Jump to content


Photo
- - - - -

ไม่อาย ไม่สนใจอะไรกันแล้วใช่ไหมครับ


  • Please log in to reply
188 ความเห็นในกระทู้นี้

#151 annykun

annykun

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,567 posts

ตอบ 8 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 12:15

ย้ายไปแล้ว  ทุ่มเทพัฒนาชาติให้ดีนะ  อย่ามัวนอนฝันเปียก  ว่ารัฐบาลคนเก่งจะเอาเงินมาให้เรื่อยๆ  ไม่งั้นประเทศเกิดใหม่  

คงกลายเป็นประเทศโลกที่ 3 แน่  ระวังประเทศอันธพาลทางใต้ไว้นะ  เดี๋ยวมันเจริญกว่าเดิม  แล้วหาเรื่องยึดดินแดนคืน


คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม  คือ   ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง

คุณธรรมที่พร้ำสอน  ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา   ส่วน  ประชาธิปไตยน่ะรึ  เอาเข้าจริงๆ  สำคัญอันใด?? 

 


#152 Jump Man

Jump Man

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 154 posts

ตอบ 10 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 23:47

 

เรื่องที่มาสว.นี่อ่านคำพิพากษาขแงศาลหรือยัง ถ้ายังกลับไปอ่านก่อน

ผมโพสต์ไว้ในโพสต์ก่อนหน้านี้  ว่ายุคนี้เป็นยุคข้อมูลข่าวสาร

ฉะนั้นผมจะขอยกข้อเขียนจากผู้ที่อยู่ในวงการกฎหมาย(อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล)มาให้อ่านเปรียบเทียบแล้วกัน

เชื่ออย่างไรขึ้นอยู่กับดุลพินิจของคุณ

 

 

http://www.matichon....2&subcatid=0207

บางส่วนของข้อความ

ด้วยความเคารพต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ผู้เขียนได้พิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกอบเจตนารมณ์ของ ส.ส.ร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้แล้ว มีความเห็นโดยสุจริตใจว่า

1.ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา

 

ศาลรัฐธรรมนุญ มีอำนาจวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ เรื่องแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มาสว. ก็เป็นคดีความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

2.กระบวนการที่ยื่นตามมาตรา 68 ไม่ถูกต้องเพราะไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยอัยการสูงสุดก่อนตามมาตรา 68 วรรค 2

 

เรื่องคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ต้องผ่านอัยการสูงสุดรึเปล่า ลองดูตอนตัดสินคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับดู ว่าทำไมศาลถึงวินิจฉัยว่าคดีความดังกล่าวถึงไม่ต้องผ่านอัยการสูงสุดก็ได้


3.เกินกำหนดเวลาที่ศาลจะวินิจฉัย เพราะนายกรัฐมนตรีได้นำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

 

ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้มีกำหนดเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ศาลจะวินิจฉัยเลย


4.เป็นคำวินิจฉัยที่คลุมเครือ คือวินิจฉัยว่าผู้ร้องกระทำผิดตามมาตรา 68 วรรค 1 แต่ไม่สั่งให้ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมกระทำการแก้ไขอย่างไร เป็นเหตุให้สถาบันดังกล่าว เช่น รัฐสภา, นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ทราบจะปฏิบัติต่อไปอย่างไร

 

ศาลวินิจฉัยอย่างเดียว ถูกแล้ว ถ้าจะให้สั่งคงทำไม่ได้ ได้แต่ให้คำแนะนำ ซึ่งศาลจะไม่แนะนำก็ได้ รึว่า รัฐสภา นายกรัฐมนตรี คิดเองไม่เป็น ต้องให้ศาลคิดให้

5.ไม่มีผลบังคับตามมาตรา 216 วรรค 5

 

ไม่มีผลอย่างไรในเมื่อ คำวินิจฉัยของศาลผูกพันทุกองค์กร

6.มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง เช่น มีผู้นำคำวินิจฉัยนี้ใช้อ้างเพื่อปลุกเร้าอารมณ์ของมวลชนว่ารัฐบาลหมดความชอบธรรมเพราะไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้

 

ตัวอย่างที่ยกมา ก็ฝ่ายรัฐบาลแถลงไม่ยอมรับอำนาจของศาลเอง จะมาโทษศาลที่ให้คำวินิจฉัยได้อย่างไร

7.จากผลของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จะทำให้อำนาจตุลาการเข้าไปก้าวล่วงอำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าศาลมีอำนาจเข้าไปวินิจฉัยเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่ผ่านวาระ 3 ไปแล้ว บุคคลที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ว่าฉบับใดๆ ก็จะยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบทุกระยะไป ไม่ว่าในวาระ 1 วาระ 2 วาระ 3 ผลแห่งการนี้จึงดูเสมือนว่าศาลรัฐธรรมนูญคุมอำนาจในการร่างหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นอำนาจของรัฐสภาไว้อย่างเบ็ดเสร็จ

 

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เป็นหนึ่งในกระบวนการตรวจสอบ ในเมื่อในรัฐสภา มีการจำกัดสิทธิการอภิปรายของฝ่ายค้าน มีปัญหาเรื่องการเสียบบัตรแทนกัน มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงร่างรัฐธรรมนูญ อีกทั้งการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องที่มาของสว. เกี่ยวพันกับสว. ซึ่งมีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย เช่นการแก้ไขให้วุฒิสภาสามารถลงรับสมัครเลือกตั้งได้ไม่จำกัดจำนวณครั้ง ทำให้สว.ส่วนหนึ่งมีผลประโยชน์อันเกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูณฉบับดังกล่าว จึงต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน หากการแก้กฎหมายใดๆที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ประกันสังคม ศาลจะไม่นำมาพิจารณา

 



#153 ซีมั่น โลช่า

ซีมั่น โลช่า

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,098 posts

ตอบ 11 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 15:29

รับจำนำข้าวจากชาวนา จ่ายเป็นใบประทวน

ไม่มีเงินจ่ายค่าข้าว ก็ด้านหาแต่จะกู้เงินเสีย.ดอกฯมาจ่าย

 

ไม่ยอมขายข้าว เอาเงินมาจ่ายให้ชาวนา

อย่างนี้นะ ด้านสุดๆ ว่าป่ะ



#154 จาฤก

จาฤก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

ตอบ 11 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 15:35

 

 

เรื่องที่มาสว.นี่อ่านคำพิพากษาขแงศาลหรือยัง ถ้ายังกลับไปอ่านก่อน

ผมโพสต์ไว้ในโพสต์ก่อนหน้านี้  ว่ายุคนี้เป็นยุคข้อมูลข่าวสาร

ฉะนั้นผมจะขอยกข้อเขียนจากผู้ที่อยู่ในวงการกฎหมาย(อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล)มาให้อ่านเปรียบเทียบแล้วกัน

เชื่ออย่างไรขึ้นอยู่กับดุลพินิจของคุณ

 

 

http://www.matichon....2&subcatid=0207

บางส่วนของข้อความ

ด้วยความเคารพต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ผู้เขียนได้พิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกอบเจตนารมณ์ของ ส.ส.ร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้แล้ว มีความเห็นโดยสุจริตใจว่า

1.ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา

 

ศาลรัฐธรรมนุญ มีอำนาจวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ เรื่องแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มาสว. ก็เป็นคดีความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

2.กระบวนการที่ยื่นตามมาตรา 68 ไม่ถูกต้องเพราะไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยอัยการสูงสุดก่อนตามมาตรา 68 วรรค 2

 

เรื่องคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ต้องผ่านอัยการสูงสุดรึเปล่า ลองดูตอนตัดสินคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับดู ว่าทำไมศาลถึงวินิจฉัยว่าคดีความดังกล่าวถึงไม่ต้องผ่านอัยการสูงสุดก็ได้


3.เกินกำหนดเวลาที่ศาลจะวินิจฉัย เพราะนายกรัฐมนตรีได้นำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

 

ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้มีกำหนดเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ศาลจะวินิจฉัยเลย


4.เป็นคำวินิจฉัยที่คลุมเครือ คือวินิจฉัยว่าผู้ร้องกระทำผิดตามมาตรา 68 วรรค 1 แต่ไม่สั่งให้ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมกระทำการแก้ไขอย่างไร เป็นเหตุให้สถาบันดังกล่าว เช่น รัฐสภา, นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ทราบจะปฏิบัติต่อไปอย่างไร

 

ศาลวินิจฉัยอย่างเดียว ถูกแล้ว ถ้าจะให้สั่งคงทำไม่ได้ ได้แต่ให้คำแนะนำ ซึ่งศาลจะไม่แนะนำก็ได้ รึว่า รัฐสภา นายกรัฐมนตรี คิดเองไม่เป็น ต้องให้ศาลคิดให้

5.ไม่มีผลบังคับตามมาตรา 216 วรรค 5

 

ไม่มีผลอย่างไรในเมื่อ คำวินิจฉัยของศาลผูกพันทุกองค์กร

6.มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง เช่น มีผู้นำคำวินิจฉัยนี้ใช้อ้างเพื่อปลุกเร้าอารมณ์ของมวลชนว่ารัฐบาลหมดความชอบธรรมเพราะไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้

 

ตัวอย่างที่ยกมา ก็ฝ่ายรัฐบาลแถลงไม่ยอมรับอำนาจของศาลเอง จะมาโทษศาลที่ให้คำวินิจฉัยได้อย่างไร

7.จากผลของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จะทำให้อำนาจตุลาการเข้าไปก้าวล่วงอำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าศาลมีอำนาจเข้าไปวินิจฉัยเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่ผ่านวาระ 3 ไปแล้ว บุคคลที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ว่าฉบับใดๆ ก็จะยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบทุกระยะไป ไม่ว่าในวาระ 1 วาระ 2 วาระ 3 ผลแห่งการนี้จึงดูเสมือนว่าศาลรัฐธรรมนูญคุมอำนาจในการร่างหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นอำนาจของรัฐสภาไว้อย่างเบ็ดเสร็จ

 

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เป็นหนึ่งในกระบวนการตรวจสอบ ในเมื่อในรัฐสภา มีการจำกัดสิทธิการอภิปรายของฝ่ายค้าน มีปัญหาเรื่องการเสียบบัตรแทนกัน มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงร่างรัฐธรรมนูญ อีกทั้งการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องที่มาของสว. เกี่ยวพันกับสว. ซึ่งมีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย เช่นการแก้ไขให้วุฒิสภาสามารถลงรับสมัครเลือกตั้งได้ไม่จำกัดจำนวณครั้ง ทำให้สว.ส่วนหนึ่งมีผลประโยชน์อันเกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูณฉบับดังกล่าว จึงต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน หากการแก้กฎหมายใดๆที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ประกันสังคม ศาลจะไม่นำมาพิจารณา

 

 

แนะนำ  ให้เข้าไปอ่านตัวเต็มของบทความตามลิงค์

จะตอบคำถาม  ที่คุณสงสัยโต้แย้งมา ทุกข้อ (เข้าใจว่าคุณยังไม่ได้อ่านตัวเต็ม)


เลือกตั้ง =ทางออก .......นายกฯเถื่อน  คือทางตัน

 


#155 คนไทยเสรี

คนไทยเสรี

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 88 posts

ตอบ 11 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 16:19

 

 

 

เรื่องที่มาสว.นี่อ่านคำพิพากษาขแงศาลหรือยัง ถ้ายังกลับไปอ่านก่อน

ผมโพสต์ไว้ในโพสต์ก่อนหน้านี้  ว่ายุคนี้เป็นยุคข้อมูลข่าวสาร

ฉะนั้นผมจะขอยกข้อเขียนจากผู้ที่อยู่ในวงการกฎหมาย(อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล)มาให้อ่านเปรียบเทียบแล้วกัน

เชื่ออย่างไรขึ้นอยู่กับดุลพินิจของคุณ

 

 

http://www.matichon....2&subcatid=0207

บางส่วนของข้อความ

ด้วยความเคารพต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ผู้เขียนได้พิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกอบเจตนารมณ์ของ ส.ส.ร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้แล้ว มีความเห็นโดยสุจริตใจว่า

1.ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา

 

ศาลรัฐธรรมนุญ มีอำนาจวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ เรื่องแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มาสว. ก็เป็นคดีความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

2.กระบวนการที่ยื่นตามมาตรา 68 ไม่ถูกต้องเพราะไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยอัยการสูงสุดก่อนตามมาตรา 68 วรรค 2

 

เรื่องคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ต้องผ่านอัยการสูงสุดรึเปล่า ลองดูตอนตัดสินคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับดู ว่าทำไมศาลถึงวินิจฉัยว่าคดีความดังกล่าวถึงไม่ต้องผ่านอัยการสูงสุดก็ได้


3.เกินกำหนดเวลาที่ศาลจะวินิจฉัย เพราะนายกรัฐมนตรีได้นำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

 

ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้มีกำหนดเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ศาลจะวินิจฉัยเลย


4.เป็นคำวินิจฉัยที่คลุมเครือ คือวินิจฉัยว่าผู้ร้องกระทำผิดตามมาตรา 68 วรรค 1 แต่ไม่สั่งให้ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมกระทำการแก้ไขอย่างไร เป็นเหตุให้สถาบันดังกล่าว เช่น รัฐสภา, นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ทราบจะปฏิบัติต่อไปอย่างไร

 

ศาลวินิจฉัยอย่างเดียว ถูกแล้ว ถ้าจะให้สั่งคงทำไม่ได้ ได้แต่ให้คำแนะนำ ซึ่งศาลจะไม่แนะนำก็ได้ รึว่า รัฐสภา นายกรัฐมนตรี คิดเองไม่เป็น ต้องให้ศาลคิดให้

5.ไม่มีผลบังคับตามมาตรา 216 วรรค 5

 

ไม่มีผลอย่างไรในเมื่อ คำวินิจฉัยของศาลผูกพันทุกองค์กร

6.มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง เช่น มีผู้นำคำวินิจฉัยนี้ใช้อ้างเพื่อปลุกเร้าอารมณ์ของมวลชนว่ารัฐบาลหมดความชอบธรรมเพราะไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้

 

ตัวอย่างที่ยกมา ก็ฝ่ายรัฐบาลแถลงไม่ยอมรับอำนาจของศาลเอง จะมาโทษศาลที่ให้คำวินิจฉัยได้อย่างไร

7.จากผลของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จะทำให้อำนาจตุลาการเข้าไปก้าวล่วงอำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าศาลมีอำนาจเข้าไปวินิจฉัยเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่ผ่านวาระ 3 ไปแล้ว บุคคลที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ว่าฉบับใดๆ ก็จะยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบทุกระยะไป ไม่ว่าในวาระ 1 วาระ 2 วาระ 3 ผลแห่งการนี้จึงดูเสมือนว่าศาลรัฐธรรมนูญคุมอำนาจในการร่างหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นอำนาจของรัฐสภาไว้อย่างเบ็ดเสร็จ

 

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เป็นหนึ่งในกระบวนการตรวจสอบ ในเมื่อในรัฐสภา มีการจำกัดสิทธิการอภิปรายของฝ่ายค้าน มีปัญหาเรื่องการเสียบบัตรแทนกัน มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงร่างรัฐธรรมนูญ อีกทั้งการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องที่มาของสว. เกี่ยวพันกับสว. ซึ่งมีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย เช่นการแก้ไขให้วุฒิสภาสามารถลงรับสมัครเลือกตั้งได้ไม่จำกัดจำนวณครั้ง ทำให้สว.ส่วนหนึ่งมีผลประโยชน์อันเกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูณฉบับดังกล่าว จึงต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน หากการแก้กฎหมายใดๆที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ประกันสังคม ศาลจะไม่นำมาพิจารณา

 

 

แนะนำ  ให้เข้าไปอ่านตัวเต็มของบทความตามลิงค์

จะตอบคำถาม  ที่คุณสงสัยโต้แย้งมา ทุกข้อ (เข้าใจว่าคุณยังไม่ได้อ่านตัวเต็ม)

 

 

1. ศาลตัดสินไปแล้ว ก็ควรจะจบนะครับ ตามวิถีทางประชาธิปไตย โดยอำนาจในรัฐธรรมนูญ

2. อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล ก็เป็นนักวิชาการด้านกฏหมายท่านหนึ่งที่มีความเห็นอย่างนี้ แต่ผมก็เห็นนักวิชาการด้านกฏหมาย

    อีกหลายท่านที่มีความเห็นตามคำวินิจฉัยของศาล รวมทั้งสภาทนายความด้วย

3. คุณ Jump man ก็แย้งทุกประเด็นของ อ. สมลักษณ์ ได้อย่างมีเหตุผล

 

หริอ คุณ จาฤก ลองแย้งเป็นข้อ ๆ ให้ละเอียดหน่อยได้ไหม๊ครับ? ไม่ต้องเขียนสั้นๆ ด้วยการโยนไปให้อ่านตัวเต็ม



#156 Jump Man

Jump Man

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 154 posts

ตอบ 11 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:09

 

 

 

 

เรื่องที่มาสว.นี่อ่านคำพิพากษาขแงศาลหรือยัง ถ้ายังกลับไปอ่านก่อน

ผมโพสต์ไว้ในโพสต์ก่อนหน้านี้  ว่ายุคนี้เป็นยุคข้อมูลข่าวสาร

ฉะนั้นผมจะขอยกข้อเขียนจากผู้ที่อยู่ในวงการกฎหมาย(อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล)มาให้อ่านเปรียบเทียบแล้วกัน

เชื่ออย่างไรขึ้นอยู่กับดุลพินิจของคุณ

 

 

http://www.matichon....2&subcatid=0207

บางส่วนของข้อความ

ด้วยความเคารพต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ผู้เขียนได้พิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกอบเจตนารมณ์ของ ส.ส.ร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้แล้ว มีความเห็นโดยสุจริตใจว่า

1.ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา

 

ศาลรัฐธรรมนุญ มีอำนาจวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ เรื่องแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มาสว. ก็เป็นคดีความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

2.กระบวนการที่ยื่นตามมาตรา 68 ไม่ถูกต้องเพราะไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยอัยการสูงสุดก่อนตามมาตรา 68 วรรค 2

 

เรื่องคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ต้องผ่านอัยการสูงสุดรึเปล่า ลองดูตอนตัดสินคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับดู ว่าทำไมศาลถึงวินิจฉัยว่าคดีความดังกล่าวถึงไม่ต้องผ่านอัยการสูงสุดก็ได้


3.เกินกำหนดเวลาที่ศาลจะวินิจฉัย เพราะนายกรัฐมนตรีได้นำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

 

ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้มีกำหนดเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ศาลจะวินิจฉัยเลย


4.เป็นคำวินิจฉัยที่คลุมเครือ คือวินิจฉัยว่าผู้ร้องกระทำผิดตามมาตรา 68 วรรค 1 แต่ไม่สั่งให้ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมกระทำการแก้ไขอย่างไร เป็นเหตุให้สถาบันดังกล่าว เช่น รัฐสภา, นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ทราบจะปฏิบัติต่อไปอย่างไร

 

ศาลวินิจฉัยอย่างเดียว ถูกแล้ว ถ้าจะให้สั่งคงทำไม่ได้ ได้แต่ให้คำแนะนำ ซึ่งศาลจะไม่แนะนำก็ได้ รึว่า รัฐสภา นายกรัฐมนตรี คิดเองไม่เป็น ต้องให้ศาลคิดให้

5.ไม่มีผลบังคับตามมาตรา 216 วรรค 5

 

ไม่มีผลอย่างไรในเมื่อ คำวินิจฉัยของศาลผูกพันทุกองค์กร

6.มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง เช่น มีผู้นำคำวินิจฉัยนี้ใช้อ้างเพื่อปลุกเร้าอารมณ์ของมวลชนว่ารัฐบาลหมดความชอบธรรมเพราะไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้

 

ตัวอย่างที่ยกมา ก็ฝ่ายรัฐบาลแถลงไม่ยอมรับอำนาจของศาลเอง จะมาโทษศาลที่ให้คำวินิจฉัยได้อย่างไร

7.จากผลของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จะทำให้อำนาจตุลาการเข้าไปก้าวล่วงอำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าศาลมีอำนาจเข้าไปวินิจฉัยเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่ผ่านวาระ 3 ไปแล้ว บุคคลที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ว่าฉบับใดๆ ก็จะยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบทุกระยะไป ไม่ว่าในวาระ 1 วาระ 2 วาระ 3 ผลแห่งการนี้จึงดูเสมือนว่าศาลรัฐธรรมนูญคุมอำนาจในการร่างหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นอำนาจของรัฐสภาไว้อย่างเบ็ดเสร็จ

 

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เป็นหนึ่งในกระบวนการตรวจสอบ ในเมื่อในรัฐสภา มีการจำกัดสิทธิการอภิปรายของฝ่ายค้าน มีปัญหาเรื่องการเสียบบัตรแทนกัน มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงร่างรัฐธรรมนูญ อีกทั้งการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องที่มาของสว. เกี่ยวพันกับสว. ซึ่งมีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย เช่นการแก้ไขให้วุฒิสภาสามารถลงรับสมัครเลือกตั้งได้ไม่จำกัดจำนวณครั้ง ทำให้สว.ส่วนหนึ่งมีผลประโยชน์อันเกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูณฉบับดังกล่าว จึงต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน หากการแก้กฎหมายใดๆที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ประกันสังคม ศาลจะไม่นำมาพิจารณา

 

 

แนะนำ  ให้เข้าไปอ่านตัวเต็มของบทความตามลิงค์

จะตอบคำถาม  ที่คุณสงสัยโต้แย้งมา ทุกข้อ (เข้าใจว่าคุณยังไม่ได้อ่านตัวเต็ม)

 

 

1. ศาลตัดสินไปแล้ว ก็ควรจะจบนะครับ ตามวิถีทางประชาธิปไตย โดยอำนาจในรัฐธรรมนูญ

2. อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล ก็เป็นนักวิชาการด้านกฏหมายท่านหนึ่งที่มีความเห็นอย่างนี้ แต่ผมก็เห็นนักวิชาการด้านกฏหมาย

    อีกหลายท่านที่มีความเห็นตามคำวินิจฉัยของศาล รวมทั้งสภาทนายความด้วย

3. คุณ Jump man ก็แย้งทุกประเด็นของ อ. สมลักษณ์ ได้อย่างมีเหตุผล

 

หริอ คุณ จาฤก ลองแย้งเป็นข้อ ๆ ให้ละเอียดหน่อยได้ไหม๊ครับ? ไม่ต้องเขียนสั้นๆ ด้วยการโยนไปให้อ่านตัวเต็ม

 

อ่านตัวเต็มทั้งหมดตั้งแต่ต้น ที่จริงยังมีคำถามมากกว่านี้ เห็นว่าโพสแค่ไหนก็ตอบแค่นั้น



#157 จาฤก

จาฤก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

ตอบ 11 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:23

 

 

 

 

เรื่องที่มาสว.นี่อ่านคำพิพากษาขแงศาลหรือยัง ถ้ายังกลับไปอ่านก่อน

ผมโพสต์ไว้ในโพสต์ก่อนหน้านี้  ว่ายุคนี้เป็นยุคข้อมูลข่าวสาร

ฉะนั้นผมจะขอยกข้อเขียนจากผู้ที่อยู่ในวงการกฎหมาย(อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล)มาให้อ่านเปรียบเทียบแล้วกัน

เชื่ออย่างไรขึ้นอยู่กับดุลพินิจของคุณ

 

 

http://www.matichon....2&subcatid=0207

บางส่วนของข้อความ

ด้วยความเคารพต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ผู้เขียนได้พิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกอบเจตนารมณ์ของ ส.ส.ร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้แล้ว มีความเห็นโดยสุจริตใจว่า

1.ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา

 

ศาลรัฐธรรมนุญ มีอำนาจวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ เรื่องแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มาสว. ก็เป็นคดีความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

2.กระบวนการที่ยื่นตามมาตรา 68 ไม่ถูกต้องเพราะไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยอัยการสูงสุดก่อนตามมาตรา 68 วรรค 2

 

เรื่องคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ต้องผ่านอัยการสูงสุดรึเปล่า ลองดูตอนตัดสินคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับดู ว่าทำไมศาลถึงวินิจฉัยว่าคดีความดังกล่าวถึงไม่ต้องผ่านอัยการสูงสุดก็ได้


3.เกินกำหนดเวลาที่ศาลจะวินิจฉัย เพราะนายกรัฐมนตรีได้นำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

 

ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้มีกำหนดเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ศาลจะวินิจฉัยเลย


4.เป็นคำวินิจฉัยที่คลุมเครือ คือวินิจฉัยว่าผู้ร้องกระทำผิดตามมาตรา 68 วรรค 1 แต่ไม่สั่งให้ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมกระทำการแก้ไขอย่างไร เป็นเหตุให้สถาบันดังกล่าว เช่น รัฐสภา, นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ทราบจะปฏิบัติต่อไปอย่างไร

 

ศาลวินิจฉัยอย่างเดียว ถูกแล้ว ถ้าจะให้สั่งคงทำไม่ได้ ได้แต่ให้คำแนะนำ ซึ่งศาลจะไม่แนะนำก็ได้ รึว่า รัฐสภา นายกรัฐมนตรี คิดเองไม่เป็น ต้องให้ศาลคิดให้

5.ไม่มีผลบังคับตามมาตรา 216 วรรค 5

 

ไม่มีผลอย่างไรในเมื่อ คำวินิจฉัยของศาลผูกพันทุกองค์กร

6.มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง เช่น มีผู้นำคำวินิจฉัยนี้ใช้อ้างเพื่อปลุกเร้าอารมณ์ของมวลชนว่ารัฐบาลหมดความชอบธรรมเพราะไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้

 

ตัวอย่างที่ยกมา ก็ฝ่ายรัฐบาลแถลงไม่ยอมรับอำนาจของศาลเอง จะมาโทษศาลที่ให้คำวินิจฉัยได้อย่างไร

7.จากผลของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จะทำให้อำนาจตุลาการเข้าไปก้าวล่วงอำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าศาลมีอำนาจเข้าไปวินิจฉัยเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่ผ่านวาระ 3 ไปแล้ว บุคคลที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ว่าฉบับใดๆ ก็จะยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบทุกระยะไป ไม่ว่าในวาระ 1 วาระ 2 วาระ 3 ผลแห่งการนี้จึงดูเสมือนว่าศาลรัฐธรรมนูญคุมอำนาจในการร่างหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นอำนาจของรัฐสภาไว้อย่างเบ็ดเสร็จ

 

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เป็นหนึ่งในกระบวนการตรวจสอบ ในเมื่อในรัฐสภา มีการจำกัดสิทธิการอภิปรายของฝ่ายค้าน มีปัญหาเรื่องการเสียบบัตรแทนกัน มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงร่างรัฐธรรมนูญ อีกทั้งการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องที่มาของสว. เกี่ยวพันกับสว. ซึ่งมีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย เช่นการแก้ไขให้วุฒิสภาสามารถลงรับสมัครเลือกตั้งได้ไม่จำกัดจำนวณครั้ง ทำให้สว.ส่วนหนึ่งมีผลประโยชน์อันเกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูณฉบับดังกล่าว จึงต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน หากการแก้กฎหมายใดๆที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ประกันสังคม ศาลจะไม่นำมาพิจารณา

 

 

แนะนำ  ให้เข้าไปอ่านตัวเต็มของบทความตามลิงค์

จะตอบคำถาม  ที่คุณสงสัยโต้แย้งมา ทุกข้อ (เข้าใจว่าคุณยังไม่ได้อ่านตัวเต็ม)

 

 

1. ศาลตัดสินไปแล้ว ก็ควรจะจบนะครับ ตามวิถีทางประชาธิปไตย โดยอำนาจในรัฐธรรมนูญ

2. อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล ก็เป็นนักวิชาการด้านกฏหมายท่านหนึ่งที่มีความเห็นอย่างนี้ แต่ผมก็เห็นนักวิชาการด้านกฏหมาย

    อีกหลายท่านที่มีความเห็นตามคำวินิจฉัยของศาล รวมทั้งสภาทนายความด้วย

3. คุณ Jump man ก็แย้งทุกประเด็นของ อ. สมลักษณ์ ได้อย่างมีเหตุผล

 

หริอ คุณ จาฤก ลองแย้งเป็นข้อ ๆ ให้ละเอียดหน่อยได้ไหม๊ครับ? ไม่ต้องเขียนสั้นๆ ด้วยการโยนไปให้อ่านตัวเต็ม

 

1.ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา

ศาลรัฐธรรมนุญ มีอำนาจวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ เรื่องแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มาสว. ก็เป็นคดีความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

 

การแก้ไข  ที่มาของ สว.เป็นการแก้ใขร่าง  รธน.  โดยอาศัยอำนาจ  ตามบทบัญัติของ  รธน. มาตรา 291(วรรค 1-7)

ซึ่งเป็นบทบัญญัติเป็นหมวดหมวดการแก้  รธน  โดยตรง  และในหมวดดังกล่าว  ได้กล่าวถึงขั้นตอนการแก้ไว้โดยละเอียด

ไม่มีตรงไหนเลยที่ี  ระบุไว้ว่า  ให้ใครหรือผู้ใด  สามารถยื่นร่างนี้  ไปยัง ศาล รธน  ได้    เพราะถือว่าอำนาจการสถาปนา

 รธน.หรือแก้ไข  รธน. เป็นอำนาจของฝ่ายนิติฯ  ซึ่งถือว่าเป็นตัวแทนของอธิปไตยของปวงชน   ตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3

 

3.เกินกำหนดเวลาที่ศาลจะวินิจฉัย เพราะนายกรัฐมนตรีได้นำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้มีกำหนดเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ศาลจะวินิจฉัยเลย

 

ถ้าเปรียบเทียบกับ  การตรากฎหมายลูก  ตรา  พรบ.  หรืออื่นๆ รธน.จะกำหนดขั้นตอนที่จะสามารถ ยื่นต่อ  ศาล  รธน

ไว้ชัด  เช่น  ม. 141(การตรา  พรบ ประกอบ  รธน)หรือ  ม. 150  151 (การตรา พรบ.)   รธน.จะกำหนดไว้ว่า

จะต้องทำก่อนที่จะ  ทูลเกล้าเพื่อลงพระปรมาภิไธย  

 

  4.เป็นคำวินิจฉัยที่คลุมเครือ คือวินิจฉัยว่าผู้ร้องกระทำผิดตามมาตรา 68 วรรค 1 แต่ไม่สั่งให้ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมกระทำการแก้ไขอย่างไร เป็นเหตุให้สถาบันดังกล่าว เช่น รัฐสภา, นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ทราบจะปฏิบัติต่อไปอย่างไร

ศาลวินิจฉัยอย่างเดียว ถูกแล้ว ถ้าจะให้สั่งคงทำไม่ได้ ได้แต่ให้คำแนะนำ ซึ่งศาลจะไม่แนะนำก็ได้ รึว่า รัฐสภา นายกรัฐมนตรี คิดเองไม่เป็น ต้องให้ศาลคิดให้

 

ในกรณีนี้  ศาลมีคำวินิจฉัยว่า  การแก้ใขที่มา  สว. เป็นการได้มาซี่งอำนาจที่มิได้บัญัติไว้ใน  รธน .(ซึ่งผมก็ไม่เข้าใจว่าเป็นไปได้อย่างไร)

แต่ในมาตรา  68.  หากศาล  วินิจฉัยแบบนั้น  ศาลจะต้องสั่งให้หยุกการกระทำดังกล่าวด้วย   เพราะนี่คือจุดหมายหลักในการใช้สิทธิ

ตาม  มาตรา 68  แต่ศาลกลับไม่พูดถึงกรณีนี้

 

5.ไม่มีผลบังคับตามมาตรา 216 วรรค 5

ไม่มีผลอย่างไรในเมื่อ คำวินิจฉัยของศาลผูกพันทุกองค์กร

 

จะผูกพันทุกองค์กร  ก็ต่อเมื่อ  เป็นคำพิพากษาโดยชอบ  ไม่ขัด  รธน.  ตามที่ได้อธิบายมาแล้ว

ตามข้างต้น  แต่ในกรณีนี้ผมถือว่า  ศาล  รธน  พิพากษาเกินเลยจากที่ รธน  กำหนด   เหมือนศาล

เขียนกฎหมายเอง  ซึ่งไม่น่าจะถูกต้อง

 

6.มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง เช่น มีผู้นำคำวินิจฉัยนี้ใช้อ้างเพื่อปลุกเร้าอารมณ์ของมวลชนว่ารัฐบาลหมดความชอบธรรมเพราะไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้

ตัวอย่างที่ยกมา ก็ฝ่ายรัฐบาลแถลงไม่ยอมรับอำนาจของศาลเอง จะมาโทษศาลที่ให้คำวินิจฉัยได้อย่างไร

 

ต้นเหตุน่าจะอยู่ที่เหตุผลที่อธิบายมาข้างต้น   เป็นเหตุให้มีการไม่ยอบรับอำนาจศาล  รธน

 

7.จากผลของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จะทำให้อำนาจตุลาการเข้าไปก้าวล่วงอำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าศาลมีอำนาจเข้าไปวินิจฉัยเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่ผ่านวาระ 3 ไปแล้ว บุคคลที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ว่าฉบับใดๆ ก็จะยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบทุกระยะไป ไม่ว่าในวาระ 1 วาระ 2 วาระ 3 ผลแห่งการนี้จึงดูเสมือนว่าศาลรัฐธรรมนูญคุมอำนาจในการร่างหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นอำนาจของรัฐสภาไว้อย่างเบ็ดเสร็จ

 

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เป็นหนึ่งในกระบวนการตรวจสอบ ในเมื่อในรัฐสภา มีการจำกัดสิทธิการอภิปรายของฝ่ายค้าน มีปัญหาเรื่องการเสียบบัตรแทนกัน มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงร่างรัฐธรรมนูญ อีกทั้งการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องที่มาของสว. เกี่ยวพันกับสว. ซึ่งมีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย เช่นการแก้ไขให้วุฒิสภาสามารถลงรับสมัครเลือกตั้งได้ไม่จำกัดจำนวณครั้ง ทำให้สว.ส่วนหนึ่งมีผลประโยชน์อันเกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูณฉบับดังกล่าว จึงต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน หากการแก้กฎหมายใดๆที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ประกันสังคม ศาลจะไม่นำมาพิจารณา

 

ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด


เลือกตั้ง =ทางออก .......นายกฯเถื่อน  คือทางตัน

 


#158 Googeee

Googeee

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 11 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:14

***ลบก่อนรู้สึกผิดอัน


Edited by Googeee, 11 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:19.


#159 คนไทยเสรี

คนไทยเสรี

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 88 posts

ตอบ 12 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:40

 

 

 

 

 

เรื่องที่มาสว.นี่อ่านคำพิพากษาขแงศาลหรือยัง ถ้ายังกลับไปอ่านก่อน

ผมโพสต์ไว้ในโพสต์ก่อนหน้านี้  ว่ายุคนี้เป็นยุคข้อมูลข่าวสาร

ฉะนั้นผมจะขอยกข้อเขียนจากผู้ที่อยู่ในวงการกฎหมาย(อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล)มาให้อ่านเปรียบเทียบแล้วกัน

เชื่ออย่างไรขึ้นอยู่กับดุลพินิจของคุณ

 

 

http://www.matichon....2&subcatid=0207

บางส่วนของข้อความ

ด้วยความเคารพต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ผู้เขียนได้พิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกอบเจตนารมณ์ของ ส.ส.ร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้แล้ว มีความเห็นโดยสุจริตใจว่า

1.ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา

 

ศาลรัฐธรรมนุญ มีอำนาจวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ เรื่องแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มาสว. ก็เป็นคดีความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

2.กระบวนการที่ยื่นตามมาตรา 68 ไม่ถูกต้องเพราะไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยอัยการสูงสุดก่อนตามมาตรา 68 วรรค 2

 

เรื่องคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ต้องผ่านอัยการสูงสุดรึเปล่า ลองดูตอนตัดสินคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับดู ว่าทำไมศาลถึงวินิจฉัยว่าคดีความดังกล่าวถึงไม่ต้องผ่านอัยการสูงสุดก็ได้


3.เกินกำหนดเวลาที่ศาลจะวินิจฉัย เพราะนายกรัฐมนตรีได้นำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

 

ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้มีกำหนดเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ศาลจะวินิจฉัยเลย


4.เป็นคำวินิจฉัยที่คลุมเครือ คือวินิจฉัยว่าผู้ร้องกระทำผิดตามมาตรา 68 วรรค 1 แต่ไม่สั่งให้ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมกระทำการแก้ไขอย่างไร เป็นเหตุให้สถาบันดังกล่าว เช่น รัฐสภา, นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ทราบจะปฏิบัติต่อไปอย่างไร

 

ศาลวินิจฉัยอย่างเดียว ถูกแล้ว ถ้าจะให้สั่งคงทำไม่ได้ ได้แต่ให้คำแนะนำ ซึ่งศาลจะไม่แนะนำก็ได้ รึว่า รัฐสภา นายกรัฐมนตรี คิดเองไม่เป็น ต้องให้ศาลคิดให้

5.ไม่มีผลบังคับตามมาตรา 216 วรรค 5

 

ไม่มีผลอย่างไรในเมื่อ คำวินิจฉัยของศาลผูกพันทุกองค์กร

6.มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง เช่น มีผู้นำคำวินิจฉัยนี้ใช้อ้างเพื่อปลุกเร้าอารมณ์ของมวลชนว่ารัฐบาลหมดความชอบธรรมเพราะไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้

 

ตัวอย่างที่ยกมา ก็ฝ่ายรัฐบาลแถลงไม่ยอมรับอำนาจของศาลเอง จะมาโทษศาลที่ให้คำวินิจฉัยได้อย่างไร

7.จากผลของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จะทำให้อำนาจตุลาการเข้าไปก้าวล่วงอำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าศาลมีอำนาจเข้าไปวินิจฉัยเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่ผ่านวาระ 3 ไปแล้ว บุคคลที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ว่าฉบับใดๆ ก็จะยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบทุกระยะไป ไม่ว่าในวาระ 1 วาระ 2 วาระ 3 ผลแห่งการนี้จึงดูเสมือนว่าศาลรัฐธรรมนูญคุมอำนาจในการร่างหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นอำนาจของรัฐสภาไว้อย่างเบ็ดเสร็จ

 

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เป็นหนึ่งในกระบวนการตรวจสอบ ในเมื่อในรัฐสภา มีการจำกัดสิทธิการอภิปรายของฝ่ายค้าน มีปัญหาเรื่องการเสียบบัตรแทนกัน มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงร่างรัฐธรรมนูญ อีกทั้งการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องที่มาของสว. เกี่ยวพันกับสว. ซึ่งมีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย เช่นการแก้ไขให้วุฒิสภาสามารถลงรับสมัครเลือกตั้งได้ไม่จำกัดจำนวณครั้ง ทำให้สว.ส่วนหนึ่งมีผลประโยชน์อันเกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูณฉบับดังกล่าว จึงต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน หากการแก้กฎหมายใดๆที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ประกันสังคม ศาลจะไม่นำมาพิจารณา

 

 

แนะนำ  ให้เข้าไปอ่านตัวเต็มของบทความตามลิงค์

จะตอบคำถาม  ที่คุณสงสัยโต้แย้งมา ทุกข้อ (เข้าใจว่าคุณยังไม่ได้อ่านตัวเต็ม)

 

 

1. ศาลตัดสินไปแล้ว ก็ควรจะจบนะครับ ตามวิถีทางประชาธิปไตย โดยอำนาจในรัฐธรรมนูญ

2. อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล ก็เป็นนักวิชาการด้านกฏหมายท่านหนึ่งที่มีความเห็นอย่างนี้ แต่ผมก็เห็นนักวิชาการด้านกฏหมาย

    อีกหลายท่านที่มีความเห็นตามคำวินิจฉัยของศาล รวมทั้งสภาทนายความด้วย

3. คุณ Jump man ก็แย้งทุกประเด็นของ อ. สมลักษณ์ ได้อย่างมีเหตุผล

 

หริอ คุณ จาฤก ลองแย้งเป็นข้อ ๆ ให้ละเอียดหน่อยได้ไหม๊ครับ? ไม่ต้องเขียนสั้นๆ ด้วยการโยนไปให้อ่านตัวเต็ม

 

1.ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา

ศาลรัฐธรรมนุญ มีอำนาจวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ เรื่องแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มาสว. ก็เป็นคดีความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

 

การแก้ไข  ที่มาของ สว.เป็นการแก้ใขร่าง  รธน.  โดยอาศัยอำนาจ  ตามบทบัญัติของ  รธน. มาตรา 291(วรรค 1-7)

ซึ่งเป็นบทบัญญัติเป็นหมวดหมวดการแก้  รธน  โดยตรง  และในหมวดดังกล่าว  ได้กล่าวถึงขั้นตอนการแก้ไว้โดยละเอียด

ไม่มีตรงไหนเลยที่ี  ระบุไว้ว่า  ให้ใครหรือผู้ใด  สามารถยื่นร่างนี้  ไปยัง ศาล รธน  ได้    เพราะถือว่าอำนาจการสถาปนา

 รธน.หรือแก้ไข  รธน. เป็นอำนาจของฝ่ายนิติฯ  ซึ่งถือว่าเป็นตัวแทนของอธิปไตยของปวงชน   ตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3

 

3.เกินกำหนดเวลาที่ศาลจะวินิจฉัย เพราะนายกรัฐมนตรีได้นำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้มีกำหนดเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ศาลจะวินิจฉัยเลย

 

ถ้าเปรียบเทียบกับ  การตรากฎหมายลูก  ตรา  พรบ.  หรืออื่นๆ รธน.จะกำหนดขั้นตอนที่จะสามารถ ยื่นต่อ  ศาล  รธน

ไว้ชัด  เช่น  ม. 141(การตรา  พรบ ประกอบ  รธน)หรือ  ม. 150  151 (การตรา พรบ.)   รธน.จะกำหนดไว้ว่า

จะต้องทำก่อนที่จะ  ทูลเกล้าเพื่อลงพระปรมาภิไธย  

 

  4.เป็นคำวินิจฉัยที่คลุมเครือ คือวินิจฉัยว่าผู้ร้องกระทำผิดตามมาตรา 68 วรรค 1 แต่ไม่สั่งให้ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมกระทำการแก้ไขอย่างไร เป็นเหตุให้สถาบันดังกล่าว เช่น รัฐสภา, นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ทราบจะปฏิบัติต่อไปอย่างไร

ศาลวินิจฉัยอย่างเดียว ถูกแล้ว ถ้าจะให้สั่งคงทำไม่ได้ ได้แต่ให้คำแนะนำ ซึ่งศาลจะไม่แนะนำก็ได้ รึว่า รัฐสภา นายกรัฐมนตรี คิดเองไม่เป็น ต้องให้ศาลคิดให้

 

ในกรณีนี้  ศาลมีคำวินิจฉัยว่า  การแก้ใขที่มา  สว. เป็นการได้มาซี่งอำนาจที่มิได้บัญัติไว้ใน  รธน .(ซึ่งผมก็ไม่เข้าใจว่าเป็นไปได้อย่างไร)

แต่ในมาตรา  68.  หากศาล  วินิจฉัยแบบนั้น  ศาลจะต้องสั่งให้หยุกการกระทำดังกล่าวด้วย   เพราะนี่คือจุดหมายหลักในการใช้สิทธิ

ตาม  มาตรา 68  แต่ศาลกลับไม่พูดถึงกรณีนี้

 

5.ไม่มีผลบังคับตามมาตรา 216 วรรค 5

ไม่มีผลอย่างไรในเมื่อ คำวินิจฉัยของศาลผูกพันทุกองค์กร

 

จะผูกพันทุกองค์กร  ก็ต่อเมื่อ  เป็นคำพิพากษาโดยชอบ  ไม่ขัด  รธน.  ตามที่ได้อธิบายมาแล้ว

ตามข้างต้น  แต่ในกรณีนี้ผมถือว่า  ศาล  รธน  พิพากษาเกินเลยจากที่ รธน  กำหนด   เหมือนศาล

เขียนกฎหมายเอง  ซึ่งไม่น่าจะถูกต้อง

 

6.มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง เช่น มีผู้นำคำวินิจฉัยนี้ใช้อ้างเพื่อปลุกเร้าอารมณ์ของมวลชนว่ารัฐบาลหมดความชอบธรรมเพราะไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้

ตัวอย่างที่ยกมา ก็ฝ่ายรัฐบาลแถลงไม่ยอมรับอำนาจของศาลเอง จะมาโทษศาลที่ให้คำวินิจฉัยได้อย่างไร

 

ต้นเหตุน่าจะอยู่ที่เหตุผลที่อธิบายมาข้างต้น   เป็นเหตุให้มีการไม่ยอบรับอำนาจศาล  รธน

 

7.จากผลของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จะทำให้อำนาจตุลาการเข้าไปก้าวล่วงอำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าศาลมีอำนาจเข้าไปวินิจฉัยเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่ผ่านวาระ 3 ไปแล้ว บุคคลที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ว่าฉบับใดๆ ก็จะยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบทุกระยะไป ไม่ว่าในวาระ 1 วาระ 2 วาระ 3 ผลแห่งการนี้จึงดูเสมือนว่าศาลรัฐธรรมนูญคุมอำนาจในการร่างหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นอำนาจของรัฐสภาไว้อย่างเบ็ดเสร็จ

 

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เป็นหนึ่งในกระบวนการตรวจสอบ ในเมื่อในรัฐสภา มีการจำกัดสิทธิการอภิปรายของฝ่ายค้าน มีปัญหาเรื่องการเสียบบัตรแทนกัน มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงร่างรัฐธรรมนูญ อีกทั้งการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องที่มาของสว. เกี่ยวพันกับสว. ซึ่งมีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย เช่นการแก้ไขให้วุฒิสภาสามารถลงรับสมัครเลือกตั้งได้ไม่จำกัดจำนวณครั้ง ทำให้สว.ส่วนหนึ่งมีผลประโยชน์อันเกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูณฉบับดังกล่าว จึงต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน หากการแก้กฎหมายใดๆที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ประกันสังคม ศาลจะไม่นำมาพิจารณา

 

ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 

 

ขอบคุณสำหรับคำตอบ ครับ ส่วนความเห็นของผมในกรณีนี้
1. ความเห็นของ อ. สมลักษณ์ ก็เหมือนๆ กับนักวิชาการเสื้อแดงคนอื่นๆ เป็น Pattern เดียวกัน
 
2. เรื่องว่า “ศาลไม่มีอำนาจ” ก็ท่องตามความคิดตัวเอง ซึ่งศาลก็บอกแล้วว่า “ศาลมีอำนาจ” ตามเหตุผลและข้อกฏหมายที่ศาลอ้าง ซึ่งจริงๆแล้วก็ควรจะจบเพราะศาลอ้างอิงข้อกฏหมายได้
 
3. ทำไมต้องไปตีความแข่งกับศาล มันก้าวล่วงศาลและควรจะผิดกฏหมายดูหมิ่นศาลด้วย อย่างนี้จะทำให้บ้านเมืองสงบได้อย่างไร ในเมื่อความคิดเห็นแบบของคุณก็ไม่ได้รับการยอมรับกับคนอีกกลุ่มหนึ่ง
 
4. ประเด็นของเรื่องนี้คือ
   4.1 การแก้ไขเรื่อง ส.ว. สมัย ปชป. เป็นการแก้ไขใน “กระบวนการ” ไม่ได้กระทบกับ “เนื้อหา” ในรัฐธรรมนูญ
         จึงสามารถแก้ไขในกระบวนการรัฐสภาได้
   4.2 การแก้ไขเรื่อง ส.ว. สมัย พท. นี้เป็นการแก้ไขที่มาของ ส.ว. มีผลให้เจตนารมณ์และ “เนื้อหา” ในรัฐธรรมนูญเปลี่ยนแปลง
         เรื่องความอิสระและการคานอำนาจของวุฒิสภา ความหมายคือเปลี่ยนรัฐธรรมนูญ จึงไม่สามารถแก้ไขในกระบวนการ
         รัฐสภาได้ จะต้องแก้ไขโดยทำประชามติเท่านั้น เพราะรัฐธรรมนูญฉบับนี้มาจากการทำประชามติครับ
 
เห็นความแตกต่าง หรือไม่ครับ? ผมก็เห็นว่าศาลไม่ได้ตัดสินขัดกันอย่างไร
 
แต่ที่เบี่ยงเบนว่า "สมัย ปชป. แก้ได้ แต่สมัย พท. แก้ไม่ได้", "ศาลไม่ให้ สว. มาจากการเลือกตั้ง" มันถูกต้องหรือครับ?


#160 Jump Man

Jump Man

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 154 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 00:56

 

 

 

 

 

เรื่องที่มาสว.นี่อ่านคำพิพากษาขแงศาลหรือยัง ถ้ายังกลับไปอ่านก่อน

ผมโพสต์ไว้ในโพสต์ก่อนหน้านี้  ว่ายุคนี้เป็นยุคข้อมูลข่าวสาร

ฉะนั้นผมจะขอยกข้อเขียนจากผู้ที่อยู่ในวงการกฎหมาย(อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล)มาให้อ่านเปรียบเทียบแล้วกัน

เชื่ออย่างไรขึ้นอยู่กับดุลพินิจของคุณ

 

 

http://www.matichon....2&subcatid=0207

บางส่วนของข้อความ

ด้วยความเคารพต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ผู้เขียนได้พิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกอบเจตนารมณ์ของ ส.ส.ร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้แล้ว มีความเห็นโดยสุจริตใจว่า

1.ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา

 

ศาลรัฐธรรมนุญ มีอำนาจวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ เรื่องแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มาสว. ก็เป็นคดีความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

2.กระบวนการที่ยื่นตามมาตรา 68 ไม่ถูกต้องเพราะไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยอัยการสูงสุดก่อนตามมาตรา 68 วรรค 2

 

เรื่องคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ต้องผ่านอัยการสูงสุดรึเปล่า ลองดูตอนตัดสินคดีความการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับดู ว่าทำไมศาลถึงวินิจฉัยว่าคดีความดังกล่าวถึงไม่ต้องผ่านอัยการสูงสุดก็ได้


3.เกินกำหนดเวลาที่ศาลจะวินิจฉัย เพราะนายกรัฐมนตรีได้นำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

 

ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้มีกำหนดเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ศาลจะวินิจฉัยเลย


4.เป็นคำวินิจฉัยที่คลุมเครือ คือวินิจฉัยว่าผู้ร้องกระทำผิดตามมาตรา 68 วรรค 1 แต่ไม่สั่งให้ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมกระทำการแก้ไขอย่างไร เป็นเหตุให้สถาบันดังกล่าว เช่น รัฐสภา, นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ทราบจะปฏิบัติต่อไปอย่างไร

 

ศาลวินิจฉัยอย่างเดียว ถูกแล้ว ถ้าจะให้สั่งคงทำไม่ได้ ได้แต่ให้คำแนะนำ ซึ่งศาลจะไม่แนะนำก็ได้ รึว่า รัฐสภา นายกรัฐมนตรี คิดเองไม่เป็น ต้องให้ศาลคิดให้

5.ไม่มีผลบังคับตามมาตรา 216 วรรค 5

 

ไม่มีผลอย่างไรในเมื่อ คำวินิจฉัยของศาลผูกพันทุกองค์กร

6.มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง เช่น มีผู้นำคำวินิจฉัยนี้ใช้อ้างเพื่อปลุกเร้าอารมณ์ของมวลชนว่ารัฐบาลหมดความชอบธรรมเพราะไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้

 

ตัวอย่างที่ยกมา ก็ฝ่ายรัฐบาลแถลงไม่ยอมรับอำนาจของศาลเอง จะมาโทษศาลที่ให้คำวินิจฉัยได้อย่างไร

7.จากผลของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จะทำให้อำนาจตุลาการเข้าไปก้าวล่วงอำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าศาลมีอำนาจเข้าไปวินิจฉัยเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่ผ่านวาระ 3 ไปแล้ว บุคคลที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ว่าฉบับใดๆ ก็จะยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบทุกระยะไป ไม่ว่าในวาระ 1 วาระ 2 วาระ 3 ผลแห่งการนี้จึงดูเสมือนว่าศาลรัฐธรรมนูญคุมอำนาจในการร่างหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นอำนาจของรัฐสภาไว้อย่างเบ็ดเสร็จ

 

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เป็นหนึ่งในกระบวนการตรวจสอบ ในเมื่อในรัฐสภา มีการจำกัดสิทธิการอภิปรายของฝ่ายค้าน มีปัญหาเรื่องการเสียบบัตรแทนกัน มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงร่างรัฐธรรมนูญ อีกทั้งการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องที่มาของสว. เกี่ยวพันกับสว. ซึ่งมีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย เช่นการแก้ไขให้วุฒิสภาสามารถลงรับสมัครเลือกตั้งได้ไม่จำกัดจำนวณครั้ง ทำให้สว.ส่วนหนึ่งมีผลประโยชน์อันเกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูณฉบับดังกล่าว จึงต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน หากการแก้กฎหมายใดๆที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ประกันสังคม ศาลจะไม่นำมาพิจารณา

 

 

แนะนำ  ให้เข้าไปอ่านตัวเต็มของบทความตามลิงค์

จะตอบคำถาม  ที่คุณสงสัยโต้แย้งมา ทุกข้อ (เข้าใจว่าคุณยังไม่ได้อ่านตัวเต็ม)

 

 

1. ศาลตัดสินไปแล้ว ก็ควรจะจบนะครับ ตามวิถีทางประชาธิปไตย โดยอำนาจในรัฐธรรมนูญ

2. อ. สมลักษณ์  จัดกระบวนพล ก็เป็นนักวิชาการด้านกฏหมายท่านหนึ่งที่มีความเห็นอย่างนี้ แต่ผมก็เห็นนักวิชาการด้านกฏหมาย

    อีกหลายท่านที่มีความเห็นตามคำวินิจฉัยของศาล รวมทั้งสภาทนายความด้วย

3. คุณ Jump man ก็แย้งทุกประเด็นของ อ. สมลักษณ์ ได้อย่างมีเหตุผล

 

หริอ คุณ จาฤก ลองแย้งเป็นข้อ ๆ ให้ละเอียดหน่อยได้ไหม๊ครับ? ไม่ต้องเขียนสั้นๆ ด้วยการโยนไปให้อ่านตัวเต็ม

 

1.ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจวินิจฉัยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา

ศาลรัฐธรรมนุญ มีอำนาจวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ เรื่องแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องที่มาสว. ก็เป็นคดีความเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

 

การแก้ไข  ที่มาของ สว.เป็นการแก้ใขร่าง  รธน.  โดยอาศัยอำนาจ  ตามบทบัญัติของ  รธน. มาตรา 291(วรรค 1-7)

ซึ่งเป็นบทบัญญัติเป็นหมวดหมวดการแก้  รธน  โดยตรง  และในหมวดดังกล่าว  ได้กล่าวถึงขั้นตอนการแก้ไว้โดยละเอียด

ไม่มีตรงไหนเลยที่ี  ระบุไว้ว่า  ให้ใครหรือผู้ใด  สามารถยื่นร่างนี้  ไปยัง ศาล รธน  ได้    เพราะถือว่าอำนาจการสถาปนา

 รธน.หรือแก้ไข  รธน. เป็นอำนาจของฝ่ายนิติฯ  ซึ่งถือว่าเป็นตัวแทนของอธิปไตยของปวงชน   ตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3

 

อำนาจการสถาปนารัฐธรรมนูญ หรือการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เป็นอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติจริง แต่ถ้าหากจะใช้เสียงข้างมากลากไป ไม่ฟังเสียงข้างน้อยเลย มันก็เป็นเผด็จการดีๆ อีกทั้งหากต่อไปคดีความเกี่ยวกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ได้ ต่อไปจะแก้กฎหมายอะไรก็แก้ได้แค่ยกมือโหวต เวลาฝ่ายบริหารจะทำอะไรที่ผิดกฎหมาย ก็แค่ใช้อำนาจนิติบัญญัติแก้ไขกฎหมายให้ถูกก่อนแล้วค่อยทำ

 

3.เกินกำหนดเวลาที่ศาลจะวินิจฉัย เพราะนายกรัฐมนตรีได้นำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้มีกำหนดเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ศาลจะวินิจฉัยเลย

 

ถ้าเปรียบเทียบกับ  การตรากฎหมายลูก  ตรา  พรบ.  หรืออื่นๆ รธน.จะกำหนดขั้นตอนที่จะสามารถ ยื่นต่อ  ศาล  รธน

ไว้ชัด  เช่น  ม. 141(การตรา  พรบ ประกอบ  รธน)หรือ  ม. 150  151 (การตรา พรบ.)   รธน.จะกำหนดไว้ว่า

จะต้องทำก่อนที่จะ  ทูลเกล้าเพื่อลงพระปรมาภิไธย  

 

 

ไม่ใช่ว่ารัฐบาลรีบนำขึ้นทูลเกล้าเพราะจะเลี่ยงกฏหมายรึ

 

  4.เป็นคำวินิจฉัยที่คลุมเครือ คือวินิจฉัยว่าผู้ร้องกระทำผิดตามมาตรา 68 วรรค 1 แต่ไม่สั่งให้ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขเพิ่มเติมกระทำการแก้ไขอย่างไร เป็นเหตุให้สถาบันดังกล่าว เช่น รัฐสภา, นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ทราบจะปฏิบัติต่อไปอย่างไร

ศาลวินิจฉัยอย่างเดียว ถูกแล้ว ถ้าจะให้สั่งคงทำไม่ได้ ได้แต่ให้คำแนะนำ ซึ่งศาลจะไม่แนะนำก็ได้ รึว่า รัฐสภา นายกรัฐมนตรี คิดเองไม่เป็น ต้องให้ศาลคิดให้

 

ในกรณีนี้  ศาลมีคำวินิจฉัยว่า  การแก้ใขที่มา  สว. เป็นการได้มาซี่งอำนาจที่มิได้บัญัติไว้ใน  รธน .(ซึ่งผมก็ไม่เข้าใจว่าเป็นไปได้อย่างไร)

แต่ในมาตรา  68.  หากศาล  วินิจฉัยแบบนั้น  ศาลจะต้องสั่งให้หยุกการกระทำดังกล่าวด้วย   เพราะนี่คือจุดหมายหลักในการใช้สิทธิ

ตาม  มาตรา 68  แต่ศาลกลับไม่พูดถึงกรณีนี้

 

แค่ศาลตัดสินก็ถือได้ว่าเป็นการหยุดขบวนการดังกล่าวแล้ว จะให้ศาลแนะนำอะไรอีก

 

5.ไม่มีผลบังคับตามมาตรา 216 วรรค 5

ไม่มีผลอย่างไรในเมื่อ คำวินิจฉัยของศาลผูกพันทุกองค์กร

 

จะผูกพันทุกองค์กร  ก็ต่อเมื่อ  เป็นคำพิพากษาโดยชอบ  ไม่ขัด  รธน.  ตามที่ได้อธิบายมาแล้ว

ตามข้างต้น  แต่ในกรณีนี้ผมถือว่า  ศาล  รธน  พิพากษาเกินเลยจากที่ รธน  กำหนด   เหมือนศาล

เขียนกฎหมายเอง  ซึ่งไม่น่าจะถูกต้อง

 

ศาลไม่ได้ขัดกับรธน. และสร้างกฎหมายใดๆเลย ศาลตัดสินตามกฎหมายที่มี แค่คุณไม่เห็นด้วย ไม่มีสิทธิที่จะไม่ยอมรับอำนาจศาล ไม่งั้นคนต้องโษประหาร ก็มีสิทธิที่จะไม่ยอมรับอำนาจของศาล

 

6.มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง เช่น มีผู้นำคำวินิจฉัยนี้ใช้อ้างเพื่อปลุกเร้าอารมณ์ของมวลชนว่ารัฐบาลหมดความชอบธรรมเพราะไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้

ตัวอย่างที่ยกมา ก็ฝ่ายรัฐบาลแถลงไม่ยอมรับอำนาจของศาลเอง จะมาโทษศาลที่ให้คำวินิจฉัยได้อย่างไร

 

ต้นเหตุน่าจะอยู่ที่เหตุผลที่อธิบายมาข้างต้น   เป็นเหตุให้มีการไม่ยอบรับอำนาจศาล  รธน

 

ออกมาแถลงไม่ยอมรับมันก็เป็นประเด็นให้เล่นกัน มีอีกหลายวิธีที่ดีกว่าการออกมาแถลงอย่างนี้

 

7.จากผลของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จะทำให้อำนาจตุลาการเข้าไปก้าวล่วงอำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าศาลมีอำนาจเข้าไปวินิจฉัยเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่ผ่านวาระ 3 ไปแล้ว บุคคลที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ว่าฉบับใดๆ ก็จะยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบทุกระยะไป ไม่ว่าในวาระ 1 วาระ 2 วาระ 3 ผลแห่งการนี้จึงดูเสมือนว่าศาลรัฐธรรมนูญคุมอำนาจในการร่างหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นอำนาจของรัฐสภาไว้อย่างเบ็ดเสร็จ

 

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เป็นหนึ่งในกระบวนการตรวจสอบ ในเมื่อในรัฐสภา มีการจำกัดสิทธิการอภิปรายของฝ่ายค้าน มีปัญหาเรื่องการเสียบบัตรแทนกัน มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงร่างรัฐธรรมนูญ อีกทั้งการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องที่มาของสว. เกี่ยวพันกับสว. ซึ่งมีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย เช่นการแก้ไขให้วุฒิสภาสามารถลงรับสมัครเลือกตั้งได้ไม่จำกัดจำนวณครั้ง ทำให้สว.ส่วนหนึ่งมีผลประโยชน์อันเกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูณฉบับดังกล่าว จึงต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน หากการแก้กฎหมายใดๆที่ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น พรบ.ประกันสังคม ศาลจะไม่นำมาพิจารณา

 

ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 

มันไม่มีอะไรเกินขอบเขตอำนาจศาลเลย

 



#161 Bayonet

Bayonet

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,235 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 08:13


ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 

 

ก่อนที่ จาฤก จะถลำดักดานลึกไปกว่านี้  ช่วยขยายความ ยกข้อเท็จจริงว่า  ศาล รธน. ได้มีพฤติกรรมตีความเกินกว่าที่  รธน. กำหนด  ตั้งแต่เมื่อไหร่

 

ถ้ายกข้อเท็จจริงมาไม่ได้   ผมจะมองว่าที่โพสนั่น  เป็นการเห่าหอนโดยไม่รับผิดชอบนะ



#162 จาฤก

จาฤก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:27

 


ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 

 

ก่อนที่ จาฤก จะถลำดักดานลึกไปกว่านี้  ช่วยขยายความ ยกข้อเท็จจริงว่า  ศาล รธน. ได้มีพฤติกรรมตีความเกินกว่าที่  รธน. กำหนด  ตั้งแต่เมื่อไหร่

 

ถ้ายกข้อเท็จจริงมาไม่ได้   ผมจะมองว่าที่โพสนั่น  เป็นการเห่าหอนโดยไม่รับผิดชอบนะ

 

ถามผมว่า  ตั้งแต่เมื่อไหร่   อันนี้ผมก็จำไม่ได้เหมือนกัน

ส่วนที่ขอให้ขยายข้อเท็จจริง  ผมขอยกตัวอย่าง  เรื่อง ของมาตรา  68  แล้วกัน

กรณี  ที่ศาล  รธน.  บอกว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ต่อศาลได้  โดยไม่ต้องยื่นผ่านอัยการ

ทั้งที่บทบัญญัติ  ในมาตราดังกล่าวตอนหนึ่งบอกว่า   "....ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว

ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
สั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว ..."

 

การที่ศาล  รธน.บอกว่าให้ยื่นตรงต่อศาลได้และศาลมีอำนาจรับ ผมถือว่า  ตีความเกินกว่ากฎหมายกำหนดแล้ว

และก็หลายครั้งแล้วด้วย  ผมขอตั้งขอสังเกตุว่า  ถ้าหากว่าตีความว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ศาล ได้

แล้ว  รธน . จะบัญญัติว่า  ให้ยื่นให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่ออะไร  ไม่ระบุไม่ดีกว่าเหรอ

เพราะเมื่อศาล  รธน..  ตีความแบบเกินเลย รธน. ว่าสามารถยื่นตรงต่อศาลได้  ผมถามว่าจะมีใคร

ที่ไหน  ที่จะยื่นต่ออัยการ  ตามที่  รธน  กำหนด  ให้เสียเวลา    ก็เท่ากับบทบัญญัติของ  รธน.

ไม่มีความหมาย  เพราะเท่ากับ  ศาล  บัญญัติกฎหมายเสียเอง  ซึ่งไม่ใช่หน้าที่

 

อีกเรื่องหนึ่ง  เรื่อง  แก้ใข  รธน แบบรายมาตรา    ผมขอยกบทบัญัญติ  รธน  มาตรา 291

มาให้อ่านและขอตั้งคำถามว่า  มันมีตรงไหน  ที่บัญญัติให้  ศาล  รธน. เข้าไปเกี่ยวข้อง

อันนี้ผมก็ถือว่า  ศาล รธน. ตีความเกินที่  รธน. กำหนดเช่นกัน

 

หมวด ๑๕

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ดังต่อไปนี้
(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้
(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา
เป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ
คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง
มากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว
ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม


เลือกตั้ง =ทางออก .......นายกฯเถื่อน  คือทางตัน

 


#163 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:36

คำวินิจฉัยส่วนตน
 
http://www.constitut...mid=175&lang=th
 
มีประเด็นที่พรรคเพื่อไทย ผู้ถูกร้องที่ ๓ ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย
ในข้อกฎหมายว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจรับคำร้องของผู้ร้องทั้งห้าไว้พิจารณาวินิจฉัย ตามรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๖๘ วรรคสอง ได้หรือไม่

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖๘ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า
“บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศ
โดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้” และวรรคสอง บัญญัติว่า
“ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิ
เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิก
การกระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว”
       ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้ว เห็นว่า มาตรา ๖๘ วรรคสอง เป็นบทบัญญัติที่ให้สิทธิแก่
ผู้ทราบการกระทำอันเป็นการฝ่าฝืนข้อห้ามตามมาตรา ๖๘ วรรคหนึ่ง ที่จะใช้สิทธิให้มีการตรวจสอบ
การกระทำดังกล่าวได้ โดยให้มีสิทธิสองประการ คือ ประการที่หนึ่ง เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุด
ตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ และประการที่สอง สามารถยื่นคำร้องขอให้
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าวได้ เพราะอำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบและ
วินิจฉัยสั่งการในกรณีที่ผู้ร้องใช้สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญตามมาตรา ๖๘ วรรคสอง นี้ เป็นอำนาจหน้าที่
ของศาลรัฐธรรมนูญ อัยการสูงสุดเพียงแต่มีหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น และยื่นคำร้องขอ
ต่อศาลรัฐธรรมนูญได้เท่านั้น หาได้ตัดสิทธิของผู้ร้องที่จะยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญโดยตรงไม่ แม้ผู้ร้อง
ได้เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบแล้ว ก็ไม่ตัดสิทธิผู้ร้องที่จะใช้สิทธิในประการที่สองยื่นคำร้อง
ต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ เห็นว่าการแปลความดังกล่าวนี้จะสอดคล้องต่อเจตนารมณ์ในมาตรา ๖๘ ซึ่งบัญญัติไว้
ในรัฐธรรมนูญ และเป็นไปเพื่อการรับรองสิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๖๙ ที่ว่า “บุคคล
ย่อมมีสิทธิต่อต้านโดยสันติวิธีซึ่งการกระทำใด ๆ ที่เป็นไปเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศ
โดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้” เนื่องจากการที่ศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำสั่ง
ให้เลิกการกระทำที่อาจเป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจ
ในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญได้นั้น การกระทำ
ดังกล่าวจะต้องกำลังดำเนินอยู่และยังไม่บังเกิดผล ศาลรัฐธรรมนูญจึงจะมีคำวินิจฉัยสั่งให้เลิกการกระทำนั้นได้
หาไม่แล้วคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๖๘ วรรคสอง นี้ ก็จะพ้นวิสัย ไม่สามารถใช้บังคับได้
ทั้งสิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญตามมาตรา ๖๘ นี้ มีหลักการสำคัญมุ่งหมายให้ชนชาวไทยทุกคนมีส่วนร่วม
ในการปกป้องพิทักษ์รักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ
การเข้าสู่อำนาจในการปกครองประเทศให้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ มิให้ถูกล้มล้าง
โดยสภาพจึงเป็นมาตรการในการป้องกันไว้ล่วงหน้าเพื่อจะได้มีโอกาสตรวจสอบและวินิจฉัยสั่งการให้เลิก
การกระทำที่จะเป็นอันตรายต่อระบอบการปกครองและการล้มล้างรัฐธรรมนูญมิให้เกิดขึ้นได้ เพราะหาก
ปล่อยให้เกิดการกระทำที่เป็นภัยร้ายแรงต่อรัฐธรรมนูญและระบอบการปกครองตามรัฐธรรมนูญขึ้นแล้ว
ย่อมสุดวิสัยที่จะแก้ไขให้กลับคืนดีได้ เช่นนี้แล้ว ประชาชนผู้ทราบเหตุตามมาตรา ๖๘ วรรคสอง
ย่อมสามารถยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญได้โดยตรง ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนใช้สิทธิของตนต่อต้าน
การกระทำนั้นได้โดยสันติวิธี
เนื่องจากเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญมาตรานี้มิได้มุ่งหมายลงโทษทางอาญา หรือลงโทษทาง
รัฐธรรมนูญโดยการยุบพรรคการเมืองเท่านั้น แต่ยังหมายถึงการสั่งให้เลิกการกระทำที่มิชอบตามมาตรา ๖๘
วรรคหนึ่ง เสียก่อนที่การกระทำนั้นจะบังเกิดผล การมีอยู่ของมาตรา ๖๘ และมาตรา ๖๙
แห่งรัฐธรรมนูญนี้ จึงเป็นไปเพื่อรักษาหรือคุ้มครองตัวรัฐธรรมนูญเอง ตลอดจนหลักการที่รัฐธรรมนูญ
ได้รับรองหรือกำหนดกรอบไว้ให้เป็นเจตนารมณ์หลักทางการเมืองของชาติ คือการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แ ละป้องกันการกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจ
ในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ความมุ่งหมาย
ของรัฐธรรมนูญในประการนี้ต่างหากที่ถือเป็นเจตนารมณ์หลักของรัฐธรรมนูญที่จะต้องยึดถือไว้เป็นสำคัญ
ยิ่งกว่าเจตนารมณ์ของผู้ร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งแม้จะถือเป็นเครื่องมือช่วยค้นหาเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญได้
แต่ความเห็นของผู้ร่างรัฐธรรมนูญคนใดคนหนึ่งก็มิใช่เจตนารมณ์ทั้งหมดของรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ตาม
หากพิจารณาจากรายงานการประชุมของสภาร่างรัฐธรรมนูญ ทั้งการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ยังพิจารณาได้ว่า
สาระสำคัญของการอภิปรายนั้นมีเจตนาร่วมกันอยู่ที่การจะให้ประชาชนสามารถใช้สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ
ผ่านกลไกของศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรานี้เป็นสำคัญยิ่งกว่าเรื่องของตัวบุคคลผู้มีสิทธิเสนอคำร้อง
การตีความเกี่ยวกับผู้มีสิทธิเสนอคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ จึงต้องตีความไปในแนวทางของการยอมรับสิทธิ
มิใช่จำกัดสิทธิ เพื่อให้ชนชาวไทยและศาลรัฐธรรมนูญสามารถเข้ามาตรวจสอบการกระทำที่อาจมีปัญหา
ตามมาตรา ๖๘ วรรคหนึ่ง เพื่อพิทักษ์รัฐธรรมนูญได้สมดังเจตนารมณ์ของบทบัญญัติดังกล่าว
กรณีอัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงตามมาตรา ๖๘ วรรคสอง แล้ว แต่ยังไม่มีคำสั่ง
ประการใดจากอัยการสูงสุด หากปล่อยให้กระบวนการลงมติในวาระที่สามลุล่วงไปแล้ว แม้ต่อมา
อัยการสูงสุดจะยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยว่ากระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญดังกล่าวนั้น
เป็นไปโดยมิชอบด้วยมาตรา ๖๘ วรรคหนึ่ง ให้เลิกการกระทำนั้น ก็จะไม่สามารถบังคับตามคำวินิจฉัย
ในทางใดได้อีก รวมทั้งไม่อาจย้อนคืนแก้ไขผลที่เกิดขึ้นจากการกระทำดังกล่าวได้

ศาลรัฐธรรมนูญจึงมีอำนาจรับคำร้องไว้พิจารณาและวินิจฉัยได้ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖๘

วรรคสอง
 


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#164 Bayonet

Bayonet

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,235 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 08:53

 

 


ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 

 

ก่อนที่ จาฤก จะถลำดักดานลึกไปกว่านี้  ช่วยขยายความ ยกข้อเท็จจริงว่า  ศาล รธน. ได้มีพฤติกรรมตีความเกินกว่าที่  รธน. กำหนด  ตั้งแต่เมื่อไหร่

 

ถ้ายกข้อเท็จจริงมาไม่ได้   ผมจะมองว่าที่โพสนั่น  เป็นการเห่าหอนโดยไม่รับผิดชอบนะ

 

ถามผมว่า  ตั้งแต่เมื่อไหร่   อันนี้ผมก็จำไม่ได้เหมือนกัน

ส่วนที่ขอให้ขยายข้อเท็จจริง  ผมขอยกตัวอย่าง  เรื่อง ของมาตรา  68  แล้วกัน

กรณี  ที่ศาล  รธน.  บอกว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ต่อศาลได้  โดยไม่ต้องยื่นผ่านอัยการ

ทั้งที่บทบัญญัติ  ในมาตราดังกล่าวตอนหนึ่งบอกว่า   "....ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว

ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
สั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว ..."

 

การที่ศาล  รธน.บอกว่าให้ยื่นตรงต่อศาลได้และศาลมีอำนาจรับ ผมถือว่า  ตีความเกินกว่ากฎหมายกำหนดแล้ว

และก็หลายครั้งแล้วด้วย  ผมขอตั้งขอสังเกตุว่า  ถ้าหากว่าตีความว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ศาล ได้

แล้ว  รธน . จะบัญญัติว่า  ให้ยื่นให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่ออะไร  ไม่ระบุไม่ดีกว่าเหรอ

 

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิ (ดังต่อไปนี้)

 

1. เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง

 

2. และยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

 

สิทธิของ  "ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว"  มีทั้ง 2 ข้อ  ซึ่งตรงนี้ ทั้ง  สสร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญ  และ  ศาลรัฐธรรมนูญ ก็วินิจฉัยตรงกัน

 

ซึ่งประเด็นนี้ได้ถก ได้เถียงไปหลายเดือนจนได้ข้อสรุปชัดเจนไปตั้งนานแล้ว  เพราะฉะนั้น  จาฤก  อย่าดักดานอยู่กับที่ และอย่าเห่าหอนให้ร้ายศาลรัฐธรรมนูญตามข้อมูลสวะที่ฟังจากสื่อแดงจั ญไร  จนไม่คิดจะพัฒนาความรู้ พัฒนาสมอง  เลยชาตินี้    เพราะมิฉะนั้นอีกหน่อยจะคุยภาษาคนกับใครเค้าไม่รู้เรื่อง



#165 Jump Man

Jump Man

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 154 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 10:23

 

 

 


ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 

 

ก่อนที่ จาฤก จะถลำดักดานลึกไปกว่านี้  ช่วยขยายความ ยกข้อเท็จจริงว่า  ศาล รธน. ได้มีพฤติกรรมตีความเกินกว่าที่  รธน. กำหนด  ตั้งแต่เมื่อไหร่

 

ถ้ายกข้อเท็จจริงมาไม่ได้   ผมจะมองว่าที่โพสนั่น  เป็นการเห่าหอนโดยไม่รับผิดชอบนะ

 

ถามผมว่า  ตั้งแต่เมื่อไหร่   อันนี้ผมก็จำไม่ได้เหมือนกัน

ส่วนที่ขอให้ขยายข้อเท็จจริง  ผมขอยกตัวอย่าง  เรื่อง ของมาตรา  68  แล้วกัน

กรณี  ที่ศาล  รธน.  บอกว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ต่อศาลได้  โดยไม่ต้องยื่นผ่านอัยการ

ทั้งที่บทบัญญัติ  ในมาตราดังกล่าวตอนหนึ่งบอกว่า   "....ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว

ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
สั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว ..."

 

การที่ศาล  รธน.บอกว่าให้ยื่นตรงต่อศาลได้และศาลมีอำนาจรับ ผมถือว่า  ตีความเกินกว่ากฎหมายกำหนดแล้ว

และก็หลายครั้งแล้วด้วย  ผมขอตั้งขอสังเกตุว่า  ถ้าหากว่าตีความว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ศาล ได้

แล้ว  รธน . จะบัญญัติว่า  ให้ยื่นให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่ออะไร  ไม่ระบุไม่ดีกว่าเหรอ

 

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิ (ดังต่อไปนี้)

 

1. เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง

 

2. และยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

 

สิทธิของ  "ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว"  มีทั้ง 2 ข้อ  ซึ่งตรงนี้ ทั้ง  สสร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญ  และ  ศาลรัฐธรรมนูญ ก็วินิจฉัยตรงกัน

 

ซึ่งประเด็นนี้ได้ถก ได้เถียงไปหลายเดือนจนได้ข้อสรุปชัดเจนไปตั้งนานแล้ว  เพราะฉะนั้น  จาฤก  อย่าดักดานอยู่กับที่ และอย่าเห่าหอนให้ร้ายศาลรัฐธรรมนูญตามข้อมูลสวะที่ฟังจากสื่อแดงจั ญไร  จนไม่คิดจะพัฒนาความรู้ พัฒนาสมอง  เลยชาตินี้    เพราะมิฉะนั้นอีกหน่อยจะคุยภาษาคนกับใครเค้าไม่รู้เรื่อง

 

 

ก็มีคนไปตีความคำว่า "และ" เป็นคำว่า "แล้ว"  รึไม่ก็เถียงกลับว่าถ้าจะให้ความหมายชัดเจนไปเลยถึงไม่ใช้คำว่า "หรือ"



#166 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 10:27

 

 

 


ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 

 

ก่อนที่ จาฤก จะถลำดักดานลึกไปกว่านี้  ช่วยขยายความ ยกข้อเท็จจริงว่า  ศาล รธน. ได้มีพฤติกรรมตีความเกินกว่าที่  รธน. กำหนด  ตั้งแต่เมื่อไหร่

 

ถ้ายกข้อเท็จจริงมาไม่ได้   ผมจะมองว่าที่โพสนั่น  เป็นการเห่าหอนโดยไม่รับผิดชอบนะ

 

ถามผมว่า  ตั้งแต่เมื่อไหร่   อันนี้ผมก็จำไม่ได้เหมือนกัน

ส่วนที่ขอให้ขยายข้อเท็จจริง  ผมขอยกตัวอย่าง  เรื่อง ของมาตรา  68  แล้วกัน

กรณี  ที่ศาล  รธน.  บอกว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ต่อศาลได้  โดยไม่ต้องยื่นผ่านอัยการ

ทั้งที่บทบัญญัติ  ในมาตราดังกล่าวตอนหนึ่งบอกว่า   "....ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว

ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
สั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว ..."

 

การที่ศาล  รธน.บอกว่าให้ยื่นตรงต่อศาลได้และศาลมีอำนาจรับ ผมถือว่า  ตีความเกินกว่ากฎหมายกำหนดแล้ว

และก็หลายครั้งแล้วด้วย  ผมขอตั้งขอสังเกตุว่า  ถ้าหากว่าตีความว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ศาล ได้

แล้ว  รธน . จะบัญญัติว่า  ให้ยื่นให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่ออะไร  ไม่ระบุไม่ดีกว่าเหรอ

 

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิ (ดังต่อไปนี้)

 

1. เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง

 

2. และยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

 

สิทธิของ  "ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว"  มีทั้ง 2 ข้อ  ซึ่งตรงนี้ ทั้ง  สสร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญ  และ  ศาลรัฐธรรมนูญ ก็วินิจฉัยตรงกัน

 

ซึ่งประเด็นนี้ได้ถก ได้เถียงไปหลายเดือนจนได้ข้อสรุปชัดเจนไปตั้งนานแล้ว  เพราะฉะนั้น  จาฤก  อย่าดักดานอยู่กับที่ และอย่าเห่าหอนให้ร้ายศาลรัฐธรรมนูญตามข้อมูลสวะที่ฟังจากสื่อแดงจั ญไร  จนไม่คิดจะพัฒนาความรู้ พัฒนาสมอง  เลยชาตินี้    เพราะมิฉะนั้นอีกหน่อยจะคุยภาษาคนกับใครเค้าไม่รู้เรื่อง

 

 

อย่างไปอธิบายควายแดงเลยครับ

 

มันไม่เข้าใจอะไรหรอก ครับ

 

ขนาดไม่รับอำนาจศาล ยังทำมาแล้ว


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#167 Bayonet

Bayonet

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,235 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:15

 

 

 

 


ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 

 

ก่อนที่ จาฤก จะถลำดักดานลึกไปกว่านี้  ช่วยขยายความ ยกข้อเท็จจริงว่า  ศาล รธน. ได้มีพฤติกรรมตีความเกินกว่าที่  รธน. กำหนด  ตั้งแต่เมื่อไหร่

 

ถ้ายกข้อเท็จจริงมาไม่ได้   ผมจะมองว่าที่โพสนั่น  เป็นการเห่าหอนโดยไม่รับผิดชอบนะ

 

ถามผมว่า  ตั้งแต่เมื่อไหร่   อันนี้ผมก็จำไม่ได้เหมือนกัน

ส่วนที่ขอให้ขยายข้อเท็จจริง  ผมขอยกตัวอย่าง  เรื่อง ของมาตรา  68  แล้วกัน

กรณี  ที่ศาล  รธน.  บอกว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ต่อศาลได้  โดยไม่ต้องยื่นผ่านอัยการ

ทั้งที่บทบัญญัติ  ในมาตราดังกล่าวตอนหนึ่งบอกว่า   "....ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว

ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
สั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว ..."

 

การที่ศาล  รธน.บอกว่าให้ยื่นตรงต่อศาลได้และศาลมีอำนาจรับ ผมถือว่า  ตีความเกินกว่ากฎหมายกำหนดแล้ว

และก็หลายครั้งแล้วด้วย  ผมขอตั้งขอสังเกตุว่า  ถ้าหากว่าตีความว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ศาล ได้

แล้ว  รธน . จะบัญญัติว่า  ให้ยื่นให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่ออะไร  ไม่ระบุไม่ดีกว่าเหรอ

 

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิ (ดังต่อไปนี้)

 

1. เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง

 

2. และยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

 

สิทธิของ  "ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว"  มีทั้ง 2 ข้อ  ซึ่งตรงนี้ ทั้ง  สสร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญ  และ  ศาลรัฐธรรมนูญ ก็วินิจฉัยตรงกัน

 

ซึ่งประเด็นนี้ได้ถก ได้เถียงไปหลายเดือนจนได้ข้อสรุปชัดเจนไปตั้งนานแล้ว  เพราะฉะนั้น  จาฤก  อย่าดักดานอยู่กับที่ และอย่าเห่าหอนให้ร้ายศาลรัฐธรรมนูญตามข้อมูลสวะที่ฟังจากสื่อแดงจั ญไร  จนไม่คิดจะพัฒนาความรู้ พัฒนาสมอง  เลยชาตินี้    เพราะมิฉะนั้นอีกหน่อยจะคุยภาษาคนกับใครเค้าไม่รู้เรื่อง

 

 

ก็มีคนไปตีความคำว่า "และ" เป็นคำว่า "แล้ว"  รึไม่ก็เถียงกลับว่าถ้าจะให้ความหมายชัดเจนไปเลยถึงไม่ใช้คำว่า "หรือ"

 

 

ก็ศาลรัฐธรรมนูญ  ซึ่งเป็น  ผู้ชี้ขาดสูงสุดในเรื่องรัฐธรรมนูญ  ได้วินิจฉัยแล้วว่า  มีอำนาจรับเรื่อง

 

เพราะฉะนั้นคำว่า  "ก็มีคนไปตีความคำว่า"  ถ้าคนนั้นไม่มีตำแหน่ง ไม่มีอำนาจชี้ขาด  ช่วงก่อนที่ศาลจะมีคำวินิจฉัย  ย่อมมีสิทธิแสดงความเห็น คาดเดา และตั้งข้อสังเกตุต่าง ๆ นานาได้

 

แต่ตอนนี้ศาลวินิจฉัยไปแล้ว  มีผลผูกพันทุกองค์กรไปแล้ว  จะมามโน จิตหลอน เพ้อเจ้อไปทำไม ??? 

 

คดีที่สิ้นสุดไปแล้ว  การมโน ไม่ได้ช่วยให้คดีตีลังกากลับหลัง หรือพลิกซ้ายพลิกขวาได้อีกนะ

 

 

อย่าย่ำเท้าอยู่กับที่  อย่าดักดานอยู่ในกะลา  อย่ามโนหลอนตัวเองไปวัน ๆ  ทุกอย่างต้องเดินหน้าต่อไป -_-


Edited by Bayonet, 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 09:00.


#168 จาฤก

จาฤก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 12:38

 

 

 

 

 


ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 

 

ก่อนที่ จาฤก จะถลำดักดานลึกไปกว่านี้  ช่วยขยายความ ยกข้อเท็จจริงว่า  ศาล รธน. ได้มีพฤติกรรมตีความเกินกว่าที่  รธน. กำหนด  ตั้งแต่เมื่อไหร่

 

ถ้ายกข้อเท็จจริงมาไม่ได้   ผมจะมองว่าที่โพสนั่น  เป็นการเห่าหอนโดยไม่รับผิดชอบนะ

 

ถามผมว่า  ตั้งแต่เมื่อไหร่   อันนี้ผมก็จำไม่ได้เหมือนกัน

ส่วนที่ขอให้ขยายข้อเท็จจริง  ผมขอยกตัวอย่าง  เรื่อง ของมาตรา  68  แล้วกัน

กรณี  ที่ศาล  รธน.  บอกว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ต่อศาลได้  โดยไม่ต้องยื่นผ่านอัยการ

ทั้งที่บทบัญญัติ  ในมาตราดังกล่าวตอนหนึ่งบอกว่า   "....ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว

ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
สั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว ..."

 

การที่ศาล  รธน.บอกว่าให้ยื่นตรงต่อศาลได้และศาลมีอำนาจรับ ผมถือว่า  ตีความเกินกว่ากฎหมายกำหนดแล้ว

และก็หลายครั้งแล้วด้วย  ผมขอตั้งขอสังเกตุว่า  ถ้าหากว่าตีความว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ศาล ได้

แล้ว  รธน . จะบัญญัติว่า  ให้ยื่นให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่ออะไร  ไม่ระบุไม่ดีกว่าเหรอ

 

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิ (ดังต่อไปนี้)

 

1. เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง

 

2. และยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

 

สิทธิของ  "ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว"  มีทั้ง 2 ข้อ  ซึ่งตรงนี้ ทั้ง  สสร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญ  และ  ศาลรัฐธรรมนูญ ก็วินิจฉัยตรงกัน

 

ซึ่งประเด็นนี้ได้ถก ได้เถียงไปหลายเดือนจนได้ข้อสรุปชัดเจนไปตั้งนานแล้ว  เพราะฉะนั้น  จาฤก  อย่าดักดานอยู่กับที่ และอย่าเห่าหอนให้ร้ายศาลรัฐธรรมนูญตามข้อมูลสวะที่ฟังจากสื่อแดงจั ญไร  จนไม่คิดจะพัฒนาความรู้ พัฒนาสมอง  เลยชาตินี้    เพราะมิฉะนั้นอีกหน่อยจะคุยภาษาคนกับใครเค้าไม่รู้เรื่อง

 

 

ก็มีคนไปตีความคำว่า "และ" เป็นคำว่า "แล้ว"  รึไม่ก็เถียงกลับว่าถ้าจะให้ความหมายชัดเจนไปเลยถึงไม่ใช้คำว่า "หรือ"

 

 

ก็ศาลรัฐธรรมนูญ  ซึ่งเป็น  ผู้ชี้ขาดสูงสุดในเรื่องรัฐธรรมนูญ  ได้วินิจฉัยแล้วว่า  มีอำนาจรับเรื่อง

 

เพราะฉะนั้นคำว่า  "ก็มีคนไปตีความคำว่า"  ถ้าคนนั้นไม่มีตำแหน่ง ไม่มีอำนาจชี้ขาด  ช่วงก่อนที่ศาลจะมีคำวินิจฉัย  ย่อมมีสิทธิแสดงความเห็น คาดเดา และตั้งข้อสังเกตุต่าง ๆ นานาได้

 

แต่ตอนนี้ศาลวินิจฉัยไปแล้ว  มีผลผูกพันทุกองค์กรไปแล้ว  จะมามโน จิตหลอน เพ้อเจ้อไปทำไม ??? 

 

คดีที่สิ้นสุดไปแล้ว  การมโน ไม่ได้ช่วยให้คดีตีลังกากลับหลัง หรือพลิกซ้ายพลิกขวาได้อีกนะ

 

 

อย่าย่ำเท้าอยู่กับที่  อย่าดักดานอยู่ในกะลา  อย่ามโนหลอนตัวเองไปวัน ๆ  ทุกอย่างต้องเดินหน้าต่อไป -_-

 

โอ. เค.ครับนั่นคือแนวคิดของคุณ  ถ้าคุณคิดว่า  ศาล  รธน.คือพระเจ้าที่จะดลบรรดาล

ทุกสิ่งทุกอย่างได้  จนต้องบูชา   ผมก็ไม่ก้าวก่ายความคิดของคุณ

แต่สำหรับผม  ผมคิดไปอีกอย่างหนึ่ง  และผมก็มั่นใจว่าผมไม่ได้คิดแบบนั้นคนเดียวแน่

 

1555549_845409152151971_1655930438_n.jpg


เลือกตั้ง =ทางออก .......นายกฯเถื่อน  คือทางตัน

 


#169 JSN

JSN

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,004 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 12:40








ใช่ครับ เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี รธน รองรับด้วย และ ศาล รธน. ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่ รธน กำหนด


ก่อนที่ จาฤก จะถลำดักดานลึกไปกว่านี้ ช่วยขยายความ ยกข้อเท็จจริงว่า ศาล รธน. ได้มีพฤติกรรมตีความเกินกว่าที่ รธน. กำหนด ตั้งแต่เมื่อไหร่

ถ้ายกข้อเท็จจริงมาไม่ได้ ผมจะมองว่าที่โพสนั่น เป็นการเห่าหอนโดยไม่รับผิดชอบนะ
ถามผมว่า ตั้งแต่เมื่อไหร่ อันนี้ผมก็จำไม่ได้เหมือนกัน
ส่วนที่ขอให้ขยายข้อเท็จจริง ผมขอยกตัวอย่าง เรื่อง ของมาตรา 68 แล้วกัน
กรณี ที่ศาล รธน. บอกว่า สามารถ ยื่นตรงต่อ ต่อศาลได้ โดยไม่ต้องยื่นผ่านอัยการ
ทั้งที่บทบัญญัติ ในมาตราดังกล่าวตอนหนึ่งบอกว่า "....ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว
ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
สั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว ..."


การที่ศาล รธน.บอกว่าให้ยื่นตรงต่อศาลได้และศาลมีอำนาจรับ ผมถือว่า ตีความเกินกว่ากฎหมายกำหนดแล้ว
และก็หลายครั้งแล้วด้วย ผมขอตั้งขอสังเกตุว่า ถ้าหากว่าตีความว่า สามารถ ยื่นตรงต่อ ศาล ได้
แล้ว รธน . จะบัญญัติว่า ให้ยื่นให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่ออะไร ไม่ระบุไม่ดีกว่าเหรอ

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิ (ดังต่อไปนี้)

1. เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง

2. และยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

สิทธิของ "ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว" มีทั้ง 2 ข้อ ซึ่งตรงนี้ ทั้ง สสร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญ และ ศาลรัฐธรรมนูญ ก็วินิจฉัยตรงกัน

ซึ่งประเด็นนี้ได้ถก ได้เถียงไปหลายเดือนจนได้ข้อสรุปชัดเจนไปตั้งนานแล้ว เพราะฉะนั้น จาฤก อย่าดักดานอยู่กับที่ และอย่าเห่าหอนให้ร้ายศาลรัฐธรรมนูญตามข้อมูลสวะที่ฟังจากสื่อแดงจั ญไร จนไม่คิดจะพัฒนาความรู้ พัฒนาสมอง เลยชาตินี้ เพราะมิฉะนั้นอีกหน่อยจะคุยภาษาคนกับใครเค้าไม่รู้เรื่อง

ก็มีคนไปตีความคำว่า "และ" เป็นคำว่า "แล้ว" รึไม่ก็เถียงกลับว่าถ้าจะให้ความหมายชัดเจนไปเลยถึงไม่ใช้คำว่า "หรือ"

ก็ศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็น ผู้ชี้ขาดสูงสุดในเรื่องรัฐธรรมนูญ ได้วินิจฉัยแล้วว่า มีอำนาจรับเรื่อง

เพราะฉะนั้นคำว่า "ก็มีคนไปตีความคำว่า" ถ้าคนนั้นไม่มีตำแหน่ง ไม่มีอำนาจชี้ขาด ช่วงก่อนที่ศาลจะมีคำวินิจฉัย ย่อมมีสิทธิแสดงความเห็น คาดเดา และตั้งข้อสังเกตุต่าง ๆ นานาได้

แต่ตอนนี้ศาลวินิจฉัยไปแล้ว มีผลผูกพันทุกองค์กรไปแล้ว จะมามโน จิตหลอน เพ้อเจ้อไปทำไม ???

คดีที่สิ้นสุดไปแล้ว การมโน ไม่ได้ช่วยให้คดีตีลังกากลับหลัง หรือพลิกซ้ายพลิกขวาได้อีกนะ


อย่าย่ำเท้าอยู่กับที่ อย่าดักดานอยู่ในกะลา อย่ามโนหลอนตัวเองไปวัน ๆ ทุกอย่างต้องเดินหน้าต่อไป -_-
โอ. เค.ครับนั่นคือแนวคิดของคุณ ถ้าคุณคิดว่า ศาล รธน.คือพระเจ้าที่จะดลบรรดาล
ทุกสิ่งทุกอย่างได้ จนต้องบูชา ผมก็ไม่ก้าวก่ายความคิดของคุณ
แต่สำหรับผม ผมคิดไปอีกอย่างหนึ่ง และผมก็มั่นใจว่าผมไม่ได้คิดแบบนั้นคนเดียวแน่

1555549_845409152151971_1655930438_n.jpg
สันดานคนทำผิดแล้วไม่รับผิด ตั้งตนเป็นศาลเตี้ย

#170 จาฤก

จาฤก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 12:46

ยืมๆเขามา

10006421_594552727302685_2014973768_n.jp


เลือกตั้ง =ทางออก .......นายกฯเถื่อน  คือทางตัน

 


#171 JSN

JSN

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,004 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 12:48

ยืมๆเขามา
10006421_594552727302685_2014973768_n.jp

พูดเป็นแผ่นเสียงตกร่องเชียว จริงๆแล้วพวกคุณทำผิดกฎหมาย

#172 จาฤก

จาฤก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 12:50

10006435_673641709362649_1754106440_n.jp


เลือกตั้ง =ทางออก .......นายกฯเถื่อน  คือทางตัน

 


#173 JSN

JSN

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,004 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 12:52

ควายแดงหมดปัญญา 555555

#174 จาฤก

จาฤก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 12:58

ผมต้องหันมาพึ่งนักวิชาการ ซะหน่อย

เพราะ  อาจารย์ เหล่านี้  เขาไม่ใช่  ควายแดง :lol:

สุดท้ายอะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด

1920180_621326654614362_976824501_n.jpg


เลือกตั้ง =ทางออก .......นายกฯเถื่อน  คือทางตัน

 


#175 aNext

aNext

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 39 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:09

ผมต้องหันมาพึ่งนักวิชาการ ซะหน่อย

เพราะ  อาจารย์ เหล่านี้  เขาไม่ใช่  ควายแดง :lol:

สุดท้ายอะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด

1920180_621326654614362_976824501_n.jpg

 

ไอ้นี้ก็ควายจริง ก็มันผิดกฎหมายอ่ะ จะให้เค้าตัดสินว่าผ่านได้ยังไง

 

แล้วถ้าแก้กฎหมายให้ฆ่าคนไม่ผิด ศาลไม่มีอำนาจห้ามเลยใช่ไหม

 

ควาย ควาย ควาย (ควาย 3 times)



#176 gaiser

gaiser

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 837 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:19

ถ้าอยากให้การบิดเบือนกฏหมายของจาฤกมีความหมายมีน้ำหนักคุณก็ไปสอบเนติให้ผ่านแล้วเอาใบรับรองมาให้คนที่นี่ดูซะซิครับ

 

ประชาชนมาตัดสินกฏหมายแทนผู้พิพากษาซะเองเขาเรียกศาลเตี้ยโว้ย ผิดกฏหมายครับ



#177 JSN

JSN

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,004 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:28

ผมต้องหันมาพึ่งนักวิชาการ ซะหน่อย
เพราะ อาจารย์ เหล่านี้ เขาไม่ใช่ ควายแดง :lol:
สุดท้ายอะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด
1920180_621326654614362_976824501_n.jpg

ผมก็กล้าพูดว่า นักวิชาการพวกโดนซัดหงายกี่รอบแล้ว

#178 Googeee

Googeee

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 254 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 14:53

ยืมๆเขามา

10006421_594552727302685_2014973768_n.jp

เวลาศาลตัดสินชนะไม่ออกมาบ่นบ้างเลย พูดขอบคุณด้วยซ้ำ งงกับพรรคนี้จริงๆ



#179 หลวงประดิษฐ ดูมันทำ

หลวงประดิษฐ ดูมันทำ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 836 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 15:21

ถ้า จขกท. จะเล่นด้วย ตรรกะ แบบนี้ ผมก็เล่นได้ครับ 

ถ้าการคิดกันว่าอำนาจทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ คือ อำนาจที่มิชอบตามบริบททางสังคม

ผมก็จะบอกว่า งั้น.... อำนาจทางกฎหมายทุกฉบับ อาญา แพ่ง วิอาญา วิแพ่ง ก็ไม่ใช่อำนาจที่ชอบธรรมตามบริบทของสังคมด้วยเช่นกัน



เพราะอะไรรู้มั้ยครับ ?????? อำนาจที่ผมได้กล่าวมานั้น มันริดรอนสิทธิ์ในการแสดงออกของผมอ่ะครับ ในการฆ่าคน ในการชิงทรัพย์ ในการทำตามใจที่ผมต้องการ

อยากได้แบบนี้มั้ยครับ  ????? อยากได้บอกน่ะครับ การทำลายกฎหมายพวกนี้มันง่ายแค่คลิ๊กเดียว ก็ไม่มีผลบังคับใช้แล้ว แต่ถึงเวลาขออย่าหนีล่ะกัน


ฝากไปให้พวก หั ว ค ว ย กลุ่ม นิติราษฎร อยากได้บอก.... แต่ถึงเวลาอย่าหนีตายล่ะกัน

 


Edited by สิ่งเทียมแดง, 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 15:22.

คนที่อยากเลือกตั้ง ก็ไม่ต่างอะไรกับ คนที่ต้องการมี เพศสัมพันธ์ ????? ต่อให้เค้ารู้ว่าเมื่อเลือกไปก็เกิดปัญหา

ซึ่งก็ไม่ต่างอะไรกับกับการที่มีเพศสัมพันธ์ทั้ง ๆ ที่รู้ว่า กำลัง อึ๊-บ ปี๊ กับคนที่เป็นเอดส์
 


#180 Jump Man

Jump Man

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 154 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 16:47

คนที่ฆ่าคนตาย แล้วไปบอกว่าป้องกันตัว แต่ศาลตัดสินว่าเป็นการเจตนาฆ่า ตามพยานหลักฐานที่มี ยึ่งออกมาโวยวายว่าศาลไม่ยุติธรรม ยิ่งเป็นการชี้ให้เห็นว่าเป็นการเจตนาฆ่า ถ้าอยากจะหลุดพ้นคดี ควรไปหาหลักฐานและพยานมาแก้ต่างมากกว่า เรื่องแบบนี้มันก็คล้ายๆกันนั้นแหละ



#181 Bayonet

Bayonet

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,235 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 00:20

อ้างน้ำลายไอ้จาตุรน ม๊กจ๊ก  ที่ก่อนศาลตัดสินบอก  "ยอมรับคำตัดสินของศาล" 

 

แต่พอโดนยุบพรรค  ก็ดิ้นเป็นไส้เดือน กิ้งกือ  พลิกลิ้นกลับคำ  เป็นหน้าตัวเมีย

 

และยังน้ำลายเน่าไอ้พวกจั ญไรนิติราดซ้ำอีก

 

สมแล้วที่  จาฤก   ทำได้แค่โพสแถไปวัน ๆ   ขนาดจะอ้างทั้งที ยังหาคนที่มีเครดิตกว่าไอ้ 2 ตัวนี้ไม่ได้เลย  :lol:


Edited by Bayonet, 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 00:21.


#182 TFEX

TFEX

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,704 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 00:24

ผมอยากแยกกันอยู่กับคนเสื้อแดงครับ

 

ผมไม่โกหกครับ พูดจริงๆ



#183 คนไทยเสรี

คนไทยเสรี

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 88 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 08:42

ยืมๆเขามา

10006421_594552727302685_2014973768_n.jp

 

ไม่ควรใช้เครดิตของนักการเมืองผู้นี้นะครับ

1. เป็นนักการเมือง

2. อยู่พรรคเพื่อไทย ผู้เสียผลประโยชน์

3. ทำให้การศึกษาของไทยตกต่ำ

4. ไม่มีความรู้ที่แท้จริงในเรื่องนี้



#184 Bayonet

Bayonet

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,235 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 08:49

 

จาฤกกลัวอะไรกันแน่หือ

กลัวความอยุติธรรม

มันจะทำให้บ้านเมืองเละเทะ  

 

 

จาฤก พิมพ์ประโยคข้างบนออกมา ตอนนั้นนึกถึง "คำที่พ่อสอน"  บ้างมั๊ย  :lol:
 


Edited by Bayonet, 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 09:01.


#185 คนไทยเสรี

คนไทยเสรี

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 88 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 08:52

ผมต้องหันมาพึ่งนักวิชาการ ซะหน่อย

เพราะ  อาจารย์ เหล่านี้  เขาไม่ใช่  ควายแดง :lol:

สุดท้ายอะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด

1920180_621326654614362_976824501_n.jpg

 

นักวิชาการผู้นี้เครดิตคงไม่เพียงพอครับ

1. เป็นนักวิชาการขาประจำของฝั่งรัฐบาล

2. มีพฤติกรรมรับใช้



#186 Sand

Sand

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 447 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 09:16

ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ
จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 
ก่อนที่ จาฤก จะถลำดักดานลึกไปกว่านี้  ช่วยขยายความ ยกข้อเท็จจริงว่า  ศาล รธน. ได้มีพฤติกรรมตีความเกินกว่าที่  รธน. กำหนด  ตั้งแต่เมื่อไหร่
 
ถ้ายกข้อเท็จจริงมาไม่ได้   ผมจะมองว่าที่โพสนั่น  เป็นการเห่าหอนโดยไม่รับผิดชอบนะ
ถามผมว่า  ตั้งแต่เมื่อไหร่   อันนี้ผมก็จำไม่ได้เหมือนกัน
ส่วนที่ขอให้ขยายข้อเท็จจริง  ผมขอยกตัวอย่าง  เรื่อง ของมาตรา  68  แล้วกัน
กรณี  ที่ศาล  รธน.  บอกว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ต่อศาลได้  โดยไม่ต้องยื่นผ่านอัยการ
ทั้งที่บทบัญญัติ  ในมาตราดังกล่าวตอนหนึ่งบอกว่า   "....ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว[/size]
ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย[/size]สั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว ..."[/size]
 
การที่ศาล  รธน.บอกว่าให้ยื่นตรงต่อศาลได้และศาลมีอำนาจรับ ผมถือว่า  ตีความเกินกว่ากฎหมายกำหนดแล้ว
และก็หลายครั้งแล้วด้วย  ผมขอตั้งขอสังเกตุว่า  ถ้าหากว่าตีความว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ศาล ได้
แล้ว  รธน . จะบัญญัติว่า  ให้ยื่นให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่ออะไร  ไม่ระบุไม่ดีกว่าเหรอ
 
ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิ[/size] (ดังต่อไปนี้)
 
1. เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง[/size]
 
2. [/size]และยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย[/size]
 
สิทธิของ  "ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว"  มีทั้ง 2 ข้อ  ซึ่งตรงนี้ ทั้ง  สสร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญ  และ  ศาลรัฐธรรมนูญ ก็วินิจฉัยตรงกัน
 
ซึ่งประเด็นนี้ได้ถก ได้เถียงไปหลายเดือนจนได้ข้อสรุปชัดเจนไปตั้งนานแล้ว  เพราะฉะนั้น  จาฤก  อย่าดักดานอยู่กับที่ และอย่าเห่าหอนให้ร้ายศาลรัฐธรรมนูญตามข้อมูลสวะที่ฟังจากสื่อแดงจั ญไร  จนไม่คิดจะพัฒนาความรู้ พัฒนาสมอง  เลยชาตินี้    เพราะมิฉะนั้นอีกหน่อยจะคุยภาษาคนกับใครเค้าไม่รู้เรื่อง
ก็มีคนไปตีความคำว่า "และ" เป็นคำว่า "แล้ว"  รึไม่ก็เถียงกลับว่าถ้าจะให้ความหมายชัดเจนไปเลยถึงไม่ใช้คำว่า "หรือ"
 
ก็ศาลรัฐธรรมนูญ  ซึ่งเป็น  ผู้ชี้ขาดสูงสุดในเรื่องรัฐธรรมนูญ  ได้วินิจฉัยแล้วว่า  มีอำนาจรับเรื่อง
 
เพราะฉะนั้นคำว่า  "ก็มีคนไปตีความคำว่า"  ถ้าคนนั้นไม่มีตำแหน่ง ไม่มีอำนาจชี้ขาด  ช่วงก่อนที่ศาลจะมีคำวินิจฉัย  ย่อมมีสิทธิแสดงความเห็น คาดเดา และตั้งข้อสังเกตุต่าง ๆ นานาได้
 
แต่ตอนนี้ศาลวินิจฉัยไปแล้ว  มีผลผูกพันทุกองค์กรไปแล้ว  จะมามโน จิตหลอน เพ้อเจ้อไปทำไม ??? 
 
คดีที่สิ้นสุดไปแล้ว  การมโน ไม่ได้ช่วยให้คดีตีลังกากลับหลัง หรือพลิกซ้ายพลิกขวาได้อีกนะ
 
 
อย่าย่ำเท้าอยู่กับที่  อย่าดักดานอยู่ในกะลา  อย่ามโนหลอนตัวเองไปวัน ๆ  ทุกอย่างต้องเดินหน้าต่อไป -_-
โอ. เค.ครับนั่นคือแนวคิดของคุณ  ถ้าคุณคิดว่า  ศาล  รธน.คือพระเจ้าที่จะดลบรรดาล
ทุกสิ่งทุกอย่างได้  จนต้องบูชา   ผมก็ไม่ก้าวก่ายความคิดของคุณ
แต่สำหรับผม  ผมคิดไปอีกอย่างหนึ่ง  และผมก็มั่นใจว่าผมไม่ได้คิดแบบนั้นคนเดียวแน่
 
1555549_845409152151971_1655930438_n.jpg


งั้นถามคุณบ้างดีกว่า. กรณีการใช้สิทธิสั่งไม่ฟ้องของอัยการนี่มีกฎหมายมาตราไหนรองรับบ้าง
เพราะไม่ว่าจะสั่งไม่ฟ้องด้วยสาเหตุใดก็ตามมันก็คือการยกคำร้องซึ่งเป็นอำนาจของศาล
อำนาจของอัยการมีเพียงการตรวจสอบสำนวนที่จะยื่นต่อศาลเท่านั้น. โดยทั่วไป
กรณีอย่างนี้คู่คดีก็สามารถแต่งตั้งทนายฟ้องเองได้อยู่แล้วแต่อัยการมีสิทธิใช้อำนาจแทนศาลตั้งแต่เมื่อไหร่
และกรณีของศาลรัฐธรรมนูญในเรื่องนี้ก็ถูกต้องนี่ครับ
เพราะเป็นการตีความอย่างกว้างเพื่อให้กฎหมายสามารถบังคับใช้ได้โดยใช้มาตรฐาน
การส่งคำร้องขึ้นสู่ศาลด้วยมาตรฐานเดียวกัน และที่อ้างกันว่าไม่อยู่ในอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญนั้น
ก็ต้องถามว่ากรณีนี้มีตรงไหนที่ไม่ใช่การตีความหรือการวินิจฉัยความของรัฐธรรมนูญอันเป็นอำนาจหน้าที่โดยตรง
และยิ่งต้องถามว่าผู้ที่ออกมาวิพากย์การวินิจฉัยของศาลนั้นมีเครดิตอะไรที่เหนือกว่าองค์คณะของผู้พิพากษาบ้าง
ถ้าจะเอาเอาคำวิพากย์เหล่านั้นมามีผลเหนือคำพิพากษาพวกคุณจะใช้กฎหมายข้อไหนมารองรับ


จริงๆต้องตั้งคำถามไปที่อัยการมากกว่าว่าวันนี้พวกคุณกำลังทำหน้าที่ทนายของแผ่นดินตามข้อบัญญัติแห่งกฎหมาย
หรือกำลังทำผิดกฎหมายเสียเองโดยการแอบอ้างอำนาจศาลในการสั่งคดีเสียเองเพื่อตัดตอนขบวนการยุติธรรม

#187 คนไทยเสรี

คนไทยเสรี

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 88 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 09:58

 

 

 

 

 

 


ใช่ครับ  เป็นหนึ่งในขบวนการตรวจสอบ    แต่ไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบได้ตามอำเภอใจนะครับ

จะต้องมี  รธน  รองรับด้วย  และ  ศาล  รธน.  ก็ไม่มีอำนาจที่จะตีความให้เกินเลยไปกว่าที่  รธน  กำหนด

 

 

ก่อนที่ จาฤก จะถลำดักดานลึกไปกว่านี้  ช่วยขยายความ ยกข้อเท็จจริงว่า  ศาล รธน. ได้มีพฤติกรรมตีความเกินกว่าที่  รธน. กำหนด  ตั้งแต่เมื่อไหร่

 

ถ้ายกข้อเท็จจริงมาไม่ได้   ผมจะมองว่าที่โพสนั่น  เป็นการเห่าหอนโดยไม่รับผิดชอบนะ

 

ถามผมว่า  ตั้งแต่เมื่อไหร่   อันนี้ผมก็จำไม่ได้เหมือนกัน

ส่วนที่ขอให้ขยายข้อเท็จจริง  ผมขอยกตัวอย่าง  เรื่อง ของมาตรา  68  แล้วกัน

กรณี  ที่ศาล  รธน.  บอกว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ต่อศาลได้  โดยไม่ต้องยื่นผ่านอัยการ

ทั้งที่บทบัญญัติ  ในมาตราดังกล่าวตอนหนึ่งบอกว่า   "....ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว

ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
สั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว ..."

 

การที่ศาล  รธน.บอกว่าให้ยื่นตรงต่อศาลได้และศาลมีอำนาจรับ ผมถือว่า  ตีความเกินกว่ากฎหมายกำหนดแล้ว

และก็หลายครั้งแล้วด้วย  ผมขอตั้งขอสังเกตุว่า  ถ้าหากว่าตีความว่า  สามารถ  ยื่นตรงต่อ  ศาล ได้

แล้ว  รธน . จะบัญญัติว่า  ให้ยื่นให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่ออะไร  ไม่ระบุไม่ดีกว่าเหรอ

 

ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิ (ดังต่อไปนี้)

 

1. เสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริง

 

2. และยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

 

สิทธิของ  "ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว"  มีทั้ง 2 ข้อ  ซึ่งตรงนี้ ทั้ง  สสร. ผู้ร่างรัฐธรรมนูญ  และ  ศาลรัฐธรรมนูญ ก็วินิจฉัยตรงกัน

 

ซึ่งประเด็นนี้ได้ถก ได้เถียงไปหลายเดือนจนได้ข้อสรุปชัดเจนไปตั้งนานแล้ว  เพราะฉะนั้น  จาฤก  อย่าดักดานอยู่กับที่ และอย่าเห่าหอนให้ร้ายศาลรัฐธรรมนูญตามข้อมูลสวะที่ฟังจากสื่อแดงจั ญไร  จนไม่คิดจะพัฒนาความรู้ พัฒนาสมอง  เลยชาตินี้    เพราะมิฉะนั้นอีกหน่อยจะคุยภาษาคนกับใครเค้าไม่รู้เรื่อง

 

 

ก็มีคนไปตีความคำว่า "และ" เป็นคำว่า "แล้ว"  รึไม่ก็เถียงกลับว่าถ้าจะให้ความหมายชัดเจนไปเลยถึงไม่ใช้คำว่า "หรือ"

 

 

ก็ศาลรัฐธรรมนูญ  ซึ่งเป็น  ผู้ชี้ขาดสูงสุดในเรื่องรัฐธรรมนูญ  ได้วินิจฉัยแล้วว่า  มีอำนาจรับเรื่อง

 

เพราะฉะนั้นคำว่า  "ก็มีคนไปตีความคำว่า"  ถ้าคนนั้นไม่มีตำแหน่ง ไม่มีอำนาจชี้ขาด  ช่วงก่อนที่ศาลจะมีคำวินิจฉัย  ย่อมมีสิทธิแสดงความเห็น คาดเดา และตั้งข้อสังเกตุต่าง ๆ นานาได้

 

แต่ตอนนี้ศาลวินิจฉัยไปแล้ว  มีผลผูกพันทุกองค์กรไปแล้ว  จะมามโน จิตหลอน เพ้อเจ้อไปทำไม ??? 

 

คดีที่สิ้นสุดไปแล้ว  การมโน ไม่ได้ช่วยให้คดีตีลังกากลับหลัง หรือพลิกซ้ายพลิกขวาได้อีกนะ

 

 

อย่าย่ำเท้าอยู่กับที่  อย่าดักดานอยู่ในกะลา  อย่ามโนหลอนตัวเองไปวัน ๆ  ทุกอย่างต้องเดินหน้าต่อไป -_-

 

โอ. เค.ครับนั่นคือแนวคิดของคุณ  ถ้าคุณคิดว่า  ศาล  รธน.คือพระเจ้าที่จะดลบรรดาล

ทุกสิ่งทุกอย่างได้  จนต้องบูชา   ผมก็ไม่ก้าวก่ายความคิดของคุณ

แต่สำหรับผม  ผมคิดไปอีกอย่างหนึ่ง  และผมก็มั่นใจว่าผมไม่ได้คิดแบบนั้นคนเดียวแน่

 

1555549_845409152151971_1655930438_n.jpg

 

 

1. อย่าคิดแบบนั้นเลยครับ เพราะก็มีคนอีกหลายคนที่เค้าคิดไม่เหมือนคุณเช่นกัน

 

2. ถ้าคุณและพวกไม่ยอมรับอำนาจศาล บ้านเมืองบรรยลัยแน่เหมือนกัน

 

3. ไม่มีประเทศไหนหรอกครับที่เค้าไม่ยอมรับอำนาจศาลกัน

 

4. และจริงๆ แล้วคงไม่มีประเทศไหนที่มีการยอมให้มีการวิจารณ์ศาลได้ขนาดนี้ ถึงแม้ว่าศาลรัฐธรรมนูญเป็นองค์อิสระ

    แต่ก็เป็นอำนาจที่ได้มาจากบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ

 

5. เรื่องอัยการ, อัยการไม่ได้มีอำนาจตุลาการนะครับ อัยการเป็นเครื่องมือของอำนาจบริหารแล้วจะให้กระบวนการยุติธรรม

    หยุดอยู่ที่ความเห็นของอัยการได้อย่างไร ไม่ต้องตีความคำอะไรให้สับสนหรอกครับ

 

 

ถ้าคุณลองเคารพคำตัดสินของศาลดู บ้านเมืองเราจะสงบขึ้นมาทันทีเลย



#188 ปุถุชน

ปุถุชน

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 27,531 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:40

ไม่อาย ไม่สนใจอะไรกันแล้วใช่ไหมครับ
Started by จาฤก, 7 March 14 14:29
 
 
ยิ่งลักษณ์ แกนนำพรรคเพื่อไทย ไพร่เสื้อแดงไม่ยอมรับการวินิจฉัขของศาลรัฐธรรมนูญ.....
ยิ่งลักษณ์จะไม่ปฏิบัติตามคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุดกรณีคืนตำแหน่ง เลขาฯ สมช.ให้คุณถวิล เปลี่ยนศรี....
ยิ่งลักษณ์ไม่ยอมรับคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญกรณี พรบ.เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท....
ยิ่งลักษณ์ไม่ยอมรับ.....ฯลฯ

เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...


#189 ปุถุชน

ปุถุชน

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 27,531 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:42

 

ผมต้องหันมาพึ่งนักวิชาการ ซะหน่อย

เพราะ  อาจารย์ เหล่านี้  เขาไม่ใช่  ควายแดง :lol:

สุดท้ายอะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด

1920180_621326654614362_976824501_n.jpg

 

นักวิชาการผู้นี้เครดิตคงไม่เพียงพอครับ

1. เป็นนักวิชาการขาประจำของฝั่งรัฐบาล

2. มีพฤติกรรมรับใช้

 

 

 

เพราะ  อาจารย์ เหล่านี้  เขาไม่ใช่  'ควายแดง'......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า


เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...





ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน