Jump to content


แฟนคลับจ่า

เป็นสมาชิกตั้งแต่ 26 พฤศจิกายน 2555
ออฟไลน์ เข้าใช้งานครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2556 11:43
-----

#704112 'นาจิบ'วุ่นแน่-อันวาร์นัดม็อบต้าน

โดย แฟนคลับจ่า on 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 - 11:46

อย่าไปเถียงมากเลยครับกระทู้นี้  เพราะขนาดอันวาร์ยังต้องทำตัวให้สอดคล้องกับศูนย์กลางจักรวาลเลย     :lol:  :lol:  :lol:




#697642 แดงสุดทน เคลื่อนพลบุกไทยรัฐ

โดย แฟนคลับจ่า on 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 - 11:05

อ้าว...ร้อนตัวนี่นา  แสดงว่ายอมรับแล้วสิว่าขายชาติ  :lol:  :lol:  :lol:




#695582 รัฐบาลปูกระชากราคาสินค้าเกษตรได้ยอดเยี่ยมอ่ะ

โดย แฟนคลับจ่า on 30 เมษายน พ.ศ. 2556 - 09:20

ขอบ่นเรื่องเนื้อวัวด้วย

 

เดี๋ยวนี้สั่งก๋วยเตี๋ยวเนิ้อแถวบ้าน  ราคาไม่เพิ่มจริง  แต่มีเนื้อสดอยู่นิดเดียว  เซ็ง




#695551 ทำไม สวิส ถึงไม่เป็นสมาชิก สหประชาชาติ ครับ?

โดย แฟนคลับจ่า on 30 เมษายน พ.ศ. 2556 - 09:02

สวิสเป็นสมาชิกตั้งแต่ปี 2002 ครับ

 

วิกิพีเดียไทย  ไม่น่าจะอัพเดตเท่าไหร่ครับ

 

http://www.un.org/en/members/#s




#694034 อยากรู้ว่า เจเจสาธร ทำโรงเรียนกวดวิชาชื่ออะไร

โดย แฟนคลับจ่า on 29 เมษายน พ.ศ. 2556 - 10:02

ไม่รู้จักซักที่เลยครับ  ....  :mellow:

 

สมัยผมเรียน เคมีอาจารย์อุ๊  เดอะเบรนด์  กับอาจารย์ปิงครับ




#676238 อะไรคือผลของค่าเงินบาทที่กำลังแข็งตัว

โดย แฟนคลับจ่า on 12 เมษายน พ.ศ. 2556 - 23:10

 

 

 

แล้วก็ที่คุณบอกว่าผมไปจับผิดว่าคุณพิมพ์ผิดจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นอัตราดอกเบี้ยนะ ผมเอามาให้ดูอีกทีนะว่าคุณพูดว่าไร

 

อ่อ  พี่ลีครับ ความหมายของประโยคที่พี่พิมพ์หนานั่นคือ  มันมีเงินกู้ที่จะถึงครบกำหนดชำระ  แล้วเค้ากะว่าจะไม่ใช้เงินตัวเองชำระ  เค้าเลยจะกู้เงินใหม่มาเพื่อที่จะเอามาชำระครับ (ต่อหนี้ไปเรื่อยๆ)  ไม่ใช่หมายความว่า "เค้ากู้เงินใหม่เพื่อลดดอกเบี้ยก้อนเดิมแต่อย่างใด"

 

คุณจะพิมพ์ผิดโดยต้องการหมายถึงอัตราแลกเปลี่ยนได้ยังไงไม่ทราบ???

ลองอธิบายให้เพื่อนๆ ฟังสิครับ

 

คุยงานเรื่องดอกเบี้ยอยู่ครับพี่   ใจจริงจะพิมพ์อัตราแลกเปลี่ยน   แต่มือมันไปพิมพ์ดอกเบี้ย  โอเคป่ะ 

 

 

ก็ผมให้คุณอํธิบายประโยคของคุณว่าคุณหมายถึงอัตราแลกเปลี่ยนได้ยังไง

คุณลองเขียนประโยคของคุณใหม่ซิ ว่าคุณพิมพ์ผิดตรงไหนที่คุณมาว่าผมจับผิดคุณ

แก้ในประโยคนี้เลย เอ้า

 

อ่อ  พี่ลีครับ ความหมายของประโยคที่พี่พิมพ์หนานั่นคือ  มันมีเงินกู้ที่จะถึงครบกำหนดชำระ  แล้วเค้ากะว่าจะไม่ใช้เงินตัวเองชำระ  เค้าเลยจะกู้เงินใหม่มาเพื่อที่จะเอามาชำระครับ (ต่อหนี้ไปเรื่อยๆ)  ไม่ใช่หมายความว่า "เค้ากู้เงินใหม่เพื่อลดต้นทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนแต่อย่างใด"

 

แก้ให้ละ  .................. 

 

ส่วนเรื่องหนี้  ก็บอกไปแล้วนะว่า  หนี้ส่วนมากเป็นบาท

 

ไม่ได้บอกว่าบาททั้งหมด  ไปอ่านดีๆ พี่ลี  :lol:  :lol:  :lol:

 

 

 

แฟนคลับจ่า คุณหลอกเด็กๆ อย่างพอลคุงได้ แต่หลอกผมไม่ได้หรอก
ประโยคเดิมคุณ (เพื่อลดดอกเบี้ยก้อนเดิม) มันไม่ได้รองรับการพูดถึงการลดต้นทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเลย อย่ามามั่วทำไก๋
 
ผมลำดับเรื่องให้ฟังใหม่
ผมเดาว่า คุณอ่านเจอคำว่ารีไฟแนนซ์ในข่าวเลยทำให้คุณนึกถึงภาระดอกเบี้ย
ซึ่งเราไม่ได้คุยกันเรื่องนี้เลย
ผมเอาข่าวที่ ปตท เขาจะเพิ่มสัดส่วนการกู้เป็นเงินดอลล์เพิ่ม ซึ่งเขาไม่ได้ต้องการรีบกู้มาเพื่อใช้ในประเทศแน่ เพราะมันเหลือแค่ 29 บาท
เขาต้องการกู้เอามาใช้หนี้ที่ต้นทุน 35 บาท
แต่คุณอ่านเจอคำว่ารีไฟแนนซ์ในข่าว ซึ่งคุณนึกถึงการรีไฟแนนซ์บ้านโดยกู้อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่ามาโปะ คุณเลยเขียนประโยคดังกล่าวออกมา
พอผมบอกว่าผมไม่ได้คุยเรื่องอัตราดอกเบี้ย คุณก็บอกว่าผมจับผิดคุณ
ซึ่งผมแน่ใจว่าคุณไม่ได้หมายถึงอัตราแลกเปลี่ยนแน่ในการโพสครั้งแรก เพราะรูปประโยคคุณมันไม่รองรับ
 
จากนั้นคุณก็กระโดดไปหยิบเอาหนี้สกุลบาทมาแสดง แล้วบอกว่า ปตท ต้องคืนเป็นบาท
ผมก็เอาข่าวมาให้ดูอีกทีว่าปตทเขาจะเพิ่มสัดส่วนหนี้ดอลล์จากเดิมมีอยู่ 37%
และเรากำลังคุยเรื่องการใช้หนี้สกุลดอล์อยู่ ซึ่งไม่ได้เกี่ยวกับสกุลบาทเลย
แล้วคุณก็บอกว่าปตทมีหนี้สกุลบาทมากกว่าสกุลดอลล์
มันเกี่ยวกันตรงไหนหรือ???
 
คุณอย่ามาทำมั่วกับผม 
ผมให้คนอื่นเขาอ่านแล้วตัดสินเอาเองแล้วกันว่าคุณมั่วหรือผมมั่ว
ผมไปกินข้าวหล่ะ

 

แค่มาช้าหาว่ามั่ว  สมเป็นจักรวาลจริงๆ ;)

 

ขอกลับมาตอบแบบเต็มๆ  ที่ช้าไปเพราะไปนั่งแกะงบ PTT มาให้พี่ลี  เดี๋ยวจะเถียงกันไม่จบ เพราะว่าพอดีผมชอบเถียงแบบมีหลักฐาน ไม่ใช่เอาความคิดตัวเองมาบอกแล้วให้คนอื่นหมุนตามตัวเอง :lol:   (เหนื่อยจิ๊บเป๋ง  ทำงานเสร็จ  ต้องมาแกะงบให้พี่ลีอีก)

คืออย่างนี้ครับ  ผมเข้าใจว่าตัวเงินที่จะ Refinance 150,000 ล้านน่ะ  มันคือหุ้นกู้ตามตารางข้างล่างนู้น  ซึ่งมันประกอบไปด้วยทั้งหุ้นกู้บาท  และหุ้นกู้ต่างประเทศตามที่คุยๆ กันแล้วนี่แหละ


แต่อย่างที่บอกคือ  ถ้าเกิด PTT เค้าจะออก Bond (บาท) ตัวใหม่มาชำระ Bond (บาท) ตัวเก่า  มันก็จะไม่มีความจำเป็นต้องแลกเปลี่ยนเงินตรา  เพราะเค้าจะออกสกุลเงินบาทมาชำระเงินบาท

 

เช่น  Bond ตัวนึง
PTTC13NA มูลค่า 11,700 ล้านบาท ครบกำหนดชำระ พฤศจิกายน 2013  เมื่อถึงเวลาที่เค้าจะ Refinance ตัวนี้ PTT ก็จะออก Bond บาทอีกก้อนนึงมาชำระ ไม่มีการแลกเปลี่ยนเงินตราใดๆ เกิดขึ้น (ตรงนี้เข้าใจกันนะ)

แต่ในกรณีของ Bond (เงินต่างประเทศ) อันนี้ต้องเข้าใจว่า PTT มันใหญ่มาก มี International Credit Rating เลยออก Bond เป็นสกุลเงินต่างประเทศได้
(อธิบายเพิ่มตรงนี้นิดนึง  คือการขาย Bond ให้กับนักลงทุน มันต้องมีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ทีนี้ของไทยคือ TRIS ซึ่งจะขาย Bond ได้เฉพาะเงินบาท  แต่ถ้ามีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือโดย International Rating Agency เช่น S&P, Moody's, FITCH มันก็จะขายในตลาดต่างชาติได้)

 

ทีนี้พอ Bond (เงินต่างประเทศ) ครบกำหนดชำระ PTT เค้าจะออก Bond (เงินต่างประเทศ) ตัวใหม่มาชำระ Bond (เงินต่างประเทศ) ตัวเก่าเช่นกัน  มันก็จะไม่มีความจำเป็นที่จะต้องแลกเปลี่ยนเงินเช่นกัน  เพราะเค้าจะออกสกุลเงินต่างประเทศ มาชำระเงินต่างประเทศ

 

เช่น  Bond ตัวนึง
PTTFN148A มูลค่า US$ 400,000,000 ครบกำหนดชำระ สิงหาคม 2557 เมื่อถึงเวลาที่เค้าจะ Refinance ตัวนี้ PTT ก็จะออก Bond "USD" อีกก้อนนึงมาชำระเงิน "USD" ไม่มีการแลกเปลี่ยนเงินตราใดๆ เกิดขึ้นเหมือนกัน

 

ตกลงเข้าใจแล้วนะครับพี่ ประเด็นของผมคือ ใช้เงินต่อเงิน  ไม่มีการแลกเปลี่ยนอะไรเลย ;) ;) ;)

 

ซึ่งก็ต้องบอกตามตรงว่าพี่ลียกตัวอย่างมาผิดบริษัท  ในกรณีที่พี่ลียกตัวอย่างมาเป็นบริษัทเล็กๆ ที่ไม่สามารถกู้เงินสกุลต่างประเทศได้ มันจะเป็นแบบที่พี่ลีพูดมา  แต่พอพี่ลียก PTT มา  มันเลยไม่ถูกต้องไง

 

สงกรานต์ผมไปเที่ยวนะ  ไม่เข้ามาตอบ  สงสัยอะไรเจอกันสัปดาห์หน้านู้นเลย :lol: :lol:

 

ที่มาของข้อมูล 

ลองไปอ่านงบการเงินของ PTT ดูนะ  อ่านไม่เข้าใจถามได้นะพี่
 




#675858 อะไรคือผลของค่าเงินบาทที่กำลังแข็งตัว

โดย แฟนคลับจ่า on 12 เมษายน พ.ศ. 2556 - 17:04

 

 

 

 

 

 

 

  เมื่อเช้าได้ยินแวบว่าค่าเงินตอนนี้ขึ้นสูงมาก และอาจสูงถึง 26-27 บาท ตือ USD และได้มีการุยอย่างจริงจังเรื่องปัญหาเงินไหลเข้าที่ทำให้ค่าเงินพุ่งขึ้นแบบนี้

 

  ผมไม่แน่ใจว่าจะเกิดปัญหาอะไรไหม? ที่เห็นชัดๆตอนนี้คือส่งออกจะยากเพราะค่าเงินที่สูงทำให้เราต้องขายแพงขึ้น ขายยากขึ้น  ยิ่งเราพึ่งพิงส่งออกเสีย 70 %

  ผมไม่แน่ใจว่านี้กำลังจะผนวชรวมกับค่าแรงที่ขึ้นทำให้ SME ที่แย่อยู่แล้แย่ขึ้นไหม?

 

  ผมไม่แน่ใจว่าจะทำให้มูลค่าข้าวที่จำนำราคาจะสูงเกินตลาดโลกไหม

 

  ฯลฯ

 

  ระดมความคิดกันที  จะเกิดอะไรขึ้นกับประเทศไทยที่ค่าเงินกำลังพุ่ง

 

 

คุณมองแต่ปัญหา/ข้อเสีย 

บางธุรกิจก็เสียประโยชน์แต่บางธุรกิจเขาก็ได้ประโยชน์
เช่นธุรกิจที่เขามีหนี้ต่างประเทศอยู่ เขาก็ถือโอกาสกู้ US ก้อนใหม่มาโปะก้อนเก่าได้ ต้นทุนเขาก็ต่ำลง

 

หนี้ต่างประเทศของภาคเอกชน หากคิดเป็นหน่วย USD อยู่ที่ราว ๖.๗ หมื่นล้าน หากแต่ประเทศที่เป็นเจ้าหนี้รายใหญ่ของภาคเอกชนเราเป็นสิงคโปร์ มีสัดส่วนหนี้ที่เกือบ ๆ ๓ หมื่นล้าน

 

ที่น่าเป็นห่วงตรงนี้คือ สัดส่วนหนี้ต่อ GDP ของภาคเอกชน ไต่ไปอยู่ระดับพอ ๆ กับสมัยตอนปี ๔๐ แล้ว ลองคิดแค่ว่า เงินบาทแข็ง ก็พากันไปกู้เป็น USD มาโปะ หากเงินบาทอ่อนตัวเมื่อไร แค่สัก ๒ บาท ก็เดี้ยงกันเป็นแถบ ๆ

 

แล้วธุรกิจพวกนี้ เค้าไม่ได้เหมือนบัตรเครดิตที่ไปทำหลายๆ ใบเพื่อมาหมุนได้ง่าย ๆ นะ การจะไปขอกู้จากสถาบันการเงินต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก เค้าต้องมีการประเมินความเสี่ยง ความสามารถในการใช้หนี้อย่างรอบคอบ ถ้าเป็นการขอเป็นพอร์ตกู้เพื่อนำไปลงทุน และมีเครดิตดี ก็แล้วไป แต่กรณีที่มีหนี้อยู่แล้วมาขอกู้เพื่อจะไปโปะหนี้เก่า อันนี้เค้าแทบจะไม่ให้ เพราะมันเป็นเหมือนกันกับตัวบ่งชี้ว่า จริง ๆ แล้วไม่ได้มีความสามารถในการใช้หนี้ เพียงแต่ใช้วิธีกู้มาโปะ สถาบันการเงินเค้าก็กลัวจะเป็นเจ้าสุดท้ายที่ให้กู้แล้วลูกหนี้หาเงินมาคืนไม่ได้เหมือนกัน

 

คิดตื้น ๆ

 

 

ทำไมจะไม่ได้ครับ เขาทำกันเยอะแยะ

บริษัทใหญ่ๆ ที่เขามีเครดิตเรทติ้งดีๆ ค่าเงินในประเทศแข็งขึ้นเขาก็กู้เข้ามาโปะก้อนเก่าที่ต้นทุนสูงกันทั้งนั้น

 

 

เพิ่งโพสเสร็จ ออกไปอ่านข่าววันนี้ก็เจอเลย

http://www.bangkokbi...้เงินดอลล์.html

 

 

 

นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. (PTT) เปิดเผยว่า ที่ประชุมผู้ถือหุ้นวานนี้ (11 เม.ย.) มีมติเห็นชอบแผนการจัดหาเงินกู้ของบริษัทในช่วง 5 ปีข้างหน้า (2556-2560) วงเงินรวม 2.5 แสนล้านบาท ส่วนหนึ่งเพื่อใช้สำหรับการรีไฟแนนซ์เงินกู้เดิมที่จะครบกำหนดชำระรวม 1.5 แสนล้านบาท และอีก 1 แสนล้านบาทใช้ในการลงทุน ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจก๊าซธรรมชาติ และการร่วมทุน พร้อมทั้งจะหาโอกาสด้านธุรกิจใหม่ ไม่ว่าจะเป็น น้ำมัน ไฟฟ้า และ ถ่านหิน

--

 

 

ปตท คิดตื้นๆ อิ๋บอ๋าย

 

เอ่อ  พี่ลีครับ ความหมายของประโยคที่พี่พิมพ์หนานั่นคือ  มันมีเงินกู้ที่จะถึงครบกำหนดชำระ  แล้วเค้ากะว่าจะไม่ใช้เงินตัวเองชำระ  เค้าเลยจะกู้เงินใหม่มาเพื่อที่จะเอามาชำระครับ (ต่อหนี้ไปเรื่อยๆ)  ไม่ใช่หมายความว่า "เค้ากู้เงินใหม่เพื่อลดดอกเบี้ยก้อนเดิมแต่อย่างใด"

 

อธิบายคร่าวๆ 

 

PTT มีหนี้ที่จะถึงกำหนดชำระในปี 2556 สมมติ 1000 ล้านบาท  ทีนี้เค้าเลยจะกู้เงินกู้ใหม่ 1000 ล้านบาทในปี 2556 เช่นกัน  มาใช้เพื่อจ่ายหนี้ก้อนเดิม  คือใช้หนี้ต่อหนี้ไปเรื่อยๆ ไม่ใช่แปลว่าเค้ากู้เงินมาเพื่อลดดอกเบี้ยแต่อย่างใด

 

 

เอ๊ะ ผมว่าผมไม่เคยพูดเรื่องลดดอกเบี้ยเลยนะ

ผมบอกว่า ปตท กู้มาตอนสมมุติ 35 บาท 1 เหรียญ

ตอนนี้เขาต้องเอาไปคืน  1 เหรัยญ เขาก็กู้มาที่ 29 บาทเพื่อเอาไปคิน

เขามีหนี้ 1 เหรียญเท่าเดิม แต่ต้นทุนมันลดลงจาก 35 เหลือ 29

มันเกี่ยวกับดอกเบี้ยตรงไหนครับ??

 

 

พอๆ กับคนกลางเล้ยยยย  พิมพ์ผิดไม่ได้เลย

ขอแก้ อัตราดอกเบี้ยเป็นอัตราแลกเปลี่ยน ใน Comment ที่แล้ว 

 

แต่สรุปคือมันไม่เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนครับพี่  เพราะเค้ากู้มาเพราะ "เงินกู้ก้อนปัจจุบัน  มันถึงกำหนดชำระ  แต่ไม่อยากเอาเงินตัวเองมาชำระ เลยกู้ก้อนใหม่มาชำระ"  แค่นั้นเอง

 

ป.ล. 1  ถ้าถามว่ารู้ได้อย่างไร ตอบว่าเพิ่งปิดดีลแบบนี้ไปจ้ะพี่ลี  วง IB เค้ามองกันเป็นเรื่องปกติ  ใช้หนี้ต่อหนี้เนี่ย

ป.ล. 2  PTT ออก Debenture ส่วนมากเป็น"บาท"นะพี่  อัตราแลกเปลี่ยนยิ่งไม่เกี่ยวเลย

 

 

แล้วเวลาเขาคืนตังค์เขาคืนเป็นเงินบาทหรือครับ

เขาก็ต้องเอา 29 บาทไปคืนเป็น 1 เหรียญ จากเดิมที่เขากู้มา 1 เหรียญมาใช้ในประเทศเป็นเงิน 35 บาท

มันจะไม่เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนยังไงครับ???

 

 

กู้เป็นเงินบาท  จ่ายคืนเป็นเงินบาท

 

อัตราแลกเปลี่ยนไม่เกี่ยว

 

 

ชัดป่ะพี่

 

ยกตัว Bond ตัวนึงที่จะถึงกำหนดชำระปีนี้ของ PTT ละกัน

 

Bond Serie PTTC13NA ............กู้มาตอนปี 2003 จำนวน 11,700 ล้านบาท  ถึงกำหนดชำระปีนี้ (2556) ก็ต้องจ่ายคืน 11,700 ล้านบาท

 




#675839 อะไรคือผลของค่าเงินบาทที่กำลังแข็งตัว

โดย แฟนคลับจ่า on 12 เมษายน พ.ศ. 2556 - 16:47

 

 

 

 

 

  เมื่อเช้าได้ยินแวบว่าค่าเงินตอนนี้ขึ้นสูงมาก และอาจสูงถึง 26-27 บาท ตือ USD และได้มีการุยอย่างจริงจังเรื่องปัญหาเงินไหลเข้าที่ทำให้ค่าเงินพุ่งขึ้นแบบนี้

 

  ผมไม่แน่ใจว่าจะเกิดปัญหาอะไรไหม? ที่เห็นชัดๆตอนนี้คือส่งออกจะยากเพราะค่าเงินที่สูงทำให้เราต้องขายแพงขึ้น ขายยากขึ้น  ยิ่งเราพึ่งพิงส่งออกเสีย 70 %

  ผมไม่แน่ใจว่านี้กำลังจะผนวชรวมกับค่าแรงที่ขึ้นทำให้ SME ที่แย่อยู่แล้แย่ขึ้นไหม?

 

  ผมไม่แน่ใจว่าจะทำให้มูลค่าข้าวที่จำนำราคาจะสูงเกินตลาดโลกไหม

 

  ฯลฯ

 

  ระดมความคิดกันที  จะเกิดอะไรขึ้นกับประเทศไทยที่ค่าเงินกำลังพุ่ง

 

 

คุณมองแต่ปัญหา/ข้อเสีย 

บางธุรกิจก็เสียประโยชน์แต่บางธุรกิจเขาก็ได้ประโยชน์
เช่นธุรกิจที่เขามีหนี้ต่างประเทศอยู่ เขาก็ถือโอกาสกู้ US ก้อนใหม่มาโปะก้อนเก่าได้ ต้นทุนเขาก็ต่ำลง

 

หนี้ต่างประเทศของภาคเอกชน หากคิดเป็นหน่วย USD อยู่ที่ราว ๖.๗ หมื่นล้าน หากแต่ประเทศที่เป็นเจ้าหนี้รายใหญ่ของภาคเอกชนเราเป็นสิงคโปร์ มีสัดส่วนหนี้ที่เกือบ ๆ ๓ หมื่นล้าน

 

ที่น่าเป็นห่วงตรงนี้คือ สัดส่วนหนี้ต่อ GDP ของภาคเอกชน ไต่ไปอยู่ระดับพอ ๆ กับสมัยตอนปี ๔๐ แล้ว ลองคิดแค่ว่า เงินบาทแข็ง ก็พากันไปกู้เป็น USD มาโปะ หากเงินบาทอ่อนตัวเมื่อไร แค่สัก ๒ บาท ก็เดี้ยงกันเป็นแถบ ๆ

 

แล้วธุรกิจพวกนี้ เค้าไม่ได้เหมือนบัตรเครดิตที่ไปทำหลายๆ ใบเพื่อมาหมุนได้ง่าย ๆ นะ การจะไปขอกู้จากสถาบันการเงินต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก เค้าต้องมีการประเมินความเสี่ยง ความสามารถในการใช้หนี้อย่างรอบคอบ ถ้าเป็นการขอเป็นพอร์ตกู้เพื่อนำไปลงทุน และมีเครดิตดี ก็แล้วไป แต่กรณีที่มีหนี้อยู่แล้วมาขอกู้เพื่อจะไปโปะหนี้เก่า อันนี้เค้าแทบจะไม่ให้ เพราะมันเป็นเหมือนกันกับตัวบ่งชี้ว่า จริง ๆ แล้วไม่ได้มีความสามารถในการใช้หนี้ เพียงแต่ใช้วิธีกู้มาโปะ สถาบันการเงินเค้าก็กลัวจะเป็นเจ้าสุดท้ายที่ให้กู้แล้วลูกหนี้หาเงินมาคืนไม่ได้เหมือนกัน

 

คิดตื้น ๆ

 

 

ทำไมจะไม่ได้ครับ เขาทำกันเยอะแยะ

บริษัทใหญ่ๆ ที่เขามีเครดิตเรทติ้งดีๆ ค่าเงินในประเทศแข็งขึ้นเขาก็กู้เข้ามาโปะก้อนเก่าที่ต้นทุนสูงกันทั้งนั้น

 

 

เพิ่งโพสเสร็จ ออกไปอ่านข่าววันนี้ก็เจอเลย

http://www.bangkokbi...้เงินดอลล์.html

 

 

 

นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. (PTT) เปิดเผยว่า ที่ประชุมผู้ถือหุ้นวานนี้ (11 เม.ย.) มีมติเห็นชอบแผนการจัดหาเงินกู้ของบริษัทในช่วง 5 ปีข้างหน้า (2556-2560) วงเงินรวม 2.5 แสนล้านบาท ส่วนหนึ่งเพื่อใช้สำหรับการรีไฟแนนซ์เงินกู้เดิมที่จะครบกำหนดชำระรวม 1.5 แสนล้านบาท และอีก 1 แสนล้านบาทใช้ในการลงทุน ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจก๊าซธรรมชาติ และการร่วมทุน พร้อมทั้งจะหาโอกาสด้านธุรกิจใหม่ ไม่ว่าจะเป็น น้ำมัน ไฟฟ้า และ ถ่านหิน

--

 

 

ปตท คิดตื้นๆ อิ๋บอ๋าย

 

เอ่อ  พี่ลีครับ ความหมายของประโยคที่พี่พิมพ์หนานั่นคือ  มันมีเงินกู้ที่จะถึงครบกำหนดชำระ  แล้วเค้ากะว่าจะไม่ใช้เงินตัวเองชำระ  เค้าเลยจะกู้เงินใหม่มาเพื่อที่จะเอามาชำระครับ (ต่อหนี้ไปเรื่อยๆ)  ไม่ใช่หมายความว่า "เค้ากู้เงินใหม่เพื่อลดดอกเบี้ยก้อนเดิมแต่อย่างใด"

 

อธิบายคร่าวๆ 

 

PTT มีหนี้ที่จะถึงกำหนดชำระในปี 2556 สมมติ 1000 ล้านบาท  ทีนี้เค้าเลยจะกู้เงินกู้ใหม่ 1000 ล้านบาทในปี 2556 เช่นกัน  มาใช้เพื่อจ่ายหนี้ก้อนเดิม  คือใช้หนี้ต่อหนี้ไปเรื่อยๆ ไม่ใช่แปลว่าเค้ากู้เงินมาเพื่อลดดอกเบี้ยแต่อย่างใด

 

 

เอ๊ะ ผมว่าผมไม่เคยพูดเรื่องลดดอกเบี้ยเลยนะ

ผมบอกว่า ปตท กู้มาตอนสมมุติ 35 บาท 1 เหรียญ

ตอนนี้เขาต้องเอาไปคืน  1 เหรัยญ เขาก็กู้มาที่ 29 บาทเพื่อเอาไปคิน

เขามีหนี้ 1 เหรียญเท่าเดิม แต่ต้นทุนมันลดลงจาก 35 เหลือ 29

มันเกี่ยวกับดอกเบี้ยตรงไหนครับ??

 

 

พอๆ กับคนกลางเล้ยยยย  พิมพ์ผิดไม่ได้เลย

ขอแก้ อัตราดอกเบี้ยเป็นอัตราแลกเปลี่ยน ใน Comment ที่แล้ว 

 

แต่สรุปคือมันไม่เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนครับพี่  เพราะเค้ากู้มาเพราะ "เงินกู้ก้อนปัจจุบัน  มันถึงกำหนดชำระ  แต่ไม่อยากเอาเงินตัวเองมาชำระ เลยกู้ก้อนใหม่มาชำระ"  แค่นั้นเอง

 

ป.ล. 1  ถ้าถามว่ารู้ได้อย่างไร ตอบว่าเพิ่งปิดดีลแบบนี้ไปจ้ะพี่ลี  วง IB เค้ามองกันเป็นเรื่องปกติ  ใช้หนี้ต่อหนี้เนี่ย

ป.ล. 2  PTT ออก Debenture ส่วนมากเป็น"บาท"นะพี่  อัตราแลกเปลี่ยนยิ่งไม่เกี่ยวเลย




#675822 อะไรคือผลของค่าเงินบาทที่กำลังแข็งตัว

โดย แฟนคลับจ่า on 12 เมษายน พ.ศ. 2556 - 16:26

 

 

 

  เมื่อเช้าได้ยินแวบว่าค่าเงินตอนนี้ขึ้นสูงมาก และอาจสูงถึง 26-27 บาท ตือ USD และได้มีการุยอย่างจริงจังเรื่องปัญหาเงินไหลเข้าที่ทำให้ค่าเงินพุ่งขึ้นแบบนี้

 

  ผมไม่แน่ใจว่าจะเกิดปัญหาอะไรไหม? ที่เห็นชัดๆตอนนี้คือส่งออกจะยากเพราะค่าเงินที่สูงทำให้เราต้องขายแพงขึ้น ขายยากขึ้น  ยิ่งเราพึ่งพิงส่งออกเสีย 70 %

  ผมไม่แน่ใจว่านี้กำลังจะผนวชรวมกับค่าแรงที่ขึ้นทำให้ SME ที่แย่อยู่แล้แย่ขึ้นไหม?

 

  ผมไม่แน่ใจว่าจะทำให้มูลค่าข้าวที่จำนำราคาจะสูงเกินตลาดโลกไหม

 

  ฯลฯ

 

  ระดมความคิดกันที  จะเกิดอะไรขึ้นกับประเทศไทยที่ค่าเงินกำลังพุ่ง

 

 

คุณมองแต่ปัญหา/ข้อเสีย 

บางธุรกิจก็เสียประโยชน์แต่บางธุรกิจเขาก็ได้ประโยชน์
เช่นธุรกิจที่เขามีหนี้ต่างประเทศอยู่ เขาก็ถือโอกาสกู้ US ก้อนใหม่มาโปะก้อนเก่าได้ ต้นทุนเขาก็ต่ำลง

 

หนี้ต่างประเทศของภาคเอกชน หากคิดเป็นหน่วย USD อยู่ที่ราว ๖.๗ หมื่นล้าน หากแต่ประเทศที่เป็นเจ้าหนี้รายใหญ่ของภาคเอกชนเราเป็นสิงคโปร์ มีสัดส่วนหนี้ที่เกือบ ๆ ๓ หมื่นล้าน

 

ที่น่าเป็นห่วงตรงนี้คือ สัดส่วนหนี้ต่อ GDP ของภาคเอกชน ไต่ไปอยู่ระดับพอ ๆ กับสมัยตอนปี ๔๐ แล้ว ลองคิดแค่ว่า เงินบาทแข็ง ก็พากันไปกู้เป็น USD มาโปะ หากเงินบาทอ่อนตัวเมื่อไร แค่สัก ๒ บาท ก็เดี้ยงกันเป็นแถบ ๆ

 

แล้วธุรกิจพวกนี้ เค้าไม่ได้เหมือนบัตรเครดิตที่ไปทำหลายๆ ใบเพื่อมาหมุนได้ง่าย ๆ นะ การจะไปขอกู้จากสถาบันการเงินต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก เค้าต้องมีการประเมินความเสี่ยง ความสามารถในการใช้หนี้อย่างรอบคอบ ถ้าเป็นการขอเป็นพอร์ตกู้เพื่อนำไปลงทุน และมีเครดิตดี ก็แล้วไป แต่กรณีที่มีหนี้อยู่แล้วมาขอกู้เพื่อจะไปโปะหนี้เก่า อันนี้เค้าแทบจะไม่ให้ เพราะมันเป็นเหมือนกันกับตัวบ่งชี้ว่า จริง ๆ แล้วไม่ได้มีความสามารถในการใช้หนี้ เพียงแต่ใช้วิธีกู้มาโปะ สถาบันการเงินเค้าก็กลัวจะเป็นเจ้าสุดท้ายที่ให้กู้แล้วลูกหนี้หาเงินมาคืนไม่ได้เหมือนกัน

 

คิดตื้น ๆ

 

 

ทำไมจะไม่ได้ครับ เขาทำกันเยอะแยะ

บริษัทใหญ่ๆ ที่เขามีเครดิตเรทติ้งดีๆ ค่าเงินในประเทศแข็งขึ้นเขาก็กู้เข้ามาโปะก้อนเก่าที่ต้นทุนสูงกันทั้งนั้น

 

 

เพิ่งโพสเสร็จ ออกไปอ่านข่าววันนี้ก็เจอเลย

http://www.bangkokbi...้เงินดอลล์.html

 

 

 

นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. (PTT) เปิดเผยว่า ที่ประชุมผู้ถือหุ้นวานนี้ (11 เม.ย.) มีมติเห็นชอบแผนการจัดหาเงินกู้ของบริษัทในช่วง 5 ปีข้างหน้า (2556-2560) วงเงินรวม 2.5 แสนล้านบาท ส่วนหนึ่งเพื่อใช้สำหรับการรีไฟแนนซ์เงินกู้เดิมที่จะครบกำหนดชำระรวม 1.5 แสนล้านบาท และอีก 1 แสนล้านบาทใช้ในการลงทุน ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจก๊าซธรรมชาติ และการร่วมทุน พร้อมทั้งจะหาโอกาสด้านธุรกิจใหม่ ไม่ว่าจะเป็น น้ำมัน ไฟฟ้า และ ถ่านหิน

--

 

 

ปตท คิดตื้นๆ อิ๋บอ๋าย

 

เอ่อ  พี่ลีครับ ความหมายของประโยคที่พี่พิมพ์หนานั่นคือ  มันมีเงินกู้ที่จะถึงครบกำหนดชำระ  แล้วเค้ากะว่าจะไม่ใช้เงินตัวเองชำระ  เค้าเลยจะกู้เงินใหม่มาเพื่อที่จะเอามาชำระครับ (ต่อหนี้ไปเรื่อยๆ)  ไม่ใช่หมายความว่า "เค้ากู้เงินใหม่เพื่อลดดอกเบี้ยก้อนเดิมแต่อย่างใด"

 

อธิบายคร่าวๆ 

 

PTT มีหนี้ที่จะถึงกำหนดชำระในปี 2556 สมมติ 1000 ล้านบาท  ทีนี้เค้าเลยจะกู้เงินกู้ใหม่ 1000 ล้านบาทในปี 2556 เช่นกัน  มาใช้เพื่อจ่ายหนี้ก้อนเดิม  คือใช้หนี้ต่อหนี้ไปเรื่อยๆ ไม่ใช่แปลว่าเค้ากู้เงินมาเพื่อลดดอกเบี้ยแต่อย่างใด




#675694 อะไรคือผลของค่าเงินบาทที่กำลังแข็งตัว

โดย แฟนคลับจ่า on 12 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:11

 

 

 

แล้วที่เขาเถียงกันว่า  จะคงดอกเบี้ยนโบาย  ลดดอกเบี้ยนโยบาย  มันเกี่ยวกับบาทแข็งมั๊ย?  แล้วควรทำอย่างไร?

 

 

เกี่ยวครับ  คือสรุปคร่าวๆ คือ  การที่ดอกเบี้ยสูง  มันจะทำให้ต่างประเทศเอาเงินมาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น  เพราะผลตอบแทนดีกว่า  ซึ่งถ้าเงินต่างประเทศไหลเข้ามากก็จะทำให้อัตราแลกเปลี่ยนเปลี่ยนไป  เงินในประเทศ (เงินบาท) จะแข็งค่าขึ้น เพราะต่างชาติจะมีความต้องการเงินบาทมากขึ้นเพื่อมาลงทุนในประเทศ (หลัก Demand Supply ปกติเลย คือ Demand บาทมาก  เงินบาทเลยราคาแพง = เงินบาทแข็ง)
 
ถามว่าแล้วทำไมต่างชาติถึงมีเงินเยอะเหลือเกิน  ก็เพราะต่างประเทศเค้าใช้นโยบายเพิ่มเงินในประเทศของเค้าเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจครับ เช่น USA มี QE 1 2 3 ออกมา  ส่วน ญี่ปุ่น ก็มีมาตรการคล้ายๆ กันออกมาเพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจประเทศเค้า เป็นต้น
 
ทีนี้มันจะมีเรื่องของการลดดอกเบี้ยมาเกี่ยวข้องตรงนี้ครับคือ มีทั้งฝ่ายที่เสนอให้ลดดอกเบี้ย  และไม่ลดดอกเบี้ย
 
โดยที่ฝ่ายหนึ่งมองว่าการลดอัตราดอกเบี้ยจะสามารถสกัดเงินทุนไหลเข้า และหากไม่ลดดอกเบี้ยเงินบาทก็จะแข็งค่าขึ้นไปอีกจนอาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาคการส่งออกของไทย ในขณะที่อีกฝ่ายมองว่าหากลดอัตราดอกเบี้ยแล้ว อาจจะทำให้เกิดภาวะฟองสบู่ (ทั้งจากภาคอสังหาริมทรัพย์ หนี้ภาคครัวเรือน และหุ้น) และจะเป็นตัวเร่งให้เงินเฟ้อภายในประเทศขยายตัวสูงขึ้นอย่างรุนแรงได้
 
ประเด็น “บาทแข็ง” กับ “ดอกอ่อน” ยังสรุปไม่ได้ว่าแนวคิดใครถูกหรือผิด เพราะต่างฝ่ายต่างก็มีเหตุผล แต่สิ่ประเด็นคือ ดอกเบี้ยนโยบายของไทยสูงจริงหรือไม่? คำตอบคร่าวๆ คือ
 
- ดอกเบี้ยไทยสูงเมื่อเทียบกับดอกเบี้ยประเทศพัฒนาแล้วที่ต่ำเกือบ 0% 
 
- ดอกเบี้ยไทยเป็น 1 ใน 3 ประเทศของเอเชียตะวันออกและอาเซียนที่ติดลบ ถ้าคิดในรูปดอกเบี้ยที่แท้จริง 
 
- ดอกเบี้ยไทยต่ำเมื่อเทียบกับประเทศที่มี Credit Rating เท่ากันคือ Baa1 เช่น เม็กซิโก แอฟริกาใต้ และรัสเซีย
 
- ดอกเบี้ยอินโดสูงมากกว่าเราเยอะ  แต่เงินไม่ไหลเข้าเท่าไทย
 
ทีนี้ถ้าถามความเห็นผม (ทำอาชีพเกี่ยวกับเรื่องนี้พอประมาณ) ไม่มีความเห็นจริงๆ ว่าควรทำยังไง  เพราะอย่างข้อมูลที่มีคือดอกเบี้ยในสูงกว่า USA กับ Japan และ China จริง  ทำให้ดูดเงินลงทุนไหลเข้าได้  แต่ดอกเบี้ยที่แท้จริงเราติดลบ (เงินเฟ้อสูงกว่าดอกเบี้ย) มันก็เลยกั๊กๆ กันระหว่าง 2 ทางคือ
 
(1) ถ้าลดอกเบี้ย ก็ทำให้ตลาดหุ้นยิ่งฟองสบู่เข้าไปอีก  คนธรรมดาๆ ที่มีเงินฝากก็ยิ่งแย่ เข้าไปอีก  ตลาดอสังหาอาจเกิดฟองสบู่ (กู้ง่าย + ดอกต่ำ)
(2) ถ้าไม่ลดดอกเบี้ย เงินก็จะแข็งอยู่แบบนี้ต่อไป
 
เอาเป็นว่าผมเชื่อ ดร. ประสาร ครับ  ผมว่าการที่ท่านจะทำอะไรซักอย่าง  คงมีเหตุผลที่ดีพอที่คิดมามากกว่าผม
 
(ยาวมาก  จะมีใครอ่านมั๊ยเนี่ย)  :o  :o  :o

 

ผมอ่าน...   ทำทุกอย่างมีได้มีเสียครับ..      

ผมสงสัยว่า... 

 

"ดอกเบี้ยอินโดสูงมากกว่าเราเยอะ  แต่เงินไม่ไหลเข้าเท่าไทย"  

 

นั่นสิครับ... ทำไม.. 

 

:D

คำถามน่าสนใจ

 

จับประเด็นของกระแสเงินทุนเคลื่อนย้าย 

http://www.bot.or.th...cle17_03_13.pdf

 

 

ขอบคุณที่ช่วยเหลือครับ  แต่จะขอเน้นของอินโดหน่อย  เพราะผมยกตัวอย่างมาก่อนบ้างละ  กลัวหาว่าเอามาแปะแล้วก็หนีไปเฉยๆ 
 
 
ตอนนี้อัตราดอกเบี้ยนโยบายของอินโด (ของเค้าเรียก BI Rate) คือ 5.75%  ของไทย 2.75% (ต่างกันตั้ง 3%) แต่เงินบาทไทยแข็งเยอะกว่ามาก (เพราะเงินไหลเข้ามาก)
 
 
แต่ตั้งแต่ต้นปีมา  เงินบาทไทยแข็งไป 5.07% ในขณะที่ อินโด แข็งขึ้นแค่ 0.91%  ทั้งๆที่อัตราดอกเบี้ยอินโดสูงกว่า  คนน่าจะลงทุนมากกว่าสิ ???
 
 
แสดงว่าก็แปลว่าอัตราดอกเบี้ยเพียงอย่างเดียวไม่น่าจะเป็นตัวที่ทำให้เงินแข็งขึ้น  ทีนี้เลยคาดกันว่าเป็นเพราะอันดับความน่าเชื่อถือของไทยมันมากกว่าอินโด  คนเลยมาลงทุนมากกว่า (เพราะความเสี่ยงที่จะผิดนัดชำระหนี้ไทยน้อยกว่า  แปลง่ายๆ ว่าไทยน่าลงทุนมากกว่าเพราะมีความน่าเชื่อถือมากกว่า) เหตุผลก็เป็นไปตาม link ของท่าน MIRO เลยครับ
 
 
โดยไทยอันดับเครดิต BBB+  สูงกว่า อินโด BB+  2 ขั้น (อันดับของ S&P นะ  ผมไม่มี log in ดูของ Moody's) 
 
 
แต่ช้าก่อน  อย่าเพิ่งเหมาว่าเป็นเพราะปูทำให้ประเทศไทยมีความน่าเชื่อถือ  เพราะสมัยมาร์คประเทศไทยก็อันดับ Rating BBB+ อยู่แล้วนะครับ   :lol:
 
 
เรื่องทั้งหมดก็ประมาณนี้แหละครับ (ส่วนเรื่องการถกภาษาอังกฤษ ไม่เห็นเกี่ยวกับกระทู้เลย) 



#675543 อะไรคือผลของค่าเงินบาทที่กำลังแข็งตัว

โดย แฟนคลับจ่า on 12 เมษายน พ.ศ. 2556 - 11:21

แล้วที่เขาเถียงกันว่า  จะคงดอกเบี้ยนโบาย  ลดดอกเบี้ยนโยบาย  มันเกี่ยวกับบาทแข็งมั๊ย?  แล้วควรทำอย่างไร?

 

 

เกี่ยวครับ  คือสรุปคร่าวๆ คือ  การที่ดอกเบี้ยสูง  มันจะทำให้ต่างประเทศเอาเงินมาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น  เพราะผลตอบแทนดีกว่า  ซึ่งถ้าเงินต่างประเทศไหลเข้ามากก็จะทำให้อัตราแลกเปลี่ยนเปลี่ยนไป  เงินในประเทศ (เงินบาท) จะแข็งค่าขึ้น เพราะต่างชาติจะมีความต้องการเงินบาทมากขึ้นเพื่อมาลงทุนในประเทศ (หลัก Demand Supply ปกติเลย คือ Demand บาทมาก  เงินบาทเลยราคาแพง = เงินบาทแข็ง)
 
ถามว่าแล้วทำไมต่างชาติถึงมีเงินเยอะเหลือเกิน  ก็เพราะต่างประเทศเค้าใช้นโยบายเพิ่มเงินในประเทศของเค้าเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจครับ เช่น USA มี QE 1 2 3 ออกมา  ส่วน ญี่ปุ่น ก็มีมาตรการคล้ายๆ กันออกมาเพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจประเทศเค้า เป็นต้น
 
ทีนี้มันจะมีเรื่องของการลดดอกเบี้ยมาเกี่ยวข้องตรงนี้ครับคือ มีทั้งฝ่ายที่เสนอให้ลดดอกเบี้ย  และไม่ลดดอกเบี้ย
 
โดยที่ฝ่ายหนึ่งมองว่าการลดอัตราดอกเบี้ยจะสามารถสกัดเงินทุนไหลเข้า และหากไม่ลดดอกเบี้ยเงินบาทก็จะแข็งค่าขึ้นไปอีกจนอาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาคการส่งออกของไทย ในขณะที่อีกฝ่ายมองว่าหากลดอัตราดอกเบี้ยแล้ว อาจจะทำให้เกิดภาวะฟองสบู่ (ทั้งจากภาคอสังหาริมทรัพย์ หนี้ภาคครัวเรือน และหุ้น) และจะเป็นตัวเร่งให้เงินเฟ้อภายในประเทศขยายตัวสูงขึ้นอย่างรุนแรงได้
 
ประเด็น “บาทแข็ง” กับ “ดอกอ่อน” ยังสรุปไม่ได้ว่าแนวคิดใครถูกหรือผิด เพราะต่างฝ่ายต่างก็มีเหตุผล แต่สิ่ประเด็นคือ ดอกเบี้ยนโยบายของไทยสูงจริงหรือไม่? คำตอบคร่าวๆ คือ
 
- ดอกเบี้ยไทยสูงเมื่อเทียบกับดอกเบี้ยประเทศพัฒนาแล้วที่ต่ำเกือบ 0% 
 
- ดอกเบี้ยไทยเป็น 1 ใน 3 ประเทศของเอเชียตะวันออกและอาเซียนที่ติดลบ ถ้าคิดในรูปดอกเบี้ยที่แท้จริง 
 
- ดอกเบี้ยไทยต่ำเมื่อเทียบกับประเทศที่มี Credit Rating เท่ากันคือ Baa1 เช่น เม็กซิโก แอฟริกาใต้ และรัสเซีย
 
- ดอกเบี้ยอินโดสูงมากกว่าเราเยอะ  แต่เงินไม่ไหลเข้าเท่าไทย
 
ทีนี้ถ้าถามความเห็นผม (ทำอาชีพเกี่ยวกับเรื่องนี้พอประมาณ) ไม่มีความเห็นจริงๆ ว่าควรทำยังไง  เพราะอย่างข้อมูลที่มีคือดอกเบี้ยในสูงกว่า USA กับ Japan และ China จริง  ทำให้ดูดเงินลงทุนไหลเข้าได้  แต่ดอกเบี้ยที่แท้จริงเราติดลบ (เงินเฟ้อสูงกว่าดอกเบี้ย) มันก็เลยกั๊กๆ กันระหว่าง 2 ทางคือ
 
(1) ถ้าลดอกเบี้ย ก็ทำให้ตลาดหุ้นยิ่งฟองสบู่เข้าไปอีก  คนธรรมดาๆ ที่มีเงินฝากก็ยิ่งแย่ เข้าไปอีก  ตลาดอสังหาอาจเกิดฟองสบู่ (กู้ง่าย + ดอกต่ำ)
(2) ถ้าไม่ลดดอกเบี้ย เงินก็จะแข็งอยู่แบบนี้ต่อไป
 
เอาเป็นว่าผมเชื่อ ดร. ประสาร ครับ  ผมว่าการที่ท่านจะทำอะไรซักอย่าง  คงมีเหตุผลที่ดีพอที่คิดมามากกว่าผม
 
(ยาวมาก  จะมีใครอ่านมั๊ยเนี่ย)  :o  :o  :o



#674440 ว่าด้วยเรื่องของการแอบแอ๊บ

โดย แฟนคลับจ่า on 11 เมษายน พ.ศ. 2556 - 11:31

แอบ ขนมวลโจรไปชุมนุมโดยใส่เสื้อชุดดำ

 

แอบ สุมหัวกับเหล่าต่อต้านรัฐบาลจากการเลือกตั้ง (อันนี้ไม่ต้องแก้  ด่ากากแดงตรงๆ :lol: )

แอบ ฟอร์มรัฐบาลที่ฮ่องกง


แอบ ใช้กระสุนจริงแล้วบอกว่าชุมนุมโดยสันติ

แอบ อยู่ในต่างประเทศ เช่น ดูไบ  ฮ่องกง

แอบ ร้องไห้รอใครก็ไม่รู้ปลอบตอนน้ำท่วม

แอบ ไปเจรจาแบ่งโควต้ารัฐมนตรีในต่างประเทศ

แอบ ถือสัญชาติมอนเตเนโกร

แอบ แดรกเงินจำนำข้าว

แอบ ไปเที่ยวโรงแรมใจกลางเมือง

แอบ ส่งคนไปกราบไข่ใครก็ไม่รู้ที่เขมร

แอบ แจกขนมหน้าศาล

แอบ ทำให้โรงสีที่รับจำนำข้าว "ไฟฟ้าลัดวงจร"

แอบ ไปเจรจากับแกนนำก่อความไม่สงบภาคใต้  แต่ก็มีเหตุเยอะกว่าเดิม

และสุดท้ายแอบเป็นนักการเมืองในคราบประชาธิปไตยที่ไม่ยอมรับอำนาจศาล

 

แหม  เข้าตัวหมดเลยนะ  :lol:  :lol:  :lol: 




#674322 เหตุที่แดงต้องจัดงานบ่อยๆ เพราะอะไร หาเงินเข้ากระเป๋า กลัวกระแสตก หรือ กลัวคว...

โดย แฟนคลับจ่า on 11 เมษายน พ.ศ. 2556 - 09:46

อยากด่าเหลืองก็ไป manager สิวะครับ  มาบ่นตรงนี้ทำแมวอะไร

 

ตรรกะคนเสื้อแดงมีอย่างเดียว  ใครไม่ชอบเพื่อไทย   ต้องเป็นสาวกแป๊ะ   คิดได้แค่นี้เหรอออออ 




#667806 ขอเชิญพี่คนกลางมาเสวนาเรื่อง VAT ในที่นี้หน่อยครับ

โดย แฟนคลับจ่า on 4 เมษายน พ.ศ. 2556 - 17:00

 

สิ่งที่พวกท่านไม่เคยตอบคือ..
 
พวกที่มีรายได้เกิน rate สูงสุด เช่น ท่านมีเงินได่ 100ล้าน ผมมีเงินได้ 10000 ล้าน เสียอัตราเท่ากัน... แบบนี้ ยุติธรรมไหม..
ถ้าบอกว่า ยุติธรรม.. แล้ว  มันขัดกันเองไหมที่บอกว่า..  มีรายได้น้อย เสีย อัตราน้อยกว่า หรือ ไม่ต้องเสีย..


จากตรงนี้ ที่ว่า เสียอัตราเท่ากันน่ะใช่ครับ แต่จำนวนเงินที่เสียภาษี คำนวณ แล้วไม่เท่ากันนะครับ

จากตัวอย่างของท่าน 100 ล้าน/30 กับ 10000 ล้าน/30 ตัวเลขจริงๆก็ไม่เท่ากันแล้วนะครับ   ผมว่าคนกลาง ตกเลขประถมแน่ๆเลย -*-

 

เอาแล้วไง..   แบบนี้ ต้องไปเถียงกับ จขกท แทนผมแล้วครับ... 

 

เพราะ ที่ผมเข้าใจคือ  ความยุติธรรม แบบ จขกท คือ ..Progressive Tax หรือ อัตราก้าวหน้า เมื่อเที่ยบกับ รายได้...

 


>"นักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลกบอกว่า Progressive taxation reduces absolute income inequality."

 

 

เพราะ ที่ผมยกมาคือ จุดที่มัน flat. ..    ซึ่งสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนว่า...    ความยุติธรรมแบบ จขกท... มันมั่ว.. 

เพราะ ขัดกันเอง...  แล้วไอ้ที่ยกมา...  มันก็ไม่ได้บอกซะหน่อยว่า มันยุติธรรม...  แต่ผมขี้เกียจแย้ง...   จะยุติธรรมก็ไม่ว่ากัน

ผมก็แย้งจุดอื่นดีกว่า...   แล้วก็เห็นชัดว่า...   ไม่มีใครตอบคำถามผมได้... 

 

ดูนิยาม สากลครับ

"A progressive tax is a tax in which the tax rate increases as the taxable base amount increases"

http://en.wikipedia....Progressive_tax

 

เอางี้..   ถามอีกที..

เกิดเราเก็บ ภาษีเงินได้ อัตราเดียว ที่ 25%  ...  ท่านว่า ยุติธรรมหรือไม่..

ถ้าใช่ (ยุติธรรม)  เตรียมเถียง กับ จขกท และ เพื่อน ได้เลย เพราะ มันไม่ใช่ อัตราก้าวหน้า.. (Progressive)

ถ้าไม่ใช่(ไม่ยุติธรรม) ...  ท่านก็ต้องเถียงกับตัวเองครับ...  เพราะ...   คนรายได้มาก ก็  จ่ายมากอยู่ดี

เพราะ ท่านเองที่ไม่ได้ ตกเลข  โชว์พาว์ คำนวนไว้.. เสร็จสรรพ..

 

:D

 

 

แล้วนิยามสากลของ VAT บอกตรงไหนครับว่า VAT เป็นภาษีที่ยุติธรรมที่สุด  :D  :D  :D (ขอแถเลียนแบบมุกเดียวกับพี่คนกลางมั่งละกัน)

 

value added tax (VAT) is a form of consumption tax. From the perspective of the buyer, it is a tax on the purchase price. From that of the seller, it is a tax only on the value added to a product, material, or service, from an accounting point of view, by this stage of its manufacture or distribution. The manufacturer remits to the government the difference between these two amounts, and retains the rest for themselves to offset the taxes they had previously paid on the inputs.

 

http://en.wikipedia.org/wiki/VAT

 

 

 

ส่วนที่ผมบอกว่า Progressive ดีกว่า VAT เพราะตรงนี้ครับ Progressive taxation reduces absolute income inequality. (อยู่หน้าเดียวกันกับที่พี่คนกลางยกมานั่นแหละครับ  อย่ามัวแต่อ่านแค่3 บรรทัดแรกสิ  :lol:  :lol:  :lol:)  ในขณะที่ VAT มันทำไม่ได้  นักเศรษฐศาสตร์ที่มี"ความรู้" เค้าเลยมองว่ามันเหมาะกับการลดปัญหาการกระจายรายได้มากกว่า VAT ไง

 

ส่วนคำถามที่ว่าเก็บ 25% เท่ากันยุติธรรมมั๊ย  คำตอบคือ"ไม่"  เพราะบอกแล้วว่าเค้าดูกันที่"อัตรา" ไม่ใช่จำนวนเพียวๆ (เลขประถมเค้าก็สอนครับว่าเวลาเทียบอะไรที่ฐานต่างกัน  ให้ดูอัตราส่วนครับพี่)

 


#667354 ดู"ยุทธวิธี"การที่พรรคเผาไทยใช้บิดเบือนเรื่องศาลรธน.นะครับ

โดย แฟนคลับจ่า on 4 เมษายน พ.ศ. 2556 - 09:03

ทั้งน่าด่า น่ากระทืบ แต่ก็น่าสนใจมาก

สมกับคำกล่าวโบราณว่า...คนเรามีคำพูดเป็นอาวุธซะอย่าง พูดกลับดำให้ขาว กลับขาวให้ดำยังได้เลย

 

1. ให้อ้างเสมอว่า "ประเทศเราล้าหลังเพื่อนบ้าน"

 นายกฯ กล่าว "แนวทางออกในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ก็หวังว่าจะมีทางออก เพราะว่าการแก้ไขโดยแนวทางที่จะมี ส.ส.ร.ก็ไปไม่ได้ ก็มาแก้รายมาตราแล้ว ก็หวังว่าทางออกจะมีให้กับประเทศ อันนี้ก็หวังไว้อย่างนั้น ขณะที่เราจะเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน ในหลายประเทศกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านก็มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงข้อกฎหมายทั้งนั้น และมีทางออกได้ แต่วันนี้ประเทศไทยเชื่อว่าทุกฝ่ายจะร่วมกันหาทางออกให้กับประเทศ" 

 

2. ให้อ้างเสมอว่า "ศาลแทรกแซงประชาชน"

3. ให้อ้างเสมอว่า "ศาลใช้อำนาจตามอำเภอใจ"

แกนนำเสื้อแดง นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ โพสต์ข้อความผ่านทางเฟซบุ๊กข่มขู่ว่า ถ้าตุลาการศาลรัฐธรรมนูญรับเรื่องและสั่งคุ้มครองชั่วคราวไม่ให้เดินต่อ ตนในฐานะ ส.ส.ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ จะใช้เอกสิทธิ์เสนอโหวตวาระ 3 ที่ค้างไว้อยู่ทันที เพราะสภานี้เป็นของประชาชน อำนาจหน้าที่ในการสถาปนากฎหมายไม่ใช่เรื่องที่ใครจะมาแทรกแซงตามอำเภอใจ

 

4. ให้อ้างเสมอว่า "ศาลก้าวก่ายการทำงานของรัฐ"

นายจาตุรนต์ ฉายแสง อดีตรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไทย ทีมยุทธศาสตร์พรรคเพื่อไทย โพสต์ข้อความผ่านทางเฟซบุ๊กว่า "จะแก้ปัญหาการที่ศาลรัฐธรรมนูญก้าวก่ายการทำหน้าที่ของรัฐสภา จึงต้องแก้มาตรานี้เสียให้ชัดเจน"

 

5. ให้อ้างเสมอว่า "ศาลตั้งธงไว้แล้ว"

นายสมคิด เชื้อคง ส.ส.อุบลราชธานี พรรคเพื่อไทย แถลงว่า ถ้าเป็น ส.ส.แล้วแก้กฎหมายไม่ได้ ก็ไม่ควรอยู่ และไม่ควรมีรัฐสภา จึงอยากถามศาลรัฐธรรมนูญว่า การที่รับพิจารณาเรื่องนี้เป็นการเร่งรีบ ผิดปกติหรือไม่ เพราะมีคณะตุลาการประชุมเพียง 5 คน ทั้งที่อีก 4 คนอยู่ต่างประเทศ ซึ่งเห็นว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่ควรรีบเร่ง เพราะอย่างไรศาลก็ได้ตั้งธงไว้แล้ว ต่อให้พิจารณาช้ากว่านี้ก็ไม่เป็นไร

 

 

*********************************************

 

ลองแลกเปลี่ยนกันนะครับ

​ชาวเสรีไทยมีอะไรเพิ่มเติมกว่านี้ก็ได้นะครับ

 

 

*************************************************

 

* เข้ามาเพิ่มยุทธวิธีจากชาวเสรีไทยที่แนะนำมานะครับ

 

  • นำเสนอโดย ท่าน whiskypeak

6. ให้อ้างว่า "ศาลไม่เป็นประชาธิปไตย ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง"

 

  • นำเสนอโดย ท่าน 5555

7. ให้อ้างเสมอว่า "ศาลไม่ได้ยึดโยงจากประชาชน"

 

เปลี่ยนจากคำว่า "ศาล" เป็นคำว่า "รัฐบวมปู" มันทำไมเข้ากั๊นเข้ากันก็ไม่รู้  ;)  ;)  ;)

 

"รัฐบวมปูแทรกแซงประชาชน"

"รัฐบวมปูใช้อำนาจตามอำเภอใจ"

"รัฐบวมปูก้าวก่ายการทำงานของศาล"

 

ฯลฯ