Jump to content


Photo
- - - - -

นิติราษฎร์ออกมาอัดศาลแล้ว แต่พูดกระทบสถาบันเบื้องสูง

นิติราษฎร์ ศาล

  • Please log in to reply
90 ความเห็นในกระทู้นี้

#51 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 23:56

 

 

อ้อ....ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติ ต่างกันครับ จะเอามาตราที่ใช้กับ พ.ร.บ.ปกติมาใช้กับร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ได้

 

แต่........อนึ่ง มาตรา 290 ว่าด้วยการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ก็ให้นำความใน ม.150 และ ม.151 มาบังคับใช้โดยอนุโลม

 

เออ... 150 และ 151 นั่นก็ขึ้นต้นด้วย พระราชบัญญัติ

 

 

 

“มาตรา 150 ร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน 20 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัตินั้นจากรัฐสภาเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้”

“มาตรา 151 ร่างพระราชบัญญัติใด ...

 

 

นี่พูดขัดกันเองเอาฮาหรือ <_<

 

เอ้อ  อ่านไม่เข้าใจหรือครับ ........อนึ่ง มาตรา 290 ว่าด้วยการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ก็ให้นำความใน ม.150 และ ม.151 มาบังคับใช้โดยอนุโลม

 

 

ผมถึงบอกว่าคุณพูดเอาแต่ฮา แล้วถ้าจะอ้างต้องอ้าง 291 วงเล็บ7 ไม่ใช้290

 

แล้วถ้ารัฐธรรมนูญอนุโลให้ใช้150 151 แสดงว่าต้องนำบทบัญญัติที่เกี่ยวกันคือส่วนที่8การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ 

 มาตรา154และ155 มาใช้ด้วย หลักกฎหมายแค่นี้ไม่เข้าใจหรือ -_-

Edited by แม้ว สุดซอย, 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 23:57.

พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#52 เมาอยู่

เมาอยู่

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,182 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 23:58

เอ่อ ตอนซุกห้น 1 เนี่ย นิติราด เคยออกมาวิเคราห์ไหมครับ หรือผมพลาดอะไรไป

 

ตอนนั้นไอ้แม้วมันผิดเห็นๆ



#53 best

best

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 741 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 23:59

ขออภัย เป็นมาตรา 291 ว่าด้วยการแก้ไขรัฐธรรมนูญ  ถูกแล้วครับ ไม่ใช่ 290  


Edited by best, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:03.


#54 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:10

เอ่อ ตอนซุกห้น 1 เนี่ย นิติราด เคยออกมาวิเคราห์ไหมครับ หรือผมพลาดอะไรไป

 

ตอนนั้นไอ้แม้วมันผิดเห็นๆ

ไอ้แม้วมันรอดคดี แม้วมันก็ไม่จ่ายสิครับ ก็ไม่ต้องจ้างพวกนี้ออกมาแก้ต่าง  :lol:



#55 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:25

ไม่รู้จะเถียง150 และ151ทำไม มันไม่ได้เกี่ยวกับที่ศาลตัดสินเลย

 

ยกตัวอย่างเช่น เพื่อไทยทำผิดมาตรา 291 วงเล็บ1

 

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกำหนดไว้ในหมวดที่ 15 มาตรา 291[2] กระทำตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้

(1) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า 50,000 คน ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย

ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

 

คำตัดสินของศาล

 

 

 มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงหลักการที่สำคัญจะร่างเดิมหลายประการคือ การเพิ่มเติมหลักการโดยมีการแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 196 วรรค 2 และวรรค 1 ของมาตรา 241 ด้วย ประการสำคัญการแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 196 จะมีผลให้บุคคลผู้เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา และสมาชิกภาพสิ้นสุดลง สามารถสมัครเป็นสมาชิกวุฒิสภาได้อีก โดยไม่ต้องรอให้พ้นระยะเวลา 2 ปี และมีการดำเนินการในลักษณะที่มีเจตนาปกปิดข้อเท็จจริง โดยไม่แจ้งความจริงว่า ได้มีการจัดทำร่างขึ้นใหม่ให้สมาชิกรัฐสภาทราบทุกคน เมื่อข้อเท็จจริงความเป็นที่ยุติว่า ในการพิจารณาของที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มิได้นำเอาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับที่มาของสมาชิกวุฒิสภาฉบับที่นายอุดมเดช รัตนเสถียร และคณะ เสนอต่อสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2556 มาใช้ในการพิจารณาในวาระที่ 1 ขั้นรับหลักการ แต่ได้นำร่างที่มีการจัดทำขึ้นใหม่ ซึ่งมีหลักการแตกต่างจากร่างเดิมที่นายอุดมเดช รัตนเสถียร เสนอ หลายประการ โดยได้ปรากฏว่า มีสมาชิกรัฐสภามาร่วมลงชื่อเสนอญัตติแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่จัดทำขึ้นใหม่แต่อย่างใ มีผลเท่ากับว่า การดำเนินการในการเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ที่รัฐสภารับหลักการตามคำร้องนี้ เป็นไปโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญมาตรา 291 วรรค 1

 

 

ง่ายๆคือ ตาม291(1) ต้องมีการเข้าชื่อ แต่ลูกน้องแสนดีของทักษิณไปเปลี่ยนเนื้อหาที่เขาเข้าชื่อแล้วยื่นไป ก็เท่ากับว่ามันเป็นคนละฉบับที่ยังไม่ได้เข้าชื่อ...

 

แค่ข้อแรกก็ตกม้าตายเรียบร้อย ลูกน้องทักษิณนี่ดีจริงๆ :lol:


พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#56 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:29

บอกตรงๆนะกระทู้นี้ผมกะด่า วรเจตน์และพวกว่าเป็นพวกฉวยโอกาสล้มสถาบัน

---------------

 

แต่ไหนๆก็ไหนๆ ผมว่าคำตัดสินของศาลชอบด้วยกฎหมายแล้ว ถูกต้องทุกประการ แต่เวลาอ่านคุณต้องอ่านประกอบกันคือ คำตัดสินฉบับเต็ม

http://www.manager.c...D=9560000144300

 

และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

http://www.parliamen...nk.php?nid=8337

 

ถ้าค่อยๆอ่านจะพบทางสว่าง ถ้าคุณไปฟังเสื้อแดงแล้วบอกว่า เออก็จริงของมัน ผมอยากจะพูดตรงๆว่า จริงของมันHAอะไร มันยกกฎหมายครึ่งๆกลางๆมาเข้าข้างตัวเองก็เท่านั้น จบปะ -_-


Edited by แม้ว สุดซอย, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:30.

พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#57 CrazyDaimon

CrazyDaimon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 879 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:38

Best

Best เอ๊ยยยย

กลับบ้านลูก...... ทำไมมาขี้หน้าบ้านคนอื่นแบบนี้

กลับเข้าคอกไปเลยนะ

"โทษที่นะครับทุกคน ควายผมหลุดมาตัวหนึ่ง"

#58 golfrafa

golfrafa

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 20 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:47

ผมว่า ลองดูคลิปนี้สิครับ คุณBest  

ศาลตัดสิน ตัดสินศาล? (3) คมชัดลึก 22 11 56

#59 best

best

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 741 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:47

บอกตรงๆนะกระทู้นี้ผมกะด่า วรเจตน์และพวกว่าเป็นพวกฉวยโอกาสล้มสถาบัน

---------------

 

แต่ไหนๆก็ไหนๆ ผมว่าคำตัดสินของศาลชอบด้วยกฎหมายแล้ว ถูกต้องทุกประการ แต่เวลาอ่านคุณต้องอ่านประกอบกันคือ คำตัดสินฉบับเต็ม

http://www.manager.c...D=9560000144300

 

และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

http://www.parliamen...nk.php?nid=8337

 

ถ้าค่อยๆอ่านจะพบทางสว่าง ถ้าคุณไปฟังเสื้อแดงแล้วบอกว่า เออก็จริงของมัน ผมอยากจะพูดตรงๆว่า จริงของมันHAอะไร มันยกกฎหมายครึ่งๆกลางๆมาเข้าข้างตัวเองก็เท่านั้น จบปะ -_-

 

 แต่ผมมองว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจรับคำร้องมาตั้งแต่แรกแล้ว เพราะฉะนั้นคำวินิจฉัยของศาลจึงไม่มีผลผูกพันอะไรเลย

 

และถ้าฟังนิติราษฎร์ด้วยความไม่อคติ  ถึงแม้ศาลมีอำนาจรับคำร้อง คำวินิจฉัยนี้ก็มีข้อผิดพลาดอย่างมาก



#60 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:50

 

 

เขาพูดทุกประเด็นครับ ฟังจบหรือเปล่า

 

งั้นช่วยบอกหน่อยว่าประเด็นเอกสารปลอมอยู่ไหน ผมหาไม่เจอ -_-

post-14906-0-29172200-1384917267.jpg

 

 

อ.ปิยบุตรเป็นคนพูดครับ ลองไปฟังดู

 

http://news.voicetv....land/88825.html

 

 

       ทีบอกว่าไม่เสียหายนั้น ใครเป็นผู้ตัดสิน ว่าเสียหายหรือไม่  อ.คนนี้เป็นใคร หรือ ที่ไปตัดสิน ว่าไม่เสียหาย คงต้องให้ศาลเป็นผู้ตัดสินมากกว่า ส่วนศาลไหนนั้น เองบอกมาซิว่า จะต้องให้ศาลไหนเป็นผู้ตัดสิน 

 

"แต่การใช้ดุลพินิจและเสียงข้างมากดังกล่าวจะต้องไม่ตัดสิทธิของรัฐสภา หรือละเลยไม่ฟังความเห็นของฝ่ายข้างน้อย การรวบรัดการปิดอภิปราย ปิดประชุมเพื่อให้มีการลงคะแนนเสียงจึงเป็นการใช้อำนาจไปในทางที่มิชอบ เพื่อประโยชน์แก่ฝ่ายข้างมากโดยไม่เป็นธรรมอันเป็นการขัดต่อหลักนิติธรรม นอกจากนี้ผู้ร้องยังอ้างอีกว่า การนับเวลาในการแปรญัตติของผู้ถูกร้องที่ 1 ไม่ถูกต้อง โดยอ้างว่าเมื่อที่ประชุมพิจารณารับหลักการในวาระที่ 1 แล้ว ในวันที่ 4 เมษายน 2556 มีผู้เสนอกำหนดเวลาในการแปรญัตติิกำหนดเวลา 15 วัน และ 60 วัน

ซึ่งตามข้อบังคับการประชุมจะต้องให้ที่ประชุมสภาพิจารณาลงมติว่าจะใช้กำหนดเวลาใด แต่ก่อนที่จะมีการลงมติเกิดปัญหาในที่ประชุมในขณะนั้น เมื่อนับองค์ประชุมไม่ครบตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด ผู้ถูกร้องที่ 1 จึงได้มีการสั่งให้มีการลงมติยื่นญัตติภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่รับหลักการ โดยมีผู้ทักท้วง ผู้ถูกร้องที่ 18 เมษายน ในการประชุมครั้งนี้ที่ประชุมมีมติ ให้กำหนดเวลาแปรญัตติ 15 วัน แต่ผู้ถูกร้องที่ 1 ได้สรุปให้นับย้อนหลังไป 15 วัน ตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน ทำให้ระยะเวลาในการแปรญัตติไม่ครบ 15 วัน ตามมติที่ประชุมก็จะเหลือเวลาให้สมาชิกรัฐสภาเสนอการแปรญัตติเพียง 1 วันเท่านั้น เห็นว่าการแปรญัตติเป็นสิทธิของสมาชิกรัฐสภาที่เสนอความคิดเห็น การแปรญัตติจึงต้องมีเวลาพอสมควร เพื่อประสงค์ในการแปรญัตติได้ทราบเวลาที่แน่นอนในการแปรญัตติ อันเป็นสิทธิของสมาชิกรัฐสภาภายใต้บทบัญญัติทางรัฐธรรมนูญ การนับเวลาในการแปรญัตติย่อมไม่อาจนับเวลาย้อนหลังได้ แต่ต้องนับตั้งแต่วันที่ที่ประชุมมีมติเป็นต้นไป การนับเวลาย้อนหลังจนทำให้เหลือเวลาในการขอแปรญัตติเพียง 1 วัน เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อข้อบังคับในการประชุม และไม่เป็นกลาง จึงไม่ชอบด้วยข้อบังคับ 125 วรรคหนึ่งและวรรคสอง ทั้งหลักนิติธรรม ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 3 วรรคสองด้วย การกำหนดเวลาในแก้ไขรัฐธรรมนูญ จึงไม่ชอบด้วยมาตรา 3 วรรคสอง และมาตรา 125 วรรคหนึ่ง"

 

        ที่อ.คนนี้ บอกว่า วันเริ่มนับ ต้องเป็นวันที่ 4 นั้น แต่เงื่อนไข ก็คือ ต้องให้มีการลงมติในวันที่ 4 ด้วยว่า จะกำหนดเวลา 15 วัน หรือ 60 วัน    ทำไมต้องมีการเลื่อนเวลาประชุมไปวันที่ 18 เม.ย. เพื่อ "กำหนดจำนวนวันแปรญัตติ" ทำไมไม่ทำกันในวันนั้น เพราะฉนั้น การเลื่อนวัน "กำหนดจำนวนวันแปรญัตติ" เลือ่นไป ก็ต้องเป็นการเลื่อน "วันลงมติ" ไปด้วย  หากดันเลื่อนการประชุมเพื่อ "กำหนดจำนวนวันแปรญัตติ" ไปในวันที่ 25 เม.ย. ไม่ต้องมีเวลาติดลบ หรือไง ไอ้หนู

       อ.คนนี้บอกว่าเสียบบัตรแทนกัน ไม่เปลี่ยนแปลงผลคะแนนเสียง  ขอถามหน่อย เวลาเด็กโกงข้อสอบ อ.ตรวจสอบไหม ว่ามีผลต่อคะแนนที่เด็กทำข้อสอบได้ไหม เด็กทำข้อสอบได้กี่ข้อ โกงกี่ข้อ มีผลไหม กับ คะแนนที่จะตัดเกรด หรือ ปรับตกไปเลย   สิ่งเหล่านี้ เป็นการกระทำอันทุจริต ผู้จะตัดสินผิดถูก ก็คือ ศาล อ. ไม่มีอำนาจมาตัดสินอีก เช่นเดียวกัน

 

โธ่ ไอ้ปัญญาอ่อน หลอกได้แต่เด็กเรียนสายศิลป์ ไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์ ไม่สมควรเรียกเป็นอาจารย์ อ. = ไอ้


Edited by Stargate-1, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:05.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#61 JSN

JSN

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,004 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:56

ศาลยังไม่ลงโทษใครเลยนะครับ เลิดบิดเบือนเถอะว่าว่าศาลไม่มีอำนาจ

#62 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:00

นักวิชาการทางด้านกฎหมายที่มีชื่อเสียง เค้าก็บอกแล้วว่าศาลมีอำนาจวินิจฉัย แต่นักวิชาเกินอย่างกลุ่มนิติเรี่ยราด มันก็แค่อยากดัง ก็เลยเห็นแย้งมันซะทุกเรื่อง วิธีที่จะดังได้ ต้องอยู่ข้างแม้ว เหมือนถ้าช่วยโจรที่เห็นว่าผิดจริงๆ แล้วทำให้มันชนะได้ มันจะเป็นนักกฎหมายที่เก่งมากมั๊ง  -_-



#63 Huligan

Huligan

    ดาวพยศนภา

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,880 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:01

เข้ามาติดตาม


ทฤษฎีของ เดล คาเนกี ใช้กับเหิ้ยหางแดงไม่ได้*สิ่งที่มองไม่เห็นใช่ว่าจะไม่มีอยู่จริง แต่สิ่งที่มองเห็นได้นั้นน่าเชื่อถือมากกว่า*

#64 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:04

กร๊าก เจอคุณอรรถวิทย์ บอกว่าพวกนิติเรี่ยราดเป็นนักกฎหมายชั้นประถม กำลังจะหาคำมาเรียกพวกมันอยู่ว่าจะเรียกพวกมันยังไงดี :D



#65 เมพเชือก

เมพเชือก

    พรรคเก่าแก่แพ้ซ้ำซาก

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,097 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:04

http://www.manager.c...D=9560000145690

 

 

ตาม ข่าวแนบครับ นักวิชาการฝั่งธรรมศาสตรได้ออกแถลงการ และข้อคิดทางกฎหมายที่เป็นคุณูปการอย่างยิ่งต่อ ระบอบประชาธิปไตย

 

น่าสังเกตว่าถึงตอนนี้ ยังไม่มีฝ่ายเผด็จการคนไหน ที่สามารถยกเหตุผลมาหักล้างนักวิชาการกลุ่มนี้ได้เรย 

 

หรือเพื่อนๆ คิดไงครับ ลองแชร์กันดู  biggrin.png biggrin.png



#66 best

best

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 741 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:07

ความน่าเชื่อถือของนักวิชาการไม่น่าจะมาจากชื่อเสียงเป็นหลักนะครับ ควรจะมาจากเนื้อหาสาระที่เขานำเสนอออกมาว่าถูกต้องตามหลักการหรือไม่มากกว่า

 

และอีกอย่าง อ.วรเจตน์ก็เคยวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญตั้งแต่ครั้งทักษินซุกหุ้นภาคแรก ว่าเป็นการตัดสินที่ไม่ถูกต้อง โดนคนสนับสนุนทักษินในตอนนั้นด่ากระจายมาแล้ว



#67 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:08

ผมเชื่อหัวหน้าของวรเจตน์ครับ มีอะไรหรือเปล่า

 

 

 วันนี้ (21 พ.ย.) ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ณรงค์ ใจหาญ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในสัมภาษณ์พิเศษกับเอเอสทีวีผู้จัดการ ถึงกรณีคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ กรณีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ที่มา ส.ว.วานนี้ (20 พ.ย.) ว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจในการรับเรื่องดังกล่าวไว้วินิจฉัย เพราะศาลต้องเป็นผู้ชี้ขาดความขัดแย้ง การกระทำใดๆ ที่เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาก็เคยมีกรณีคำร้องที่ไม่ผ่านอัยการสูงสุดแล้วศาลรับเรื่องไว้วินิจฉัยมาแล้ว เพราะศาลรธน.มีอำนาจที่กว้างกว่าตัวบทกฎหมายให้ไว้ ไม่ใช่ว่าไม่ผ่านอัยการมาก่อนแล้วศาลจะรับไม่ได้

 

ถ้าคุณbestเปิดใจรับฟังคำตัดสิน ก็จะพูดเหมือนผมว่า วรเจตน์มั่ว ตีความกฎหมายเพื่อกระทบสถาบันอย่างเดียว


พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#68 foyfon

foyfon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,176 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:08

กร๊าก เจอคุณอรรถวิทย์ บอกว่าพวกนิติเรี่ยราดเป็นนักกฎหมายชั้นประถม กำลังจะหาคำมาเรียกพวกมันอยู่ว่าจะเรียกพวกมันยังไงดี :D

แล้วอย่างนี้กฏหมายไม่สามารถเอาผิดกับไอ้พวกนักวิชาการเฮียๆแบบนี้ได้เลยหรือครับ  หากปล่อยให้เป็นแบบนี้ต่อไป

 

คิดแล้วเพลีบใจจริงๆครับ



#69 foyfon

foyfon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,176 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:11

ความน่าเชื่อถือของนักวิชาการไม่น่าจะมาจากชื่อเสียงเป็นหลักนะครับ ควรจะมาจากเนื้อหาสาระที่เขานำเสนอออกมาว่าถูกต้องตามหลักการหรือไม่มากกว่า

 

และอีกอย่าง อ.วรเจตน์ก็เคยวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญตั้งแต่ครั้งทักษินซุกหุ้นภาคแรก ว่าเป็นการตัดสินที่ไม่ถูกต้อง โดนคนสนับสนุนทักษินในตอนนั้นด่ากระจายมาแล้ว

แต่ก่อนเหวงก็เคยด่าทักษินนี่ครับ  คุณจะเอาอะไรกับนักวิชาการอย่างนี้



#70 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:13

ความน่าเชื่อถือของนักวิชาการไม่น่าจะมาจากชื่อเสียงเป็นหลักนะครับ ควรจะมาจากเนื้อหาสาระที่เขานำเสนอออกมาว่าถูกต้องตามหลักการหรือไม่มากกว่า

 

และอีกอย่าง อ.วรเจตน์ก็เคยวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญตั้งแต่ครั้งทักษินซุกหุ้นภาคแรก ว่าเป็นการตัดสินที่ไม่ถูกต้อง โดนคนสนับสนุนทักษินในตอนนั้นด่ากระจายมาแล้ว

 

ถ้าให้ ข้าฟัง  ไม่บอกว่าเป็นใครนะ ฟังไอ้หนูหน้าอ่อนพูด คงคิดว่าเป็นนักศึกษา เด็กประถม มาโต้วาทีว่ะ ส่วนไอ้วรเจตน์ ไม่ถูกชกหน้าอีกที ก็บุญแล้ว มันพูดสักคำไหมว่าการพิจารณาร่างครั้งนี้ สุจริต หาจากตลิป เอามาโชว์กันหน่อย จะได้ฟ้องถูก อยู่ดีๆ ไม่ชอบ หาเรื่องเข้าคุก


Edited by Stargate-1, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:23.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#71 best

best

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 741 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:14

ผมเชื่อหัวหน้าของวรเจตน์ครับ มีอะไรหรือเปล่า

 

 

 วันนี้ (21 พ.ย.) ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ณรงค์ ใจหาญ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในสัมภาษณ์พิเศษกับเอเอสทีวีผู้จัดการ ถึงกรณีคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ กรณีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ที่มา ส.ว.วานนี้ (20 พ.ย.) ว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจในการรับเรื่องดังกล่าวไว้วินิจฉัย เพราะศาลต้องเป็นผู้ชี้ขาดความขัดแย้ง การกระทำใดๆ ที่เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาก็เคยมีกรณีคำร้องที่ไม่ผ่านอัยการสูงสุดแล้วศาลรับเรื่องไว้วินิจฉัยมาแล้ว เพราะศาลรธน.มีอำนาจที่กว้างกว่าตัวบทกฎหมายให้ไว้ ไม่ใช่ว่าไม่ผ่านอัยการมาก่อนแล้วศาลจะรับไม่ได้

 

ถ้าคุณbestเปิดใจรับฟังคำตัดสิน ก็จะพูดเหมือนผมว่า วรเจตน์มั่ว ตีความกฎหมายเพื่อกระทบสถาบันอย่างเดียว

 

ก็แล้วแต่คุณครับ ผมไม่เคยคิดจะเปลี่ยนความเชื่อของใคร

 

และผมฟังที่ อ.วรเจตน์พูด ก็ไม่เห็นว่าเขากระทบสถาบันเพื่อให้เกิดความเสียหายตรงไหน ที่เขาพูดตรงนั้นก็เป็นไปตามที่รัฐธรรมนูญเขียนไว้จริงๆ ซึ่งคุณอาจจะว่าไม่เกี่ยวก็แล้วแต่



#72 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:18

 

ผมเชื่อหัวหน้าของวรเจตน์ครับ มีอะไรหรือเปล่า

 

 

 วันนี้ (21 พ.ย.) ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ณรงค์ ใจหาญ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในสัมภาษณ์พิเศษกับเอเอสทีวีผู้จัดการ ถึงกรณีคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ กรณีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ที่มา ส.ว.วานนี้ (20 พ.ย.) ว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจในการรับเรื่องดังกล่าวไว้วินิจฉัย เพราะศาลต้องเป็นผู้ชี้ขาดความขัดแย้ง การกระทำใดๆ ที่เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาก็เคยมีกรณีคำร้องที่ไม่ผ่านอัยการสูงสุดแล้วศาลรับเรื่องไว้วินิจฉัยมาแล้ว เพราะศาลรธน.มีอำนาจที่กว้างกว่าตัวบทกฎหมายให้ไว้ ไม่ใช่ว่าไม่ผ่านอัยการมาก่อนแล้วศาลจะรับไม่ได้

 

ถ้าคุณbestเปิดใจรับฟังคำตัดสิน ก็จะพูดเหมือนผมว่า วรเจตน์มั่ว ตีความกฎหมายเพื่อกระทบสถาบันอย่างเดียว

 

ก็แล้วแต่คุณครับ ผมไม่เคยคิดจะเปลี่ยนความเชื่อของใคร

 

และผมฟังที่ อ.วรเจตน์พูด ก็ไม่เห็นว่าเขากระทบสถาบันเพื่อให้เกิดความเสียหายตรงไหน ที่เขาพูดตรงนั้นก็เป็นไปตามที่รัฐธรรมนูญเขียนไว้จริงๆ ซึ่งคุณอาจจะว่าไม่เกี่ยวก็แล้วแต่

 

 

ไอ้หนูนักข่าวรีพอร์ตเตอร์  เขาไม่เรียกว่าเชื่อ เขาเรียก ว่าคาบมาพ่น ถ้าเชื่อ มันต้องผ่านสมองก่อน แล้วตัดสินว่าถูก หรือ ผิด แล้วความเชื่อจึงตามมา


Edited by Stargate-1, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:21.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#73 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:19

ผมเชื่ออาจารย์สุรพลว่าศาลมีอำนาจรับได้ตามาตา68

http://www.isranews....24-surapol.html

 

 

มาตรา ๖๘ รัฐธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
            บุคคล จะใช้ สิทธิและเสรีภาพ ตาม รัฐธรรมนูญ เพื่อ ล้มล้าง การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตาม รัฐธรรมนูญนี้ หรือ เพื่อ ให้ได้มา ซึ่ง อำนาจในการปกครองประเทศ โดยวิธีการ ซึ่ง มิได้เป็นไป ตาม วิถีทางที่บัญญัติไว้ ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้
            ในกรณีที่ บุคคล หรือ พรรคการเมืองใด กระทำการ ตาม วรรคหนึ่ง ผู้ทราบ การกระทำ ดังกล่าว ย่อม มี สิทธิ เสนอเรื่องให้ อัยการสูงสุด ตรวจสอบ ข้อเท็จจริง และ ยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยสั่งการให้เลิก การกระทำ ดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือน การดำเนินคดีอาญา ต่อ ผู้กระทำการดังกล่าว
            ในกรณีที่ ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยสั่งการให้ พรรคการเมืองใด เลิกกระทำการ ตาม วรรคสอง ศาลรัฐธรรมนูญ อาจสั่ง ยุบพรรคการเมือง ดังกล่าวได้
            ในกรณีที่ ศาลรัฐธรรมนูญ มีคำสั่ง ยุบพรรคการเมือง ตาม วรรคสาม ให้เพิกถอน สิทธิเลือกตั้ง ของ หัวหน้าพรรคการเมือง และ กรรมการบริหารของพรรคการเมือง ที่ถูกยุบ ในขณะที่ กระทำความผิด ตาม วรรคหนึ่ง เป็นระยะเวลา ห้าปี นับแต่ วันที่ ศาลรัฐธรรมนูญ มีคำสั่ง ดังกล่าว
 

 
 

 

 

 

ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายสุรพล นิติไกรพจน์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) เปิดแถลงข่าวในหัวข้อ “เหตุและผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ 20 พ.ย.2556” มีใจความว่า ขณะนี้มีความเห็นจากผู้เกี่ยวข้องต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ (ศาล รธน.) ที่วินิจฉัยว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มา ส.ว. ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ทั้งพรรคการเมือง ประธานรัฐสภา ส.ส.และ ส.ว. ที่อาจทำให้เกิดความสับสนโดยทั่วไป ตนจึงขอถือโอกาสนี้แสดงความเห็นในฐานะผู้เสนอกฎหมาย

นายสุรพล กล่าวว่า เริ่มจากเหตุ เป็นที่เข้าใจโดยทั่วไปว่ารัฐธรรมนูญ มาตรา 291 ให้อำนาจในการแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นของรัฐสภาโดยเฉพาะ และศาล รธน.ก็ไม่มีอำนาจในการตรวจสอบ เพราะการแก้ไขรัฐธรรมนูญย่อมขัดกับรัฐธรรมนูญอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ทั้งนี้ มีการพูดกันว่ารัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ประสงค์จะพิทักษ์รัฐธรรมนูญจากการกระทำของบุคคลเท่านั้น ไม่ครอบคลุมถึงการใช้อำนาจขององค์กรตามรัฐธรรมนูญได้ แต่ถ้าลงไปดูความหมายที่แท้จริงของมาตรานี้ ล้มล้างการปกครองหรือทำให้ได้อำนาจในการปกครองด้วยวิธีที่มิชอบ มีประมวลกฎหมายอาญา (ป.อาญา) มาตรา 113 และมาตรา 116 ความผิดฐานกบฏ ที่กำหนดโทษไว้ร้ายแรงอยู่แล้ว หากระบุว่ารัฐธรรมนูญ มาตรา 68 จะมุ่งใช้เฉพาะกับบุคคลทั่วไปอีก ผมก็นึกไม่ออกว่าจะใช้รัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ในที่ใดได้อีกเพราะ ป.อาญาก็มีบทลงโทษที่แรงกว่า ดังนั้นการตีความรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 จะต้องให้ใช้บังคับได้

“ก่อนหน้าเราเคยเข้าใจว่าองค์กรตามรัฐธรรมนูญไม่สามารถล้มล้างการปกครองหรือทำให้ได้อำนาจในการปกครองด้วยวิธีที่มิชอบได้ แต่เรื่องเช่นนี้เคยเกิดขึ้นมาแล้ว เพราะมีกรณีที่รัฐสภามีมติด้วยเสียงข้างมากงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตราปิดประชุมรัฐสภาตลอดไป ดังนั้นรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 จึงต้องใช้บังคับกับองค์กรตามรัฐธรรมนูญได้ แต่ต้องถือเป็นข้อยกเว้นและตีความอย่างแคบ และการที่องค์กรตามรัฐธรรมนูญใช้อำนาจหน้าที่วิปริตวิปลาสหรือทำลายสารัตถะของรัฐธรรมนูญ ก็ถือว่าการกระทำนั้นอยู่ในขอบข่ายของรัฐธรรมนูญ มาตรา 68” นายสุรพลกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า จากการตีความข้อกฎหมายข้างต้น ตนอยากถามสังคมว่าหากเสียงข้างมาก ลงมติขอให้เสียงข้างน้อยออกจากห้องประชุมไป แล้วเสียงข้างมากลงมติเพียงฝ่ายเดียว ตามความเห็นของวิญญูชนทั่วไป ไม่จำเป็นต้องเป็นนักกฎหมาย จะถือเป็นมติที่วิปริตวิปลาสหรือไม่ แม้จะเป็นมติของที่ประชุมสภาก็ตาม

“การที่ ส.ส.และ ส.ว.เสียงข้างมากประกาศไม่รับอำนาจศาล รธน. ผมคิดว่าการประกาศนี้คือการประกาศการกระทำที่ชัดเจน ว่าสมาชิกรัฐสภาที่มีเกินกึ่งหนึ่ง ไม่ยอมรับ ไม่ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ ประสงค์จะให้มติของตนเท่านั้นถึงจะมีผลผูกพันและใช้บังคับได้ ซึ่งนับได้ว่าเป็นการให้ได้มาซึ่งอำนาจโดยวิถีทางที่มิชอบโดยแท้จริง” นายสุรพลกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า จากกรณีที่เกิดขึ้น ทั้งการเปลี่ยนในวาระที่ 1 ให้ต่างจากร่างที่ยื่นเสนอ การให้เวลาแปรญัตติเพียง 1 วัน และการไม่ให้ผู้สงวนคำแปรญัตติได้อภิปราย ไม่ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาอะไร ใช้ความรู้เพียงนิติศาสตร์ ปี 1 ก็รู้ได้ว่ากระบวนการนิติบัญญัตินี้ชอบหรือไม่ ส่วนกรณีที่มีสมาชิกรัฐสภาลงคะแนนแทนสมาชิกรัฐสภาคนอื่นๆ อีกหลายคน อันนี้ หากใช้ความรู้นิติศาสตร์ ปี 3 ก็เรียนกฎหมายบริษัท ที่มีแนวคำพิพากษามากมาย ซึ่งระบุว่า แม้แต่กรรมการบริษัทที่มีหน้าที่พิทักษ์ประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ยังจะให้บุคคลมาลงคะแนนแทนมิได้ แล้วสมาชิกรัฐสภาซึ่งมีหน้าที่พิทักษ์ประโยชน์ของประชาชน จะให้ผู้อื่นสามารถลงคะแนนแทนกันได้อย่างไร

“การที่องค์กรนิติบัญญัติไม่ได้ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่โดยชอบ ผมมองว่าเป็นข้อยกเว้นที่ทำให้ศาล รธน.สามารถเข้าตรวจสอบได้” นายสุรพกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า ส่วนที่การตะแบงกันอยู่ว่า ความบกพร่องที่เกิดขึ้นเกิดขึ้นในวงงานนิติบัญญัติ ควรจะเป็นสิ่งที่แก้ไขกันเอง ศาล รธน.ไม่ควรจะเข้ามายุ่ง ไม่เช่นนั้นจะถือว่าก้าวก่ายฝ่ายนิติบัญญัติสิ่งที่อ้างนี้ไม่มีทั้งใน รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 และฉบับปี 2550 สิ่งที่อ้างดังกล่าวเกิดขึ้นก่อนทีจะมีรัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 ที่ให้รัฐสภาทำอะไรก็ได้ แต่หลังจากมีรัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 ก็มีการตั้งศาล รธน.ขึ้นมาพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ดังนั้นใครทำอะไรไม่ชอบต้องถูกตรวจสอบ กระทั่งตุลาการศาล รธน.เองยังถูกถอดถอนได้ ดังนั้นหากใครทำอะไรที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ศาล รธน.สามารถเข้าไปชี้ได้

“ถ้าเสียงข้างมากทำอะไรก็ได้ เช่นอาจมองว่าฝ่ายค้านพูดเยอะ พูดมากไป จะให้ฝ่ายค้านออกจากห้องประชุมไป แล้วเสียงข้างมากค่อยมาลงมติกัน คำถามก็คือเสียงข้างมากที่มีอยู่ จะยังถือเป็นรัฐสภาหรือไม่ แล้วถ้าจะลงมติเฉพาะเสียงข้างมาก กฎหมายที่ออกมาจะยังมีผลบังคับใช้หรือไม่ถ้าประธานรัฐสภาวิปริตวิปลาสที่จะออกคำสั่งดังกล่าว หรือคำสั่งที่ใกล้เคียงกันเช่นสมาชิกรัฐสภาที่สงวนคำแปรญัตติไว้กว่า 100 คน ไม่ต้องพูดแล้ว เพราะเสียงข้างมากเห็นว่าไม่ควรพูด หากเป็นเช่นนั้น ผมคิดว่ากรรมการห้ามมวยอาจจะมีกฎกติกามากกว่าประธานรัฐสภา ไม่เช่นนั้นหากสมาชิกรัฐสภาในจำนวนเกิดกึ่งหนึ่งไปประชุมกันที่รีสอร์ตสักแห่ง ก็สามารถลงมติออกกฎหมายใดๆ มาบังคับใช้ได้ เพราะถือว่าเป็นเรื่องในวงงานนิติบัญญัติ”

นายสุรพล กล่าวว่า เมื่อรัฐสภาดำเนินการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เรื่องที่มา ส.ว. โดยละเมิดข้อบังคับ ศาล รธน.จึงมีอำนาจประกาศความไม่ชอบ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 โดย 6 ใน 9 เสียงระบุว่า กระบวนการแก้ไขรัฐธรรมนูญดังกล่าวมิชอบ และ 5 ใน 9 เสียงระบุว่า เป็นการกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจด้วยวิธีการซึ่งมิชอบ เป็นการกระทำผิดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 68

อดีตอธิการบดี มธ.รายนี้ ระบุว่า อย่างไรก็ตาม ตนเห็นต่างกับศาล รธน.ที่ระบุว่า ที่มา ส.ว.ควรจะต่างจากที่มา ส.ส.เพราะนี่คือการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งสมาชิกรัฐสภาที่เป็นตัวแทนของประชาชนจะวินิจฉัยอย่างไรก็ตาม หากดำเนินการอย่างถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 291

“ในส่วนของผล เมื่อศาล รธน.วินิจฉัยว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มา ส.ว.ไม่ชอบ ร่างดังกล่าวจึงตกไป จึงเป็นหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องที่จะต้องทำให้เรื่องนี้จบ โดยมีผู้เกี่ยวข้องเพียงคนเดียว คือผู้ที่นำร่างขึ้นทูลเกล้าฯ นั่นคือนายกรัฐมนตรี ที่จะต้องขอร่างกลับมาดูเสียใหญ่ เพราะส่วนที่ศาล รธน.ระบุว่าไม่ชอบคือกระบวนการนิติบัญญัติ ญัตติเดิมยังคงมีอยู่ ถ้ารัฐสภาจะกลับไปพิจารณาใหม่ก็สามารถทำได้ ส่วนเรื่องการถอดถอนหรือดำเนินคดีอาญา เป็นอีกกรณีที่ต้องดำเนินการต่อไป ไม่อยู่ในอำนาจของศาล รธน.ที่จะวินิจฉัย” นายสุรพลกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า ท้ายสุด ตนได้ยิน ส.ส.และ ส.ว.พูดว่าศาล รธน.เข้ามายึดอำนาจรัฐผ่านคำวินิจฉัย ทำให้ศาล รธน.เป็นองค์กรสูงสุด ที่มีอำนาจสั่งคนอื่นให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ได้ ซึ่งตนก็อยากตั้งคำถามว่าเรื่องใดเกิดขึ้นก่อน ระหว่างกระบวนการนิติบัญญัติที่เป็นไปโดยมิชอบหรือการที่ศาล รธน.วินิจฉัย กลับกันถ้าจะมีการรัฐประหาร ตนเห็นว่ารัฐสภาได้พยายามยึดอำนาจ ล้มล้างการปกครองโดยไม่เคารพกฎกติกาที่เป็นฐานอำนาจของตัวเองมาก่อนแล้ว ศาล รธน.ไม่ได้ทำอะไร นอกจากประกาศว่าการกระทำนี้มิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ

เรื่องเช่นนี้เกิดขึ้นตลอด เดือนที่ผ่านมา ที่สมาชิกรัฐสภาทำอย่างนี้ซ้ำซากในกฎหมายหลายฉบับ ด้วยการรวบรัด ห้ามอภิปราย ห้ามเสนอความคิดเห็น ห้ามแปรญัตติ ไปลงมติในเวลาตีสาม ตีสี่ ด้วยบัตรลงคะแนนที่มีการฝากกันเอาไว้ คล้ายๆ กับเวลาตำรวจจับอาชญากร ผู้ที่ถูกจับมักปฏิเสธว่าตัวเองไม่ผิด คนที่จับต่างหากที่ผิด ถ้าเราถือว่าการใช้อำนาจโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญเป็นอาชญากรรม สมาชิกรัฐสภาโดยเสียงส่วนใหญ่เป็นอาชญากรมาตั้งแต่ต้น ศาล รธน.เพียงแต่ประกาศความเป็นอาชญากรนี้เท่านั้น นายสุรพลกล่าว


พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#74 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:23

 

 

ผมเชื่อหัวหน้าของวรเจตน์ครับ มีอะไรหรือเปล่า

 

 

 วันนี้ (21 พ.ย.) ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ณรงค์ ใจหาญ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในสัมภาษณ์พิเศษกับเอเอสทีวีผู้จัดการ ถึงกรณีคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ กรณีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ที่มา ส.ว.วานนี้ (20 พ.ย.) ว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจในการรับเรื่องดังกล่าวไว้วินิจฉัย เพราะศาลต้องเป็นผู้ชี้ขาดความขัดแย้ง การกระทำใดๆ ที่เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาก็เคยมีกรณีคำร้องที่ไม่ผ่านอัยการสูงสุดแล้วศาลรับเรื่องไว้วินิจฉัยมาแล้ว เพราะศาลรธน.มีอำนาจที่กว้างกว่าตัวบทกฎหมายให้ไว้ ไม่ใช่ว่าไม่ผ่านอัยการมาก่อนแล้วศาลจะรับไม่ได้

 

ถ้าคุณbestเปิดใจรับฟังคำตัดสิน ก็จะพูดเหมือนผมว่า วรเจตน์มั่ว ตีความกฎหมายเพื่อกระทบสถาบันอย่างเดียว

 

ก็แล้วแต่คุณครับ ผมไม่เคยคิดจะเปลี่ยนความเชื่อของใคร

 

และผมฟังที่ อ.วรเจตน์พูด ก็ไม่เห็นว่าเขากระทบสถาบันเพื่อให้เกิดความเสียหายตรงไหน ที่เขาพูดตรงนั้นก็เป็นไปตามที่รัฐธรรมนูญเขียนไว้จริงๆ ซึ่งคุณอาจจะว่าไม่เกี่ยวก็แล้วแต่

 

 

 

 

แล้วศาลรัฐธรรมนูญท่านตัดสินมีตรงไหนที่เกี่ยวกันมาตรา 150 มาตรา151 มั่งละ

 

วรเจตน์มันลากสองมาตรานี้มาทำไม ถ้าไม่ใช้เพื่อจะบอกว่า...

 

 

 นายวรเจตน์ ภาคีรัตน์ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แถลงถึงคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญกรณีการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่มา ส.ว. ว่า แม้ว่าศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำวินิจฉัยออกมา แต่ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจที่จะบอกให้ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับนี้ตกไป ดังนั้น ตามหลักการแล้ว ร่างรัฐธรรมนูญยังคงสมบูรณ์ตามกฎหมายทุกประการ ขณะนี้ขั้นตอนอยู่ระหว่างการรอลงพระปรมาภิไธย หากพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ก็สามารถนำไปประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ทันที แต่หากไม่ทรงลงพระปรมาภิไธย ก็ถือว่าทรงใช้อำนาจวีโต้ สภาก็ต้องมาปรึกษากันอีกครั้ง
       
       “ถ้าสภาลงมติยืนยันไม่ถึง 2 ใน 3 ก็ถือว่าร่างตกไป แต่ถ้าลงคะแนนถึง 2 ใน 3 ก็ต้องยืนยันทูลเกล้าฯ อีกครั้ง และรอบนี้หากพ้น 60 วัน ก็สามารถประกาศในราชกิจจานุเบกษาต่อไปได้” นายวรเจตน์ กล่าว

 

แสดงว่าวรเจตน์ตั้งใจโยนเผือกร้อนให้สถาบัน ให้เสื้อแดงมองว่าถ้าไม่ทรงลงพระปรมาภิไธยแสดงว่า*****  คิดว่าพวกผมรู้ไม่ทันมันหรือ?


Edited by แม้ว สุดซอย, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:24.

พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#75 เมาอยู่

เมาอยู่

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,182 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:24

 

ผมเชื่อหัวหน้าของวรเจตน์ครับ มีอะไรหรือเปล่า

 

 

 วันนี้ (21 พ.ย.) ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ณรงค์ ใจหาญ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในสัมภาษณ์พิเศษกับเอเอสทีวีผู้จัดการ ถึงกรณีคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ กรณีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ที่มา ส.ว.วานนี้ (20 พ.ย.) ว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจในการรับเรื่องดังกล่าวไว้วินิจฉัย เพราะศาลต้องเป็นผู้ชี้ขาดความขัดแย้ง การกระทำใดๆ ที่เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาก็เคยมีกรณีคำร้องที่ไม่ผ่านอัยการสูงสุดแล้วศาลรับเรื่องไว้วินิจฉัยมาแล้ว เพราะศาลรธน.มีอำนาจที่กว้างกว่าตัวบทกฎหมายให้ไว้ ไม่ใช่ว่าไม่ผ่านอัยการมาก่อนแล้วศาลจะรับไม่ได้

 

ถ้าคุณbestเปิดใจรับฟังคำตัดสิน ก็จะพูดเหมือนผมว่า วรเจตน์มั่ว ตีความกฎหมายเพื่อกระทบสถาบันอย่างเดียว

 

ก็แล้วแต่คุณครับ ผมไม่เคยคิดจะเปลี่ยนความเชื่อของใคร

 

และผมฟังที่ อ.วรเจตน์พูด ก็ไม่เห็นว่าเขากระทบสถาบันเพื่อให้เกิดความเสียหายตรงไหน ที่เขาพูดตรงนั้นก็เป็นไปตามที่รัฐธรรมนูญเขียนไว้จริงๆ ซึ่งคุณอาจจะว่าไม่เกี่ยวก็แล้วแต่

 

ผมก็รู้ว่าเขียนไว้ แต่คุณลองตีความดูว่าถ้าเอาตามนิติราด จบยังไง?

 

คือต้องให้ในหลวงวินิจฉัย รธณ. ถูกไหม? แล้วจะไม่กระทบยังไง?

 

แล้วนิติราดคิดว่าในหลวงจะวินิจฉัยโดยพระองค์เองได้ไหม?

 

กม. ยังไงก็ต้องตีความ ดูแต่ตัวอักษรมันไม่จบหลอก



#76 best

best

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 741 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:25

เฮ้อ...ก็กลับมาเนื้อหาเดิม ตามสบายครับ แต่ผมเชื่อนิติราษฎ์ที่บอกว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจรับคำร้องนี้



#77 nunoi

nunoi

    เด็กข้างถนน

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,745 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:26

เฮ้อ...ก็กลับมาเนื้อหาเดิม ตามสบายครับ แต่ผมเชื่อนิติราษฎ์ที่บอกว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจรับคำร้องนี้

 

ผมสงสัยครับ แล้วใครมีอำนาจ จากความเห็นของพี่


Edited by nunoi, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:27.

กฎหมายมันก็แค่สิงที่สร้างมาอย่างมีเป้าหมาย แต่หาก เอาแต่บอกว่ากฎหมายเป็นแบบนี้ แบบนั้น โดยไม่สนใจว่าเป้าหมายจริงๆ นันคืออะไร ก็คงไม่ใช่ 

 

 


#78 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:26

 

ผมเชื่ออาจารย์สุรพลว่าศาลมีอำนาจรับได้ตามาตา68

http://www.isranews....24-surapol.html

 

 

มาตรา ๖๘ รัฐธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
            บุคคล จะใช้ สิทธิและเสรีภาพ ตาม รัฐธรรมนูญ เพื่อ ล้มล้าง การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตาม รัฐธรรมนูญนี้ หรือ เพื่อ ให้ได้มา ซึ่ง อำนาจในการปกครองประเทศ โดยวิธีการ ซึ่ง มิได้เป็นไป ตาม วิถีทางที่บัญญัติไว้ ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้
            ในกรณีที่ บุคคล หรือ พรรคการเมืองใด กระทำการ ตาม วรรคหนึ่ง ผู้ทราบ การกระทำ ดังกล่าว ย่อม มี สิทธิ เสนอเรื่องให้ อัยการสูงสุด ตรวจสอบ ข้อเท็จจริง และ ยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยสั่งการให้เลิก การกระทำ ดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือน การดำเนินคดีอาญา ต่อ ผู้กระทำการดังกล่าว
            ในกรณีที่ ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยสั่งการให้ พรรคการเมืองใด เลิกกระทำการ ตาม วรรคสอง ศาลรัฐธรรมนูญ อาจสั่ง ยุบพรรคการเมือง ดังกล่าวได้
            ในกรณีที่ ศาลรัฐธรรมนูญ มีคำสั่ง ยุบพรรคการเมือง ตาม วรรคสาม ให้เพิกถอน สิทธิเลือกตั้ง ของ หัวหน้าพรรคการเมือง และ กรรมการบริหารของพรรคการเมือง ที่ถูกยุบ ในขณะที่ กระทำความผิด ตาม วรรคหนึ่ง เป็นระยะเวลา ห้าปี นับแต่ วันที่ ศาลรัฐธรรมนูญ มีคำสั่ง ดังกล่าว
 

 
 

 

 

 

ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายสุรพล นิติไกรพจน์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) เปิดแถลงข่าวในหัวข้อ “เหตุและผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ 20 พ.ย.2556” มีใจความว่า ขณะนี้มีความเห็นจากผู้เกี่ยวข้องต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ (ศาล รธน.) ที่วินิจฉัยว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มา ส.ว. ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ทั้งพรรคการเมือง ประธานรัฐสภา ส.ส.และ ส.ว. ที่อาจทำให้เกิดความสับสนโดยทั่วไป ตนจึงขอถือโอกาสนี้แสดงความเห็นในฐานะผู้เสนอกฎหมาย

นายสุรพล กล่าวว่า เริ่มจากเหตุ เป็นที่เข้าใจโดยทั่วไปว่ารัฐธรรมนูญ มาตรา 291 ให้อำนาจในการแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นของรัฐสภาโดยเฉพาะ และศาล รธน.ก็ไม่มีอำนาจในการตรวจสอบ เพราะการแก้ไขรัฐธรรมนูญย่อมขัดกับรัฐธรรมนูญอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ทั้งนี้ มีการพูดกันว่ารัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ประสงค์จะพิทักษ์รัฐธรรมนูญจากการกระทำของบุคคลเท่านั้น ไม่ครอบคลุมถึงการใช้อำนาจขององค์กรตามรัฐธรรมนูญได้ แต่ถ้าลงไปดูความหมายที่แท้จริงของมาตรานี้ ล้มล้างการปกครองหรือทำให้ได้อำนาจในการปกครองด้วยวิธีที่มิชอบ มีประมวลกฎหมายอาญา (ป.อาญา) มาตรา 113 และมาตรา 116 ความผิดฐานกบฏ ที่กำหนดโทษไว้ร้ายแรงอยู่แล้ว หากระบุว่ารัฐธรรมนูญ มาตรา 68 จะมุ่งใช้เฉพาะกับบุคคลทั่วไปอีก ผมก็นึกไม่ออกว่าจะใช้รัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ในที่ใดได้อีกเพราะ ป.อาญาก็มีบทลงโทษที่แรงกว่า ดังนั้นการตีความรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 จะต้องให้ใช้บังคับได้

“ก่อนหน้าเราเคยเข้าใจว่าองค์กรตามรัฐธรรมนูญไม่สามารถล้มล้างการปกครองหรือทำให้ได้อำนาจในการปกครองด้วยวิธีที่มิชอบได้ แต่เรื่องเช่นนี้เคยเกิดขึ้นมาแล้ว เพราะมีกรณีที่รัฐสภามีมติด้วยเสียงข้างมากงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตราปิดประชุมรัฐสภาตลอดไป ดังนั้นรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 จึงต้องใช้บังคับกับองค์กรตามรัฐธรรมนูญได้ แต่ต้องถือเป็นข้อยกเว้นและตีความอย่างแคบ และการที่องค์กรตามรัฐธรรมนูญใช้อำนาจหน้าที่วิปริตวิปลาสหรือทำลายสารัตถะของรัฐธรรมนูญ ก็ถือว่าการกระทำนั้นอยู่ในขอบข่ายของรัฐธรรมนูญ มาตรา 68” นายสุรพลกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า จากการตีความข้อกฎหมายข้างต้น ตนอยากถามสังคมว่าหากเสียงข้างมาก ลงมติขอให้เสียงข้างน้อยออกจากห้องประชุมไป แล้วเสียงข้างมากลงมติเพียงฝ่ายเดียว ตามความเห็นของวิญญูชนทั่วไป ไม่จำเป็นต้องเป็นนักกฎหมาย จะถือเป็นมติที่วิปริตวิปลาสหรือไม่ แม้จะเป็นมติของที่ประชุมสภาก็ตาม

“การที่ ส.ส.และ ส.ว.เสียงข้างมากประกาศไม่รับอำนาจศาล รธน. ผมคิดว่าการประกาศนี้คือการประกาศการกระทำที่ชัดเจน ว่าสมาชิกรัฐสภาที่มีเกินกึ่งหนึ่ง ไม่ยอมรับ ไม่ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ ประสงค์จะให้มติของตนเท่านั้นถึงจะมีผลผูกพันและใช้บังคับได้ ซึ่งนับได้ว่าเป็นการให้ได้มาซึ่งอำนาจโดยวิถีทางที่มิชอบโดยแท้จริง” นายสุรพลกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า จากกรณีที่เกิดขึ้น ทั้งการเปลี่ยนในวาระที่ 1 ให้ต่างจากร่างที่ยื่นเสนอ การให้เวลาแปรญัตติเพียง 1 วัน และการไม่ให้ผู้สงวนคำแปรญัตติได้อภิปราย ไม่ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาอะไร ใช้ความรู้เพียงนิติศาสตร์ ปี 1 ก็รู้ได้ว่ากระบวนการนิติบัญญัตินี้ชอบหรือไม่ ส่วนกรณีที่มีสมาชิกรัฐสภาลงคะแนนแทนสมาชิกรัฐสภาคนอื่นๆ อีกหลายคน อันนี้ หากใช้ความรู้นิติศาสตร์ ปี 3 ก็เรียนกฎหมายบริษัท ที่มีแนวคำพิพากษามากมาย ซึ่งระบุว่า แม้แต่กรรมการบริษัทที่มีหน้าที่พิทักษ์ประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ยังจะให้บุคคลมาลงคะแนนแทนมิได้ แล้วสมาชิกรัฐสภาซึ่งมีหน้าที่พิทักษ์ประโยชน์ของประชาชน จะให้ผู้อื่นสามารถลงคะแนนแทนกันได้อย่างไร

“การที่องค์กรนิติบัญญัติไม่ได้ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่โดยชอบ ผมมองว่าเป็นข้อยกเว้นที่ทำให้ศาล รธน.สามารถเข้าตรวจสอบได้” นายสุรพกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า ส่วนที่การตะแบงกันอยู่ว่า ความบกพร่องที่เกิดขึ้นเกิดขึ้นในวงงานนิติบัญญัติ ควรจะเป็นสิ่งที่แก้ไขกันเอง ศาล รธน.ไม่ควรจะเข้ามายุ่ง ไม่เช่นนั้นจะถือว่าก้าวก่ายฝ่ายนิติบัญญัติสิ่งที่อ้างนี้ไม่มีทั้งใน รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 และฉบับปี 2550 สิ่งที่อ้างดังกล่าวเกิดขึ้นก่อนทีจะมีรัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 ที่ให้รัฐสภาทำอะไรก็ได้ แต่หลังจากมีรัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 ก็มีการตั้งศาล รธน.ขึ้นมาพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ดังนั้นใครทำอะไรไม่ชอบต้องถูกตรวจสอบ กระทั่งตุลาการศาล รธน.เองยังถูกถอดถอนได้ ดังนั้นหากใครทำอะไรที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ศาล รธน.สามารถเข้าไปชี้ได้

“ถ้าเสียงข้างมากทำอะไรก็ได้ เช่นอาจมองว่าฝ่ายค้านพูดเยอะ พูดมากไป จะให้ฝ่ายค้านออกจากห้องประชุมไป แล้วเสียงข้างมากค่อยมาลงมติกัน คำถามก็คือเสียงข้างมากที่มีอยู่ จะยังถือเป็นรัฐสภาหรือไม่ แล้วถ้าจะลงมติเฉพาะเสียงข้างมาก กฎหมายที่ออกมาจะยังมีผลบังคับใช้หรือไม่ถ้าประธานรัฐสภาวิปริตวิปลาสที่จะออกคำสั่งดังกล่าว หรือคำสั่งที่ใกล้เคียงกันเช่นสมาชิกรัฐสภาที่สงวนคำแปรญัตติไว้กว่า 100 คน ไม่ต้องพูดแล้ว เพราะเสียงข้างมากเห็นว่าไม่ควรพูด หากเป็นเช่นนั้น ผมคิดว่ากรรมการห้ามมวยอาจจะมีกฎกติกามากกว่าประธานรัฐสภา ไม่เช่นนั้นหากสมาชิกรัฐสภาในจำนวนเกิดกึ่งหนึ่งไปประชุมกันที่รีสอร์ตสักแห่ง ก็สามารถลงมติออกกฎหมายใดๆ มาบังคับใช้ได้ เพราะถือว่าเป็นเรื่องในวงงานนิติบัญญัติ”

นายสุรพล กล่าวว่า เมื่อรัฐสภาดำเนินการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เรื่องที่มา ส.ว. โดยละเมิดข้อบังคับ ศาล รธน.จึงมีอำนาจประกาศความไม่ชอบ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 โดย 6 ใน 9 เสียงระบุว่า กระบวนการแก้ไขรัฐธรรมนูญดังกล่าวมิชอบ และ 5 ใน 9 เสียงระบุว่า เป็นการกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจด้วยวิธีการซึ่งมิชอบ เป็นการกระทำผิดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 68

อดีตอธิการบดี มธ.รายนี้ ระบุว่า อย่างไรก็ตาม ตนเห็นต่างกับศาล รธน.ที่ระบุว่า ที่มา ส.ว.ควรจะต่างจากที่มา ส.ส.เพราะนี่คือการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งสมาชิกรัฐสภาที่เป็นตัวแทนของประชาชนจะวินิจฉัยอย่างไรก็ตาม หากดำเนินการอย่างถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 291

“ในส่วนของผล เมื่อศาล รธน.วินิจฉัยว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มา ส.ว.ไม่ชอบ ร่างดังกล่าวจึงตกไป จึงเป็นหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องที่จะต้องทำให้เรื่องนี้จบ โดยมีผู้เกี่ยวข้องเพียงคนเดียว คือผู้ที่นำร่างขึ้นทูลเกล้าฯ นั่นคือนายกรัฐมนตรี ที่จะต้องขอร่างกลับมาดูเสียใหญ่ เพราะส่วนที่ศาล รธน.ระบุว่าไม่ชอบคือกระบวนการนิติบัญญัติ ญัตติเดิมยังคงมีอยู่ ถ้ารัฐสภาจะกลับไปพิจารณาใหม่ก็สามารถทำได้ ส่วนเรื่องการถอดถอนหรือดำเนินคดีอาญา เป็นอีกกรณีที่ต้องดำเนินการต่อไป ไม่อยู่ในอำนาจของศาล รธน.ที่จะวินิจฉัย” นายสุรพลกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า ท้ายสุด ตนได้ยิน ส.ส.และ ส.ว.พูดว่าศาล รธน.เข้ามายึดอำนาจรัฐผ่านคำวินิจฉัย ทำให้ศาล รธน.เป็นองค์กรสูงสุด ที่มีอำนาจสั่งคนอื่นให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ได้ ซึ่งตนก็อยากตั้งคำถามว่าเรื่องใดเกิดขึ้นก่อน ระหว่างกระบวนการนิติบัญญัติที่เป็นไปโดยมิชอบหรือการที่ศาล รธน.วินิจฉัย กลับกันถ้าจะมีการรัฐประหาร ตนเห็นว่ารัฐสภาได้พยายามยึดอำนาจ ล้มล้างการปกครองโดยไม่เคารพกฎกติกาที่เป็นฐานอำนาจของตัวเองมาก่อนแล้ว ศาล รธน.ไม่ได้ทำอะไร นอกจากประกาศว่าการกระทำนี้มิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ

เรื่องเช่นนี้เกิดขึ้นตลอด เดือนที่ผ่านมา ที่สมาชิกรัฐสภาทำอย่างนี้ซ้ำซากในกฎหมายหลายฉบับ ด้วยการรวบรัด ห้ามอภิปราย ห้ามเสนอความคิดเห็น ห้ามแปรญัตติ ไปลงมติในเวลาตีสาม ตีสี่ ด้วยบัตรลงคะแนนที่มีการฝากกันเอาไว้ คล้ายๆ กับเวลาตำรวจจับอาชญากร ผู้ที่ถูกจับมักปฏิเสธว่าตัวเองไม่ผิด คนที่จับต่างหากที่ผิด ถ้าเราถือว่าการใช้อำนาจโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญเป็นอาชญากรรม สมาชิกรัฐสภาโดยเสียงส่วนใหญ่เป็นอาชญากรมาตั้งแต่ต้น ศาล รธน.เพียงแต่ประกาศความเป็นอาชญากรนี้เท่านั้น นายสุรพลกล่าว

 

 

 

จบนะ ศาลมีอำนาจรับ


พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#79 best

best

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 741 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:28

จบก็จบครับ



#80 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:28

ที่วรเจตน์ออกมางับเรื่องศาลรัฐธรรมนูญเพราะ

 

เพื่อไทยประกาศไม่รับอำนาจศาล

 

แสดงว่านายกจะไม่ถอนร่างทูลเกล้า

 

ดังนั้นเรื่องจะไปอยู่ที่สถาบัน

 

วรเจตน์เลยออกมาซ้ำให้เสื้อแดงมันเห็นชัดๆ


Edited by แม้ว สุดซอย, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:28.

พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#81 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:32

จบก็จบครับ

 

มันก็ต้องจบแหละ เพราะพวกวรเจตน์มันมั่วกฎหมาย ตีความเพื่อโจมตีสถาบัน และศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจรับคดี

 

 

 

นายสุรพล กล่าวว่า เมื่อรัฐสภาดำเนินการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เรื่องที่มา ส.ว. โดยละเมิดข้อบังคับ ศาล รธน.จึงมีอำนาจประกาศความไม่ชอบ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 โดย 6 ใน 9 เสียงระบุว่า กระบวนการแก้ไขรัฐธรรมนูญดังกล่าวมิชอบ และ 5 ใน 9 เสียงระบุว่า เป็นการกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจด้วยวิธีการซึ่งมิชอบ เป็นการกระทำผิดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 68

พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#82 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:34

 

ผมเชื่ออาจารย์สุรพลว่าศาลมีอำนาจรับได้ตามาตา68

http://www.isranews....24-surapol.html

 

 

มาตรา ๖๘ รัฐธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
            บุคคล จะใช้ สิทธิและเสรีภาพ ตาม รัฐธรรมนูญ เพื่อ ล้มล้าง การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตาม รัฐธรรมนูญนี้ หรือ เพื่อ ให้ได้มา ซึ่ง อำนาจในการปกครองประเทศ โดยวิธีการ ซึ่ง มิได้เป็นไป ตาม วิถีทางที่บัญญัติไว้ ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้
            ในกรณีที่ บุคคล หรือ พรรคการเมืองใด กระทำการ ตาม วรรคหนึ่ง ผู้ทราบ การกระทำ ดังกล่าว ย่อม มี สิทธิ เสนอเรื่องให้ อัยการสูงสุด ตรวจสอบ ข้อเท็จจริง และ ยื่นคำร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยสั่งการให้เลิก การกระทำ ดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือน การดำเนินคดีอาญา ต่อ ผู้กระทำการดังกล่าว
            ในกรณีที่ ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยสั่งการให้ พรรคการเมืองใด เลิกกระทำการ ตาม วรรคสอง ศาลรัฐธรรมนูญ อาจสั่ง ยุบพรรคการเมือง ดังกล่าวได้
            ในกรณีที่ ศาลรัฐธรรมนูญ มีคำสั่ง ยุบพรรคการเมือง ตาม วรรคสาม ให้เพิกถอน สิทธิเลือกตั้ง ของ หัวหน้าพรรคการเมือง และ กรรมการบริหารของพรรคการเมือง ที่ถูกยุบ ในขณะที่ กระทำความผิด ตาม วรรคหนึ่ง เป็นระยะเวลา ห้าปี นับแต่ วันที่ ศาลรัฐธรรมนูญ มีคำสั่ง ดังกล่าว
 

 
 

 

 

 

ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายสุรพล นิติไกรพจน์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) เปิดแถลงข่าวในหัวข้อ “เหตุและผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ 20 พ.ย.2556” มีใจความว่า ขณะนี้มีความเห็นจากผู้เกี่ยวข้องต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ (ศาล รธน.) ที่วินิจฉัยว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มา ส.ว. ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ทั้งพรรคการเมือง ประธานรัฐสภา ส.ส.และ ส.ว. ที่อาจทำให้เกิดความสับสนโดยทั่วไป ตนจึงขอถือโอกาสนี้แสดงความเห็นในฐานะผู้เสนอกฎหมาย

นายสุรพล กล่าวว่า เริ่มจากเหตุ เป็นที่เข้าใจโดยทั่วไปว่ารัฐธรรมนูญ มาตรา 291 ให้อำนาจในการแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นของรัฐสภาโดยเฉพาะ และศาล รธน.ก็ไม่มีอำนาจในการตรวจสอบ เพราะการแก้ไขรัฐธรรมนูญย่อมขัดกับรัฐธรรมนูญอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ทั้งนี้ มีการพูดกันว่ารัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ประสงค์จะพิทักษ์รัฐธรรมนูญจากการกระทำของบุคคลเท่านั้น ไม่ครอบคลุมถึงการใช้อำนาจขององค์กรตามรัฐธรรมนูญได้ แต่ถ้าลงไปดูความหมายที่แท้จริงของมาตรานี้ ล้มล้างการปกครองหรือทำให้ได้อำนาจในการปกครองด้วยวิธีที่มิชอบ มีประมวลกฎหมายอาญา (ป.อาญา) มาตรา 113 และมาตรา 116 ความผิดฐานกบฏ ที่กำหนดโทษไว้ร้ายแรงอยู่แล้ว หากระบุว่ารัฐธรรมนูญ มาตรา 68 จะมุ่งใช้เฉพาะกับบุคคลทั่วไปอีก ผมก็นึกไม่ออกว่าจะใช้รัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ในที่ใดได้อีกเพราะ ป.อาญาก็มีบทลงโทษที่แรงกว่า ดังนั้นการตีความรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 จะต้องให้ใช้บังคับได้

“ก่อนหน้าเราเคยเข้าใจว่าองค์กรตามรัฐธรรมนูญไม่สามารถล้มล้างการปกครองหรือทำให้ได้อำนาจในการปกครองด้วยวิธีที่มิชอบได้ แต่เรื่องเช่นนี้เคยเกิดขึ้นมาแล้ว เพราะมีกรณีที่รัฐสภามีมติด้วยเสียงข้างมากงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตราปิดประชุมรัฐสภาตลอดไป ดังนั้นรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 จึงต้องใช้บังคับกับองค์กรตามรัฐธรรมนูญได้ แต่ต้องถือเป็นข้อยกเว้นและตีความอย่างแคบ และการที่องค์กรตามรัฐธรรมนูญใช้อำนาจหน้าที่วิปริตวิปลาสหรือทำลายสารัตถะของรัฐธรรมนูญ ก็ถือว่าการกระทำนั้นอยู่ในขอบข่ายของรัฐธรรมนูญ มาตรา 68” นายสุรพลกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า จากการตีความข้อกฎหมายข้างต้น ตนอยากถามสังคมว่าหากเสียงข้างมาก ลงมติขอให้เสียงข้างน้อยออกจากห้องประชุมไป แล้วเสียงข้างมากลงมติเพียงฝ่ายเดียว ตามความเห็นของวิญญูชนทั่วไป ไม่จำเป็นต้องเป็นนักกฎหมาย จะถือเป็นมติที่วิปริตวิปลาสหรือไม่ แม้จะเป็นมติของที่ประชุมสภาก็ตาม

“การที่ ส.ส.และ ส.ว.เสียงข้างมากประกาศไม่รับอำนาจศาล รธน. ผมคิดว่าการประกาศนี้คือการประกาศการกระทำที่ชัดเจน ว่าสมาชิกรัฐสภาที่มีเกินกึ่งหนึ่ง ไม่ยอมรับ ไม่ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ ประสงค์จะให้มติของตนเท่านั้นถึงจะมีผลผูกพันและใช้บังคับได้ ซึ่งนับได้ว่าเป็นการให้ได้มาซึ่งอำนาจโดยวิถีทางที่มิชอบโดยแท้จริง” นายสุรพลกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า จากกรณีที่เกิดขึ้น ทั้งการเปลี่ยนในวาระที่ 1 ให้ต่างจากร่างที่ยื่นเสนอ การให้เวลาแปรญัตติเพียง 1 วัน และการไม่ให้ผู้สงวนคำแปรญัตติได้อภิปราย ไม่ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาอะไร ใช้ความรู้เพียงนิติศาสตร์ ปี 1 ก็รู้ได้ว่ากระบวนการนิติบัญญัตินี้ชอบหรือไม่ ส่วนกรณีที่มีสมาชิกรัฐสภาลงคะแนนแทนสมาชิกรัฐสภาคนอื่นๆ อีกหลายคน อันนี้ หากใช้ความรู้นิติศาสตร์ ปี 3 ก็เรียนกฎหมายบริษัท ที่มีแนวคำพิพากษามากมาย ซึ่งระบุว่า แม้แต่กรรมการบริษัทที่มีหน้าที่พิทักษ์ประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ยังจะให้บุคคลมาลงคะแนนแทนมิได้ แล้วสมาชิกรัฐสภาซึ่งมีหน้าที่พิทักษ์ประโยชน์ของประชาชน จะให้ผู้อื่นสามารถลงคะแนนแทนกันได้อย่างไร

“การที่องค์กรนิติบัญญัติไม่ได้ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่โดยชอบ ผมมองว่าเป็นข้อยกเว้นที่ทำให้ศาล รธน.สามารถเข้าตรวจสอบได้” นายสุรพกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า ส่วนที่การตะแบงกันอยู่ว่า ความบกพร่องที่เกิดขึ้นเกิดขึ้นในวงงานนิติบัญญัติ ควรจะเป็นสิ่งที่แก้ไขกันเอง ศาล รธน.ไม่ควรจะเข้ามายุ่ง ไม่เช่นนั้นจะถือว่าก้าวก่ายฝ่ายนิติบัญญัติสิ่งที่อ้างนี้ไม่มีทั้งใน รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 และฉบับปี 2550 สิ่งที่อ้างดังกล่าวเกิดขึ้นก่อนทีจะมีรัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 ที่ให้รัฐสภาทำอะไรก็ได้ แต่หลังจากมีรัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 ก็มีการตั้งศาล รธน.ขึ้นมาพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ดังนั้นใครทำอะไรไม่ชอบต้องถูกตรวจสอบ กระทั่งตุลาการศาล รธน.เองยังถูกถอดถอนได้ ดังนั้นหากใครทำอะไรที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ศาล รธน.สามารถเข้าไปชี้ได้

“ถ้าเสียงข้างมากทำอะไรก็ได้ เช่นอาจมองว่าฝ่ายค้านพูดเยอะ พูดมากไป จะให้ฝ่ายค้านออกจากห้องประชุมไป แล้วเสียงข้างมากค่อยมาลงมติกัน คำถามก็คือเสียงข้างมากที่มีอยู่ จะยังถือเป็นรัฐสภาหรือไม่ แล้วถ้าจะลงมติเฉพาะเสียงข้างมาก กฎหมายที่ออกมาจะยังมีผลบังคับใช้หรือไม่ถ้าประธานรัฐสภาวิปริตวิปลาสที่จะออกคำสั่งดังกล่าว หรือคำสั่งที่ใกล้เคียงกันเช่นสมาชิกรัฐสภาที่สงวนคำแปรญัตติไว้กว่า 100 คน ไม่ต้องพูดแล้ว เพราะเสียงข้างมากเห็นว่าไม่ควรพูด หากเป็นเช่นนั้น ผมคิดว่ากรรมการห้ามมวยอาจจะมีกฎกติกามากกว่าประธานรัฐสภา ไม่เช่นนั้นหากสมาชิกรัฐสภาในจำนวนเกิดกึ่งหนึ่งไปประชุมกันที่รีสอร์ตสักแห่ง ก็สามารถลงมติออกกฎหมายใดๆ มาบังคับใช้ได้ เพราะถือว่าเป็นเรื่องในวงงานนิติบัญญัติ”

นายสุรพล กล่าวว่า เมื่อรัฐสภาดำเนินการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เรื่องที่มา ส.ว. โดยละเมิดข้อบังคับ ศาล รธน.จึงมีอำนาจประกาศความไม่ชอบ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 โดย 6 ใน 9 เสียงระบุว่า กระบวนการแก้ไขรัฐธรรมนูญดังกล่าวมิชอบ และ 5 ใน 9 เสียงระบุว่า เป็นการกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจด้วยวิธีการซึ่งมิชอบ เป็นการกระทำผิดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 68

อดีตอธิการบดี มธ.รายนี้ ระบุว่า อย่างไรก็ตาม ตนเห็นต่างกับศาล รธน.ที่ระบุว่า ที่มา ส.ว.ควรจะต่างจากที่มา ส.ส.เพราะนี่คือการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งสมาชิกรัฐสภาที่เป็นตัวแทนของประชาชนจะวินิจฉัยอย่างไรก็ตาม หากดำเนินการอย่างถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 291

“ในส่วนของผล เมื่อศาล รธน.วินิจฉัยว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มา ส.ว.ไม่ชอบ ร่างดังกล่าวจึงตกไป จึงเป็นหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องที่จะต้องทำให้เรื่องนี้จบ โดยมีผู้เกี่ยวข้องเพียงคนเดียว คือผู้ที่นำร่างขึ้นทูลเกล้าฯ นั่นคือนายกรัฐมนตรี ที่จะต้องขอร่างกลับมาดูเสียใหญ่ เพราะส่วนที่ศาล รธน.ระบุว่าไม่ชอบคือกระบวนการนิติบัญญัติ ญัตติเดิมยังคงมีอยู่ ถ้ารัฐสภาจะกลับไปพิจารณาใหม่ก็สามารถทำได้ ส่วนเรื่องการถอดถอนหรือดำเนินคดีอาญา เป็นอีกกรณีที่ต้องดำเนินการต่อไป ไม่อยู่ในอำนาจของศาล รธน.ที่จะวินิจฉัย” นายสุรพลกล่าว

นายสุรพล กล่าวว่า ท้ายสุด ตนได้ยิน ส.ส.และ ส.ว.พูดว่าศาล รธน.เข้ามายึดอำนาจรัฐผ่านคำวินิจฉัย ทำให้ศาล รธน.เป็นองค์กรสูงสุด ที่มีอำนาจสั่งคนอื่นให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ได้ ซึ่งตนก็อยากตั้งคำถามว่าเรื่องใดเกิดขึ้นก่อน ระหว่างกระบวนการนิติบัญญัติที่เป็นไปโดยมิชอบหรือการที่ศาล รธน.วินิจฉัย กลับกันถ้าจะมีการรัฐประหาร ตนเห็นว่ารัฐสภาได้พยายามยึดอำนาจ ล้มล้างการปกครองโดยไม่เคารพกฎกติกาที่เป็นฐานอำนาจของตัวเองมาก่อนแล้ว ศาล รธน.ไม่ได้ทำอะไร นอกจากประกาศว่าการกระทำนี้มิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ

เรื่องเช่นนี้เกิดขึ้นตลอด เดือนที่ผ่านมา ที่สมาชิกรัฐสภาทำอย่างนี้ซ้ำซากในกฎหมายหลายฉบับ ด้วยการรวบรัด ห้ามอภิปราย ห้ามเสนอความคิดเห็น ห้ามแปรญัตติ ไปลงมติในเวลาตีสาม ตีสี่ ด้วยบัตรลงคะแนนที่มีการฝากกันเอาไว้ คล้ายๆ กับเวลาตำรวจจับอาชญากร ผู้ที่ถูกจับมักปฏิเสธว่าตัวเองไม่ผิด คนที่จับต่างหากที่ผิด ถ้าเราถือว่าการใช้อำนาจโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญเป็นอาชญากรรม สมาชิกรัฐสภาโดยเสียงส่วนใหญ่เป็นอาชญากรมาตั้งแต่ต้น ศาล รธน.เพียงแต่ประกาศความเป็นอาชญากรนี้เท่านั้น นายสุรพลกล่าว

 

ผมก็เชื่อ นักกฎหมายหลายท่าน ทีบอกว่า ศาลมีอำนาจวินิจฉัยตามมาตรา 68 



#83 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:37

 ด่วน เจ้าข้าเอ๊ย  นอกจากจ่าเผลอหลุดปากแล้ว นิติราษฎร์ยังยอมรับเองด้วย

รัฐบาลชั่วไม่ได้ถอยสุดซอย

แค่ถอยแบบสับขาหลอก แล้วรอเสียบทีหลังจริงๆด้วย!!!

 

     แม้ว่าศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำวินิจฉัยออกมา แต่ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจที่จะบอกให้ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับนี้ตกไป ดังนั้น ตามหลักการแล้ว ร่างรัฐธรรมนูญยังคงสมบูรณ์ตามกฎหมายทุกประการ ขณะนี้ขั้นตอนอยู่ระหว่างการรอลงพระปรมาภิไธย หากพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ก็สามารถนำไปประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ทันที

“ถ้าสภาลงมติยืนยันไม่ถึง 2 ใน 3 ก็ถือว่าร่างตกไป แต่ถ้าลงคะแนนถึง 2 ใน 3 ก็ต้องยืนยันทูลเกล้าฯ อีกครั้ง และรอบนี้หากพ้น 60 วัน ก็สามารถประกาศในราชกิจจานุเบกษาต่อไปได้” นายวรเจตน์ กล่าว

 

 

เอาไงละเมริง ทีนี้ :lol:  :lol:

 

 

 

เอ่อ ตอนซุกห้น 1 เนี่ย นิติราด เคยออกมาวิเคราห์ไหมครับ หรือผมพลาดอะไรไป

 

ตอนนั้นไอ้แม้วมันผิดเห็นๆ

 

มันออกมาการันตีว่าแม้วไม่ผิดครับ  เคยมาโต้กับอจ.สมเกียรติ TDRI ที่ไทยพีบีเอสด้วย

ปากคอสั่น พูดละล่ำละลัก เถียงอจ.สมเกียรติไม่ออกเลยทีเดียว เจออจ.สมเกียรติไล่ต้อนแบบสุภาพ  ถึงกับเอ๋อกลางอากาศ

 

ตอนนั้นยังไม่เป็นนิติราด  ผมยังถามในใจเลย หมอนี่ใครวะ---โคตรกระจอก!


gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#84 อิสระเสรีชน

อิสระเสรีชน

    ทักษิณ เมื่อไหร่ตาย 5555

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,244 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:37

มาตรา 68 นี่ถ้าเข้าใจยากเอาที่เค๊าแปลไปลองอ่านดูครับ ที่เล่นๆกันอยู่เนี้ย มันจะดันให้ส่ง อสส ท่าเดียวทั้งที่จริง ส่งได้ทั้ง 2 ทาง ปัญญัติชัดเจน

 

คอลัมน์....เชี่ยนหมาก หลากรส โดย...พิมพ์พล แสงเมือง

ท่านนักแก้รัฐธรรมนูญ โปรดรับทราบข้อคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรา ๖๘ รัฐธรรมนูญ ปี ๕๐ สักนิด

มาตรา ๖๘ (วรรคหนึ่ง) "บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ เพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตาม รัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอํานาจในการปกครองประเทศ โดยวิธีการ ซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ ... มิได้"

มาตรา ๖๘ (วรรคสอง) "ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทําการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทําดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อ เท็จจริงและยื่นคําร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทํา ดังกล่าว แต่ทั้งนี้ไม่กระทบกระเทือนการดําเนินคดีอาญาต่อผูกระทําการดังกล่าว”

.....ผมขอเน้นที่.........องค์ประกอบของวรรคสอง

๑.ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทําการตามวรรคหนึ่ง

๒.ผู้ทราบการกระทําดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุด ตรวจสอบขอเท็จจริงและยื่นคํารองขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิก การกระทําดังกล่าว

.....นี่คือลายลักษณ์อักษร แห่งรัฐธรรมนูญ ว่าไว้ชัดแล้ว ถ้าเป็นอย่างที่ท่านนักแก้รัฐธรรมนูญต้องการ ก็ต้องมีลายลักษณ์อักษร ว่า

........."เมื่อเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและ อัยการสูงสุดได้ความจากการตรวจสอบข้อเท็จริงว่าการกระทำดังกล่าวขัดต่อวรรค หนึ่งจริง ก็ให้อัยการสูงสุดยื่นคำร้องหรือคำฟ้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อศาลรัฐธรรมนูญ มีคำสั่งหรือคำพิพากษาให้ผู้กระทำยุติการกระทำดังกล่าวต่อไป"......แต่รัฐ ธรรมนูญ ไม่ได้บัญญัติอย่างนี้.....ท่านจะเดินไปที่อัยการสูงสุดทางเดียวไม่ได้..... ท่านก็จำจะต้องเคารพลายลักษณ์อักษรแห่งรัฐธรรมนูญ

บทบัญญัติวรรคสอง กล่าวไว้ชัด ด้วยคำว่า....."ย่อมมีสิทธิ".....ฉะนั้น ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวตามมาตรา ๖๘ วรรคหนึ่ง....."ย่อมมีสิทธิ"..... ๒ ประการ ในเวลาเดียวกัน คือ.....สิทธิประการที่ ๑.คือ "สิทธิที่จะเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง".....และสิทธิ ประการที่ ๒.คือ ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว..... คำว่าสิทธิไม่ใช่หน้าที่.....สิทธิ.....ใช้ก็ได้.....ไม่ใช้ก็ได้..... หรือ......เลือกใช้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างพร้อมกันได้

.....เจ้าของสิทธิตามรัฐธรรมนูญวรรคสอง คือใคร?.....ตอบว่า คือ ประชาชนชาวไทยทุกคนที่พบเห็นหรือทราบการกระทำ.....ถ้าเจ้าของสิทธิ......ไป แจ้งต่ออัยการสูงสุด ก็เป็นทำนองเดียวกับการร้องทุกข์กล่าวโทษในทางอาญา อัยการสูงสุดในฐานะเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย ท่านจะตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือท่านจะเพิกเฉยในหน้าที่ ท่านก็รู้อยู่แก่ใจดี.....ถ้าเจ้าของสิทธิ.....ไปยื่นคำร้องต่อศาลรัฐ ธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญ ท่านจะสั่งการอย่างไร ท่านก็รู้หน้าที่ของท่านอยู่ เช่นเดียวกัน เพราะท่านทำของท่านอยู่แล้ว คือตราบใดที่ยังไม่มีวิธีพิจารณาในลักษณะเฉพาะเรื่องนี้ ศาลท่านก็หยิบยกเอามาตรา ๔ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาใช้กับเรื่องนี้เพื่อวินิจฉัยสั่งการ ซึ่งถูกต้องตามหลักกฎหมาย.....หรือใครจะเถียงว่าขัดกฎหมาย ก็ว่ามา

นักแก้รัฐธรรมนูญล่ะ......เขาทำอย่างไร.....เขาก็อาศัยการกระพือ ข่าว ว่าต้องไปที่อัยการสูงสุดทางเดียว.....เพื่อให้มวลชนของฝ่ายแก้ไขรัฐธรรมนูญ ขานรับ แล้วก็อาศัยแรงกระเพื่อมของมวลชน กระทำการบีบคั้นกดดันศาลรัฐธรรมนูญ แต่ท่านแน่ใจหรือ ?.....และจงระวัง อย่าให้ประชาชนเจ้าของประเทศ.....เขารู้สึกว่าท่านฉ้อฉลรัฐธรรมนูญ อันเป็นกฎเกณฑ์สูงสุดของประเทศก็แล้วกันดู

 

อ้างอิง http://m.tnews.co.th...php?hotID=54490


Edited by อิสระเสรีชน, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:39.

"ไม่มีพระราชาองค์ใด ยิ่งใหญ่เทียบเท่าเสมอเหมือน พระราชาของพวกเราปวงชนชาวไทย"

 

 Long Live My King

 

....................................................


#85 เมาอยู่

เมาอยู่

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,182 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:49

 

 

 

 

เอ่อ ตอนซุกห้น 1 เนี่ย นิติราด เคยออกมาวิเคราห์ไหมครับ หรือผมพลาดอะไรไป

 

ตอนนั้นไอ้แม้วมันผิดเห็นๆ

 

มันออกมาการันตีว่าแม้วไม่ผิดครับ  เคยมาโต้กับอจ.สมเกียรติ TDRI ที่ไทยพีบีเอสด้วย

ปากคอสั่น พูดละล่ำละลัก เถียงอจ.สมเกียรติไม่ออกเลยทีเดียว เจออจ.สมเกียรติไล่ต้อนแบบสุภาพ  ถึงกับเอ๋อกลางอากาศ

 

ตอนนั้นยังไม่เป็นนิติราด  ผมยังถามในใจเลย หมอนี่ใครวะ---โคตรกระจอก!

 

วรเจี๊ยกจรเปรตไรเนี่ย ที่เถียงกะอจ.สมเกียรติ TDRI

 

ผมก็ดูแล้ว เถียงเรื่องสัมปทานไม่ใช่เหรอครับ

 

โครตจอกเลย ไม่รู้เรื่องเศรษฐศาสตร์ดันมาเถียงกะเขา เงิบ


Edited by เมาอยู่, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:50.


#86 nunoi

nunoi

    เด็กข้างถนน

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,745 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:54

ความน่าเชื่อถือของนักวิชาการไม่น่าจะมาจากชื่อเสียงเป็นหลักนะครับ ควรจะมาจากเนื้อหาสาระที่เขานำเสนอออกมาว่าถูกต้องตามหลักการหรือไม่มากกว่า

 

และอีกอย่าง อ.วรเจตน์ก็เคยวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญตั้งแต่ครั้งทักษินซุกหุ้นภาคแรก ว่าเป็นการตัดสินที่ไม่ถูกต้อง โดนคนสนับสนุนทักษินในตอนนั้นด่ากระจายมาแล้ว

 

แสดงว่า เสื้อแดง จะด่าศาล เฉพาะตอนไม่เห็นด้วย

 

แต่ถ้าได้ประโยชน์ ก็จะด่าคนเห็นต่างใช่ไหมครับ  อืมๆๆ


กฎหมายมันก็แค่สิงที่สร้างมาอย่างมีเป้าหมาย แต่หาก เอาแต่บอกว่ากฎหมายเป็นแบบนี้ แบบนั้น โดยไม่สนใจว่าเป้าหมายจริงๆ นันคืออะไร ก็คงไม่ใช่ 

 

 


#87 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:23

วรเจี๊ยกจรเปรตไรเนี่ย ที่เถียงกะอจ.สมเกียรติ TDRI

 

ผมก็ดูแล้ว เถียงเรื่องสัมปทานไม่ใช่เหรอครับ

 

โครตจอกเลย ไม่รู้เรื่องเศรษฐศาสตร์ดันมาเถียงกะเขา เงิบ

 

 

 

เถียงเรื่องซุกหุ้นด้วยครับ

คู่นี้เจอกัีีนหลายรอบเลยครับ

เหมือนพะตราฉลากติดหน้าผากไว้เลยว่า

วอเจด-ทักษิณถูกยันลูกบวช

สมเกียรติ-ทักษิณผิดเห็นๆเอ็งยังจะแถ

 

 

555555555555  :lol:


Edited by ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่, 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:24.

gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#88 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:49

ควายแดงมาแถ 

 

พอแถไม่ได้บอก จบครับจบ ซะงั้น

 

แล้วควายแดงสรุปตัวเองว่า เชื่อนิติราด ซะงั้น

 

ทั้ง ๆ ที่หลักฐานว่า ศาลมีอำนาจตาม กฎหมาย

 

แม่เจ้า ไอ้ best นี่พอ ๆ กะ ดอนยอ จริง ๆ

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#89 Nong

Nong

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,124 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 10:02

ไม่เคยให้ราคาคนพวกนี้

 

เคยตัดใจฟังอยู่เหมือนกัน

 

แต่ต้องกดหนี  เพราะบทสรุปยังเหมือนเดิม

 

หากตัดสินเป็นคุณกับตัวจึงจะยอมรับ  

 

ก็แค่นั้นเอง -_- 



#90 ypk

ypk

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,173 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 11:31

เหอะ เหอะ  ผมว่ากลุ่มของ  นายวรเจตน์ เป็นกลุ่มอาจารย์ที่น่าจะมีปัญหาทางความคิดนะ

เพราะเขาละเลยที่จะพูดถึงพฤติกรรมของฝ่ายนิติบัญญัติ แล้วไปวิพากษ์วิจารณ์พฤติกรรม

ของศาลรัฐธรรมนูญแทน

 

เขาพยายามแก้ตัวความผิด ความบกพร่องของฝ่ายนิติบัญญัติ แล้วยกความผิดนั้นไปให้ศาล

รัฐธรรนูญ ดังประโยคที่พูดว่า

 

การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญถือว่าไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญถือเป็นการขัดต่อหลักประชาธิปไตย

หลักนิติศาสตร์ และหลักนิติธรรม

 

สิ่งที่เขาพูดดังประโยคข้างต้น ล้วนเป็นพฤติกรรมของฝ่ายนิติบัญญัติทั้งนั้น เพราะที่ผ่านมาเราจะ

เห็นพฤติกรรมของประธานสภา และ สส ฝ่ายรัฐบาล มาตลอดว่าสิ่งที่พวกเขาทำนั้นมันขัดต่อหลัก

ประชาธิปไตยหรือไม่ ไม่ว่าการทำตัวไม่เป็นกลางของประธาน การลุแก่อำนาจของประธานโดยให้

ตำรวจสภามาลากตัว สส ฝ่ายค้านออกจากสภา การไม่อนุญาตให้ สส ฝ่ายค้านได้มีโอกาสอภิปราย

การรีบเสนอปิดอภิปราย พฤติกรรมเหล่านี้ขัดต่อหลักประชาธิปไตยหรือไม่ กลุ่มของนายวรเจตน์กลับ

ไม่เคยสนใจ

 

การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ อยู่ในกรอบของมาตรา 68 ที่ระบุว่า

บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริย์เป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดย

วิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถึทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้

 

กลุ่มของนายวรเจตน์ ควรอธิบายให้ได้ว่า ฝ่ายนิติบัญญัติที่พยายามแก้กฎหมายรัฐธรรมนูญนั้น ไม่ได้

เป็นการให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ใน

รัฐธรรมนูญนี้  ไม่ใช่มาตะแบงว่า การวินิจฉัยของศาลขัดต่อหลักประชาธิปไตย หลักนิติศาสตร์ นิติธรรม

 

การเสียบบัตรแทนกันของฝ่ายนิติบัญญัติ การสอดไส้ร่างแก้ไข การแก้ไขรัฐธรรมนูญให้ สว ที่กำลังจะ

หมดวาระให้สามารถลงสมัครเลือกตั้งได้ต่อไปโดยไม่ต้องเว้นวรรค เป็นการทำเพื่อประโยชน์ตนเองและ

พวกพ้องหรือไม่ เรื่องเหล่านี้ผิดหลักนิติศาสตร์ ผิดหลักนิติธรรมหรือไม่ ตรงนี้ต้องพูดให้ชัด ไม่ใช่มาแก้ตัว

ง่าย ๆ ว่าเสียบบัตรแทนกันไม่มีผลแพ้ชนะ เพราะมันคนละเรื่อง

ฝ่ายนิติบัญญัติ ใช้หลักเสียงข้างมากก็จริง แต่ฝ่ายนิติบัญญัติจะใช้เสียงข้างมากเพื่อกระทำในเรื่องที่มัน

ขัดต่อหลักประชาธิปไตย หลักนิติศาสตร์ หลักนิติธรรม ไม่ได้

 

เพราะฉะนั้น ผมมองว่ากลุ่มของนายวรเจตน์ พยายามตะแบงเอาพฤติกรรมของฝ่ายนิติบัญญัติมายัดเยียดให้

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญมากกว่า



#91 Huligan

Huligan

    ดาวพยศนภา

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,880 posts

ตอบ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 13:41

ใครเห็นด้วยกับศาลรธน. 
มาชุมนุมราชดำเนินด้วยตัวเอง

ใครเห็นด้วยกับ312ส.ส.+นิติราษฏร์ 
ให้ฝากบัตรปชช.มากับเพื่อนเสื้อแดงร่วมชุมนุมที่รัชมังคลาฯ


โดย Bunnaroth Buaklee

 


ทฤษฎีของ เดล คาเนกี ใช้กับเหิ้ยหางแดงไม่ได้*สิ่งที่มองไม่เห็นใช่ว่าจะไม่มีอยู่จริง แต่สิ่งที่มองเห็นได้นั้นน่าเชื่อถือมากกว่า*




ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน