsidies, according to the Environmental Working Group.

 

» Farm subsidies damage the economy. In most industries, market prices balance supply and demand and encourage efficient production. But Congress short–circuits market mechanisms in agriculture. Farm programs cause overproduction, the overuse of marginal farmland, land price inflation and excess borrowing by farm businesses.

 

» Farm programs are prone to fraud and scandal. The Government Accountability Office found that improper farm payments amount to as much as $500 million each year. Since 2000, the government has paid $1.3 billion in subsidies to people who own “farmland” that is not even used for farming. The government also frequently distributes disaster payments to farmers who don’t need them and often didn’t even ask for them.

 

» Farm subsidies are a serious hurdle to progress on global trade agreements that could help productive U.S. exporters. Agricultural trade barriers also damage U.S. security and global stability because they hinder the ability of poor countries to achieve stronger economic growth.

 

» Farm programs damage the environment. Subsidy programs and trade barriers draw marginal farmland into production and encourage the overuse of fertilizers. Lands that might otherwise be used for parks, forests or wetlands get locked into farm use. Florida sugar cane cultivation, for example, causes substantial damage to the Everglades, yet it thrives only because of import protections.

 

» Some farm programs raise food prices and hurt consumers directly. Federal controls on the dairy industry raise milk prices to consumers. Controls on the sugar industry raise U.S. sugar prices to about twice the world level, pushing up consumer costs for breakfast cereals, chocolate and other food products.

 

» If farm subsidies ended, U.S. agriculture would continue to thrive. Farms would adjust, planting different crops and diversifying their sources of income. A stronger and more innovative agriculture industry would emerge, as occurred in New Zealand after it repealed all its farm subsidies in 1984.

 

» Farm households have more stable finances today and are better able to deal with a free market in agriculture than the past. Many farm households earn the bulk of their income from non–farm sources. Federal data shows that only 38 percent of farm households have farming as their primary occupation.

 

» Substantial cuts to farm subsidies would save taxpayers money and reduce the federal budget deficit. Ongoing deficit spending on farm subsidies and other programs is causing large amounts of debt to be foisted on the next generation.

In winning the congressional elections last year, Democrats portrayed themselves as reformers willing to take on special interests for the benefit of average families.

This year’s farm bill gives them a chance to prove it. They should end subsidies for well–off farmers, remove agricultural trade barriers to cut food costs for families and reduce the debt load being imposed on young Americans.

 

.........................................................

 

ต่อนะครับ

 

ประโยคนี้ที่คุณโพส  "คุณนั่งคิดจากห้องแอร์ กินข้าวเปล่าจานละ 10 บาท ถูกยังกะขี้ กินทิ้งกินขว้างได้เพราะอะไรรู้ไหม หากไม่ใช่เพราะชาวนาเขาลำบากทำนามาขายโลละ 15 ไง คุณเองยังไม่อยากไปทำเลย ดันไปบอกให้เขาเพิ่มประสิทธิภาพ ยังกะมันทำได้ง่ายๆ เหมือนในตำราที่คุณเรียนมา"

 

จริงๆผมไม่ได้ติดใจเรื่องการช่วยเหลือคนยากคนจนเลย โดยเฉพาะชาวนา  แต่เพียงเห็นว่าวิธีการที่รัฐบาลทำอยู่นี้มันไม่ถูกต้อง สร้างนิสัยเสียให้กับประชาชน และเปิดช่องให้พวกพ้องทุจริตคอรัปชั่น

 

ดังนั้นผมจึงบอกว่าให้ลองใช้มาตรการอื่นในช่วงที่ราคาตกต่ำมาก ซึ่งต้องเป็นมาตรการที่รัฐไม่มีภาระหน้าที่มากเกินไป ในการจัดเก็บ และการระบายข้าว 

 

 

ที่บอกว่าให้รัฐช่วยในเรื่องการเพิ่มผลผลิตต่อไร่  จริงอย่างคุณว่าว่ามันไม่ง่าย แต่ผมก็ไม่ได้บอกว่าให้ชาวนาพยามเพิ่มด้วยตัวเอง  ผมบอกว่าให้รัฐบาลช่วย

 

ช่วยอย่างไร  ช่วยส่งเสริมอย่างที่ทำอยู่นี้ คือเรื่องพันธ์ข้าว และเทคนิคการปลูก  อันนี้กระทรวงเกษตรทำอยู่แล้ว

 

แต่ที่มากกว่านั้น คือชาวนามีต้นทุนการปลูกที่สูง จากปุ๋ยและยาปราบศัตรูพืช  ตรงนี้รัฐบาลช่วยได้  วิธีการนี้ก็ไม่ต่างกับที่อเมริการทำ คือให้เงินหรือเครดิต

 

 

ถ้าวิธีการจำนำดีจริง ทำไมประเทศอื่นเค้าไม่ทำกันล่ะครับ  ทุกวันนี้มีแต่พยามจะยกเลิก  ลองหาในกูเกิลดูว่าเมกา อียู ญี่ปุ่น  เค้าเพิ่มการช่วยเหลือให้มากขึ้น  ลดลง หรือพยามจะเลิก  ลิงค์ผมก็แปะไปบางส่วนแล้ว

 

 

เวลาถกกันเรื่องข้าว  อย่าคิดว่าคนที่คัดค้านนโยบายจำนำ  จะไม่รักชาวนา  จะเห็นแก่ตัวเลยครับ  เอาแบบไม่โกหกนะ  ตั้งแต่เด็กมา  เดินผ่านขอทานสิบคน  ผมให้เกินครึ่ง  เคยให้จนหมดตัวไม่มีตังกลับบ้านด้วยซ้ำ  แล้วอย่างนี้ผมจะไม่อยากช่วยชาวนาหรือครับ

 

คุณเคยคิดมั้ยว่า  ในระยะยาวมาตรการซื้อเสียงผ่านการจำนำอย่างนี้ จะสร้างนิสัยอะไรให้กับชาวนา เกษตรกร และประชาชนสาขาอาชีพอื่นๆ   อย่างนี้คนจะรู้จักคิด วางแผน อะไรให้กับการดำเนินชีวิตของตัวเองอย่างรอบคอบบ้างครับ  ที่แย่ไปกว่านั้น  ภาพเหมือนดูดี จำนำ 15000  แต่ลองไปถามชาวนาดูครับ  ว่าสุดท้ายแล้วเค้าได้เงินเท่าไหร่  ถูกกดถูกหักเท่าไหร่   จนเหมือนเดิมครับ ไม่ได้รวยขึ้นเลย   

 

 

ลองอ่านดูนะครับ ว่าฝรั่งคิดยังไง  เค้าทำมาก่อนเราตั้งนาน

 

http://m.wisegeek.or...m-subsidies.htm

 

United States farm subsidies are government payments — typically in the form of cash or credit — provided to domestic farmers and agribusinesses as a means to supplement their income and manage the supply and pricing of certain commodities. Introduced in the 1930s by President Roosevelt, the original subsidies were initially designed to alleviate the effects of the Great Depression. American farmers, up until that time, had ruled the global market under the free-enterprise system. Although intended as a temporary fix, the distribution of these payments continued long after the Depression, evolving into the multi-million dollar political platform it is today.

 
The question of why the United States government continues to pass millions in subsidy farm bills is one that tops the political scale in controversy. The government argues that now, more than ever, farm subsidies secure the domestic farm sector as a measure of homeland security. The intent — if a world-changing event should occur — is to protect the American people from having to rely on food imports to feed the population. Strong opponents, however, argue that political gain alone now determines subsidy distribution. With the largest percentage of subsidies awarded to big farms and agribusinesses, many argue that only a small percentage of the allotted millions ever find its way to the family farmers who need it the most.
 
Farm bill proponents argue that subsidizing farm income and supporting commodity pricing helps to offset unexpected fluctuations in agriculture. Historically, certain events that occur internationally such as war, government seizures, and natural catastrophe have a direct impact on the food supply available for purchase in the global market. On domestic soil, crop yields fluctuate year to year due to such things as floods and unpredictable temperatures. Subsequently, ensuring the solidity of the domestic sector with subsidized farm assistance would seem a logical alternative. Other subsidy advocates feel that, without this type of government aid, domestic farmers would simply be driven out of business by foreign competition, thus placing the United States at the mercy of other countries to supply even the simplest commodity.

 

While, in theory, this type of government assistance seems justified, opponents speak loud from every platform. One outspoken criticism comes from those who feel that handing out agricultural subsidies goes against the principles of free trade. The argument states that subsidizing farmers eliminates any incentive to produce according to the demands of the market. Instead, subsidies encourage farmers to produce for profit alone without monitoring profit and loss signals that might suggest otherwise. According to free market economics, production based on profit and loss — and demand and supply — is the key to maintaining fairness in the competitive market. In addition, free trade proponents argue that subsidies based upon unpredictable weather conditions are disingenuous considering that industries nationwide suffer the same risks but must rely on insurance to assist only after the fact.



#174 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 01:25

ไปนอนก่อนครับ ขอบคุณคุณประชาธิปดที่ร่วมสนทนานะครับ ทำให้ผมได้ความรู้มากขึ้น  ผมไม่เชียวชาญเริ่องเศรษฐกิจ ยังไงแนะนำด้วยแล้วกันครับ  ผมก็ตอบตามที่ผมเข้าใจและตามข้อมูลที่หาได้ ก็แค่นั้นครับ



#175 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 02:00

The Hidden Costs of US and EU Farm Subsidies     

http://www.ifpri.org...-farm-subsidies

 

 

U.S. Farm Subsidy Policies Contribute to Worsening Obesity Trends     

http://articles.merc...-subsidies.aspx



#176 Tam-mic-ra.

Tam-mic-ra.

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,948 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 03:48

 

 

ที่ผมบอกว่าให้ครั้งเดียวจบ ไม่ได้หมายถึงให้แค่ปีเดียวครับ หมานถึงให้ครั้งเดียวแล้วรัฐไม่ต้องรับภาระเรื่องการดูแลรักษาและการระบายข้าวครับ
เรื่องตัวเลขการอุดหนุน อย่าลืมเอาค่าเงิน ค่าครองชีพมาคำนวนด้วยนะครับ

 
 
แต่ละประเทศมีวิธีการให้เงินไม่เหมือนกันครับ วิธีคิดรายละเอียดต่างกัน แต่หลักการใหญ่เหมือนกัน คือความมั่นคงทางอาหารเป็นเรื่องหลัก
 
เรื่องค่าครองชีพ ผมถามว่าเกษตรกรไทยยังจนกว่าเกษตรกรในสหรัฐ อียู ญี่ปุ่น ถูกไหม 
 
เกษตรกรในสามภูมิภาคนั้นรัฐบาลเขาให้แค่ที่คุณเห็น เขาอยู่ได้
 
เกษตรกรเราให้เขาโลละ 15 บาท เขา "กัดฟัน" อยู่ได้
 
ผมจึงถามคุณว่า  หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณจะไปทำหรือเปล่า?

ผมคิดว่าประเด็นความมั่นคงทางด้านอาหาร ไม่ใช่เหตุผลที่รัฐบาลตปท.ยังsubsidizeอยู่ครับ มันเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องมาจากช่วงสงครามและภัยพิบัติทางธรรมชาติในอดีต

ปัจจุบันไม่มีเรื่องอย่างนั้นแล้ว ความเสี่ยงด้านความมั่นคงทางอาหารไม่มี เค้าถึงเรียกร้องให้ยกเลิกกันครับ

ปล.เว้นแต่ประเด็นเรื่องการลดการพึ่งพาการนำเข้าอาหารจากต่างประเทศ อันนี้ยังมีอยู่

 

 

อเมริกามีพายุโหดๆหลายชนิดแทบทุกปี  มันหนักกว่าบ้านเราอีก คุณบอกว่าปัจจุบันไม่มีเรื่องอย่างนั้น ได้ยังไง


"คนพาลไร้สติ มักสร้างเรื่องและหลักฐานเท็จโกหก เพื่อคอยใส่ร้ายอีกฝ่ายหนึ่งเสมอ" :unsure:

 

นาย ''Starเก๋ง'' ฟันธง!  รถเก๋งขับมายิงเสื้อแดง :lol:      http://webboard.seri...แค/#entry842224   ;      http://webboard.seri...-25#entry408954


#177 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 06:49

 

 

 

ที่ผมบอกว่าให้ครั้งเดียวจบ ไม่ได้หมายถึงให้แค่ปีเดียวครับ หมานถึงให้ครั้งเดียวแล้วรัฐไม่ต้องรับภาระเรื่องการดูแลรักษาและการระบายข้าวครับ
เรื่องตัวเลขการอุดหนุน อย่าลืมเอาค่าเงิน ค่าครองชีพมาคำนวนด้วยนะครับ

 
 
แต่ละประเทศมีวิธีการให้เงินไม่เหมือนกันครับ วิธีคิดรายละเอียดต่างกัน แต่หลักการใหญ่เหมือนกัน คือความมั่นคงทางอาหารเป็นเรื่องหลัก
 
เรื่องค่าครองชีพ ผมถามว่าเกษตรกรไทยยังจนกว่าเกษตรกรในสหรัฐ อียู ญี่ปุ่น ถูกไหม 
 
เกษตรกรในสามภูมิภาคนั้นรัฐบาลเขาให้แค่ที่คุณเห็น เขาอยู่ได้
 
เกษตรกรเราให้เขาโลละ 15 บาท เขา "กัดฟัน" อยู่ได้
 
ผมจึงถามคุณว่า  หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณจะไปทำหรือเปล่า?

ผมคิดว่าประเด็นความมั่นคงทางด้านอาหาร ไม่ใช่เหตุผลที่รัฐบาลตปท.ยังsubsidizeอยู่ครับ มันเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องมาจากช่วงสงครามและภัยพิบัติทางธรรมชาติในอดีต

ปัจจุบันไม่มีเรื่องอย่างนั้นแล้ว ความเสี่ยงด้านความมั่นคงทางอาหารไม่มี เค้าถึงเรียกร้องให้ยกเลิกกันครับ

ปล.เว้นแต่ประเด็นเรื่องการลดการพึ่งพาการนำเข้าอาหารจากต่างประเทศ อันนี้ยังมีอยู่

 

 

อเมริกามีพายุโหดๆหลายชนิดแทบทุกปี  มันหนักกว่าบ้านเราอีก คุณบอกว่าปัจจุบันไม่มีเรื่องอย่างนั้น ได้ยังไง

 

 

เอาหลักฐานมาซิ อย่าพูดครึ่งเดียว  ภัยพิบัติทางธรรมชาติไม่มี หรือ ความเสี่ยงด้านความมั่นคงทางอาหารไม่มี  :lol:  :lol:  :lol:  :lol:  :lol:


Edited by Stargate-1, 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 07:32.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#178 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:24

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

 

หากราคาโลละ 15 บาทที่เราให้ชาวนาที่เขาลงแรงปลูกแทบตายเรียกว่าเป็นราคาที่สูงเกินจริงแล้ว ตามหลักอุปสงค์อุปทาน เราต้องเห็นคนแห่ไปปลูกข้าวแล้วครับ

แต่เรากลับเห็นคนแห่เอาที่นาไปปลูกยาง

 

เพราะเหตุใด?



#179 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:35

TFEX ผมถามคุณนะ หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณอยากทำหรือเปล่า?

เอาว่ะ 20 ไร่ ปลูกข้าว 1 ไร่ เก็บเกี่ยวได้ 1 ตัน 3 เดือน ก็ 3 แสนบาทแล้ว 



#180 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:43

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

 

หากราคาโลละ 15 บาทที่เราให้ชาวนาที่เขาลงแรงปลูกแทบตายเรียกว่าเป็นราคาที่สูงเกินจริงแล้ว ตามหลักอุปสงค์อุปทาน เราต้องเห็นคนแห่ไปปลูกข้าวแล้วครับ

แต่เรากลับเห็นคนแห่เอาที่นาไปปลูกยาง

 

เพราะเหตุใด?

 

ไม่ใช่เรื่องกำไร ขาดทุน หรือ อย่าเบี่ยงเบนประเด็นไปเรื่องอื่น พูดไปพูดมาอย่าหนีไปเรื่องหนีทหารแล้วกัน :lol:  :lol:  :lol:  :lol:  :lol:


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#181 เซงกี่ เออเดะ

เซงกี่ เออเดะ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 342 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:45

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี



#182 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:50

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น

หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?



#183 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:52

 

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?

 

 

แล้วเองทำอาชีพอะไรล่ะ ต้นทุนเองคิดเป็นไหม   หรือหนีทหารเป็นอย่างเดียว


Edited by Stargate-1, 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:53.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#184 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:52

 

TFEX ผมถามคุณนะ หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณอยากทำหรือเปล่า?

เอาว่ะ 20 ไร่ ปลูกข้าว 1 ไร่ เก็บเกี่ยวได้ 1 ตัน 3 เดือน ก็ 3 แสนบาทแล้ว 

 

 

 

รออะไรอยู่ครับ? ทิ้งงานคุณไปปลูกข้าวเลยครับ



#185 เซงกี่ เออเดะ

เซงกี่ เออเดะ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 342 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:53

 

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น

หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?

 

แล้วคุณคิดว่า TFEX ทำนาเป็นหรือ??

ถ้าเขาทำเป็นเขาอาจไปทำก้ะได้นะ

ว่าแต่คุณทำนาป่ะล่ะ หรือถ้าไม่ทำ ทำไมไม่ทำล่ะ



#186 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:55

 

 

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น

หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?

 

 

แล้วเองทำอาชีพอะไรล่ะ ต้นทุนเองคิดเป็นไหม

 

 

 

ผมทำอะไรก็แล้วแต่ แต่ผมไม่เปลี่ยนไปปลูกข้าวแน่ เพราะมันไม่คุ้มที่จะปลูกมาขายโลละ 15 บาทไงครับ

ที่เราต้องบีบให้ชาวนาปลูกข้ามมาขายราคาต่ำ เพราะคนจนในเมืองไทยมีชีวิตขึ้นกับข้าว ข้าวเป็นปัจจัยต่อความมั่นคงทางอาหารของไทย เราจึงยอมให้ชาวนาตายไปไม่ได้

เพราะ TFEX ก็ไม่ยอมไปปลูกข้าว ผมก็ไม่ยอมไปปลูกข้าวแน่

 

แต่เราต้องกินข้าวทุกวัน จึงต้องมีคนปลูกข้าวให้เรากิน (ในราคาที่ถูก) 

เราจึงต้องอุดหนุนชาวนากลับไปในรูปการ subsidy ไงครับ

 

ไม่อย่างนั้น คนจนที่ประกอบอาชีพอื่นในเมืองไทยก็ต้องอดตายครับ



#187 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:56

 

 

TFEX ผมถามคุณนะ หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณอยากทำหรือเปล่า?

เอาว่ะ 20 ไร่ ปลูกข้าว 1 ไร่ เก็บเกี่ยวได้ 1 ตัน 3 เดือน ก็ 3 แสนบาทแล้ว 

 

 

 

รออะไรอยู่ครับ? ทิ้งงานคุณไปปลูกข้าวเลยครับ

 

 

แล้วเองไม่หนีทหารไปทำนาบ้างล่ะ จะได้รู้ต้นทุนว่าเป็นเท่าไหร่กันแน่


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#188 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:56

 

 

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น

หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?

 

แล้วคุณคิดว่า TFEX ทำนาเป็นหรือ??

ถ้าเขาทำเป็นเขาอาจไปทำก้ะได้นะ

ว่าแต่คุณทำนาป่ะล่ะ หรือถ้าไม่ทำ ทำไมไม่ทำล่ะ

 

 

 

คำถามผมไม่ได้ท้าว่า TFEX ทำนาเป็นหรือเปล่านะ

ผมหมายถึงว่า "หากเขาทำนาเป็น" เขาจะไปทำนาเพื่อขายข้าวโลละ 15 บาทหรือเปล่า


Edited by ประชาธิปด, 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:57.


#189 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:57

 

 

 

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น

หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?

 

 

แล้วเองทำอาชีพอะไรล่ะ ต้นทุนเองคิดเป็นไหม

 

 

 

ผมทำอะไรก็แล้วแต่ แต่ผมไม่เปลี่ยนไปปลูกข้าวแน่ เพราะมันไม่คุ้มที่จะปลูกมาขายโลละ 15 บาทไงครับ

ที่เราต้องบีบให้ชาวนาปลูกข้ามมาขายราคาต่ำ เพราะคนจนในเมืองไทยมีชีวิตขึ้นกับข้าว ข้าวเป็นปัจจัยต่อความมั่นคงทางอาหารของไทย เราจึงยอมให้ชาวนาตายไปไม่ได้

เพราะ TFEX ก็ไม่ยอมไปปลูกข้าว ผมก็ไม่ยอมไปปลูกข้าวแน่

 

แต่เราต้องกินข้าวทุกวัน จึงต้องมีคนปลูกข้าวให้เรากิน (ในราคาที่ถูก) 

เราจึงต้องอุดหนุนชาวนากลับไปในรูปการ subsidy ไงครับ

 

ไม่อย่างนั้น คนจนที่ประกอบอาชีพอื่นในเมืองไทยก็ต้องอดตายครับ

 

 

แล้วต้นทุนการหนีทหารของเองเป็นเท่าไหร่ล่ะ หรือเองไม่เคยทำอะไร เลยนอกจากหนีทหาร แบบไม่มีต้นทุนอะไรเลย


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#190 เซงกี่ เออเดะ

เซงกี่ เออเดะ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 342 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:58

 

 

 

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น

หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?

 

 

แล้วเองทำอาชีพอะไรล่ะ ต้นทุนเองคิดเป็นไหม

 

 

 

ผมทำอะไรก็แล้วแต่ แต่ผมไม่เปลี่ยนไปปลูกข้าวแน่ เพราะมันไม่คุ้มที่จะปลูกมาขายโลละ 15 บาทไงครับ

ที่เราต้องบีบให้ชาวนาปลูกข้ามมาขายราคาต่ำ เพราะคนจนในเมืองไทยมีชีวิตขึ้นกับข้าว ข้าวเป็นปัจจัยต่อความมั่นคงทางอาหารของไทย เราจึงยอมให้ชาวนาตายไปไม่ได้

เพราะ TFEX ก็ไม่ยอมไปปลูกข้าว ผมก็ไม่ยอมไปปลูกข้าวแน่

 

แต่เราต้องกินข้าวทุกวัน จึงต้องมีคนปลูกข้าวให้เรากิน (ในราคาที่ถูก) 

เราจึงต้องอุดหนุนชาวนากลับไปในรูปการ subsidy ไงครับ

 

ไม่อย่างนั้น คนจนที่ประกอบอาชีพอื่นในเมืองไทยก็ต้องอดตายครับ

 

งั้นคุณก้ะไปปลูกยางสิคับเห็นว่าราคาดี แล้วคุณจะเปลี่ยนอาชีพไปปลูกยางป่าวล่ะ



#191 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:59

 

 

 

 

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น

หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?

 

 

แล้วเองทำอาชีพอะไรล่ะ ต้นทุนเองคิดเป็นไหม

 

 

 

ผมทำอะไรก็แล้วแต่ แต่ผมไม่เปลี่ยนไปปลูกข้าวแน่ เพราะมันไม่คุ้มที่จะปลูกมาขายโลละ 15 บาทไงครับ

ที่เราต้องบีบให้ชาวนาปลูกข้ามมาขายราคาต่ำ เพราะคนจนในเมืองไทยมีชีวิตขึ้นกับข้าว ข้าวเป็นปัจจัยต่อความมั่นคงทางอาหารของไทย เราจึงยอมให้ชาวนาตายไปไม่ได้

เพราะ TFEX ก็ไม่ยอมไปปลูกข้าว ผมก็ไม่ยอมไปปลูกข้าวแน่

 

แต่เราต้องกินข้าวทุกวัน จึงต้องมีคนปลูกข้าวให้เรากิน (ในราคาที่ถูก) 

เราจึงต้องอุดหนุนชาวนากลับไปในรูปการ subsidy ไงครับ

 

ไม่อย่างนั้น คนจนที่ประกอบอาชีพอื่นในเมืองไทยก็ต้องอดตายครับ

 

งั้นคุณก้ะไปปลูกยางสิคับเห็นว่าราคาดี แล้วคุณจะเปลี่ยนอาชีพไปปลูกยางป่าวล่ะ

 

 

มันทำอะไรไม่เป็นหรอก นอกจากหนีทหารแบบไม่มีต้นทุน :lol:  :lol:  :lol:  :lol:  :lol:


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#192 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:01

 

 

TFEX ผมถามคุณนะ หากให้คุณเลิกอาชีพที่คุณทำอยู่ ให้ที่ดินคุณไป 20 ไร่ แล้วไปทำนาเพื่อเอาข้าวมาขายกิโลละ 15 บาท คุณอยากทำหรือเปล่า?

เอาว่ะ 20 ไร่ ปลูกข้าว 1 ไร่ เก็บเกี่ยวได้ 1 ตัน 3 เดือน ก็ 3 แสนบาทแล้ว 

 

 

 

รออะไรอยู่ครับ? ทิ้งงานคุณไปปลูกข้าวเลยครับ

 

ก็เอาที่นามาให้ผมสิ 20 ไร่สิว่ะ 



#193 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:03

 

 

 

 

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น

หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?

 

 

แล้วเองทำอาชีพอะไรล่ะ ต้นทุนเองคิดเป็นไหม

 

 

 

ผมทำอะไรก็แล้วแต่ แต่ผมไม่เปลี่ยนไปปลูกข้าวแน่ เพราะมันไม่คุ้มที่จะปลูกมาขายโลละ 15 บาทไงครับ

ที่เราต้องบีบให้ชาวนาปลูกข้ามมาขายราคาต่ำ เพราะคนจนในเมืองไทยมีชีวิตขึ้นกับข้าว ข้าวเป็นปัจจัยต่อความมั่นคงทางอาหารของไทย เราจึงยอมให้ชาวนาตายไปไม่ได้

เพราะ TFEX ก็ไม่ยอมไปปลูกข้าว ผมก็ไม่ยอมไปปลูกข้าวแน่

 

แต่เราต้องกินข้าวทุกวัน จึงต้องมีคนปลูกข้าวให้เรากิน (ในราคาที่ถูก) 

เราจึงต้องอุดหนุนชาวนากลับไปในรูปการ subsidy ไงครับ

 

ไม่อย่างนั้น คนจนที่ประกอบอาชีพอื่นในเมืองไทยก็ต้องอดตายครับ

 

งั้นคุณก้ะไปปลูกยางสิคับเห็นว่าราคาดี แล้วคุณจะเปลี่ยนอาชีพไปปลูกยางป่าวล่ะ

 

 

 

ผลตอบแทนจากการปลูกยางมันไม่ได้ดีกว่าที่ผมทำนี่ครับ ผมจะไปทำทำไม??



#194 เซงกี่ เออเดะ

เซงกี่ เออเดะ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 342 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:04

 

 

 

 

 

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น

หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?

 

 

แล้วเองทำอาชีพอะไรล่ะ ต้นทุนเองคิดเป็นไหม

 

 

 

ผมทำอะไรก็แล้วแต่ แต่ผมไม่เปลี่ยนไปปลูกข้าวแน่ เพราะมันไม่คุ้มที่จะปลูกมาขายโลละ 15 บาทไงครับ

ที่เราต้องบีบให้ชาวนาปลูกข้ามมาขายราคาต่ำ เพราะคนจนในเมืองไทยมีชีวิตขึ้นกับข้าว ข้าวเป็นปัจจัยต่อความมั่นคงทางอาหารของไทย เราจึงยอมให้ชาวนาตายไปไม่ได้

เพราะ TFEX ก็ไม่ยอมไปปลูกข้าว ผมก็ไม่ยอมไปปลูกข้าวแน่

 

แต่เราต้องกินข้าวทุกวัน จึงต้องมีคนปลูกข้าวให้เรากิน (ในราคาที่ถูก) 

เราจึงต้องอุดหนุนชาวนากลับไปในรูปการ subsidy ไงครับ

 

ไม่อย่างนั้น คนจนที่ประกอบอาชีพอื่นในเมืองไทยก็ต้องอดตายครับ

 

งั้นคุณก้ะไปปลูกยางสิคับเห็นว่าราคาดี แล้วคุณจะเปลี่ยนอาชีพไปปลูกยางป่าวล่ะ

 

 

 

ผลตอบแทนจากการปลูกยางมันไม่ได้ดีกว่าที่ผมทำนี่ครับ ผมจะไปทำทำไม??

 

นั่นสินะ แล้วจะไปเปลี่ยนอาชีพทำไมนะ :rolleyes:



#195 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:05

 

 

 

 

 

 

กลับมาที่หัวข้อกระทู้ของ จขกท ที่ว่าจำนำข้าวสูงเกินจริง กิโลกรัมละ 15 บาท

ผมถาม จขกท หลายรอบแล้วว่าหากเป็นเขา จะเปลี่ยนอาชีพไปทำนาปลูกข้าวเพื่อขายโลละ 15 บาท เอาหรือไม่

จขกท ยังไม่ยอมตอบเลย  :D

เพราะเหตุใด?

แล้วทำไมชาวนา ไม่ไปทำอาชีพเดียวกับ TFEX ละคับ ถ้าราคาข้าวมันไม่ดี

 

 

เพราะเขาเป็นชาวนาไงครับ เขาทำอาชีพของ TFEX ไม่เป็น

หากเขาทำอาชีพของ TFEX เป็น เขาเปลี่ยนไปทำแล้วครับ (เหมือนที่เขาเปลี่ยนไปทำสวนยาง ทั้งๆ ที่ทำไม่ค่อยเป็น เขาก็ยังกล้าเสี่ยง)

หาก TFEX ทำนาเป็น TFEX จะไปทำนาปลูกข้าวขายกิโลละ 15 หรือ?

 

 

แล้วเองทำอาชีพอะไรล่ะ ต้นทุนเองคิดเป็นไหม

 

 

 

ผมทำอะไรก็แล้วแต่ แต่ผมไม่เปลี่ยนไปปลูกข้าวแน่ เพราะมันไม่คุ้มที่จะปลูกมาขายโลละ 15 บาทไงครับ

ที่เราต้องบีบให้ชาวนาปลูกข้ามมาขายราคาต่ำ เพราะคนจนในเมืองไทยมีชีวิตขึ้นกับข้าว ข้าวเป็นปัจจัยต่อความมั่นคงทางอาหารของไทย เราจึงยอมให้ชาวนาตายไปไม่ได้

เพราะ TFEX ก็ไม่ยอมไปปลูกข้าว ผมก็ไม่ยอมไปปลูกข้าวแน่

 

แต่เราต้องกินข้าวทุกวัน จึงต้องมีคนปลูกข้าวให้เรากิน (ในราคาที่ถูก) 

เราจึงต้องอุดหนุนชาวนากลับไปในรูปการ subsidy ไงครับ

 

ไม่อย่างนั้น คนจนที่ประกอบอาชีพอื่นในเมืองไทยก็ต้องอดตายครับ

 

งั้นคุณก้ะไปปลูกยางสิคับเห็นว่าราคาดี แล้วคุณจะเปลี่ยนอาชีพไปปลูกยางป่าวล่ะ

 

 

 

ผลตอบแทนจากการปลูกยางมันไม่ได้ดีกว่าที่ผมทำนี่ครับ ผมจะไปทำทำไม??

 

 

เองหนีทหารโดยไม่กินอะไรเลยหรือ ถ้าเองกินข้าวหรือหญ้า ก็เป็นต้นทุน Fix Cost แล้ว เพียงแต่ว่าเองได้อะไรตอบแทนมาบ้างล่ะ อันนั้นเรียกว่ารายรับ โว้ย


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#196 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:06

ผมเอามาให้ดูนะว่าทำไมเราจึงต้อง subsidy ข้าว

 

Why is rice important?
Food security, which is the condition of having enough food to provide adequate nutrition for a healthy life, is a critical issue in the developing world. About 3 billion people, nearly half the world's population, depend on rice for survival. In Asia as a whole, much of the population consumes rice in every meal. In many countries, rice accounts for more than 70% of human caloric intake. As seen in Figure 1, the total consumption of rice (expressed as % of total calorie intake) varies widely between different regions. In Asia in total, just over 30% of all calories come from rice.
 
Rice yields have been increasing since the 1960s, but since the 1990s, growth in rice production has been slower than population growth. Indeed, it is anticipated that rice production will need to increase by 30% by 2025 in order to sustain those who need it for sustenance. However, climate change, especially access to water, soil erosion and other problems threaten rice yields. A study by the International Water Management Institute suggested that by 2020, one third of Asia could face water shortages.
 
The Economic Importance of Rice
Because of high domestic consumption of rice in rice-producing countries, the economic importance of rice differs from that of traditional exports. Worldwide, only 5-6% of rice is exported. Japan, for example, consumes their entire domestic production and has to import around 8% of their rice each year. However, this imported rice is not released to the domestic market, ensuring a high local price. Thus the pressures of world trade on these countries are not as great as for exported crops. It also makes these countries vulnerable to local catastrophes, such as crop failure due to inclement weather (eg too much or too little rain), pests (such as insect swarms) or diseases (such as rice fungal diseases).
 
Furthermore, because both rice growers and people who rely on rice for sustenance tend to be poor, there is a constant pressure from rice growers to keep prices as high as possible, and from consumers to keep the price low. This strain is in constant force in all rice-growing countries, but is particularly important in the poorest countries.


#197 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:08

 

ผมเอามาให้ดูนะว่าทำไมเราจึงต้อง subsidy ข้าว

 

Why is rice important?
Food security, which is the condition of having enough food to provide adequate nutrition for a healthy life, is a critical issue in the developing world. About 3 billion people, nearly half the world's population, depend on rice for survival. In Asia as a whole, much of the population consumes rice in every meal. In many countries, rice accounts for more than 70% of human caloric intake. As seen in Figure 1, the total consumption of rice (expressed as % of total calorie intake) varies widely between different regions. In Asia in total, just over 30% of all calories come from rice.
 
Rice yields have been increasing since the 1960s, but since the 1990s, growth in rice production has been slower than population growth. Indeed, it is anticipated that rice production will need to increase by 30% by 2025 in order to sustain those who need it for sustenance. However, climate change, especially access to water, soil erosion and other problems threaten rice yields. A study by the International Water Management Institute suggested that by 2020, one third of Asia could face water shortages.
 
The Economic Importance of Rice
Because of high domestic consumption of rice in rice-producing countries, the economic importance of rice differs from that of traditional exports. Worldwide, only 5-6% of rice is exported. Japan, for example, consumes their entire domestic production and has to import around 8% of their rice each year. However, this imported rice is not released to the domestic market, ensuring a high local price. Thus the pressures of world trade on these countries are not as great as for exported crops. It also makes these countries vulnerable to local catastrophes, such as crop failure due to inclement weather (eg too much or too little rain), pests (such as insect swarms) or diseases (such as rice fungal diseases).
 
Furthermore, because both rice growers and people who rely on rice for sustenance tend to be poor, there is a constant pressure from rice growers to keep prices as high as possible, and from consumers to keep the price low. This strain is in constant force in all rice-growing countries, but is particularly important in the poorest countries.

 

 

การประกันเป็นเพียงพยุงต้นทุนของการหนีทหารของเองเท่านั้น ว่าเองต้องได้อย่างน้อยไม่ต่ำกว่าต้นทุน


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#198 ประชาธิปด

ประชาธิปด

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 448 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:09

นั่นสินะ แล้วจะไปเปลี่ยนอาชีพทำไมนะ :rolleyes:

 

 

จขกท เขาบอกครับว่าจำนำข้าวราคาสูงเกินจริง ผมก็บอกว่าถ้ามันสูงเกินจริง และหากเขาทำนาเป็น เขาจะเปลี่ยนไปปลูกข้าวหรือเปล่าหล่ะ

 

ไม่ใช่ผมนะครับที่บอกว่าจำนำข้าวมันราคาสูงเกินจริง ผมบอกว่าโลละ 15 บาทมันต่ำเกินจริงเสียด้วยซ้ำ

 

คุณเข้าใจอะไรผิดหรือเปล่าครับ?



#199 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:11

 

นั่นสินะ แล้วจะไปเปลี่ยนอาชีพทำไมนะ :rolleyes:

 

 

จขกท เขาบอกครับว่าจำนำข้าวราคาสูงเกินจริง ผมก็บอกว่าถ้ามันสูงเกินจริง และหากเขาทำนาเป็น เขาจะเปลี่ยนไปปลูกข้าวหรือเปล่าหล่ะ

 

ไม่ใช่ผมนะครับที่บอกว่าจำนำข้าวมันราคาสูงเกินจริง ผมบอกว่าโลละ 15 บาทมันต่ำเกินจริงเสียด้วยซ้ำ

 

คุณเข้าใจอะไรผิดหรือเปล่าครับ?

 

 

สูงไม่สูง เองต้องรู้ต้นทุนในการหนีทหารของเองก่อน เองไม่กินอะไรเลยหรือ


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#200 เซงกี่ เออเดะ

เซงกี่ เออเดะ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 342 posts

ตอบ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 - 09:11

 

นั่นสินะ แล้วจะไปเปลี่ยนอาชีพทำไมนะ :rolleyes:

 

 

จขกท เขาบอกครับว่าจำนำข้าวราคาสูงเกินจริง ผมก็บอกว่าถ้ามันสูงเกินจริง และหากเขาทำนาเป็น เขาจะเปลี่ยนไปปลูกข้าวหรือเปล่าหล่ะ

 

ไม่ใช่ผมนะครับที่บอกว่าจำนำข้าวมันราคาสูงเกินจริง ผมบอกว่าโลละ 15 บาทมันต่ำเกินจริงเสียด้วยซ้ำ

 

คุณเข้าใจอะไรผิดหรือเปล่าครับ?

 

ก้ะแล้วแต่คุณคิดแระกันคับ เพราะคุณมันคือ จอมแถ อยู่แระ






ผู้ใช้ 0 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน