- ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด
- → ดูประวัติผู้ใช้: ความเห็น: ท่าประดู่
ท่าประดู่
เป็นสมาชิกตั้งแต่ 24 พฤษภาคม 2557ออฟไลน์ เข้าใช้งานครั้งล่าสุด: 28 พฤษภาคม 2557 23:23





Community Stats
- กลุ่มผู้ใช้ Members
- จำนวนกระทู้และความเห็น 32
- Profile Views 2,621
- Member Title น้องใหม่
- อายุ ไม่ระบุ
- วันเกิด ไม่ระบุ
-
Gender
ไม่ระบุ
เครื่องมือสมาชิก
ผู้เยี่ยมชมล่าสุด
Posts I've Made
In Topic: ตอบเขาไม่ได้ เอาโครตเหง้ามาข่มเลยเหรอครับ ปากกล้าขาสั่น จริงๆ
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 17:27
In Topic: ศาลทหาร มีผู้พิพากษา เป็นทหารหน่วยไหนครับ
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 12:31
คุณท่าประดู่ อย่าไปกังวลเลยครับ ศาลทหารท่านก็แต่งตั้งจากผู้ที่มีความรู้ทางกฎหมาย
เหมือนศาลพลเรือนครับ มีศาลชั้นต้น อุทธรณ์ ฎีกา เหมือนกัน
ที่เขาประกาศให้บางเรื่องไปขึ้นศาลทหารนี่ เพราะขณะนี้มันอยู่ในห้วงเวลาที่เขาประกาศ
กฎอัยการศึกครับ เขาจึงคงพิจารณาว่าเรื่องไหนที่มันล่อแหลม กระทบต่อความมั่นคงของ
ประเทศให้ไปขึ้นศาลทหาร
มันมีผลตั้งแต่เขาประกาศครับ ไม่มีผลย้อนหลังไปถึงคดีก่อนหน้าประกาศ เพราะฉะนั้นเมื่อ
เขาประกาศแล้วก็ไม่ควรไปทำอะไรที่มันเป็นการฝ่าฝืน ถ้าไม่อยากขึ้นศาลทหาร เท่านั้นเอง
คิดว่าเขาใช้เฉพาะในห้วงเวลานี้เท่านั้นครับ เมื่อเหตุการณ์มันกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ทุกอย่าง
มันก็คงกลับมาเหมือนเดิม
ครับ ขอบคุณครับที่เข้าในเจตนา
ผมแค่ กังวล อสส. ซึ่งเป็นน้ำบ่อสุดท้ายของใครหลายคน
เพราะ อสส. ของศาลทหาร เราๆ พลเรือน จะห่างไกลกันมาก
In Topic: ศาลทหาร มีผู้พิพากษา เป็นทหารหน่วยไหนครับ
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 12:06
จร้าา แหม มาอีกละ โพสแบบนี้ออกไปถือป้ายยังล่ะครับผม ผมรอชม แล้วกัน กระแสต้าน เยอะแล้ว
ภาค 3
มาตรา 36* ในเวลาไม่ปกติ คือ ในเวลาที่มีการรบหรือสถานะ สงครามหรือได้ประกาศใช้กฎอัยการศึก ศาลทหารซึ่งมีอยู่แล้วในเวลาปกติ คงพิจารณาพิพากษาคดีอาญาได้ตามอำนาจ แต่ถ้าผู้มีอำนาจประกาศใช้กฎ อัยการศึกได้ประกาศ หรือผู้บัญชาการทหารสูงสุดได้สั่งตามกฎหมายว่าด้วย กฎอัยการศึก ให้ศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาใด ๆ อีก ก็ให้ ศาลทหารพิจารณาพิพากษาคดีอาญาตามประกาศหรือคำสั่งนั้นได้ด้วย เมื่อหมดภาวะการรบหรือสถานะสงครามหรือเลิกใช้กฎอัยการศึก ศาลทหารยังคงมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่ค้างอยู่ในศาลหรือที่ยังมิได้ฟ้อง แต่ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมีอำนาจสั่ง โอนคดีหรือส่งผู้ต้องหาไปดำเนินคดียังศาลทหารแห่งอื่นได้ และให้ศาลที่พิจารณา พิพากษาคดีเช่นนี้มีอำนาจและหน้าที่ดังศาลทหารในเวลาไม่ปกติ *[มาตรา 36 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2503] มาตรา 37 ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการตามความในมาตรา 30 มีอำนาจแต่งตั้งผู้พิพากษาศาลพลเรือนเป็นตุลาการได้ และแต่งตั้งพนักงาน อัยการ จ่าศาลพลเรือน หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่เหมาะสมเป็นอัยการทหารและ จ่าศาลทหารได้ มาตรา 38 ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยศาลทหารในเวลาปกติมาใช้บังคับ ในศาลทหารในเวลาไม่ปกติโดยอนุโลม
ศาลทหารในเวลาไม่ปกติ
_______
หางโผล่ก็บอก ไม่ต้องแอ็บหรอก ที่นี้เค้าชินแล้ว อยากรู้ว่ากระแสต้านเยอะแล้ว ก็เชิญออกไปถือป้ายซักหน่อยสิ จะได้รู้ว่าศาลทหารเป็นยังไง
เง็งจริง ๆ กับ ทัศนคติแบบนี้ ไม่ว่ากันครับ
In Topic: ศาลทหาร มีผู้พิพากษา เป็นทหารหน่วยไหนครับ
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 12:00
ครับผม ผมรอชม แล้วกัน กระแสต้าน เยอะแล้ว
ภาค 3
มาตรา 36* ในเวลาไม่ปกติ คือ ในเวลาที่มีการรบหรือสถานะ สงครามหรือได้ประกาศใช้กฎอัยการศึก ศาลทหารซึ่งมีอยู่แล้วในเวลาปกติ คงพิจารณาพิพากษาคดีอาญาได้ตามอำนาจ แต่ถ้าผู้มีอำนาจประกาศใช้กฎ อัยการศึกได้ประกาศ หรือผู้บัญชาการทหารสูงสุดได้สั่งตามกฎหมายว่าด้วย กฎอัยการศึก ให้ศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาใด ๆ อีก ก็ให้ ศาลทหารพิจารณาพิพากษาคดีอาญาตามประกาศหรือคำสั่งนั้นได้ด้วย เมื่อหมดภาวะการรบหรือสถานะสงครามหรือเลิกใช้กฎอัยการศึก ศาลทหารยังคงมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่ค้างอยู่ในศาลหรือที่ยังมิได้ฟ้อง แต่ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมีอำนาจสั่ง โอนคดีหรือส่งผู้ต้องหาไปดำเนินคดียังศาลทหารแห่งอื่นได้ และให้ศาลที่พิจารณา พิพากษาคดีเช่นนี้มีอำนาจและหน้าที่ดังศาลทหารในเวลาไม่ปกติ *[มาตรา 36 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2503] มาตรา 37 ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการตามความในมาตรา 30 มีอำนาจแต่งตั้งผู้พิพากษาศาลพลเรือนเป็นตุลาการได้ และแต่งตั้งพนักงาน อัยการ จ่าศาลพลเรือน หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่เหมาะสมเป็นอัยการทหารและ จ่าศาลทหารได้ มาตรา 38 ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยศาลทหารในเวลาปกติมาใช้บังคับ ในศาลทหารในเวลาไม่ปกติโดยอนุโลม
ศาลทหารในเวลาไม่ปกติ
_______
ออกไปถือป้ายยังล่ะ
จร้าา แหม มาอีกละ โพสแบบนี้
In Topic: ศาลทหาร มีผู้พิพากษา เป็นทหารหน่วยไหนครับ
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 11:49
ภาค 3
มาตรา 36* ในเวลาไม่ปกติ คือ ในเวลาที่มีการรบหรือสถานะ สงครามหรือได้ประกาศใช้กฎอัยการศึก ศาลทหารซึ่งมีอยู่แล้วในเวลาปกติ คงพิจารณาพิพากษาคดีอาญาได้ตามอำนาจ แต่ถ้าผู้มีอำนาจประกาศใช้กฎ อัยการศึกได้ประกาศ หรือผู้บัญชาการทหารสูงสุดได้สั่งตามกฎหมายว่าด้วย กฎอัยการศึก ให้ศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาใด ๆ อีก ก็ให้ ศาลทหารพิจารณาพิพากษาคดีอาญาตามประกาศหรือคำสั่งนั้นได้ด้วย เมื่อหมดภาวะการรบหรือสถานะสงครามหรือเลิกใช้กฎอัยการศึก ศาลทหารยังคงมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่ค้างอยู่ในศาลหรือที่ยังมิได้ฟ้อง แต่ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมีอำนาจสั่ง โอนคดีหรือส่งผู้ต้องหาไปดำเนินคดียังศาลทหารแห่งอื่นได้ และให้ศาลที่พิจารณา พิพากษาคดีเช่นนี้มีอำนาจและหน้าที่ดังศาลทหารในเวลาไม่ปกติ *[มาตรา 36 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2503] มาตรา 37 ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการตามความในมาตรา 30 มีอำนาจแต่งตั้งผู้พิพากษาศาลพลเรือนเป็นตุลาการได้ และแต่งตั้งพนักงาน อัยการ จ่าศาลพลเรือน หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่เหมาะสมเป็นอัยการทหารและ จ่าศาลทหารได้ มาตรา 38 ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยศาลทหารในเวลาปกติมาใช้บังคับ ในศาลทหารในเวลาไม่ปกติโดยอนุโลม
ศาลทหารในเวลาไม่ปกติ
_______
ครับผม ผมรอชม แล้วกัน กระแสต้าน เยอะแล้ว
- ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด
- → ดูประวัติผู้ใช้: ความเห็น: ท่าประดู่
- Privacy Policy
- กฎการใช้งานเว็บบอร์ด ·