สำหรับฟลัดเวย์ฝั่งตะวันตกจะเป็นเรื่องของการปรับปรุงขุดเส้นทางน้ำในคลองมหาสวัสดิ์ที่ตื้นเขินหลายช่วง เพื่อให้กระแสน้ำไหลได้เร็วขึ้น
และเมื่อไหลไปถึงท่าจีนเพื่อจะเอาลงทะเล ส่วนที่เป็นแก้มลิงมากมายซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของแม่น้ำสายนี้ ควรนำโมเดลคลองลัดโพธิ์ที่บางกระเจ้า
มาประยุกต์
จะทำอย่างไีร รัฐบาลต้องระบุไว้ในการออก พรก. นั้น
แต่ได้คิดบ้างหรือเปล่าไม่ทราบได้ เพราะปูไม่ได้บอกให้เขียนอะไรไว้เลยครับคุณรุ้ง
- ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด
- → ดูประวัติผู้ใช้: ความเห็น: อารยะ
อารยะ
เป็นสมาชิกตั้งแต่ 23 มกราคม 2555ออฟไลน์ เข้าใช้งานครั้งล่าสุด: 20 เมษายน 2557 15:09
Community Stats
- กลุ่มผู้ใช้ Members
- จำนวนกระทู้และความเห็น 125
- Profile Views 2,675
- Member Title น้องเก่า
- อายุ ไม่ระบุ
- วันเกิด ไม่ระบุ
-
Gender
ไม่ระบุ
68
Excellent
เครื่องมือสมาชิก
Friends
อารยะ hasn't added any friends yet.
ผู้เยี่ยมชมล่าสุด
Posts I've Made
In Topic: ปูกับน้ำท่วมปี 2554
31 มกราคม พ.ศ. 2555 - 14:04
In Topic: ปูกับน้ำท่วมปี 2554
31 มกราคม พ.ศ. 2555 - 14:00
ผลที่เกิดขึ้นหลังจากมีสนามบินแล้วคือ พื้นที่บริเวณนี้กลายเป็นที่ดอน (แน่นอนที่จะต้องมีการปรับพื้นที่ให้เป็นเช่นนั้น)
ยืนยันได้จากเครื่องปั๊มน้ำขนาดใหญ่ล่างสุดที่เรียงกันเป็นตับ (สีชมพู) ไม่มีน้ำมาให้สูบออก เพราะพื้นที่บริเวณนั้นไม่ลุ่มตามธรรมชาติเสียแล้ว
สรุปว่าถ้าจะเป็นฟลัดเวย์จะต้องลงทุนกันเฉพาะสนามบินให้รอดจากน้ำท่วม โดยต้องสร้างพนังกั้นน้ำอีกชุดล้อม
ส่วนพื้นที่ที่เหลือทำอย่างไรก็ได้ให้เป็นที่ลุ่ม โดยปรับให้คล้ายกับสภาพในปีก่อน 2528
ส่วนเครื่องสูบน้ำจำนวนเท่าที่มีน่าจะเอาอยู่ครับ
ยืนยันได้จากเครื่องปั๊มน้ำขนาดใหญ่ล่างสุดที่เรียงกันเป็นตับ (สีชมพู) ไม่มีน้ำมาให้สูบออก เพราะพื้นที่บริเวณนั้นไม่ลุ่มตามธรรมชาติเสียแล้ว
สรุปว่าถ้าจะเป็นฟลัดเวย์จะต้องลงทุนกันเฉพาะสนามบินให้รอดจากน้ำท่วม โดยต้องสร้างพนังกั้นน้ำอีกชุดล้อม
ส่วนพื้นที่ที่เหลือทำอย่างไรก็ได้ให้เป็นที่ลุ่ม โดยปรับให้คล้ายกับสภาพในปีก่อน 2528
ส่วนเครื่องสูบน้ำจำนวนเท่าที่มีน่าจะเอาอยู่ครับ
In Topic: ปูกับน้ำท่วมปี 2554
31 มกราคม พ.ศ. 2555 - 07:27
โปรดดูเส้นสีน้ำตาลจากบนลงล่างบริเวณทางซ้ายในวงกลมล่างสุด เพื่อดูถนน 4 สาย: หทัยราษฏร์ ร่มเกล้า กิ่งแก้ว บางพลีที่เ่อ่ยถึงข้างบน
นี่คือพนังยักษ์ที่เตรียมกันน้ำเข้า กทม. ด้านตะวันออกไว้แล้วตั้งแต่ปี 2539
ส่วนพื้นที่ซึ่งควรกันไว้มิให้มีสิ่งก่อสร้าง เพื่อจะได้เวนคืนสะดวกเมื่อต้องดำเนินการ ก็ดันมีสนามบินใหญ่ที่สุดในสุวรรณภูมิสร้างขึ้นดื้อๆ ถือว่าทำลายผังเมืองกรุงเทพฯให้เสียหาย
คำถามวันนี้คือ ฟลัดเวย์กรุวเทพฯอยู่หนใด??
นี่คือพนังยักษ์ที่เตรียมกันน้ำเข้า กทม. ด้านตะวันออกไว้แล้วตั้งแต่ปี 2539
ส่วนพื้นที่ซึ่งควรกันไว้มิให้มีสิ่งก่อสร้าง เพื่อจะได้เวนคืนสะดวกเมื่อต้องดำเนินการ ก็ดันมีสนามบินใหญ่ที่สุดในสุวรรณภูมิสร้างขึ้นดื้อๆ ถือว่าทำลายผังเมืองกรุงเทพฯให้เสียหาย
คำถามวันนี้คือ ฟลัดเวย์กรุวเทพฯอยู่หนใด??
In Topic: ปูกับน้ำท่วมปี 2554
31 มกราคม พ.ศ. 2555 - 07:15
เมื่อวาน (30 มกราคม 2555) ก่อนหน้าปู่ยงโพสต์ไม่กี่ชั่วโมง พรรค ปชป. โดยคุณกรณ์ อดีตรัฐมนตรีคลัง
และ สส. กลุ่มหนึ่งได้ยื่นหนังสือถึงประธานสภาผู้แทนฯ
เพื่อนำรายชื่อ สส. 128 นายยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้ตีความ
พระราชกำหนด 2 ใน 4 ฉบับ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
หลังจากมีมติเห็นชอบโดย ครม. เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2555)
เนื่องจากเห็นว่าเป็นการออก พรก. 2 ฉบับดังกล่าว น่าจะขัดต่อรัฐธรรมนูญ
คือฉบับ “พรก. ซุกหนี้” ที่ให้รัฐโอนหนี้ของรัฐบาล 1.41 ล้านล้านบาทให้แบงก์ชาติ
กับฉบับ “พรก. น้ำท่วม” ที่ให้รัฐบาลกู้เงิน 350,000,000,000 บาท
(ปูอ่านว่าจะ "ห้าหมื่นสามแสนล้านบาท" ในวันที่แจ้งให้สภาทราบว่าฝ่ายบริหารจะออกกฎหมายเร่งด่วนเป็น พรก.)
เพื่อฟื้นฟูบ้านเมืองหลังน้ำท่วมใหญ่ที่ผ่านมา
พระราชกำหนดฉบับที่ 1 คงบังคับใช้หรือดำเนินการให้หนี้ 1.14 ล้านล้านบาท
ไหลไปเข้าบัญชีแบงก์ชาติได้โดยพลัน
และไม่ว่าศาลรัฐธรรมนูญจะตีความเป็นอย่างไร ผลกระทบจากการซุกหนี้ดังกล่าว
ได้เกิดขึ้นแล้วหลังจากรัฐบาลได้ขยายเพดานเงินกู้เพิ่มสมใจนึก
นั่นคือผู้ส่งออกอาจพบกับภาวะแข็งตัวของค่าเงินบาท
เพราะแบงก์ชาติตัดสินใจยุติหรือลดการลงทุนแทรกแซงค่าเงินบาท
เนื่องจากไม่ต้องการเสี่ยงกับภาวะขาดทุน
หลังจากมีภาระเพิ่มจากการที่ต้องแบกรับหนี้สาธารณะ 1.14 ล้านล้านบาท
ที่รัฐบาลยิ่งลักษณ์โยนมาให้
ในพระราชกำหนด "น้ำท่วม" (ฉบับที่ 2) มีการระบุจำนวนเงินที่รัฐจะมีอำนาจกู้ 350,000,000,000 บาท
(ปูอ่านว่า "ห้าหมื่นสามแสนล้านบาท"!)
แต่หาได้แสดงประมาณการว่าจะสร้าง “ฟลัดเวย์” แต่อย่างไรไม่
จึงเสี่ยงที่จะเกิดการใช้จ่ายอย่างไม่โปร่งใส
แต่จำนวนเงินกู้กว่าสามแสนล้านบาท น่าจะต้องเป็นงบสร้างฟลัดเวย์บนพื้นที่เป้าหมาย
ซึ่งทุกรัฐบาลทราบตำแหน่งดีมาตั้งแต่ 2528 หลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงย้ำในปี 2528 และ 2538 ว่าพื้นที่ฟลัดเวย์ควรจะอยู่ในตำแหน่งที่เชื่อมต่อจากระบบชลประทานเหนือคลองรังสิต
รัฐบาลในปี 2539 จึงสร้างแนวคันป็น ถนนหทัยราษฏร์ ถนนร่มเกล้า ถนนกิ่งแก้ว และถนนบางพลี
4 สายเรียงกัน ตั้งแต่สุดเขตเหนือคือ "สายไหม" ลงมายันสมุทรปราการ
เพื่อเป็นแนวกั้นฟลัดเวย์ให้น้ำที่ไหลจากด้านบนมีทางไหลลงสู่อ่าวไทย ดีกว่าใช้ได้ “บิ๊กแบก”
การที่จำนวน “สามแสนห้าหมื่นล้านบาท” ที่รัฐบาลจะกู้ไม่ระบุรายการสร้างฟลัดเวย์
ก็เพื่อเปิดทางให้หลีกเลี่ยงการใช้พื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากคงเกรงว่า
การเวนคืนจะไปกระทบผลประโยชน์ในเครือข่ายธุรกิจของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
หรือสนับสนุนพรรคเพื่อไทยที่ลงทุนไปในพื้นที่ดังกล่าว
ถ้าเช่นนั้น “พรก. น้ำท่วม” จึงน่าจะเป็นการออก "blank check" จำนวนสามแสนห้าหมื่นล้านบาท
เพื่อพลพรรคเพื่อไทยจะได้นำไปขึ้นเงินได้ตามอัธยาศัย
และ สส. กลุ่มหนึ่งได้ยื่นหนังสือถึงประธานสภาผู้แทนฯ
เพื่อนำรายชื่อ สส. 128 นายยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้ตีความ
พระราชกำหนด 2 ใน 4 ฉบับ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
หลังจากมีมติเห็นชอบโดย ครม. เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2555)
เนื่องจากเห็นว่าเป็นการออก พรก. 2 ฉบับดังกล่าว น่าจะขัดต่อรัฐธรรมนูญ
คือฉบับ “พรก. ซุกหนี้” ที่ให้รัฐโอนหนี้ของรัฐบาล 1.41 ล้านล้านบาทให้แบงก์ชาติ
กับฉบับ “พรก. น้ำท่วม” ที่ให้รัฐบาลกู้เงิน 350,000,000,000 บาท
(ปูอ่านว่าจะ "ห้าหมื่นสามแสนล้านบาท" ในวันที่แจ้งให้สภาทราบว่าฝ่ายบริหารจะออกกฎหมายเร่งด่วนเป็น พรก.)
เพื่อฟื้นฟูบ้านเมืองหลังน้ำท่วมใหญ่ที่ผ่านมา
พระราชกำหนดฉบับที่ 1 คงบังคับใช้หรือดำเนินการให้หนี้ 1.14 ล้านล้านบาท
ไหลไปเข้าบัญชีแบงก์ชาติได้โดยพลัน
และไม่ว่าศาลรัฐธรรมนูญจะตีความเป็นอย่างไร ผลกระทบจากการซุกหนี้ดังกล่าว
ได้เกิดขึ้นแล้วหลังจากรัฐบาลได้ขยายเพดานเงินกู้เพิ่มสมใจนึก
นั่นคือผู้ส่งออกอาจพบกับภาวะแข็งตัวของค่าเงินบาท
เพราะแบงก์ชาติตัดสินใจยุติหรือลดการลงทุนแทรกแซงค่าเงินบาท
เนื่องจากไม่ต้องการเสี่ยงกับภาวะขาดทุน
หลังจากมีภาระเพิ่มจากการที่ต้องแบกรับหนี้สาธารณะ 1.14 ล้านล้านบาท
ที่รัฐบาลยิ่งลักษณ์โยนมาให้
ในพระราชกำหนด "น้ำท่วม" (ฉบับที่ 2) มีการระบุจำนวนเงินที่รัฐจะมีอำนาจกู้ 350,000,000,000 บาท
(ปูอ่านว่า "ห้าหมื่นสามแสนล้านบาท"!)
แต่หาได้แสดงประมาณการว่าจะสร้าง “ฟลัดเวย์” แต่อย่างไรไม่
จึงเสี่ยงที่จะเกิดการใช้จ่ายอย่างไม่โปร่งใส
แต่จำนวนเงินกู้กว่าสามแสนล้านบาท น่าจะต้องเป็นงบสร้างฟลัดเวย์บนพื้นที่เป้าหมาย
ซึ่งทุกรัฐบาลทราบตำแหน่งดีมาตั้งแต่ 2528 หลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงย้ำในปี 2528 และ 2538 ว่าพื้นที่ฟลัดเวย์ควรจะอยู่ในตำแหน่งที่เชื่อมต่อจากระบบชลประทานเหนือคลองรังสิต
รัฐบาลในปี 2539 จึงสร้างแนวคันป็น ถนนหทัยราษฏร์ ถนนร่มเกล้า ถนนกิ่งแก้ว และถนนบางพลี
4 สายเรียงกัน ตั้งแต่สุดเขตเหนือคือ "สายไหม" ลงมายันสมุทรปราการ
เพื่อเป็นแนวกั้นฟลัดเวย์ให้น้ำที่ไหลจากด้านบนมีทางไหลลงสู่อ่าวไทย ดีกว่าใช้ได้ “บิ๊กแบก”
การที่จำนวน “สามแสนห้าหมื่นล้านบาท” ที่รัฐบาลจะกู้ไม่ระบุรายการสร้างฟลัดเวย์
ก็เพื่อเปิดทางให้หลีกเลี่ยงการใช้พื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากคงเกรงว่า
การเวนคืนจะไปกระทบผลประโยชน์ในเครือข่ายธุรกิจของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
หรือสนับสนุนพรรคเพื่อไทยที่ลงทุนไปในพื้นที่ดังกล่าว
ถ้าเช่นนั้น “พรก. น้ำท่วม” จึงน่าจะเป็นการออก "blank check" จำนวนสามแสนห้าหมื่นล้านบาท
เพื่อพลพรรคเพื่อไทยจะได้นำไปขึ้นเงินได้ตามอัธยาศัย
In Topic: ปูกับน้ำท่วมปี 2554
30 มกราคม พ.ศ. 2555 - 01:48
.
- ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด
- → ดูประวัติผู้ใช้: ความเห็น: อารยะ
- Privacy Policy
- กฎการใช้งานเว็บบอร์ด ·