แปลกใจไม่มีแดงใหนกล้าให้เครดิตปูบ้างเหรอ
น่าจะมีแดงสวนกลับมาบ้างน้า ข่าวว่าเธอจะขอตาย
ในสนาม ปชต ถึงเกาะเก้าอี้แน่นจนถึงบัดนี้
เหงาล่ะดี้"""""""""""
22 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:23
แปลกใจไม่มีแดงใหนกล้าให้เครดิตปูบ้างเหรอ
น่าจะมีแดงสวนกลับมาบ้างน้า ข่าวว่าเธอจะขอตาย
ในสนาม ปชต ถึงเกาะเก้าอี้แน่นจนถึงบัดนี้
เหงาล่ะดี้"""""""""""
21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:17
เอาละ ตอนนี้ถึงเวลาใกล้เผด็จศึกแล้ว
เลือกตั้งก้อโฆฆะ เลือกนายกก้อไม่ได้
การเมืองเป็นสูญญากาศ แล้ว
ตอนนี้คืนอำนาจให้ ประชาชน
จากนั้นก้อใช้ มาตรา 7 ผ่านมาตรา 3 ได้
ขออณุญาตินะครับ ผมว่าสิ่งที่ท่าน กล่าวถึงไม่น่าใช่คืนอำนาจ ให้ประชาชนนะครับ
น่าจะเรียกว่า ยกอำนาจให้ประชาชนชนกลุ่มหนึ่งมากกว่านะครับ
ท่านสุเทพเค้าบอกเองว่าจะเป็น รัฏฐาธิปัตย์ ด้วยน่ะ
“รัฏฐาธิปัตย์” คืออะไร
รัฏฐาธิปัตย์ หมายความว่า
๑) รัฏฐาธิปัตย์
เมื่อกล่าวถึง ปรัชญากฎหมายก็ต้องกล่าวถึง “กฎหมาย” และเมื่อกล่าวถึง กฎหมาย ก็จำเป็นต้องกล่าวถึงรัฏฐาธิปัตย์ (soverign) ซึ่งสำนักความคิดกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองอธิบายว่าเป็นผู้ทำให้เกิดกฎหมายดังที่ จอห์น ออสติน (John Ausyin) อธิบายว่ากฎหมาย คือ คำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์
ความหมายของรัฏฐาธิปัตย์
สำนัก ฝ่ายกฎหมายบ้านเมืองให้ความสำคัญมากโดยอธิบายว่า รัฏฐาธิปัตย์ คือผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน ส่วนจะเป็นใครก็สุดแท้แต่ว่าเป็นผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดินหรือบ้านเมืองใด มีระบอบการปกครองอย่างไร ถ้าเป็นในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รัฏฐาธิปัตย์ คือ พระมหากษัตริย์
อำนาจของรัฏฐาธิปัตย์ ก็คือการมีอำนาจอธิปไตยนั่นเอง ซึ่งก่อให้เกิดผลดังนี้ คือ
๑. ผลของการมีอำนาจอธิปไตยทำให้ รัฏฐาธิปัตย์ อยู่ในฐานะสูงสุดในแผ่นดิน และไม่ต้องเชื่อฟังผู้อื่นอีก
ข้อ นี้อาจไม่ถูกต้องในเวลานี้แล้วก็เป็นได้ เพราะในระบบประชาธิปไตย รัฏฐาธิปัตย์ อาจอยู่ใต้ข้อจำกัดอำนาจบางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามทฤษฎีว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้น เมื่อประชาชนแต่ละคนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ประชาชนแต่ละคนย่อมเป็น รัฏฐาธิปัตย์ แต่ไม่มีประชาชนคนใดอยู่ในฐานะสูงสุดโดยไม่ต้องฟังคำสั่งผู้อื่น
๒. ผลประการแรกทำให้เกิดผลประการที่สองขึ้นมา กฎหมายระหว่างประเทศอันเป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ ไม่มีสภาพเป็นกฎหมาย เพราะเมื่อรัฐต่างๆ มีฐานะเท่าเทียมกันก็ไม่มีรัฏฐาธิปัตย์ผู้ใดมีอำนาจบังคับบัญชาให้รัฏ ฐาธิปัตย์ผู้อื่นอยู่ในฐานะจำยอมได้ และจะเอาผิดถ้ามีการฝ่าฝืนกฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้ ความผูกพันระหว่างรัฐต่อรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศจึงเป็นเรื่องถ้อยที่ถ้อย อาศัยกันเท่านั้น
ปัจจุบันทฤษฎีดังกล่าวของ ออสตินเสื่อมความนิยมแล้ว
๓. ข้อจำกัดอำนาจของรัฏฐาธิปัตย์
ใน สมัยที่เชื่อกันว่าอำนาจสูงสุดเป็นของพระผู้เป็นเจ้าหรือพระผู้ทรงเป็นใหญ่ เพราะทรงเป็น “ที่สุดของสิ่งที่สุดทั้งปวง” (The Absoluteness) หรือสมบูรณัตถ์ จึงไม่มีข้อจำกัดขัดขวางของอำนาจของพระองค์แต่อย่างใด ครั้นต่อมาเชื่อกันว่าพระสันตะปาปาทรงเป็นใหญ่ หรือองค์อธิปัตย์อยู่เหนือกษัตริย์ทั้งหลายแต่อำนาจของอธิปัตย์องค์นี้ย่อม ถูกจำกัดเพราะพระสันตะปาปาจะออกกฎหมายใดให้ขัดหรือแย้งกับกฎของพระผู้เป็น เจ้ามิได้
นักกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองต่างถือกันว่า กษัตริย์ทรงเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดอย่างแท้จริงโดยไม่อยู่ใต้อำนาจรัฏฐาธิปัต ย์ หากถือว่าแม้กษัตริย์เป็นรัฏฐาธิปัตย์แต่ก็เป็นรัฏฐาธิปัตย์ที่เกิดจากความ ยินยอมหรือการยอมรับนับถือของประชาชน ฉะนั้น จะใช้อำนาจผิดทำนองคลองธรรมมิได้ เพราะถ้าใช้อำนาจผิดธรรมนองคลองธรรมราษฎรก็จะเสื่อศรัทธา และคลายความจงรักภักดี ซึ่งในที่สุดอาจนำไปสู่การล้มล้างอำนาจรัฏฐาธิปัตย์ก็เป็นได้
สำหรับ ทฤษฎีที่ถือว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้นประชาชนย่อมเป็นรัฏฐาธิปัตย์ แต่รัฏฐาธิปัตย์เช่นนี้ย่อมถูกจำกัดด้วยอำนาจรัฏฐาธิปัตย์คนอื่นๆ ซึ่งก็มีอำนาจอธิปไตยเท่าเทียมกัน เช่น พระเจ้าแผ่นดินของรัฐ ก. จะทำการใดก้าวก่ายอำนาจอธิปไตยของพระเจ้าแผ่นดินแห่งรัฐ ข. มิได้ เพราะต่างมีอำนาจอธิปไตยเช่นกันฉันใด ราษฎร ก. จะใช้อำนาจอธิปไตยของตนก้าวก่ายอธิปไตยของรัฐ ข. ไม่ได้ฉันนั้น
ใน อังกฤษ รัฐสภา เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดหรืออีกนัยหนึ่งรัฐสภาเป็นรัฏฐาธิปัตย์แทนประชาชนตาม ทฤษฎีว่าด้วยความมีอำนาจสูงสุดของรัฐสภา (supremacy of parliament) “รัฐสภา” มีความหมายพิเศษเพราะประกอบด้วยองค์อำนาจสามประการคือ
๑. สภาสามัญ
๒. สภาขุนนาง
๓. พระมหากษัตริย์
สำหรับ พระมหากษัตริย์นั้น แม้โดยทั่วไปไม่ถือว่าเป็นสถาบันรัฐสภา (parliamentary - institution) ดุจดังสภาทั้งสองที่กล่าวข้างต้น แต่เมื่อกล่าวถึงรัฐสภาอังกฤษเป็นองค์อำนาจสูงสุด ตามทฤษฎีเรื่องสภาวะสูงสุดของรัฐสภา คำว่ารัฐสภาในที่นี้ย่อมหมายถึงพระมหากษัตริย์ด้วย (King or Queen in Parliament) เพราะลำพังสภาทั้งสองหาทรงไว้ซึ่งอำนาจสูงสุดไม่
สำหรับ ปัญหาที่ว่า ทฤษฎีเรื่องสภาวะสูงสุดของรัฐสภาหมายความว่าอย่างไร นักกฎหมาย รัฐธรรมนูญ อังกฤษอธิบายว่ามีความหมายพิเศษสองประการคือ
๑. การมีอำนาจนิติบัญญัติล้นพ้นหาที่สุดมิได้ ดังที่เดอลอล์ม (De Lolme) ได้อธิบายสรุปไว้ทำนองประชดประชันว่า “นักกฎหมายอังกฤษพึงรำลึกไว้เถิดว่ารัฐสภาอังกฤษมีอำนาจบันดาลได้สารพัดใน ปฐพี จะมียกเว้นก็แต่การแปลงหญิงให้เป็นชาย หรือการแปลงชายให้เป็นหญิงเท่านั้น”
๒. การทรงไว้ซึ่งอำนาจนิติบัญญัติแต่ผู้เดียว องค์กรหนึ่งๆ ของรัฐสภา เช่น สภาสามัญ หรือสภาขุนนาง อาจมีอำนาจนิติบัญญัติเอกเทศ แต่ก็เป็นการมอบอำนาจให้โดยรัฐสภา ซึ่งจะเรียกกลับเสียเมื่อใดก็ได้ ยิ่งกว่านั้นเมื่อรัฐสภาออกกฎหมายใด สถาบันอื่นใด เช่นศาลจะกล่าวหาว่ากฎหมายนั้นขัดต่อรัฐธรรมนูญมิได้ เพราะแท้จริงแล้วกฎหมายนั้นอาจมีผลเป็นรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ยกเลิกฉบับเก่า ก็ได้ตามกฎหมายใหม่ยกเลิกกฎหมายเก่า (lex posterior derogat legi priori)
ข้อจำกัดอำนาจในทางทฤษฎีอาจแบ่งออกได้ดังนี้
๑. กฎหมายธรรมชาติ กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายแห่งศีลธรรม (Natural law, international law, rule of morality ) ไดซีย์อธิบายว่าแม้รัฐสภามีอำนาจสูงสุด แต่รัฐสภาจะออกกฎหมายที่ฝ่าฝืนมโนธรรม ศีลธรรมจรรยา กฎหมายธรรมชาติ หรือกฎหมายระหว่างประเทศมิได้
๒. พระราชอำนาจ (Royal prrerogative) ไดซีย์อธิบายว่าพระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจทางการเมือง (political power) และอำนาจทางสังคม (social power) ทรงเป็นที่เคารพรักของประชาชน ถ้าทรงไม่เห็นด้วยกับการร่างกฎหมายใดหรือทรงทักท้วงความข้อใดรัฐสภาควรโอ อนอ่อนผ่อนตามพระราชประสงค์
๓. กฎหมายพื้นฐาน (Fundamental law) ไดซีย์กล่าวว่าในกรณีที่รัฐสภาออกกฎหมายสำคัญๆ ที่เป็นพื้นฐานทางสังคม เช่น กฎหมายคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนรัฐสภาสมัยหลังๆ จะรีบด่วนออกกฎหมายเปลี่ยนแปลงกฎหมายพื้นฐานไม่ได้
กระนั้นก็ตามทางปฏิบัติ รัฐสภาอาจตกอยู่ใต้อำนาจข้อจำกัดอำนาจบางข้อโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัวซึ่งไดซีย์อธิบายดังนี้
๑. ทฤษฎีเจ้าของอำนาจอธิปไตย (doctrine of sovereignty) ไดซีย์อ้างความเห็นของออสติน ที่ว่าแม้อำนาจนิติบัญญัติจะถูกใช้โดยรัฐสภาซึ่งประกอบด้วย สภาสามัญ สภาขุนนาง และ พระมหากษัตริย์ แต่เจ้าของอำนาจนิติบัญญัติที่แท้จริงได้แก่ประชาชนอยู่นั่นเอง เพราะฉะนั้นจะถือว่ารัฐสภาเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดได้อย่างไร ในเมื่อประชาชนเป็นผู้เลือกสมาชิกสภาสามัญ และเป็นผู้ให้ความเห็นชอบการเสวยราชสมบัติของพระมหากษัตริย์
๒. เหตุภายนอกอันอาจจูงใจสมาชิกรัฐสภา ไม่ให้ใช้อำนาจมาก (external limitation) ไดซีย์กล่าว่า พลังของประชาชนหรือกลุ่มอิทธิพล (Pressure group) เช่นกลุ่มนักศึกษา กลุ่มเกษตรกร กลุ่มนักวิชาการ อาจมีอิทธิพลเหนือสมาชิกรัฐสภา มิให้ใช้อำนาจสูงสุดของตนในทางที่ผิดทำนองคลองธรรมได้ เช่น สมาชิกรัฐสภาอาจอาจเกรงว่าถ้าออกกฎหมายประเภทนี้ไปแล้วอาจถกหนังสือพิมพ์ วิพากษ์วิจารณ์ อาจถูกมติมหาชนคัดค้าน อาจถูกโต้ตอบโดยนักวิชาการ หรืออาจถูกประชาชนเดินขบวนวางหรีดประท้วง เป็นต้น
๓. เหตุภายในอันอาจจูงใจสมาชิกรัฐสภาไม่ให้ใช้อำนาจมาก (intetnal limitation) เหตุภายในหมายถึง ทัศนคติ การศึกษาอบรม พื้นเพทางสังคมและการเมือง ตลอดจนค่านิยมของสมาชิกรัฐสภา เหตุเหล่านี้ย่อมกล่อมเกลาจิตใจของผู้นั้นให้เป็นไปในแนวทางที่ตนมีพื้นเพมา
แม้รัฐสภาจะมีอำนาจสูงสุด แต่ก็ไม่ต้องกลัวว่ารัฐสภาจะใช้อำนาจบาทใหญ่คุกคามประชาชน เพราะรัฐสภาย่อมกลัวพลังของประชาชน และสมาชิกสภาเองต่างก็มีที่มาจากสังคมนั้นๆ จึงมีจิตสำนึกทางกรเมืองสูง และมีวิญญาณของสุภาพชนในระบอบประชาธิปไตยอย่างครบถ้วน จึงเป็นที่หวังได้ว่าจะไม่ใช้อำนาจของตนออกนอกรีตนอกรอย
ไม่เคยได้ยินว่า ลุงกำนันห้ามอาชีพใดอาชีพหนึ่งร่วมปฏิรูปประเทศไทย
ประเด็นคือ การเข้าถึง ในการปฏิรูปจะทั่วถึง และเข้าถึงความต้องการได้มากกว่า การเลือกตั้งไหม น่ะซิครับ
21 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:12
เอาละ ตอนนี้ถึงเวลาใกล้เผด็จศึกแล้ว
เลือกตั้งก้อโฆฆะ เลือกนายกก้อไม่ได้
การเมืองเป็นสูญญากาศ แล้ว
ตอนนี้คืนอำนาจให้ ประชาชน
จากนั้นก้อใช้ มาตรา 7 ผ่านมาตรา 3 ได้
ขออณุญาตินะครับ ผมว่าสิ่งที่ท่าน กล่าวถึงไม่น่าใช่คืนอำนาจ ให้ประชาชนนะครับ
น่าจะเรียกว่า ยกอำนาจให้ประชาชนชนกลุ่มหนึ่งมากกว่านะครับ
ท่านสุเทพเค้าบอกเองว่าจะเป็น รัฏฐาธิปัตย์ ด้วยน่ะ
“รัฏฐาธิปัตย์” คืออะไร
14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 15:25
แล้วจะให้ความเห็นว่าผ่านเพื่อ
อย่างที่ผมบอกนั่นแหละ
ประเด็นคือมีสองอย่างที่เราจะกล่าวโทษได้
1 กฎษฎีกาให้ผ่านมาได้ไง
2 ตลก ให้ผิด ทำไมถึงขัดกับความเห็นกฎษฎีกา
ไม่ทางใดก็ทางนึง หรือผิดทั้งคู่
ท่าน ปาเกียวครับ ช่วยไปศึกษาหน้าที่ของ กฎษฎีกา มาก่อนนะ ครับวา่ กฎษฎีกา มีหน้าทีอะไรบ้าง มีอำนาจอะไรบ้าง นะดีกว่านะครับผมไม่อยากให้ท่านหน้าแตกไปมากกว่า นี้
ผมก็ว่าผมอ่านมาดีแล้วนะครับ
ผมก็กลัวไม่ชัวเลยไปหาหน้าที่ กฤษฎีกา มาอ่านแล้ว
ประเด็นคือ กฤษฎีกาไห้ผ่าน เอ๊ย ให้ความเห็นว่าผ่านมาได้ยังไงครับ
หรือว่ารัฐไปเปลี่ยนแปลงทีหลังอีก
อำนาจหน้าที่คณะกรรมการกฤษฎีกา
คณะกรรมการกฤษฎีกามีอำนาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. 2522 ดังต่อไปนี้
ความเห็นว่าทำได้ของ กฤษฎีกา ออกมาว่าทำได้เนี่ย มันก็ควรน่าจะผ่านไปเลยสิครับ
หรือไม่ก็ควรมีหน่วยงานที่ให้ความเห็นได้ถูกต้องกว่านี้มาเป็นที่ปรึกษา จะได้ไม่ต้องติดขัด
ความจริงการติดขัดควรจะเกิดจากการที่รัฐเล่นตุกติก หลังจากขอความเห็นไปแล้วมากกว่า
ไม่ใช่ ทำมาตามที่ กฤษฎีกา แล้วยังผิดอีก
ผมไม่สนใจว่าอดีตเป็นมายังไง
แต่ถ้าให้ความเห็นว่าผ่านก็ควรจะต้องผ่านจริงๆครับไม่ใช่ ต้องมาผิดทีหลัง
กระบวนการเช่นนี้มันก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศมากครับ
ผมไม่ได้หมายถึงว่า กฤษฎีกามีอำนาจไห้ผ่านนะ แต่ความเห็นของกฤษฎีกาควรจะถูกต้องมากกว่านี้
14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 15:18
1 กฎษฎีกาให้ผ่านมาได้ไง
2 ตลก ให้ผิด ทำไมถึงขัดกับความเห็นกฎษฎีกา
ไม่ทางใดก็ทางนึง หรือผิดทั้งคู่
รู้หรือปล่าวว่า กฤษฏีกา มีฐานะเป็นแค่ที่ปรึกษารัฐบาล
แล้วทำไม ตุลาการ จะเห็นแย้ง กับ กับกฤษฏีกา ไม่ได้
มาถามว่ารู้หรือเปล่า........ แล้วจะให้ vnvankav แถว่ายังไง วานเขียนสคริปไว้ให้ด้วย
เพราะผมเคยทวงถามว่า ใครอบรมสั่งสอนให้มีวิธีคิดแบบนี้ ป่านนี้ vnvankav ยังไม่มีคำตอบ
แถมา 2 หน้า ........แต่ดันทำหน้ามึนมาถามว่า "ผมแถอะไร"
โง่+ดักดานไม่บันยะบันยัง เรื่องธุรกิจก็ไม่มีความรู้ เรื่องเศรษฐกิจก็ไม่มีความรู้ เรื่องการเงินการธนาคารก็ไม่มีความรู้
ยิ่งเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ครอบครัวคงไม่ได้อบรมสั่งสอนมา ........ จึงได้แถ ตะแบง ตะแคง ข้าง ๆ คู ๆ ได้ตลอด
ดักดานแต่เรื่อง กฤษฎีกาให้ผ่าน ===> กฤษฎีกา ไม่ใช่องค์กรที่มี อำนาจอนุมัติใด ๆ นะเว้ยยยยยยย ไอ้โง่
หน่วยงานนี้มีหน้าที่แค่ ให้คำปรึกษา ตามที่รัฐตั้งประเด็นถามไป ถ้าถามไม่ครบ ถามแบบศรีธนญชัย ถามครึ่ง ๆ กลาง ๆ ก็จะได้คำตอบครึ่่ง ๆ กลาง กลับมานั่นแหละ
เช่น ถามว่าการกู้เงินมาพัฒนาประเทศดีมั๊ย กฤษฎีกาตอบว่า ดี ...ก็เอามาโห่ร้องดีใจกันยกใหญ่
ทำไมไม่ถามเพิ่มไปล่ะว่า ถ้ากู้มาโกง หมกเม็ด ไม่มีรายละเอียดโครงการ และเสียบบัตรแทนกันดีมั๊ย ==> อยากรู้เหมือนกันว่า กฤษฎีกา จะตอบว่าอย่างไร
แล้วถ้าไม่มีศึกษาข้อมูลก็อยากจะบอกให้รู้ไว้ ตั้งแต่มีการตั้ง คณะกรรมการกฤษฎีกา มีหลายเรื่องที่พอถึงองค์กรอิสระ+ศาล แล้วเรื่องนั้นต้องตกไปหรือถูกตรวจสอบ
สนามบินสุวรรณภูมิ เครื่องตรวจวัตถุระเบิด CTX แอร์พอร์ตลิงก์ โครงการบำบัดน้ำเสียคลองด่าน และสารพัดโครงการทุจริต ==> กฤษฎีกาก็เห็นชอบทั้งนั้นแหละ
ถ้าโง่นัก ไม่มีความรู้เรื่องเศรษฐกิจ การเมือง การเงิน และกฏหมาย ก็นั่งอ่านเงียบ ๆ อ่านให้เยอะ เพิ่มพูนรอยหยักในสมอง
ดีกว่าจะมานั่งแถ ตะแบง ดันทุรัง และดักดาน อย่างที่ทำ ๆ อยู่เนี่ย
ผมว่าคุณน่ะเงียบไปเลยดีกว่าครับ ไอ้พวกสนับสนุนทำให้ประเทศชาติล่มจม
บอกท่านไว้ก่อนไม่ต้องหน้าด้านมาโค้เต้ผมอีกนะ เบื่อ เห็นชื่อท่านอ่านสามสี่บรรทัดก็เพลียล่ะ
Community Forum Software by IP.Board 3.4.6
Licensed to: serithai.net