Jump to content


Photo
- - - - -

นึกแล้วครับ.. ว่ามันต้องมาบิดเบือน ไอ้ขาดทุนกำไรเนี่ย.. ช่วยสงเคราะห์หยาบๆ ให้ลายจุดหน่อย ว่ายางโลละ 80 มันอยู่ได้หรือเปล่า


  • Please log in to reply
131 ความเห็นในกระทู้นี้

#101 แดงแสงเทียน

แดงแสงเทียน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 684 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 17:29

มันก็จะกำไรเกินควรจริงๆแหละ นั่งอยู่เฉยๆยังได้ 1260ต่อไร่ ซื้อน้ำปลากินได้ตลอดชีวิตสามัญๆสำนึกของคนปลูกยางอีสาน


Edited by Fah, 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 17:30.

ขอเสื้อแดงทุกท่านจงเป็นเสื้อแดงตลอดชีวิต เกิดชาติหน้าชาติไหนๆจงเป็นเสื้อแดงทุกชาติๆไป


#102 korn-online

korn-online

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 81 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 17:37

ผมอยากได้แบบที่คุณ Majestic ทำอยู่พอดีเลย แต่ขี้เกียจทำ



#103 ryukendo

ryukendo

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,383 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 17:40

การทำไร่ ทำสวน หรือทำนา มันก็คืออาชีพอาชีพนึงครับ เอาคำว่ากำไรกับขาดทุนมาใช้มันคงจะไม่เหมาะหรอกครับ

 

ถ้าไม่มีปัญญาแก้ปัญหาก็สร้างวาทกรรมมาโจมตีชาวไร่ ชาวสวนต่อไปเรื่อยๆก็แล้วกันครับ เพราะทำได้แค่นี้จริงๆ :(


บ้านเมืองไม่ใช่ของเล่นที่จะทำพังแล้วร้องไห้ขออันใหม่

#104 nunoi

nunoi

    เด็กข้างถนน

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,745 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 17:48

แวะมาดูพระอาทิตย์ ดับ ครับ ฮาฮา


กฎหมายมันก็แค่สิงที่สร้างมาอย่างมีเป้าหมาย แต่หาก เอาแต่บอกว่ากฎหมายเป็นแบบนี้ แบบนั้น โดยไม่สนใจว่าเป้าหมายจริงๆ นันคืออะไร ก็คงไม่ใช่ 

 

 


#105 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:13

อ่านมาทั้งกระทู้แล้ว  ผมรู้สึกว่าน่ากลัวมากนะครับ ที่การบริหารประเทศทุกวันนี้ รัฐบาลใช้ระบบ PROPAGANDA-โฆษณาชวนเชื่อ

 

รัฐบาลอยากทำอะไร แม้จะทำลายประเทศย่อยยับ แต่แค่จัดตั้งทีมโฆษณาชวนเชื่อ คอยชี้นำสื่อ คอยเขียนลง FB ก็รอดตัวแล้ว

หลักการทำงานคือ มีผู้นำทีมที่ดังในสังคมในสายงานต่างๆ เช่น NGO นักวิชาการ คอลัมนิสต์ ผู้ประกาศข่าว พิธีกร ฯลฯ มาบอกปาวๆ ตาม "ใบสั่ง"

 

เช่น นโยบายเอื้อประโยชน์พวกพ้อง  ก็ให้ทีมเขียนลงเฟซบุ๊ก เขียนบทความออกสื่อ สัมภาษณ์สื่อนอก ว่า

"นโยบายนี้เวิร์ก ใครคัดค้าน=กดหัวคนจน เชิดชูนายทุน"

หรือ นโยบายที่ไม่ช่วยเหลือคนที่ไม่เลือกพวกตน  ก็ให้ทีมเขียนลงเฟซบุ๊ก เขียนบทความออกสื่อ สัมภาษณ์สื่อนอก ว่า 

"พวกที่ออกมาเรียกร้อง ไม่ได้เดือดร้อนจริง = แค่ขาดทุนกำไร เป็นพวกบุกรุกป่า มีนักการเมืองหนุนหลัง"


gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#106 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:20

ถึงบอกไงครับว่า ควายแดงที่่ชอบมาเ่ล่นเรื่องดราม่าเีรียกร้องให้คนจน จริงๆ แล้วมันพวกลวงโลกเท่านั้นแหละ ถ้าคนจนที่อยู่ตรงข้ามกับรัฐบาลที่่มันเลือกมาล่ะก็ พวกควายแดงมันก็ออกมาด่าคนจนเหล่าี้นี้ เพื่อปกป้องรัฐบาลชั่วของมัน 



#107 หลงฮู้เช็ง

หลงฮู้เช็ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 328 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:21

เห็นด้วยกับคุณผึ้งน้อยฯ  ครับ  วาทกรรมบิดเบือน เกลื่อนกลาดไปทั่วในสังคมไม่ว่าจะสังคมเสมือนหรือสังคมจริง

ดูอย่างในเสรีไทยนี้เป็นตัวอย่าง  สมาชิกบางท่าน ซึ่งเป็นหน้าประจำเดิมๆ  เข้ามาโกหกหน้าด้านๆ แถและบิดเบือน

อย่างปราศจากความเป็นจริง  วิพากษ์วิจารณ์อย่างกักขฬะและเปี่ยมไปด้วยอคติ เพื่อเจตนาทำลายและปลุกปั่น

เหลือเชื่อ ที่ม็อดของเสรีไทย  ยังปล่อยให้มีการกระทำเช่นนี้เกิดขึ้น  โดยส่วนตัว  ผมชอบที่จะโต้แย้งในความคิด

ที่เห็นต่าง  และดีใจที่เห็นบอร์ดนี้ยังมีพื้นที่ให้แสดงออกทางความคิดเห็นกันบ้างอย่างเสรีสมชื่อ  แต่หลังๆ นี้

ค่อนข้างจะสู้ไม่ไหวเพราะการแสดงออกทางความคิดเห็นอย่างบริสุทธิ์ใจมันยากจะต้านทานกลุ่มจัดตั้งที่เข้า

มาป่วนโดยเฉพาะ  มันเยอะเหลือเกิน



#108 Critical

Critical

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 642 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:28

รัฐบวยให้เงินไร่ละ พันกว่าบาท ถ้ามีสวนยาง 10 ไร่ ได้เงิน หมื่นกว่าบาท(จ่ายครั้งเดียวจบ)

แต่ถ้าถ้าราคายางปรับจาก 70 เป็น 100 บาท ถ้ามีสวน 10 ไร่ ได้น้ำยางอย่างน้อยๆ 20 โลต่อวัน(อ้างอิงสวนผมเองครับ มีสวนยางอยู่ประมาณ 70-80% ของพื้นที่)
ขาวสวนจะได้เงินเพิ่มขึ้น 30*20 = 600 บาทต่อวัน เดือนนึงตัด 20 วัน จะได้เงินเพิ่มขึ้น 12,000 บาททุกเดือน

แล้วแบบนี้ใครมันจะไปรับข้อเสนอรัฐบวยครับ  :angry:

 


Edited by Critical, 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:29.

"การยอมรับแนวคิดหนึ่งในวงกว้าง ไม่ได้เป็นสิ่งพิสูจน์ความถูกต้องของความคิดนั้น" - แดน บราวน์, สาส์นลับที่สาบสูญ

#109 หมื่นปีขอมีทักษิณคนเดียว

หมื่นปีขอมีทักษิณคนเดียว

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,167 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:32

ยางมีแนวโน้มราคาเพิ่มขึ้น แต่เสือกจะเอา 120 ราคาตลาดโลกมันจะได้ตกนะสิ แค่นี้รอไม่ได้



#110 JSN

JSN

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,004 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:43

โง่อีกแล้ว

#111 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:51

ปิดศูนย์ส่งออกยางทั้ง 6 แห่ง ซักสองสามเดือน ก็รู้ว่า  ราคาจะเป็นอย่างไร


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#112 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:58

รัฐบวยให้เงินไร่ละ พันกว่าบาท ถ้ามีสวนยาง 10 ไร่ ได้เงิน หมื่นกว่าบาท(จ่ายครั้งเดียวจบ)

แต่ถ้าถ้าราคายางปรับจาก 70 เป็น 100 บาท ถ้ามีสวน 10 ไร่ ได้น้ำยางอย่างน้อยๆ 20 โลต่อวัน(อ้างอิงสวนผมเองครับ มีสวนยางอยู่ประมาณ 70-80% ของพื้นที่)
ขาวสวนจะได้เงินเพิ่มขึ้น 30*20 = 600 บาทต่อวัน เดือนนึงตัด 20 วัน จะได้เงินเพิ่มขึ้น 12,000 บาททุกเดือน

แล้วแบบนี้ใครมันจะไปรับข้อเสนอรัฐบวยครับ  :angry:

 

 

อยากถามครับ 

 

ถ้าสมมุติว่า เจรจากับ รบ เป็นผล ได้ที 100 บาทต่อโล

 

รายได้ที่เพิ่มขึ้น 30 บาท จะหักอะไรอีกไหม เช่นค่าแรง 

 

เห็นมีหลายคอมเม้ัม ว่า เค้าแบ่งกัน 50:50 

 

ค่าแรงต้องให้เพิ่มไหมครับ

 

แล้ว วันหนึ่ง คนหนึ่งสามารถกรีดยางได้กี่ไร่ต่อวันครับ ถ้ามี 10 ไร่ต้องใช้แรงกี่คนถึงจะกรีดได้หมด

 

ปล. ยอมรับว่า เรื่องการกรีดยาง เรื่องยางนี่ ไม่ค่อยมีความรู้ด้านนี้เท่าไหร่ รู้แค่พื้น ๆ แต่ไม่ได้รู้ว่าต้องทำอย่างไร


Edited by พอล คุง, 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 20:00.

ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#113 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 19:59

ยางมีแนวโน้มราคาเพิ่มขึ้น แต่***จะเอา 120 ราคาตลาดโลกมันจะได้ตกนะสิ แค่นี้รอไม่ได้

 

 

มันเพิ่มขี้นเพราะข่าวการประท้วง ลองเลิกประท้วง เดี๋ยวก็กลับไปทีเก่าอีก

 

:lol: 



#114 นิติราม

นิติราม

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 445 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 20:39

 

 

เรื่องราคา 80 แล้วขาดทุนในกำไรเนี่ย  คงต้องถกกันยาวเลยนะครับ  หากจะถกเถียงกันจริงๆ คำพูดตีกินแค่ว่าให้ราคา 80 ก็กำไรอยู่แล้ว  มันไม่พอครับ  ขอตัวเลขคำนวณประกอบด้วย
ที่รัฐบาลเสนอการชดเชยค่าปัจจัยการผลิต นั้น  รัฐบาลนับคนรับจ้างกรีดยางเป็นเกษตรกรชาวสวนยางหรือเปล่าล่ะครับ  ชดเชยค่าปัจจัยการผลิต  คือการไปช่วยนายทุนเจ้าของสวนยาง

ไม่ได้ช่วยคนกรีดยางเลย  อย่ามาอ้างพวกนรกกินป่า  ว่าไม่ได้อะไร  พวกที่คุณพูดถึงน่ะมันมี  แต่มันนับเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของชาวสวนยางจริงๆ ล่ะ  อีกอย่างพวกนี้มันจะไปกลัวอะไรล่ะครับ

ขนาดป่ามันยังกินได้ หากรัฐบาลจะให้เฉพาะเกษตรกรที่มีเอกสารสิทธิเดี๋ยวมันก็ต้องมีการสวมสิทธิเถื่อน  ขายเอกสารสิทธิ์กันในตลาดมืดอยู่ดี   เกษตรกรชาวสวนยาง เรียกร้องให้รัฐบาล

ช่วยเหลือเรื่องราคายาง ไม่ใช่เรียกร้องเรื่องราคาปุ๋ย ไม่ใช่เงินฟาดหัวแบบขอไปที  หากรัฐบาลยังตีโจทย์ไม่ออก มัวแต่จะหาวิธีการโกงกิน  มันก็ยักแย่ยักยันอยู่อย่างนี้นี่แหละ  

 

 

 

คุณครับ ผู้รับจ้างกรีดยางเขาเป็นผู้ใช้แรงงานตามเนื้องานนะครับ เขารับค่าจ้าง เช่น 60:40 ปัจจุบันพวกเถ้าแก่กดมาเหลือ 50:50 

 

ผู้ใช้แรงงานแบบตามเนื้องานเขาได้ค่าจ้างตามปริมาณงานที่เขาทำได้ เขากรีดเยอะ เขาก็ได้ส่วนแบ่งเยอะ เขากรีดน้อย เขาก็ได้ส่วนแบ่งน้อย

 

หากคุณต้องการช่วยผู้ใช้แรงงาน ก็ต้องออกกฎหมายให้เถ้าแก่แบ่งรายได้เป็น 40:60 ครับ เลิกทำนาบนหลังคนได้แล้ว

 

ไม่ใช่เถ้าแก่จะเอากำไรอย่างเดียว ไม่ยอมกำไรน้อยลง

 

หากเถ้าแก่นรกพวกนี้เขาห่วงแรงงานจริง เขาจ่าย 40:60 ไปให้เองแล้วครับ

 

ที่มันเอามาอ้างก็เพราะพวกเถ้าแก่พวกนี้มันบุกรุกป่า ไม่มีสิทธิรับเงินอย่างถูกต้องตามกฎหมาย

 

มันถึงไม่เอา

 

และรัฐก็รู้แกวพวกนี้ครับ

 

เขารับ 60/40 คือ เถ้าแก่ 60 คนกรีด 40

แล้วพอมารับ 50/50 เนี่ยเถ้าแก่กดตรงไหนครับ



#115 Critical

Critical

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 642 posts

ตอบ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:08

 

รัฐบวยให้เงินไร่ละ พันกว่าบาท ถ้ามีสวนยาง 10 ไร่ ได้เงิน หมื่นกว่าบาท(จ่ายครั้งเดียวจบ)

แต่ถ้าถ้าราคายางปรับจาก 70 เป็น 100 บาท ถ้ามีสวน 10 ไร่ ได้น้ำยางอย่างน้อยๆ 20 โลต่อวัน(อ้างอิงสวนผมเองครับ มีสวนยางอยู่ประมาณ 70-80% ของพื้นที่)
ขาวสวนจะได้เงินเพิ่มขึ้น 30*20 = 600 บาทต่อวัน เดือนนึงตัด 20 วัน จะได้เงินเพิ่มขึ้น 12,000 บาททุกเดือน

แล้วแบบนี้ใครมันจะไปรับข้อเสนอรัฐบวยครับ  :angry:

 

 

อยากถามครับ 

 

ถ้าสมมุติว่า เจรจากับ รบ เป็นผล ได้ที 100 บาทต่อโล

 

รายได้ที่เพิ่มขึ้น 30 บาท จะหักอะไรอีกไหม เช่นค่าแรง 

 

เห็นมีหลายคอมเม้ัม ว่า เค้าแบ่งกัน 50:50 

 

ค่าแรงต้องให้เพิ่มไหมครับ

 

แล้ว วันหนึ่ง คนหนึ่งสามารถกรีดยางได้กี่ไร่ต่อวันครับ ถ้ามี 10 ไร่ต้องใช้แรงกี่คนถึงจะกรีดได้หมด

 

ปล. ยอมรับว่า เรื่องการกรีดยาง เรื่องยางนี่ ไม่ค่อยมีความรู้ด้านนี้เท่าไหร่ รู้แค่พื้น ๆ แต่ไม่ได้รู้ว่าต้องทำอย่างไร

 

100 บาทนี่ไม่หักอะไรแล้วครับ ที่เหลือก็อยู่ที่ว่าจะแบ่งกันอย่างไรระหว่างคนสวนกับเจ้าของ 70/30, 60/40, 50/50

ที่สวนผมแบ่งกัน 60/40 ครับ แต่เดือนไหนฝนตกเยอะ ตัดได้น้อยหน่อย ก็ยกเงินงวดนั้นให้คนสวนไปหมดเลยก็มีครับ เพราะพ่อกับแม่ผมท่านก็มีงานประจำ มีเงินเดือนอยู่แล้วครับ

ส่วนเรื่องค่าแรงนี่แถวบ้านผมไม่มีนะครับ จะแบ่งกันอย่างที่บอกข้างบน โดยเจ้าของสวนเป็นคนจ่ายค่าปุ๋ยค่าน้ำค่าไฟเอง

จากการค้นหาใน google บางสวนก็มีการจ้างแบบให้ค่าจ้างรายวัน โดยเจ้าของสวนเป็นคนจ่ายค่าปุ๋ยค่าน้ำค่าไฟเองเหมือนกัน

สองวิธีนี้จะต่างกันคือวิธีแรกยิ่งขยันคนสวนก็ยิ่งได้เงินเยอะ ถ้างวดไหนตัดได้น้อย เจ้าของสวนก็ช่วยเหลือไปตามสมควร ส่วนวิธีที่สองขยันหรือไม่ขยันคนสวนก็ได้เงินเท่าเดิม ไม่เห็นความจำเป็นต้องขึ้นค่าแรงให้เลยครับ เพราะภาระจริงๆอยู่ที่เจ้าของสวนต่างหาก

ส่วนเรื่องคนนึงกรีดได้กี่วันนี่ผมให้ข้อมูลจากสวนผมเองนะครับ
ยาง 10 ไร่ ใช้คนตัดประมาณ 2-3 คน ใช้เวลาทำงานอย่างมาก 5-6 ชม. ก็เสร็จครับ


Edited by Critical, 5 กันยายน พ.ศ. 2556 - 22:10.

"การยอมรับแนวคิดหนึ่งในวงกว้าง ไม่ได้เป็นสิ่งพิสูจน์ความถูกต้องของความคิดนั้น" - แดน บราวน์, สาส์นลับที่สาบสูญ

#116 butadad

butadad

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,119 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 00:08

ง่ายๆเลย รัฐซื้อข้าวเกินราคาได้ ทำไมซื้อยางเกินราคาไม่ได้ ห๊าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา
วันหลัง ข้าวโพด มันสำปะหลัง เขาก็คิดกันเหมือนกันแหละ
มากันหมดแน่

#117 gears

gears

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,450 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:17

ผมพูดอีกทีนะ

ตัวปํญหามันคือพวกนายทุนนรกนอกกฎหมายครับ ที่เขาไม่ได้ประโยชน์จากการต่อรอง

ไม่ใช่เกษตรกรตัวจริงกับพวกนายทุนถูกกฎหมาย

ไปจับตาดูพวกนี้ + ม็อบการเมืองได้เลยครับ

ตัวอย่าง ตรรกะวิบัติ ที่ติดสมองมามีแค่นี้แหละ เหอๆๆ
นึกว่าจะเก่วกว่า ไรัสาระสิ้นดี

ไม่ลงทุนเล๊ยยยยยยย

Edited by gears, 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 08:18.


#118 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 12:44

โต้งมันคิดว่า คนใต้เป็นควาย มั้ง...

 

ขยายโครงการช่วยเหลือค่าปุ๋ย จาก 10 ไร่ เป็น 25 ไร่

 

มันคงกะว่า พวกที่มี เกิน 10 ไร่ คงเห็นด้วยกะมัน

 

ไม่รู้ห่าไร มันจะช่วยค่าปุ๋ยอย่างเดียว

 

ไปคำนวณดี ๆ บางทีอาจใช้เงินเพิ่มขึ้นอีกไม่มากก็ได้

 

เพราะ ข้อเสนอเกษตรกร เค้าของส่วนต่าง ไม่ได้จะเอาทั้งก้อนเมื่อไหร่

 

:lol: 



#119 ม็อบถ่อย

ม็อบถ่อย

    น้องเก่า

  • Banned
  • PipPip
  • 80 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:51

 

hpara.png
แม้ว่าจะเห็น % กำไรสูง แต่ต้องเข้าใจว่า ยางไม่สามารถกรีดได้ทั้งปี
แรงงานคนนึง กรีดยางได้พื้นที่ไม่มาก และต้องกรีดในเวลากลางคืน ซื้งมีความเสี่ยงกว่าการทำงานเวลากลางวัน

 

 

 

กำไรเกือบ 20% นี่เรียกว่าเป็นการลงทุนที่หรูแล้วนะครับสำหรับเถ่าแก่ที่ไม่ได้กรีดยางเอง 

ส่วนเกษตรกรที่เขากรีดยางเอง ทำเป็นธุรกิจครอบครัว เขาได้เยอะกว่านั้นเพราะไม่ต้องจ่ายค่าแรง

แถมยังได้อีก 1,260 บาทต่อไร่อีก

 

มีแต่พวกนายทุนกินป่าเท่านั้นครับที่ไม่เอา 



#120 หลงฮู้เช็ง

หลงฮู้เช็ง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 328 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:32

หากอยู่ได้เขาก็ไม่ออกมาชุมนุมแล้วครับ  คำว่าหรู และได้เยอะ ของคุณ เป็นเพียงความคิดเห็นและวินิจฉัยของคุณเอง

ถามจริงๆ ว่าทำไมรัฐ ไม่มีการกวาดล้างพวกนายทุนกินป่า บ่นอยู่ได้  หลักฐานมี  ก็จัดการตามกฏหมายไปเลยสิ



#121 Majestic

Majestic

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,509 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:38

 

 

hpara.png
แม้ว่าจะเห็น % กำไรสูง แต่ต้องเข้าใจว่า ยางไม่สามารถกรีดได้ทั้งปี
แรงงานคนนึง กรีดยางได้พื้นที่ไม่มาก และต้องกรีดในเวลากลางคืน ซื้งมีความเสี่ยงกว่าการทำงานเวลากลางวัน

 

 

 

กำไรเกือบ 20% นี่เรียกว่าเป็นการลงทุนที่หรูแล้วนะครับสำหรับเถ่าแก่ที่ไม่ได้กรีดยางเอง 

ส่วนเกษตรกรที่เขากรีดยางเอง ทำเป็นธุรกิจครอบครัว เขาได้เยอะกว่านั้นเพราะไม่ต้องจ่ายค่าแรง

แถมยังได้อีก 1,260 บาทต่อไร่อีก

 

มีแต่พวกนายทุนกินป่าเท่านั้นครับที่ไม่เอา 

 

 

1 ปี กรีดยางได้ 300 กิโลกรัมต่อไร่ สมมุติว่า ทำได้ 10 ไร่ต่อคน เท่ากับมีผลผลิต 3000 กิโลกรัม

 

ปี 56 กำไรขายจริง 12.32 บาท เท่ากับมีรายได้ 3000x12.32 = 36960 บาทต่อปี หรือตกเดือนละ 3,080 บาท

ปี 56 กำไรคาดการณ์ 28.81 บาท เท่ากับมีรายได้ 3000x28.81 = 86430 บาทต่อปี หรือตกเดือนละ 7,202.5 บาท



#122 Critical

Critical

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 642 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:43

 

 

hpara.png
แม้ว่าจะเห็น % กำไรสูง แต่ต้องเข้าใจว่า ยางไม่สามารถกรีดได้ทั้งปี
แรงงานคนนึง กรีดยางได้พื้นที่ไม่มาก และต้องกรีดในเวลากลางคืน ซื้งมีความเสี่ยงกว่าการทำงานเวลากลางวัน

 

 

 

กำไรเกือบ 20% นี่เรียกว่าเป็นการลงทุนที่หรูแล้วนะครับสำหรับเถ่าแก่ที่ไม่ได้กรีดยางเอง 

ส่วนเกษตรกรที่เขากรีดยางเอง ทำเป็นธุรกิจครอบครัว เขาได้เยอะกว่านั้นเพราะไม่ต้องจ่ายค่าแรง

แถมยังได้อีก 1,260 บาทต่อไร่อีก

 

มีแต่พวกนายทุนกินป่าเท่านั้นครับที่ไม่เอา 

 

1260บาทต่อไร่ นี่จ่ายให้ยังไงครับ ทีเดียวจบ หรือ จ่ายให้ทุกเดือน ?


"การยอมรับแนวคิดหนึ่งในวงกว้าง ไม่ได้เป็นสิ่งพิสูจน์ความถูกต้องของความคิดนั้น" - แดน บราวน์, สาส์นลับที่สาบสูญ

#123 ม็อบถ่อย

ม็อบถ่อย

    น้องเก่า

  • Banned
  • PipPip
  • 80 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:45

 

 

 

hpara.png
แม้ว่าจะเห็น % กำไรสูง แต่ต้องเข้าใจว่า ยางไม่สามารถกรีดได้ทั้งปี
แรงงานคนนึง กรีดยางได้พื้นที่ไม่มาก และต้องกรีดในเวลากลางคืน ซื้งมีความเสี่ยงกว่าการทำงานเวลากลางวัน

 

 

 

กำไรเกือบ 20% นี่เรียกว่าเป็นการลงทุนที่หรูแล้วนะครับสำหรับเถ่าแก่ที่ไม่ได้กรีดยางเอง 

ส่วนเกษตรกรที่เขากรีดยางเอง ทำเป็นธุรกิจครอบครัว เขาได้เยอะกว่านั้นเพราะไม่ต้องจ่ายค่าแรง

แถมยังได้อีก 1,260 บาทต่อไร่อีก

 

มีแต่พวกนายทุนกินป่าเท่านั้นครับที่ไม่เอา 

 

1260บาทต่อไร่ นี่จ่ายให้ยังไงครับ ทีเดียวจบ หรือ จ่ายให้ทุกเดือน ?

 

 

 

ช่วงนี้ราคายางตกต่ำ เขาก็จ่ายให้เพื่อชดเชยต้นทุน

สมมุติปีหน้าราคายาง 100+ คุณยังจะเอาเงินกินเปล่าอีกเหรอ?



#124 sanskrit_shower

sanskrit_shower

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,741 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:48

 

 

 

 

hpara.png
แม้ว่าจะเห็น % กำไรสูง แต่ต้องเข้าใจว่า ยางไม่สามารถกรีดได้ทั้งปี
แรงงานคนนึง กรีดยางได้พื้นที่ไม่มาก และต้องกรีดในเวลากลางคืน ซื้งมีความเสี่ยงกว่าการทำงานเวลากลางวัน

 

 

 

กำไรเกือบ 20% นี่เรียกว่าเป็นการลงทุนที่หรูแล้วนะครับสำหรับเถ่าแก่ที่ไม่ได้กรีดยางเอง 

ส่วนเกษตรกรที่เขากรีดยางเอง ทำเป็นธุรกิจครอบครัว เขาได้เยอะกว่านั้นเพราะไม่ต้องจ่ายค่าแรง

แถมยังได้อีก 1,260 บาทต่อไร่อีก

 

มีแต่พวกนายทุนกินป่าเท่านั้นครับที่ไม่เอา 

 

1260บาทต่อไร่ นี่จ่ายให้ยังไงครับ ทีเดียวจบ หรือ จ่ายให้ทุกเดือน ?

 

 

 

ช่วงนี้ราคายางตกต่ำ เขาก็จ่ายให้เพื่อชดเชยต้นทุน

สมมุติปีหน้าราคายาง 100+ คุณยังจะเอาเงินกินเปล่าอีกเหรอ?

 

แล้วเค้าจ่ายยังไงครับ ทีเดียวจบ หรือ จ่ายให้ทุกเดือน



#125 Critical

Critical

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 642 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:48

 

 

 

 

hpara.png
แม้ว่าจะเห็น % กำไรสูง แต่ต้องเข้าใจว่า ยางไม่สามารถกรีดได้ทั้งปี
แรงงานคนนึง กรีดยางได้พื้นที่ไม่มาก และต้องกรีดในเวลากลางคืน ซื้งมีความเสี่ยงกว่าการทำงานเวลากลางวัน

 

 

 

กำไรเกือบ 20% นี่เรียกว่าเป็นการลงทุนที่หรูแล้วนะครับสำหรับเถ่าแก่ที่ไม่ได้กรีดยางเอง 

ส่วนเกษตรกรที่เขากรีดยางเอง ทำเป็นธุรกิจครอบครัว เขาได้เยอะกว่านั้นเพราะไม่ต้องจ่ายค่าแรง

แถมยังได้อีก 1,260 บาทต่อไร่อีก

 

มีแต่พวกนายทุนกินป่าเท่านั้นครับที่ไม่เอา 

 

1260บาทต่อไร่ นี่จ่ายให้ยังไงครับ ทีเดียวจบ หรือ จ่ายให้ทุกเดือน ?

 

 

 

ช่วงนี้ราคายางตกต่ำ เขาก็จ่ายให้เพื่อชดเชยต้นทุน

สมมุติปีหน้าราคายาง 100+ คุณยังจะเอาเงินกินเปล่าอีกเหรอ?

 

ผมถามว่า จ่ายยังไง ? ต่อเดือน ต่อปี หรืองวดเดียวตลอดชาติ ก็ตอบมาสิครับ


"การยอมรับแนวคิดหนึ่งในวงกว้าง ไม่ได้เป็นสิ่งพิสูจน์ความถูกต้องของความคิดนั้น" - แดน บราวน์, สาส์นลับที่สาบสูญ

#126 ม็อบถ่อย

ม็อบถ่อย

    น้องเก่า

  • Banned
  • PipPip
  • 80 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:50

 

 

 

 

 

hpara.png
แม้ว่าจะเห็น % กำไรสูง แต่ต้องเข้าใจว่า ยางไม่สามารถกรีดได้ทั้งปี
แรงงานคนนึง กรีดยางได้พื้นที่ไม่มาก และต้องกรีดในเวลากลางคืน ซื้งมีความเสี่ยงกว่าการทำงานเวลากลางวัน

 

 

 

กำไรเกือบ 20% นี่เรียกว่าเป็นการลงทุนที่หรูแล้วนะครับสำหรับเถ่าแก่ที่ไม่ได้กรีดยางเอง 

ส่วนเกษตรกรที่เขากรีดยางเอง ทำเป็นธุรกิจครอบครัว เขาได้เยอะกว่านั้นเพราะไม่ต้องจ่ายค่าแรง

แถมยังได้อีก 1,260 บาทต่อไร่อีก

 

มีแต่พวกนายทุนกินป่าเท่านั้นครับที่ไม่เอา 

 

1260บาทต่อไร่ นี่จ่ายให้ยังไงครับ ทีเดียวจบ หรือ จ่ายให้ทุกเดือน ?

 

 

 

ช่วงนี้ราคายางตกต่ำ เขาก็จ่ายให้เพื่อชดเชยต้นทุน

สมมุติปีหน้าราคายาง 100+ คุณยังจะเอาเงินกินเปล่าอีกเหรอ?

 

ผมถามว่า จ่ายยังไง ? ต่อเดือน ต่อปี หรืองวดเดียวตลอดชาติ ก็ตอบมาสิครับ

 

 

 

เขาจะจ่ายเงินกินเปล่าให้คุณตลอดขาติได้ยังไงหล่ะครับ

 

ใช้สมองคิดหน่อย

 

เช็ค 2,000 บาทเขาจ่ายให้คุณตลอดชาติเหรอ?



#127 Critical

Critical

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 642 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:53

 

 

 

 

 

 

hpara.png
แม้ว่าจะเห็น % กำไรสูง แต่ต้องเข้าใจว่า ยางไม่สามารถกรีดได้ทั้งปี
แรงงานคนนึง กรีดยางได้พื้นที่ไม่มาก และต้องกรีดในเวลากลางคืน ซื้งมีความเสี่ยงกว่าการทำงานเวลากลางวัน

 

 

 

กำไรเกือบ 20% นี่เรียกว่าเป็นการลงทุนที่หรูแล้วนะครับสำหรับเถ่าแก่ที่ไม่ได้กรีดยางเอง 

ส่วนเกษตรกรที่เขากรีดยางเอง ทำเป็นธุรกิจครอบครัว เขาได้เยอะกว่านั้นเพราะไม่ต้องจ่ายค่าแรง

แถมยังได้อีก 1,260 บาทต่อไร่อีก

 

มีแต่พวกนายทุนกินป่าเท่านั้นครับที่ไม่เอา 

 

1260บาทต่อไร่ นี่จ่ายให้ยังไงครับ ทีเดียวจบ หรือ จ่ายให้ทุกเดือน ?

 

 

 

ช่วงนี้ราคายางตกต่ำ เขาก็จ่ายให้เพื่อชดเชยต้นทุน

สมมุติปีหน้าราคายาง 100+ คุณยังจะเอาเงินกินเปล่าอีกเหรอ?

 

ผมถามว่า จ่ายยังไง ? ต่อเดือน ต่อปี หรืองวดเดียวตลอดชาติ ก็ตอบมาสิครับ

 

 

 

เขาจะจ่ายเงินกินเปล่าให้คุณตลอดขาติได้ยังไงหล่ะครับ

 

ใช้สมองคิดหน่อย

 

เช็ค 2,000 บาทเขาจ่ายให้คุณตลอดชาติเหรอ?

 

แล้วสรุปจะตอบไม่ตอบ ? หรือกลัวจนตรอก ?


"การยอมรับแนวคิดหนึ่งในวงกว้าง ไม่ได้เป็นสิ่งพิสูจน์ความถูกต้องของความคิดนั้น" - แดน บราวน์, สาส์นลับที่สาบสูญ

#128 kaidum

kaidum

    ขาดขา

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,125 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:54

เงินยังเหลืออีกเยอะนะ แต่ต้องรอให้ร่าง พรบ เงินกู้คอมพลีทก่อน (แน๊ กระแดะภาษาปะกิตซ๊าาา)

 

ผู้ส่งออกเล่นเกมหยุดรับซื้อข้าว รัฐบาลเงินหมดจำนำได้แค่นาปี
 
  • 13783761331378376183m.jpg
Prev
1 of 1
Next

คลิกภาพเพื่อขยาย

updated: 05 ก.ย. 2556 เวลา 18:14:51 น.

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์

รัฐ เข้าตาจน ระบายข้าวไม่เป็นไปตามแผน ผู้ส่งออกฉวยจังหวะยิงนัดเดียวได้นกสองตัว รวมหัวไม่ซื้อข้าวในตลาด หวังกดราคาประมูลรอบหน้า ทำราคาข้าวไทยในตลาดโลกร่วงใกล้เคียงข้าวเวียดนาม ครม.มีมติรับจำนำแค่ ข้าวนาปี เหตุกู้เต็มเพดานหมดเงินจำนำข้าวเพิ่ม

หลังจากที่กระทรวงพาณิชย์เปิดประมูลขายข้าวในสต๊อกรัฐบาลต่อเนื่องมา 3 ครั้ง จากปริมาณข้าวที่เปิดประมูลรวมทั้งหมด 751,665 ตัน ปรากฏสามารถขายออก?ไปได้ 240,000 ตัน ในจำนวนนี้เป็นการ?ขายข้าวนึ่งออกไปได้มากถึง 120,000 ตัน ท่ามกลางข้อสงสัยที่ว่า กระทรวงพาณิชย์?เทขายข้าวนึ่งออกมาในราคาที่ต่ำมาก ทำให้?ผู้ส่งออกยึดฐานราคาข้าวนึ่งของรัฐบาล หันมากดราคารับซื้อข้าวภายในประเทศ ส่งผลให้แผนการระบายข้าวมูลค่า 72,065 ล้านบาท ของกระทรวงพาณิชย์ "ไม่มีความแน่นอน" จนกระทบกับวงเงิน?รับจำนำข้าวปี 2556/57 ต่อไป

ผู้ส่งออกเล่นเกมหยุดรับซื้อข้าว

แหล่งข่าวจากวงการค้าข้าวเปิดเผยกับ "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า ขณะนี้ราคาซื้อขายข้าวสาร 5% ในตลาดลดลงตันละ 2,000 บาท จาก 14,500 บาทเหลือเพียง 12,800 บาท หรือคิดเป็นราคาข้าวเปลือกปรับลดลงในสัดส่วนเท่ากันตันละ 2,000 บาท จาก 11,000 บาทเหลือ 8,000-9,000 บาท โดยราคาข้าวขาว 5% ที่ปรับลดลงในขณะนี้เป็นผลมาจากการที่กระทรวงพาณิชย์อนุมัติขายข้าวเปลือก 5% จากโครงการจำนำข้าวเปลือกปี 2555/2556 รอบ 2 เพื่อนำมาสีแปรเป็นข้าวนึ่งให้กับ?ผู้ส่งออก 4 รายใหญ่ ได้แก่ บริษัทนครหลวงค้าข้าว, บริษัทไชยพรไรซแอนด์ฟู้ด?โปรดักส์, บริษัทเอเซีย โกลเด้น ไรซ์ และบริษัทกมลกิจ ปริมาณรวม 120,000 ตัน ในเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา 

"ทิศทางราคาข้าวขาลงในปัจจุบันมาจากความเชื่อที่ว่า กระทรวงพาณิชย์ขายข้าวเปลือกมาทำข้าวนึ่งในราคาที่ต่ำมาก เฉลี่ยแล้วไม่น่าจะเกิน 8,450 บาท/ตัน จากราคารับจำนำที่ตันละ 15,000 บาท ไม่มีใครเชื่อว่า รัฐบาลจะขายทั้งหมดได้ถึง 11,000 บาทตามที่แถลง เพราะไม่เช่นนั้น?ก็คงไม่กระทบต่อราคาตลาดขนาดนี้ ?กลายเป็นว่าราคาประมูลข้าวเปลือก?เพื่อมาทำข้าวนึ่งถือเป็นการชี้นำตลาด ?ผู้ส่งออกจับราคาลงมาตันละ 2,000 บาท และในตลาดแทบไม่มีคนซื้อข้าวเลย ?เพราะจะรอดูการประมูลข้าวครั้งต่อไป" แหล่งข่าวกล่าว

ทั้งนี้ กระทรวงพาณิชย์ไม่มีทางเลือกมากนักที่จะต้องเร่งหาทางระบายข้าวในสต๊อกช่วง 4 เดือนสุดท้ายของปีนี้ เพื่อหาเงินจำนวน 72,065 ล้านบาท มาใช้คืนกระทรวงการคลัง ใช้เป็นเงินหมุนเวียนในการรับจำนำข้าวเปลือกปี 2556/57 โครงการใหม่ ซึ่งความจริงข้อนี้ผู้ส่งออกต่างก็รับทราบกันดี จนกลายเป็นที่มาของการ "รวมตัว" กันกดราคารับซื้อข้าวภายในประเทศ เพื่อกดดันกระทรวงพาณิชย์ให้ปรับลดเกณฑ์ราคากลางลงมาในการประมูลครั้งต่อไป ส่งผลให้ช่วงราคาเสนอขายข้าวไทยในตลาดโลกใกล้เคียงกับราคาเสนอขายข้าวของประเทศคู่แข่งอย่างเวียดนามมากขึ้น 

"การกดราคารับซื้อข้าวเป็นผลดีกับ?ผู้ส่งออกที่สามารถระบายข้าวออกไปได้ แต่ผลเสียก็คือ โครงการรับจำนำข้าวเปลือกของรัฐบาลจะขาดทุนมากขึ้นจากการ?รับจำนำราคาแพง แต่ต้องขายข้าวออกไปในราคาที่ถูกมาก" แหล่งข่าวกล่าว

ด้านสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยได้เผยแพร่การส่งออกข้าวในเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ปรากฏมีปริมาณ 675,063 ตัน เพิ่มขึ้น 12.8% จากเดือนกรกฎาคมปีก่อน โดยมีมูลค่า 13,362 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือเพิ่มขึ้น 6.1% ส่งผลให้ยอดส่งออกข้าวไทยในช่วง 7 เดือนแรก (ม.ค.-ก.ค.) ปี 2556 มีปริมาณรวม 3.61 ล้านตัน หรือลดลง 5.1% จากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีการส่งออกข้าวในปริมาณ 3.8 ล้านตัน โดยมีมูลค่า 75,350 ล้านบาท ลดลง 5.6% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีมูลค่า 79,810 ล้านบาท 

ส่วนราคาข้าวภายในประเทศปรับตัวอ่อนลง ประกอบกับภาวะค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลงตามสภาวะเศรษฐกิจของโลก ส่งผลให้ราคาส่งออกข้าวไทยปรับตัวลดลง ขณะนี้ราคาข้าวขาว 5% ตันละ 442 เหรียญ หรือห่างจากประเทศคู่แข่งประมาณตันละ 60 เหรียญ ส่งผลให้ช่วงราคาข้าวที่ห่างกันลดลง ?จากเดิมที่ข้าวไทยสูงกว่าคู่แข่งตันละ 100 เหรียญสหรัฐ โดยราคาข้าวขาว 5% ของเวียดนามที่ระดับ 380-390 เหรียญ/ตัน ซึ่งเป็นราคาที่ต่ำที่สุดในตลาด อินเดียตันละ ?410-420 เหรียญ ปากีสถานเสนอขายที่ 400-410 เหรียญ/ตัน

เงินหมดจำนำได้เฉพาะนาปี 

นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคลัง กล่าวภายหลังการประชุม ครม.สิ้นสุดลงว่า ที่ประชุมเห็นชอบตามมติของคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ให้ดำเนินการโครงการรับจำนำข้าวเปลือกปีการผลิต 2556/57 ภายใต้กรอบวงเงิน 270,000 ล้านบาท โดยการรับจำนำข้าวนาปีที่จะเริ่มในวันที่ 1 ตุลาคม 2556-28 กุมภาพันธ์ 2557 ยังรับจำนำข้าวในอัตราเดิมคือ ข้าวเปลือกเจ้า ความชื้นไม่เกิน 15% ในราคาตันละ 15,000 บาท และข้าวเปลือกหอมมะลิ ในราคาตันละ 20,000 บาท ทั้งนี้กำหนดวงเงินการรับจำนำข้าวเปลือกไม่เกินรายละ 350,000 บาท

ในการรับจำนำข้าวนาปี 2556/57 ถือเป็นเรื่องของการใช้กรอบวงเงินใหม่ที่ 270,000 ล้านบาท หากมีเงินเหลือที่ประชุมจะกลับมาพิจารณากันใหม่อีกครั้งว่า จะสามารถดำเนินการรับจำนำข้าวนาปรังประจำปี 2557 ต่อไปได้หรือไม่ อย่างไรก็ตาม กระทรวงการคลังและกระทรวงพาณิชย์จะทำงานร่วมกันเพื่อให้การดำเนินโครงการรับจำนำยังสามารถรักษากรอบวงเงินเดิมที่ไม่เกิน 500,000 ล้านบาทให้ได้

ขณะที่นายวราเทพ รัตนากร รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า ครม.ได้จำกัดวงเงินการรับจำนำข้าวปี 2556/57 เหลือ 270,000 ล้านบาท จากเดิมที่ต้องใช้ 300,000 ล้านบาท โดยแยกคนละบัญชีกับเงินหมุนเวียนที่ใช้ในปีก่อนหน้าที่ ครม.มีมติกำหนดไว้ให้ใช้เงินหมุนเวียนไม่เกิน 500,000 ล้านบาท ซึ่งวงเงินใหม่นี้จะใช้เงินกู้จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) และหากไม่เพียงพอก็จะให้กระทรวงการคลังกู้เพิ่มให้ "ในวงเงินหมุนเวียน 500,000 ล้านบาทเดิม เมื่อมีการระบายข้าวหรือรัฐบาลชดเชยให้ ธ.ก.ส.แล้ว ก็สามารถนำมาใช้หมุนเวียนสำหรับวงเงิน 270,000 ล้านบาทนี้ได้เช่นกัน" 

ด้านแหล่งข่าวจากกระทรวงการคลังกล่าวกับ "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า ตามแผนบริหารหนี้สาธารณะประจำปีงบประมาณ 2557 ที่ผ่านความเห็นชอบจาก ครม. เมื่อวันที่ 3 กันยายน ยังไม่มีการค้ำประกันเงินกู้เพิ่มให้แก่ ธ.ก.ส. เพื่อใช้ในการรับจำนำข้าวแต่อย่างใด โดยกำหนดไว้เป็นวงเงินปรับโครงสร้างหนี้ (รีไฟแนนซ์) ให้ไว้ประมาณ 140,000 ล้านบาท เพื่อให้อยู่ภายใต้กรอบมติ ครม.เดิม คือ ใช้เงินกู้ไม่เกิน 410,000 ล้านบาท และหาก ธ.ก.ส.จะให้ค้ำประกันเพิ่ม ต้องรอให้กระทรวงพาณิชย์ระบายสินค้าเกษตรและคืนหนี้แก่ ธ.ก.ส.ก่อน จึงจะค้ำเพิ่มได้ตามจำนวนที่ได้รับเงินคืนดังกล่าว

"ตอนนี้ในแผนก่อหนี้ยังไม่มีให้กู้เพิ่ม โดยวงเงินเดิมที่ต้องกู้ 410,000 ล้านบาท ทางคลังจะกู้ให้ภายในสิ้นเดือนกันยายนนี้ ซึ่งเหลือวงเงินอีกประมาณ 20,000-30,000 ล้านบาท แต่ยังไม่มีวงเงินกู้ให้สำหรับการรับจำนำข้าวรอบใหม่ โดยหากจะกู้เพิ่มก็ต้องเสนอปรับแผนก่อหนี้อีกรอบ" แหล่งข่าวกล่าว

แหล่งข่าวกล่าวอีกว่า ทางคลังพยายามควบคุมวงเงินหมุนเวียนในโครงการรับจำนำข้าวไม่ให้เกิน 500,000 ล้านบาท ตามกรอบที่ ครม.เคยให้ไว้ โดยในปีงบประมาณ 2557 นั้น หากกู้เพิ่มอีกกว่า 100,000 ล้านบาท จะทำให้หนี้สาธารณะต่อ GDP ขึ้นไปถึง 50% ได้ "ถ้าจะให้กู้เพิ่มก็ได้อีกประมาณกว่า 100,000 ล้านบาท แต่หนี้สาธารณะก็จะถึง 50% ซึ่งการดูแลสินค้าเกษตรไม่ได้มีแค่ข้าวอย่างเดียว แถมยังต้องกู้เรื่องอื่นอีก" แหล่งข่าวกล่าว
 

 

 


ประชาธิปไตยของผม ไม่ได้เกิดจากอารมณ์และการอุปถัมป์ โดยใคร

#129 อาตี๋

อาตี๋

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,267 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 17:07

ยางมีแนวโน้มราคาเพิ่มขึ้น แต่***จะเอา 120 ราคาตลาดโลกมันจะได้ตกนะสิ แค่นี้รอไม่ได้

เพิ่มไม่ดีหรอ รัฐจำนำ ราคาเกินจำนำเอาไปขายรัฐได้กำไรอีก 

 

ทีข้าวเก็บจนเน่าคาโกดัง มันราคาขึ้นมาตันละ ๑๕๐๐๐ยัง


สิทธิตามระบอบประชาติปไตยมีไว้สำหรับให้เสื้อแดงผู้เรียกร้องประชาติปไตยเท่านั้น


ผู้อื่นห้ามใช้มิเช่นนั้นจะโดนประชาติปไตยลงโทษ


#130 kaidum

kaidum

    ขาดขา

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,125 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 17:39

ดอนยอเอาบทความของคุณวิโรจน์ ณ.ระนอง. มาพูดไม่หมดนะครับ
จำได้ว่าคุณวิโรจน์ กล่าวติงให้ทบทวนเงื่อนไขการแทรกแซงสินค้าเกษตรด้วยนะครับ
เพราะนั่นเป็นต้นเหตุ
ประชาธิปไตยของผม ไม่ได้เกิดจากอารมณ์และการอุปถัมป์ โดยใคร

#131 เดอะอำมาตย์

เดอะอำมาตย์

    อิคคิวเป่าปุ้น

  • Members
  • PipPipPip
  • 799 posts

ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 - 18:35

- ยกข้อความมาไม่หมด

- เอากราฟมาซุยแบบมั่วๆเข้าข้างตัวเอง

- ข้อความไหนเถียงไม่ได้ แกล้งไม่เห้น

 

 

ตลอดอ่ะนิสัยเดิม คนเดิม แต่หลายล็อกอิน โคตรเบื่อเบย

 

ใครเคยเข้าบอร์ด pramool น่าจะเคยเห็นพฤติกรรมประมาณนี้นะ


" เราควรรอให้คนอื่นยอมรับเรา หรือควรทำให้เราเป็นที่ยอมรับของผู้อื่น "

#132 ryukendo

ryukendo

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,383 posts

ตอบ 7 กันยายน พ.ศ. 2556 - 17:59

dj5ahdjd55ghg57ke57bc.jpg

 

7 ก.ย.56 พ.ต.ต.เสงี่ยม สำราญรัตน์ ที่ปรึกษาประจำสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี นำตัวแทนชาวสวนยาง จ.นครศรีธรรมราช มาขอบคุณรัฐบาลที่อนุมัติให้ราคายางพาราอยู่ที่กิโลกรัมละ 90 บาท ทั้งนี้ก่อนที่จะมีการแถลงข่าวนั้นปรากฏว่าเกิดความวุ่นวายขึ้น เมื่อ พ.ต.ต.เสงี่ยมจะแถลงข่าวที่บริเวณห้องโถงอาคารรัฐสภา โดยยังไม่มีส.ส.มาเซ็นรับรอง ทำให้เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาต้องเข้ามาห้ามไม่ให้ใช้บริเวณรัฐสภาแถลงข่าว พร้อมทั้งอธิบายว่าเป็นระเบียบของรัฐสภา จากนั้นได้เชิญพ.ต.ต.เสงี่ยมออกจากบริเวณห้องโถงอาคารรัฐสภาเนื่องจากรออยู่ ประมาณ 5 นาที ก็ยังไม่มีส.ส.ลงมาเซ็นรับรองให้ พ.ต.ต.เสงี่ยมจึงโวยวายพร้อมทั้งขอให้เจ้าหน้าที่นำระเบียบรัฐสภามากางให้ดู จึงจะยอมออกจากห้องโถงอาคารรัฐสภา อย่างไรก็ตามตำรวจรัฐสภายังยืนยันว่าต้องปฏิบัติตามระเบียบ พ.ต.ต.เสงี่ยมจึงพูดอย่างมีอารมณ์ว่า ไม่แถลงตรงนี้ก็ได้ ปล่อยให้พวกอำมาตย์นั่ง

                        ผู้สื่อข่าวรายงานอีกว่า ระหว่างที่พ.ต.ต.เสงี่ยมรอให้ส.ส.พรรคเพื่อไทยมาเซ็นรับรองเพื่อขอใช้บริเวณ รัฐสภาในการแถลงข่าวนั้น พ.ต.ต.เสงี่ยมพยายามเดินไปเรียกส.ส.ทั้งของพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์ ทุกคนที่เดินผ่านมาในบริเวณห้องโถงอาคารรัฐสภาเพื่อขอให้มาเซ็นรับรองให้ อาทิ นายสุรพล เกียรติไชยากร ส.ส.เชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย แต่นายสุรพลระบุว่า ไม่สามารถเซ็นรับรองให้ได้เพราะพ.ต.ต.เสงี่ยมไม่ได้ประสานกับตนแต่ประสาน ผ่านนายวิภูแถลง พัฒนภูมิไทย ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย ส่วนนายประเสริฐ จันทรรวงทอง ส.ส.นครราชสีมา พรรคเพื่อไทย ระบุว่า ตนเองไม่ได้เกี่ยวข้องด้วย หากไปเซ็นรับรองให้เกรงว่าอาจจะเกิดความสับสนได้ และนายเจะอามิง โตะตาหยง ส.ส.นราธิวาส พรรคประชาธิปัตย์ ที่ระบุว่า ตนไม่สามารถเซ็นรับรองให้ได้ ท่านก็ดำเนินการของท่านไป จนเกือบ 20 นาทีนายวิภูแถลงจึงเดินลงมาที่ห้องโถงอาคารรัฐสภา ตำรวจรัฐสภาจึงอนุญาตให้ใช้บริเวณรัฐสภาแถลงข่าวได้

                        นายวิภูแถลง กล่าวว่า ขณะนี้มีแกนนำในพื้นที่บางคนที่ยังไม่พอใจ พยายามอธิบายว่าราคายางที่ 90 บาทนั้นคนภาคอีสานรับได้เพราะกินของราคาถูก แต่คนใต้รับไม่ได้เพราะกินของที่มีคุณภาพมากกว่านั้น เป็นแค่ความรู้สึกส่วนบุคคลเท่านั้น ไม่ใช่ความรู้สึกของคนภาคใต้ทั้งหมด ทั้งนี้ ตนได้พูดคุยกับนายกรัฐมนตรี โดยนายกรัฐมนตรีระบุว่า หากยังไม่พอใจราคาที่ 90 บาทก็คงต้องมานั่งพูดคุยกันถึงราคาต้นทุนการผลิตจริงๆ ว่าอยู่ตรงไหน ความรู้สึกเพียงอย่างเดียวคงไม่พอ เพราะต้นทุนขณะนี้อยู่ที่ประมาณ 65 บาทต่อกิโลกรัม นอกจากนี้ นายกรัฐมนตรียังระบุด้วยว่า จากการพูดคุยกับประเทศจีนนั้นก็รับปากว่ายินดีจะให้ความช่วยเหลืออย่างเต็ม ที่อีกด้วย

                        ด้านนายปาริก ปานช่วย แกนนำชาวสวนยาง อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรีธรรมราช กล่าวว่า ตนเป็นแกนนำชุดแรกที่ไปปิดการจราจรที่ ต.ควนหนองหงส์ อ.ชะอวด โดยแกนนำในกลุ่มของตนนั้นมีชาวสวนยาง จ.พัทลุง ตรัง นครศรีธรรมราช และสงขลา ทั้งนี้ ในที่ประชุมเมื่อวานนี้ (6 ก.ย.) ที่รัฐบาลให้ราคาที่ 90 บาทต่อกิโลกรัมนั้น ตัวแทน จ.ตรัง และพัทลุง บอกว่าสามารถรับได้ เพราะเสนอราคาให้รัฐบาลที่ 92 บาทต่อกิโลกรัม จึงได้ขอตัวกลับบ้านไป แต่ จ.สงขลายืนยันว่าจะขอยืนที่ราคา 95 บาทต่อกิโลกรัมเท่านั้น ส่วนพวกตนเห็นว่าหากนายเอียด เส้งเอียด เห็นว่าราคา 90 บาทสามารถรับได้ก็พร้อมที่จะรับด้วย จึงทำให้เกิดเสียงแตกขึ้น ทั้งนี้ เมื่อมีทีมงานของอ.ชะอวดมาบอกกับตนว่า นายเอียดระบุว่ารับได้ที่ราคา 90 บาทนั้นตนจึงยอมรับข้อเสนอของรัฐบาล อย่างไรก็ตามในส่วนของ จ.สงขลา ที่ยังต้องการราคา 95 บาทต่อกิโลกรัมนั้น ถือว่าเป็นสิทธิที่สามารถทำได้ และเราก็คงไม่ว่ากัน

                        ผู้สื่อข่าวถามว่า ได้โทรศัพท์สอบถามกับนายเอียดเองหรือไม่ นายปาริก กล่าวว่า ยอมรับว่าไม่ได้คุยกับนายเอียดโดยตรง มีทีมงานของอ.ชะอวดเป็นคนมาบอกกับตนว่านายเอียดระบุว่ารับได้กับราคา 90 บาท นอกจากนี้นายเอียดยังได้ปิดโทรศัพท์ในช่วงที่มีการหารือกันอยู่อีกด้วย โดยบอกให้พวกตนไปตกลงกันเองว่าจะยอมรับราคาที่รัฐบาลเสนอมาหรือไม่ ดังนั้นประโยคสุดท้ายที่ได้ยินจากนายเอียดคือ แล้วแต่พวกเราที่จะตกลงกัน ดังนั้นเมื่อทีมงานของ อ.ชะอวด มาบอกตนว่านายเอียดรับได้กับราคา 90 บาทพวกตนจึงถอนตัว

 

http://www.komchadlu...ml#.UisD53_j2W8

 

 

 

 

เราคงต้องมาวิเคราะห์กันถึงต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ แล้วเรามาบูรณาการถึงน้ำลายที่พ่นออกมาใส่ชาวสวนกันดีไหมครับ -_-


บ้านเมืองไม่ใช่ของเล่นที่จะทำพังแล้วร้องไห้ขออันใหม่




ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน