Jump to content


Rxxxx

เป็นสมาชิกตั้งแต่ 27 ตุลาคม 2551
ออฟไลน์ เข้าใช้งานครั้งล่าสุด: 30 พฤษภาคม 2557 10:41
****-

#933973 เกาะติดสถานการณ์ สุเทพ ทวงคืนอำนาจจากรัฐบาลเพื่อปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง

โดย Rxxxx on 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:15

 

สำนักข่าวเนชั่น ‏@nnanews 29 วินาที

"บช.น." สั่ง ทก.สน. " มัฆวานฯ-ทำเนียบฯ-สภา" พร้อมรับ " สถานการณ์รุนแรง " ทบทวนเข้มยุทธวิธี" ปราบจลาจล " #nna

 

อะไรก็เกิดขึ้นได้แล้วนับแต่นาทีนี้

 

     

           ถ้ามันพยายามจะสลายการชุมนุมให้ได้จริงๆ คงต้องวันนี้ละครับ ไม่งั้นพรุ่งนี้ ประชาชนจะมาเป็นล้านมากกว่าอาทิตย์ที่แล้วให้นางปูอกแตกตายอีกรอบ

 

              เอ่....... ทักษิณอยู่ไหนครับ ตายหรือยัง หรือว่าหลบเข้ามาบัญชาการอยู่ที่เซฟเฮาส์ในกรุงเทพแล้ว




#933965 เกาะติดสถานการณ์ สุเทพ ทวงคืนอำนาจจากรัฐบาลเพื่อปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง

โดย Rxxxx on 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:10

 คุณสนธิแกมีจุดยืนที่ไม่ไว้ใจนักการเมืองครับ สมัยท่านมาร์คเป็นนายกฯ ก็ทำหลายๆอย่างที่ผมเองยังมึนงงเลย

 

 ยังไงๆ บ้านเมืองเราก็เป็นประชาธิปไตยครับ คุณสนธิย่อมสามารถตั้งข้อสังเกต แนะนำ ปชป.ได้ ก็เหมือนกันท่านกรณ์ไม่เห็นด้วยกับท่านกำนันสุเทพนั้นแหละ

 

 จริงๆแล้ว ท่านกำนันสุเทพเคยทำเรื่อง สปก. จนเป็นชะงักติดขาแกมาตลอดนะ ผมเองก็ไม่ลืม 

 

  การที่ เอเอสทีวี ตั้งข้อสังเกต ลงปกแบบนี้ คงอยากให้ ปชป. ลาออกมาสู้เต็มตัวมากกว่า

 

 แต่ถ้าไม่ทำตาม ผมก็จะให้กำลังใจทุกฝ่ายที่ต่อสู้ ระบอบทักษิณตามแนวทางของตัวเองต่อไป




#933237 คุณเป็นใคร จบจากไหน ถึงได้โต้แย้งคณะนิติราษฎร์ และทีมกฏหมายของแม้ว

โดย Rxxxx on 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 04:08

ศาล “ทำหน้าที่ถูกต้อง” ในกรณี พ.ร.บ. นิรโทษกรรม (Bangkok Post 25/11/2013)
25 พฤศจิกายน 2013 เวลา 22:38 น.

Court 'did its duty' over amnesty bill (English text below)

http://is.gd/Qu4T4G

 

ศาลรัฐธรรมนูญทำหน้าที่เพื่อคนไทยได้อย่างดี ในการยับยั้งการกระทำของรัฐสภาที่เกี่ยวข้อง

กับรัฐธรรมนูญ คำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญแสดงให้เห็นว่า ฝ่ายที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภา

ไม่อาจใช้อำนาจตามอำเภอใจ เพื่อควบคุมระบบการเมืองของไทยได้

 

คนไทยควรทราบว่าคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญสอดคล้องกับประวัติศาสตร์ 224 ปี

ของระบอบประชาธิปไตยในสหรัฐอเมริกา

 

Federalist Paperเป็นคอลัมน์บทวิจารณ์ในหนังสือพิมพ์ ซึ่งสนับสนุนการนำรัฐธรรมนูญรัฐรวม

(Federal Constitution) ที่ร่างขึ้นในปี ค.ศ. 1787 มาใช้คอลัมน์ดังกล่าวเขียนโดย

นายอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน นายเจมส์ แมดิสัน และนายจอห์นเจย์

 

Federalist PaperNo. 78 เขียนโดยนายแฮมิลตันในปี ค.ศ. 1788กล่าวถึงบทบาทของ

ศาลยุติธรรมในการยืดหยัดต่อต้าน “กฎหมายที่ลำเอียงและไม่เป็นธรรม”ซึ่งฝ่ายนิติบัญญัติ

ให้การรับรอง โดยเขาเตือนว่า “ความอยุติธรรมจะบ่อนทำลายรากฐานความเชื่อมั่นของภาครัฐ

และเอกชน และนำมาซึ่งความไม่ไว้วางใจกันและความทุกข์ยากในทุกแห่งหน”

 

ด้วยถ้อยคำที่เรียบง่ายเหล่านี้ราวกับนายแฮมิลตันได้ทำนายถึงวิกฤตการเมือง

ที่คนไทยกำลังเผชิญอยู่

 

ใน Federalist PaperNo.71 นายแฮมิลตันเห็นว่าฝ่ายนิติบัญญัติอาจบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่

อย่างเป็นธรรม เขาเขียนว่า “บางครั้งผู้แทนของประชาชนที่อยู่ในสภาผู้แทนราษฎร อาจหลงผิด

คิดว่าพวกตนคือประชาชนทั้งหมด และแสดงความไม่พอใจและรังเกียจอย่างรุนแรงต่อเสียงคัดค้าน

แม้เพียงเล็กน้อยจากภาคส่วนอื่น ราวกับว่าการทำหน้าที่ตามสิทธิ ตัวอย่างเช่นสิทธิของฝ่ายตุลาการ

เป็นการละเมิดอำนาจและดูหมิ่นศักดิ์ศรีของพวกตน”

 

วันนี้คนไทยเราได้ยินคำกล่าวอ้างที่ว่าศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธิ์ก้าวก่ายอำนาจของรัฐสภา

ในการทำตามที่ฝ่ายเสียงข้างมากต้องการ

 

ภายใต้ระบอบรัฐสภาไทยฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารรวมกันเป็นส่วนหนึ่ง

ของรัฐบาล มีการแบ่งแยกอำนาจน้อยลง และเป็นอุปสรรคต่อการตรวจสอบถ่วงดุล ซึ่งจะเป็นการ

ปกป้องประชาชนจากความไม่ยุติธรรมที่อาจเกิดจากกลุ่มการเมืองกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

 

ในกรณีของร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่รัฐสภาเห็นชอบ แต่ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้เป็นโมฆะ

การกระทำของรัฐสภาแท้จริงแล้วเป็นการใช้อำนาจของฝ่ายบริหาร รัฐบาลเสนอและสนับสนุน

ร่างสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาลงมติเห็นชอบ

 

แต่ไหนแต่ไรมาในสหรัฐอเมริกาศาลยุติธรรมมีอำนาจคัดค้านการกระทำของผู้บริหารในรัฐบาล

 

ในคดีวอเตอร์เกทที่ทำให้ประธานาธิบดีริชาร์ดนิกสัน ต้องลาออกจากตำแหน่ง ศาลฎีกาตัดสินว่า

ประธานาธิบดีไม่มีอำนาจปฏิเสธการส่งมอบหลักฐานที่อาจเป็นโทษกับตนให้แก่ศาลได้

 

ทนายความของประธานาธิบดีแย้งว่าศาลยุติธรรมไม่มีสิทธิ์ก้าวก่ายการทำงานภายในหน่วยงาน

ของรัฐบาล แต่ศาลฎีกาตัดสินตรงกันข้าม โดยเห็นว่าศาลยุติธรรมเท่านั้นที่สามารถใช้อำนาจตุลาการได้

 

ไม่มีฝ่ายใดสามารถมาบอกว่าศาลต้องคิดอย่างไร ศาลมีสิทธิ์ตีความรัฐธรรมนูญแตกต่าง

ไปจากหน่วยงานของรัฐบาล

 

ในการปกครองด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมที่เหมาะสมข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องทั้งหมด

ต้องถูกนำมาพิจารณาก่อนการตัดสินการกระทำที่เป็นอาชญากรรมประธานาธิบดีต้องปฏิบัติ

ตามกฎนี้เช่นเดียวกับประชาชนทั่วไป

 

ก่อนหน้านี้ศาลฎีกาเคยปฏิเสธสิทธิ์ของประธานาธิบดีแฮร์รี่ ทรูแมน ในการออกพระราชกฤษฎีกา

ปกครองประเทศ แม้จะอยู่ในภาวะสงครามและประเทศอยู่ในสถานการณ์ฉุกเฉิน

 

ขณะนั้นเป็นช่วงสงครามเกาหลีและสหภาพแรงงานกำลังจะนัดหยุดงานเพื่อเรียกร้องค่าจ้างที่สูงขึ้น

ประธานาธิบดีทรูแมนได้เข้าควบคุมบริษัทผลิตเหล็กกล้า เพื่อรักษาระดับการผลิตเหล็กกล้าเอาไว้

 

ศาลฎีกาตัดสินว่าการใช้อำนาจของประธานาธิบดีในภาวะสงครามตามรัฐธรรมนูญไม่ได้ครอบคลุม

ถึงกิจการพลเรือนที่เกี่ยวกับการนัดหยุดงาน

 

ในปีค.ศ. 1866 ในคดี ExParte Miligan ศาลฎีกาสหรัฐตัดสินว่าอำนาจของประธานาธิบดีลินคอล์น

ไม่ครอบคลุมถึงการจัดตั้งศาลทหารบางประเภทเพื่อจับกุมและดำเนินคดีประชาชนที่สนับสนุนรัฐฝ่ายใต้

ในสงครามกลางเมือง

 

แม้ในยามสงครามศาลฎีกาได้จำกัดขอบเขตอำนาจของฝ่ายบริหารโดยกล่าวว่าประธานาธิบดีไม่ได้รับ

มอบหมายอำนาจให้ทำตามที่ปรารถนาเพราะ “เขาถูกควบคุมโดยกฎหมาย”

 

ศาลให้ความเห็นว่าหากปราศจากการคุ้มครองโดยกฎหมาย “ชีวิตประชาชนจะตกอยู่ในมือของผู้ปกครอง

ที่ชั่วร้าย หรือไม่ก็เสียงโห่ร้องของฝูงชนที่ตื่นตระหนก”ทั้งยังกล่าวว่า “คนชั่วร้ายกระหายอำนาจ

เกลียดชังเสรีภาพและรังเกียจกฎหมาย อาจจะเข้ายึดครองที่ที่เคยเป็นของรัฐบาลวอชิงตันและลินคอล์น”

 

หน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาและประเทศไทย คือ การอยู่ตรงกลางระหว่าง

ประชาชนกับการใช้อำนาจโดยมิชอบอย่างเห็นแก่ตัวของคนในรัฐบาล

 


บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์โดย สตีเฟน บี. ยัง อดีตคณบดีและอาจารย์วิชากฎหมาย

คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยแฮมไลน์ และอดีตผู้ช่วยคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

25 พฤศจิกายน2556

 

Court 'did its duty' over amnesty bill

 

The Constitution Court has done its duty well for Thais in holding an act of the parliament subject to the constitution. In this decision the court has ruled that a majority in parliament may not exercise a willful and unaccountable power over Thai politics.

  • Published: 25/11/2013 at 12:00 AM

It is important for Thais to know the Constitution Court's decision is fully consistent with 224 years of US democracy.

 

Federalist Paper No.78, written by Alexander Hamilton in 1788, considered the role of courts in standing up to "unjust and partial laws" passed by the legislature. He warned that the "spirit of injustice" will "sap the foundations of public and private confidence, and to introduce in its stead universal distrust and distress".

 

With these simple words, Hamilton predicted the current political crisis facing the Thai people.

 

The Federalist Papers were newspaper commentaries advocating adoption of the proposed Federal Constitution which had been drafted in 1787. They were written by Alexander Hamilton, James Madison and John Jay.

Federalist Paper No.71, also written by Hamilton, foresaw that legislatures could fail in their duties to act justly. He wrote: "The representatives of the people, in a popular assembly, may sometimes fancy that they are the people themselves, and betray strong symptoms of impatience and disgust at the least sign of opposition from any other quarter; as if the exercise of its rights, by the judiciary, were a breach of their privilege and an outrage to their dignity."

 

Just so we hear in Thailand today claims that the Constitution Court has no right to intrude into the power of parliament to act as its majority wishes.

 

Under Thailand's parliamentary system, the legislature and the executive are fused into one branch of government, reducing the separation of powers and undercutting the checks and balances which protect the people against injustice that might come from one political faction.

 

In the case of the constitutional amendment passed by parliament and just voided by the Constitution Court, the act of parliament was really an act of the executive power.

 

It was the government which introduced and carried the act.

 

The House and the Senate gave their consent to an executive decision.

 

In the US, the courts have long had the power to overrule acts of our presidential executives.

 

In the Watergate case which drove Richard Nixon to resign, the US Supreme Court ruled the president had no privilege to withhold evidence from the courts which might incriminate him.

 

The president's lawyers had argued that the courts had no right to intrude into the inner workings of another branch of government. But the Supreme Court held to the contrary that only the courts could exercise the judicial power.

 

No other branch could step in to tell the courts what to think. The court had the right to interpret the constitution differently from the beliefs of other branches of government.

 

The rule of law and due process of justice demanded that all the relevant facts be brought before a trial of alleged criminal activity. The president had to obey that rule just as any ordinary citizen had to.

 

Earlier, the Supreme Court had denied president Harry Truman the right to govern by personal decree _ even during war and even in a national emergency.

 

To keep up steel production during the Korean War when unions were about to strike over higher wages, President Truman took control of the steel companies.

 

The Supreme Court held that the war powers provided to the president by the constitution did not extend to civil matters involving labour strikes.

 

And, much earlier, in the 1866 case of Ex Parte Miligan, the US Supreme Court held that the authority of president Abraham Lincoln did not extend to the establishment of certain military courts to arrest and try citizens who supported the rebellion of the southern states in our Civil War.

 

The Supreme Court limited executive power in the midst of war saying the president had no mandate to do as he wished as "he is controlled by law".

 

The court commented that if the protection of the law were to be withdrawn, "the people would be at the mercy of wicked rulers or the clamour of an excited people", noting in addition that "wicked men, ambitious of power, with hatred of liberty and contempt of law, may fill the place once occupied by Washington and Lincoln".

 

The duty of a constitutional court in the US and in Thailand is to stand between the people and the selfish abuse of power by those in government.

 

Stephen B Young is former dean and professor of law, Hamline University School of Law, and former assistant dean, the Harvard Law School.



 

https://www.facebook...151707718100957




#926630 !!!! พวก ดารา กะ 40 สว หายไปไหนหมดครับ ทำไมไม่ยอมทำตามมติ มวล...

โดย Rxxxx on 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:43

 มันมาตั้งกระทู้เเล้วเผ่นไปเลย ต่อไปเห็นชื่อนี้ อย่าไปให้อาหารมันเลยครับ

  พวกไร้ความรับผิดชอบ มาโพสหวังยั่วพวกเราให้เสียเวลากับกระทู้มันอย่างเดียว




#925223 จะเอาไงอีกล่ะ!-“สมเกียรติ อ่อนวิมล” ค้านม็อบดาวกระจาย ชี้ขัดหลักอหิงสา แน...

โดย Rxxxx on 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 05:39

 แกแผ่นเสียงตกร่องแล้วครับ เหมือนหมอประเวศโลกสวยเกินนั้นแหละ




#922070 ลาย...... เริ่มกาก

โดย Rxxxx on 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 02:13

  เงินทักษิณทำให้กากเดนการเมืองทุกคนอยู่ได้ด้วยกันจริงๆ




#916836 เข้า pantip ห้องราชดำเนิน ทำไมฟรายแดง เยอะจัง

โดย Rxxxx on 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:29

 ปล่อยมันไปเถอะครับ ห้องอื่นๆเขารำคาญมันมากๆ

 

 คนเล่นก็ไม่กี่คน ขยันปั่นกระทู้เยอะๆ แต่กระทู้ส่วนใหญ่มีคนไปตอบไม่ถึงสิบความคิดเห็นเลย -_-

 

 กระทู้ที่มีคนตอบเยอะๆ นั่นแหละคือกระทู้คิดต่าง มีคนเข้าไปตั้ง เข้ามาตอบแบบขัดใจ พวกขาประจำห้องนี้จะเข้าไปป่วนทันที

 

   1385058480-942211-o.jpg




#912951 ถาวร เสนเนียม เจอรมต.เต้นเชือดกลางเรื่องเด่นเย็นนี้แล้ว....เฮ้อ...เหนื่อย

โดย Rxxxx on 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 23:19

   ใครจะตามไอเต้นทันนะ เวลาก็จำกัดด้วย

 

    แหม่... ไอเต้นชนะยกแรก ก็ดีใจเหมือนถูกหวยใต้ดินหนึ่งงวด

 

   เอามาคุยโวใหญ่โตที่เวทีแดงตั้งนานนนนนนนนนนนนนนนนนน  :rolleyes:




#907306 แชร์ว่อนเน็ต !!! ลูกแม้ว ???? บินเผ่นไปอังกฤษแล้ว ????

โดย Rxxxx on 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 03:51

แวะไปอ่านที่ 1000 Drift ลากดำนา พวกควายแดง บอกว่า ....
1. เป็นความลับของลูกค้า
2. พนักงานการบินไทย จะเจอปัญหาแน่ๆ กรณีนี้ ที่เอาข้อมูลออกมาข้างนอก

จริง เท็จ อย่างไร หรือ ควายแดง บอกไม่หมด ขอคำชี้แจงด้วยครับ

  

        ว่าแล้วว่าลิ่วล้อต้องพล่าน ^_^




#906595 สื่อนอกตีแผ่'เสียงนกหวีด'ดับฝัน'แม้ว'กลับไทย-ถึงขั้นเสียอำนาจ...

โดย Rxxxx on 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:20

มีต้นฉบับไหมครับ ไม่มีผมไม่เชื่อ เอิ๊กๆ :lol: :lol:

 

    http://abcnews.go.co...otests-20859698

 

Homecoming Still out of Ousted Thai Leader's Reach

 
BANGKOK November 12, 2013 (AP)
By GRANT PECK and THANYARAT DOKSONE Associated Press
 
    After two weeks of noisy protests, the message from the streets of Bangkok is clear: There will be no immediate homecoming for Thailand's most polarizing political figure, Thaksin Shinawatra.

    The former prime minister has waited five years — the last two with his own sister in power — to come home from self-imposed exile as a free man. But broad-based protests over a proposed deal for his return, largely ending with the frantic extinguishing of a bill that would have erased a corruption conviction, suggest that wait is far from over.

     Analysts say the misstep by the government of Prime Minister Yingluck Shinawatra and her Pheu Thai party suggests that Thaksin, the country's most powerful politician, may be losing his grip on Thai politics.

     "I think it means that Mr. Thaksin perhaps lost his ability to calculate or to predict the Thai political landscape," said Veerapat Pariyawong, an independent scholar.

     "This is Thaksin's problem," said Prinya Thaewanarumitkul, a law lecturer at Bangkok's Thammasat University. "He's too hotheaded and then makes a mistake."

     It's understandable that the former prime minister might be frustrated. Supporting pro-Thaksin parties through two successful election campaigns — in 2007 and 2011 — and funding the grassroots pro-Thaksin Red Shirts organization — and likely many under-the-table deals — has probably cost the billionaire businessman-politician millions of dollars, but still failed to free him from the threat of time behind bars.

    He was ousted in 2006 after middle class-led protests in Bangkok accusing him of corruption, rights violations and disrespect for King Bhumibol Adulyadej paved the way for a military coup. The action hit both his pride and his wallet: more than a billion dollars of his assets were seized.

    The coup also sparked years of sometimes-violent struggle for political power between Thaksin's supporters and opponents, hitting a nadir in 2010 when an army crackdown on pro-Thaksin demonstrators led to the deaths of more than 90 people.

Thaksin was convicted in 2008 of violating a conflict-of-interest law and fled abroad to escape a two-year jail term. Paving the way for his return has been the unspoken priority of Yingluck's government.

    After smoothing relations with the army and the palace, Yingluck's government made its move last month, submitting a political amnesty bill to Parliament. Its original version would have let rank-and-file violators of all camps off the hook for politically linked offences, but not leaders of political factions. It didn't kick up much of a fuss beyond a small circle of hardcore anti-Thaksinites, who warned it was a trick to lay out the welcome mat for the former prime minister.

They were right.

      After the House of Representatives passed the original bill in principle, it was amended in committee to also cover political big-shots, including Thaksin.

    The bait-and-switch tactic flopped badly, sparking anger and disappointment among many Thaksin opponents as well as supporters. Those unhappy with the bill included some Red Shirts who were angered that the amended bill did not apply to people accused of violating the country's harsh law against insulting the monarchy.

Some Red Shirts who lost friends and relatives in the 2010 army crackdown also were angry that justice would not be done, and especially that Democrat Party leader Abhisit Vejjajiva, prime minister at the time, would not be held accountable. Nonpartisan opposition came from human rights groups, who opposed the amnesty for perpetuating impunity for officials.

    Thaksin, in a statement released by his lawyer, complained that the amnesty bill "has been criticized and turned into a political issue to slander me, to distort the message that it is to return the money and whitewash the wrongdoings for only one man even though the true purpose of the amnesty law is to let the country move beyond the conflict and to return justice to the victims of the 2006 coup."

But faced with growing anger that could fracture its own political base, Yingluck's government signalled that it would let the bill die, and the Senate voted unanimously against it on Monday. The more powerful House could still revive the bill after 180 days, but Yingluck pledged it would not.

      Thaksin's opponents had hoped to build on the anti-amnesty movement to launch a campaign to oust Yingluck's government. But once the Senate rejected the bill, the growing political crisis was quickly deflated. A dramatic call by the opposition Democrat Party for civil disobedience fell flat.

Thaksin, meanwhile, must bide his time.

"The Pheu Thai party must know what lessons they've learned from trying to force the people to accept their action," said Prinya, who like many other observers believes that the bill's rejection has delayed any hopes that Thaksin may have of returning home soon.

 

    "At this point, Thaksin has to keep a low-profile," said Pavin Chachavalpongpun , an associate professor at Kyoto University's Centre for Southeast Asian Studies. But he said Thaksin remains "a significant factor in Thai politics."

"If push comes to shove, Thaksin can press the election button and expect to win again," political scientist Thitinan Pongsudhirak of Bangkok's Chulalongkorn University wrote in an op-ed for the Bangkok Post newspaper last week. "For the Red Shirts and Pheu Thai voters, deploring the amnesty bill is not the same as voting for the opposition party. Pheu Thai will most likely win an election again if one were held tomorrow. This is Thaksin's ultimate fallback position."

   

    Copyright 2013 The Associated Press. All rights reserved. This material may not be published, broadcast, rewritten or redistributed.




#903048 เกาะติดสถานการณ์ สุเทพ ทวงคืนอำนาจจากรัฐบาลเพื่อปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง

โดย Rxxxx on 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:08

copy เค้ามาจาก Fb ขำๆ แต่ก็...เข้าจาย จ้าาา
 

 นิทาน "พรบ.นิรโทษกรรม"

ตอนนี้มีความเห็นต่างกันของผู้ชุมนุมในเรื่องการประท้วง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม
ฝ่ายนึงบอกว่าเมื่อรัฐบาลถอยแล้วก็...ควรเลิกประท้วง เพื่อความสงบของชาติ
อีกฝ่ายก็บอกว่า...ควรยกระดับเพื่อขับไล่รัฐบาล..เพราะ บลา บลา บลา
เหมือนหาเรื่อง ได้คืบเอาศอก ก็เลยอยากจะยกตัวอย่างเรื่องง่ายๆ ใกล้ๆ ตัวในสังคมไทย เรื่องมันก็มีอยู่ว่า..

เจ้า อาวาสวัดนึงพาสีกาสาวเข้ากุฏิในยามวิกาลตอนตีสี่...กำลังถอดจีวร...พร้อมจะ ดันให้สุดซอยอะไรประมาณนั้น

ส่วนสาวเจ้าก็แต่งตัวอยู่ในชุดนอนบางเบาที่พร้อมจะซอยให้สุดดัน อิอิ

แต่บังเอิญชาวบ้านแอบจับตาดูอยู่...ก็ชวนกันมาประท้วงไล่สีกาสาว พร้อมกับตะโกนว่า “เลวมาก เอาสีกาชั่วออกจากกุฏิพระเดี๋ยวนี้!”

เจ้า อาวาสตกใจ กลัวลนลานที่โดนจับได้คาหนังคาเขา เลยรีบไล่ (ถอน) ให้สีกาถอยออกจากกุฏิ กลับไปก่อน

พร้อมกับตะโกนบอกชาวบ้านที่มาประท้วงว่า
“โอ เคร โอเคร กูไล่สีกาชั่วถอยออกจากกุฏิแล้ว นี่! กูยอมทำตามที่พวกเมิงเรียกร้องแล้วนะ

ถ้าเห็นว่าไม่ดีก็จะไม่พาสีกาเข้ากุฏิอีกแระ สัญญาอีกหกเดือนก็ไม่พาเข้ามา

พูดจริ๊ง เลิกชุมนุมเถ๊อะ กลับบ้านเถ๊อะ ให้อภัยกันเพื่อเห็นแก่ความสงบสุขของหมู่บ้านเรา นะ นะ”

แต่ชาวบ้านกลุ่มนึงก็ร้อง “อ้าว แค่เนี๊ยะ” แล้วตะโกนบอกว่า “เจ้าอาวาส ออกไป! ออกไป!”

เจ้า อาวาสก็ร้องออกมา...ทำหน้าตาเหมือนปูถูกรังแก “อุตะ อุตะ! กูว่าแล้ว พวกเมิงตั้งใจหาเรื่องกู

ได้คืบเอาศอก สีกากูก็สั่งให้กลับไปแล้ว ยังมาไล่กูอีก พาลนี่หว่า

...ฮือ ฮือ...ทำไม พวกเมิงจะมาไล่กูด้วยเหตุผลไร”

ทำหน้างงๆ ไม่เข้าใจ เสียงสั่นเครือปนสะอื้นเล็กน้อย

“อ้าว! เว้ย! เฮ้ย! ก็เมิงเป็นพระทำอย่างงี้ได้ไง

เมิงต้องรู้ดิว่าทำอย่างนี้มันเลว ผิดศีล มันอาบัติ ต้องปาราชิก

เพราะฉะนั้นเจ้าอาวาสต้องสึก อยู่ไปกูก็ไม่ไหว้ ไม่ทำบุญ” ชาวบ้านพยายามอธิบายให้ฟัง

แต่...เจ้าอาวาสทำปากจู๋ ชายตาแล้วพูดขึ้นว่า

“กู ไม่รู้ กูไม่สึก ไม่ไหว้ก็ไม่ไหว้

แล้วอย่าน้า ขืนก้าวข้ามสะพานมาอีกก้าวเดียวจะเรียกตำรวจมาจับพวกเมิง โทษฐานทำให้กุฏิกูไม่มั่นคง!”

ชาวบ้าน ??!??!?!

เข้าใจยังครับ ทำไม...บางกลุ่มถึงมุ่งขับไล่รัฐบาล 




#903038 ขอเรียกร้องให้ หอการค้าทั่วประเทศกดดันให้ นายอิสระ ลาออกจากตำแหน่ง

โดย Rxxxx on 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:03

  ทีเรื่อง พรบ.กู้สองล้านล้าน เป็นหนี้หัวโตมากไปอีก 50 ปี

  หอการค้าสนับสนุนเชียว




#901576 ห้าทุ่มคืนนี้รอฟังแถลงรัดทะบานครับ ไม่ลาออกก็ยุบสภา ชินแฟมิลี่เตรียมพร้อมแล้ว

โดย Rxxxx on 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 20:51

ขนาดลูกพรรคระดับล่างสุดยังด้าน เหนียวสุดๆ นางใหญ่คงไม่ต้องพูดถึง -_-

 

 

1382330395-1374807501-o.gif

 

:angry:

 

post_353_0.jpg




#898327 ออกมาแล้ว 'อีฟลุ๊ค เดอะสตาร์' ดาราเสื้อแดงตกอับ ชี้หลอกคนร่วมม็อบ...

โดย Rxxxx on 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 03:17

 ฟลุ๊คจำพี่ๆสามคนนี้ได้ไหมลูก  :o

 

 

1384079173-229EC0E1E7-o.jpg

 

 

556000014614502.JPEG

 

 

ma.jpg




#896865 เกาะติดสถานการณ์ สุเทพ ทวงคืนอำนาจจากรัฐบาลเพื่อปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง

โดย Rxxxx on 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 05:48

  ปชป. คปท. ทุกกลุ่มต้องดูแลประชาชนที่มาร่วมชุมนุมให้ปลอดภัยนะครับ

 

  แค่นี้ ปูก็อกแตกตายเเล้ว ไม่มีความจำเป็นใดๆที่ต้องเคลื่อนย้ายการชุมนุมไปไหน

 

  ประชาชนจะออกมาเยอะๆเพราะไอพวกสมุนเลวๆเรียกแขกรายวันให้ทักษิณ ปูพล่านทุกวัน