
Edited by Stargate-1, 19 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 20:16.
ตอบ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 18:56
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 16:41
เรามารู้จักก๊าซธรรมชาติกันเถอะ!
ก๊าซธรรมชาติ คือ ส่วนผสมของก๊าซไฮโดรคาร์บอน และสิ่งเจือปนต่างๆในสภาวะก๊าซ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่พบในธรรมชาติ ได้แก่ มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เพนเทน เป็นต้น สิ่งเจือปนอื่นๆที่พบในก๊าซธรรมชาติ ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนไดซัลไฟด์ ฮีเลียม ไนโตรเจนและไอน้ำ เป็นต้น การที่ก๊าซธรรมชาติได้ชื่อว่าเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเนื่องจากเป็นสารที่มีส่วนประกอบของอะตอม 2 ชนิด คือ ไฮโดรเจน (H) กับ คาร์บอน © รวมตัวกันในสัดส่วนของอะตอมที่ต่างๆกัน โดยเริ่มตั้งแต่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนอันดับแรกที่มีคาร์บอนเพียง 1 อะตอม กับ ไฮโดรเจน 4 อะตอม มีชื่อเรียกโดยเฉพาะว่า "ก๊าซมีเทน"
ก๊าซธรรมชาติ ที่ได้จากแต่ละแหล่งอาจประกอบด้วยก๊าซมีเทนล้วนๆ หรืออาจจะมีก๊าซไฮโดรคาร์บอนชนิดอื่นๆปนอยู่บ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติ แต่ละแห่งเป็นสำคัญ แต่โดยทั่วไปแล้ว ก๊าซธรรมชาติจะประกอบด้วยก๊าซมีเทนตั้งแต่ 70 เปอร์เซนต์ขึ้นไป และมีก๊าซไฮโดรคาร์บอนชนิดอื่นปนอยู่บ้าง ก๊าซธรรมชาติที่ประกอบด้วยมีเทนและอีเทนเกือบทั้งหมด เรียกว่า “ก๊าซแห้ง (dry gas)” แต่ถ้าก๊าซธรรมชาติใดมีพวก โพรเพน บิวเทน และพวกไฮโดรคาร์บอนเหลว หรือก๊าซโซลีนธรรมชาติ เช่น เพนเทน เฮกเทน ฯลฯ ปนอยู่ในอัตราที่ค่อนข้างสูง เรียกก๊าซธรรมชาตินี้ว่า “ก๊าซชื้น (wet gas)”
ในต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศที่มีแหล่งก๊าซของตัวเอง เมื่อแยกก๊าซอื่น ๆ ออกไปแล้วก็จะนำส่วนที่มีปริมาณก๊าซ มีเทนมากนี้มาใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ เดิมเรียก ก๊าซธรรมชาติอัด (Compressed Natural Gas “CNG”) แต่ต่อมาเปลี่ยนชื่อเรียกใหม่เป็น ก๊าซธรรมชาติสำหรับ ยานพาหนะ หรือ Natural Gas For Vehicles “NGV” หรือที่เรียกกันว่า เอ็นจีวี) ซึ่งสำหรับในประเทศไทยของเราก็ได้มีมาตรการส่งเสริมให้ใช้พลังงานสะอาดในยานพาหนะ
ก๊าซธรรมชาติ ที่ประกอบด้วยมีเทนหรืออีเทน หรือที่เรียกว่าก๊าซแห้งนั้น จะมีสถานะเป็นก๊าซที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ ดังนั้น การขนส่งจึงจำเป็นต้องวางท่อส่งก๊าซ ส่วนก๊าซชื้นที่มีโพรเพนและบิวเทน ซึ่งทั่วไปมีปนอยู่ประมาณ 4 – 8 เปอร์เซ็นต์ จะมีสถานะเป็นก๊าซ ที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ เช่นกัน เราสามารถแยกโพรเพน และบิวเทน ออกจากก๊าซธรรมชาติได้ แล้วบรรจุลงในถังก๊าซ เรียกก๊าซนี้ว่า ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas หรือ LPG ซึ่งก็คือ ก๊าซหุงต้มที่เราใช้กันในครัวที่บ้านนั่นเอง)
กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสม และให้เกิดคุณค่าทางเศรษฐกิจสูงสุด จะแตกต่าง จากกระบวนการกลั่นน้ำมัน ที่เริ่มต้นการกลั่น ด้วยการแยกองค์ประกอบน้ำมัน ส่วนที่เบาที่สุด ออกมาก่อน ขณะที่การแยกก๊าซธรรมชาตินั้น สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ส่วนที่หนักที่สุด จะถูกแยกออกเป็นลำดับแรก ผลิตภัณฑ์ที่ได ้จากโรงแยกแปรสภาพก๊าซธรรมชาติ สามารถจำแนกตามลักษณะ ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่แยกออก และนำไปใช้ประโยชน์ต่อกระบวนการผลิตอื่น ๆ ดังนี้
1. ก๊าซมีเทน (C1) : ใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม และนำไปอัดใส่ถังด้วยความดันสูง เรียกว่าก๊าซธรรมชาติอัด สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ รู้จักกันในชื่อว่า “ก๊าซธรรมชาติสำหรับยานยนต์” (Natural Gas for Vehicles : NGV)
2. ก๊าซอีเทน (C2) : ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น สามารถนำไปใช้ผลิตเม็ดพลาสติก เส้นใยพลาสติกชนิดต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้แปรรูปต่อไป
3. ก๊าซโพรเพน (C3) และก๊าซบิวเทน (C4) : ก๊าซโพรเพนใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นได้เช่น ใช้ผลิตโพรพิลีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เพื่อใช้ในการผลิตเม็ดพลาสติกโพลีโพรพิลีน (PP) เช่น ยางในห้องเครื่องยนต์ หม้อแบตเตอรี่ กาว สารเพิ่มคุณภาพน้ำมันเครื่องรวมทั้งใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมได้อีกด้วย การใช้ก๊าซบิวเทนโดยตรงคือ ใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับจุดบุหรี่ เตาย่าง เตาผิง และอื่นๆ และหากนำเอาก๊าซโพรเพนกับก๊าซบิวเทนมาผสมกัน อัดใส่ถังเป็นก๊าซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas : LPG) หรือที่เรียกว่าก๊าซหุงต้ม สามารถนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน เป็นเชื้อเพลิงสำหรับยานยนต์ และใช้ในการเชื่อมโลหะได้
4. ไฮโดรคาร์บอนเหลว (Heavier Hydrocarbon): อยู่ในสถานะที่เป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ เมื่อผลิตขึ้นมาถึงปากบ่อบนแท่นผลิต สามารถแยกจากไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซบนแท่นผลิต สามารถลำเลียงขนส่งโดยทางเรือหรือทางท่อ นำไปกลั่นเป็นน้ำมันสำเร็จรูปต่อไป
5. ก๊าซโซลีนธรรมชาติ : แม้ว่าจะมีการแยกคอนเดนเสทออกเมื่อทำการผลิตขึ้นมาถึงปากบ่อบนแท่นผลิตแล้ว แต่ก็ยังมีไฮโดรคาร์บอนเหลวบางส่วนหลุดไปกับไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซ เมื่อผ่านกระบวนการแยกจากโรงแยกก๊าซธรรมชาติแล้ว ไฮโดรคาร์บอนเหลวนี้ก็จะถูกแยกออก เรียกว่า ก๊าซโซลีนธรรมชาติ หรือ NGL (natural gasoline) และส่งเข้าไปยังโรงกลั่นน้ำมัน เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์น้ำมันสำเร็จรูปได้และยังเป็นตัวทำละลาย ซึ่งนำไปใช้ในอุตสาหกรรมบางประเภทได้เช่นกัน
6. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ : เมื่อผ่านกระบวนการแยกแล้ว จะถูกนำไปทำให้อยู่ในสภาพของแข็ง เรียกว่า น้ำแข็งแห้ง นำไปใช้ในอุตสาหกรรมถนอมอาหาร อุตสาหกรรมน้ำอัดลมและเบียร์ ใช้ในการถนอมอาหารระหว่างการขนส่ง นำไปเป็นวัตถุดิบสำคัญในการทำฝนเทียม และนำไปใช้สร้างควันในอุตสาหกรรมบันเทิง อาทิ การแสดงคอนเสิร์ต หรือการถ่ายทำภาพยนตร์
ก๊าซธรรมชาติในสถานะต่างๆที่ควรรู้จัก
1. Pipe Natural Gas หรือก๊าซธรรมชาติที่ขนส่งโดยทางท่อ เรียกชื่อทางการตลาดว่า Sale Gas คือ ก๊าซธรรมชาติที่มีก๊าซมีเทนเป็นส่วนใหญ่ ถูกขนส่งด้วยระบบท่อเพื่อส่งให้กับผู้ใช้ที่เป็นลูกค้า นำไปเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า หรือในโรงงานอุตสาหกรรมในปัจจุบันนี้ประเทศไทยใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นพลังงานหลักในการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยคิดเป็นกว่าร้อยละ 60 ของพลังงานทั้งหมดที่ใช้ผลิตไฟฟ้า
2. NGV หรือ Natural Gas for Vehicles คือ รูปแบบของการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงสำหรับยานยนต์ ส่วนใหญ่เป็นก๊าซมีเทน เมื่อขนส่งก๊าซธรรมชาติมาทางท่อ จะส่งเข้าสถานีบริการ และเครื่องเพิ่มความดันก๊าซ ณ สถานีบริการจะรับก๊าซธรรมชาติที่มีความดันต่ำจากระบบท่อมาอัดเพิ่มความดันประมาณ 3,000-3,600 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว จากนั้น ก็จะสามารถเติมใส่ถังเก็บก๊าซฯ ของรถยนต์ต่อไป
3. LNG หรือ Liquefied Natural Gas ในการขนส่งก๊าซธรรมชาติจากแหล่งผลิตไปยังบริเวณที่ใช้ ปกติจะขนส่งโดยระบบท่อ แต่ในกรณี ที่ระยะทาง ระหว่างแหล่งผลิตกับบริเวณที่ใช้ มีระยะทางไกลเกินกว่า 2,000 กิโลเมตร การวางท่อส่งก๊าซฯ จะต้องใช้เงินลงทุนเป็นจำนวนมาก จึงมีการขนส่งด้วยเรือที่ถูกออกแบบไว้เฉพาะ โดยการทำก๊าซธรรมชาติ ให้กลายสภาพเป็นของเหลว เพื่อให้ปริมาตรลดลงประมาณ 600 เท่า โดยทั่วไปจะมีอุณหภูมิ -160 องศาเซลเซียส (ต่ำกว่าอุณหภูมิที่ขั้วโลกเสียอีกนะค่ะ จากสถิติอุณหภูมิต่ำสุดของโลก คือ ที่ วอสตอก ทวีปแอนตาร์กติก อุณหภูมิอยู่ในระดับ -89.2 องศาเซลเซียส เป็นอุณหภูมิที่วัดในวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2526) ซึ่งการขนส่งก๊าซในรูปของ LNG นี้ จะประหยัดค่าใช้จ่าย มากกว่าการขนส่งด้วยระบบท่อ
ดร. อรสา อ่อนจันทร์
นักวิทยาศาสตร์
กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์
นักเขียนประจำ วิชาการ.คอม
http://www.vcharkarn.com/varticle/322
Edited by Stargate-1, 30 ธันวาคม พ.ศ. 2555 - 09:48.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 06:41
Edited by Stargate-1, 11 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 06:52.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 07:09
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 19:24
Edited by Stargate-1, 22 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 23:11.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 21:49
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 10:57
ตอบ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 16:21
ตอบ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 16:53
Edited by Stargate-1, 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 17:36.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 20:14
ปรอทที่พบในก๊าซธรรมชาติของไทย ตรวจพบครั้งแรกในสภาพของเหลวค่อนข้างบริสุทธิ์ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2528 บริเวณอ่าวไทย ที่แหล่งปลาทอง และพบที่แหล่งสตูล เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2528 โดยเก็บได้ที่ Dew Point Control Unit ส่วนแหล่งเอราวัณ พบปรอทในสภาพเป็นของเหลว เมื่อเดือนสิงหาคม 2531 โดยเก็บได้ที่ Sample Line ของหัวสูบ (Wellhead) ก๊าซธรรมชาติที่มีปริมาณปรอทเจือปน จะมีผลต่อระบบท่อในโรงแยกก๊าซเพราะว่าปรอทมีคุณสมบัติที่จะรวมตัวกับโลหะได้เกือบทุกชนิดซึ่งเรียกว่า Amalgum ปฏิกิริยานี้จะทำให้โครงสร้างของโลหะผสมของท่อในโรงแยกก๊าซเสียหาย ดังนั้นการวิเคราะห์ปรอทในก๊าซธรรมชาติ จึงเป็นสิ่งสำคัญมากเพราะปรอทมีผลทั้งต่อระบบท่ออุปกรณ์ และต่อสภาวะแวดล้อม
ปรอทที่พบในก๊าซธรรมชาติ จะอยู่ในรูปของไอปรอท และปะปนมากับก๊าซธรรมชาติจากแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม เมื่อขึ้นสู่ปากหลุมหรือผ่าน Dew Point Control Unit (DPCU คือ จุดลดอุณหภูมิของก๊าซ เพื่อแยกของเหลวออกจากก๊าซ อุณหภูมิที่ใช้ต้องคำนวณโดยอาศัย Equilibrium ของก๊าซ) ปรอทจะแยกตัวออก ไอปรอทที่พบในก๊าซธรรมชาติมีอยู่ 2 รูป คือ อยู่ในรูปของธาตุปรอท และสารประกอบของปรอท โดยสารประกอบของปรอทที่พบในก๊าซธรรมชาติส่วนมาก ได้แก่ dimethylmercury (ไดเมทธิลเมอร์คิวรี) และ diethylmercury (ไดเอทธิลเมอร์คิวรี)
การเกิดปรอทในก๊าซธรรมชาติ จากการศึกษาโดย Arne Jernelov พบว่าปรอทเป็นธาตุที่หนัก เนื่องจากมีค่าความถ่วงจำเพาะประมาณ 13 และไม่ละลายในน้ำ ดังนั้นในการตกตะกอนซึ่งมักจะสะสมในบริเวณใกล้ปากแม่น้ำหรือปากอ่าว ปรอทจะสามารถรวมเป็นสารประกอบ (Form Complex) ได้อย่างแข็งแรงกับสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ จากนั้นจึงตกตะกอนรวมกับตะกอนอื่น ๆ โดยปรอทจะถูกออกซิไดส์ไปเป็น Bivalent lon (Hg+2) และ Hg+2 จะถูก methylate ไปเป็น methylmercury และ dimethylmercury จะอยู่ในน้ำ และสะสมในปลา สาหร่าย ตลอดจนสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่อาศัยอยู่ในน้ำ ในขณะที่ dimethylmercury มีแนวโน้มที่จะเคลื่อนไปกับก๊าซออกสู่บรรยากาศภายนอก ภายใต้สภาวะที่เป็นกรด และมีแสงอุลตราไวโอเลต dimethylmercury จะไม่คงตัวและถูกเปลี่ยนไปเป็น methylmercury ซึ่งอาจตกตะกอนหรือถูกเปลี่ยนไปเป็นธาตุปรอท กระบวนการต่าง ๆ เหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ ขึ้นอยู่กับขบวนการทางเคมี ชีวะและฟิสิกส์ที่เข้ามาเกี่ยวข้องในสหรัฐอเมริการายงานว่าสารประกอบไฮโดรคาร์บอน จะเกิดร่วมกับปรอท ที่เมือง Mt.idlo ในมลรัฐแคลิฟอร์เนียพบว่าปรอทเกิดร่วมกับน้ำมันดิบและก๊าซ ที่แหล่งปิโตรเลียม Cymric ใน Kern County มลรัฐแคลิฟอร์เนีย พบธาตุปรอทและสารประกอบของปรอท ในน้ำมันดิบ ก๊าซ และ Saline Oilfield Water และพบว่าก๊าซธรรมชาติที่แยกออกจากน้ำมันดิบจะอิ่มตัวด้วยไอปรอท
ปัจจุบันการพบปรอทในก๊าซธรรมชาติไม่ใช่สิ่งแปลกใหม่ เพราะพบปรอทในก๊าซธรรมชาติหลายแหล่งทั่วโลก และมีปริมาณปรอทสูง ดังนั้นถ้าหากมีการกำกับดูแลปริมาณปรอทในก๊าซให้เป็นไปตามมาตรฐาน และมี Mercury Absorber ติดตั้งก่อนเข้าโรงแยกก๊าซ รวมทั้งการกำจัดปรอทในน้ำซึ่งแยกออกจากก๊าซธรรมชาติในขบวนการผลิต ปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดขึ้นจากกิจการปิโตรเลียม จะลดน้อยลงมาก
ไฮโดรคาร์บอนธรรมชาติทั้งแก๊สธรรมชาติและนำมันอาจะพบโลหะหนักบางชนิด เช่น ปรอท สารหนู ยูเรเนียม เป็นต้น โดยเฉพาะในปรอทพบทั้งในรูปธาตุ Hg^0 ซึ่งละลายในไฮโดรคาร์บอนได้ดีกว่าในน้ำและอยู่ที่ระดับ 1-3 ส่วนในล้านส่วน รูปสารประกอบอินทรีย์ปรอทละลายในน้ำมันดิบและคอนเดนเสตได้ดีมาก บริเวณที่พบปรอทในแก๊สธรรมชาติและน้ำมันมีหลายบริเวณโดยอาจจะพบสารหนูร่วมด้วย ทั้งทวีปอเมริกา แอฟริกา ยุโรป และเอเชีย โดยเฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในระดับความเข้มข้นแตกต่างกันไป แต่จะต่ำกว่าส่วนในล้านส่วน ซึ่งมักจะแสดงเป็นหน่วย ส่วนในพันล้านส่วน(ppd) หรือ ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตรที่ภาวะมาตรฐาน โดยทั่วไปมีความเข้มข้นระหว่าง 50-300 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร และบางแหล่งสูงถึง 1000ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร ปรอทความเข้มข้นน้อยๆ นี้สามารถทำให้เกิดปัญหาการกัดกร่อนอย่างรุนแรงได้ เนื่องจากเกิดเป็นอะมัลกัมของโลหะผสมที่เปราะบาง
ปรอทสามารถที่จะละลายได้ทั้งในแก๊ส คอนเดนเสต และน้ำในแหล่งกักเก็บ ดังนั้นปัญหาการกัดกร่อนจะเริ่มตั้งแต่อุปกรณ์ปากหลุม เส้นท่อและถังเก็บ โดยเฉพาะในอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนที่เป็นอะลูมิเนียมที่ใช้ในการบวนการทำให้เป็นของเหลวจำเป็นต้องผ่านกระบวนการกำจัดปรอทและสารหนูออกให้อยู่ในระดับต่ำกว่า 5 ส่วนในพันล้านส่วนโดยทั่วไปกระบวนการกำจัดปรอท คือ
1.ดูดซับด้วยถ่านกัมมันต์ ( activated charcoal ) กำมะถันบนพื้นผิวของถ่านกัมมันต์จะดูดซับปรอทไว้ในรูพรุนของถ่านในรูปซัลไฟด์ วิธีนี่ใช้ได้ดีในแก๊สธรรมชาติไม่มีไฮโดรคาร์บอนหนักอยู่ด้วย
2.การดูดซับด้วยโลหะซัลไฟด์ซึ่งฟังบนเม็ดอลูมินา ( metallic sulfide deposited on alumina beads ) วิธีนี้ใช้กับของเหลวได้ด้วย
3.การใช้สารละลายออกซิไดส์ที่รุนแรง ( strongly oxidizing solution ) เช่น โพแทสเซียม เปอร์แมงกาเนต เพื่อออกซิไดส์ปรอท
4.การดูดซับด้วยสังกะสีออกไซด์ ( zinc oxide ) ใช้วิธีนี้ได้กับแก๊สที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจุดน้ำค้าง
เราสามารถเลือกใช้กระบวนการต่างๆกัน กับก๊าซธรรมชาติได้ เพื่อให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการขนส่งหรือการใช้งาน และกระบวนการเหล่านี้จะถูกพัฒนาตลอดเวลาทั้งเพื่อลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการผลิต
ชลธิชา ถนอมกุล 09:36, 21 February 2011 (UTC)
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 21:56
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 22:25
Edited by Stargate-1, 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 07:33.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 08:58
Edited by Stargate-1, 24 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 09:56.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 09:28
ตอบ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 09:40
Edited by กรกช, 24 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 09:44.
ตอบ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 19:42
เสนอ"ปักหมุด"ครับ
ตอบ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 16:15
ฟองน้ำเพื่อสิ่งแวดล้อม:สามคุณลักษณะในหนึ่งเดียว
แปลและเรียบเรียงโดย
อรวรรณสัมฤทธิ์เดชขจร
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
เครดิตภาพ: Santanu Bag,Northwestern University
ภาพกราฟิก (บน) แสดงการแยกก๊าซไฮโดรเจนออกจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(กลาง) รับบทบาทเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในกระบวนการกำจัดกำมะถันด้วยไฮโดรเจน(hydrodesulfurization)
(ล่าง) กำจัดสารปรอทออกจากน้ำ
ภาพทางด้านขวาจากบนลงล่างแสดงแคลโคเจลในขนาดมิลลิเมตร ไมโครเมตร และนาโนเมตร
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และไนโตรเจนไดออกไซด์ทำปฏิกิริยากับไอน้ำในอากาศเกิดเป็นกรดซัลฟิวริกและกรดไนตริก
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 12:03
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 12:35
ตอบ 4 กันยายน พ.ศ. 2555 - 07:05
แนวหน้ามาเลย์อ้อนซื้อเพิ่ม ก๊าซองค์กรร่วมฯ อ้างความต้องการพุ่ง
ก.พลังงานเตรียมชง ครม.แก้สัญญา มาเลย์ขอซื้อก๊าซธรรมชาติเพิ่ม จากองค์กรร่วมไทย-มาเลย์ อ้างความต้องการในประเทศเพิ่มสูงมาก….
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ในการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันที่ 21 ส.ค.นี้ กระทรวงพลังงานเสนอที่ประชุม ครม.พิจารณาเรื่อง องค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย โดยขอควาเห็นชอบในร่างสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3 สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติแปลง A-18 ในพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย ระหว่างองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย และบริษัทผู้ประกอบการ คือ บริษัท PC JDA Limited และบริษัท Hess Oil Limited ในฐานะกลุ่มผู้ขายก๊าซกับบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) และบริษัทเปโตรนาสในฐานะกลุ่มผู้ซื้อก๊าซ
ขอความเห็นชอบให้องค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย ลงนามในร่างสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3 สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติแปลง A-18 กับกลุ่มผู้ซื้อก๊าซ เมื่อร่างสัญญาฯ ได้ผ่านการตรวจพิจารณาจากสำนักงานอัยการสูงสุด (อส.) แล้ว
ทั้งนี้ สืบเนื่องจากที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติ 7 เม.ย. 2541, 14 ก.ย. 2542, 14 ก.ย. 2547, 13 ก.พ. 2550 นั้น 1. บริษัท เปโตรนาสได้มีหนังสือแจ้งองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย ว่า ประเทศมาเลเซียมีความต้องการใช้ก๊าซภายในประเทศเพิ่มสูงมาก บริษัทจึงมีความประสงค์ที่จะขอนำก๊าซตามสิทธิ์การขอซื้อของเปโตรนาส จากพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย แปลง A-18 ไปใช้ในมาเลเซียเพิ่มขึ้นจำนวน 70 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน (ปัจจุบันแปลง A-18 มีการผลิตในอัตรา 850 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน และส่งให้เปโตรนาสในอัตรา 421 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน) เป็นระยะเวลา 1 ปี เริ่มตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ของปี 2555 โดยกลุ่มผู้ขายและกลุ่มผู้ซื้อได้มีการหารือและร่วมกันจัดทำร่างสัญญาแก้ไข เพิ่มเติมฉบับที่ 3 สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติแปลง A-18 แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 8 มี.ค. 2555
2. องค์กรร่วมไทย-มาเลเซียได้เสนอร่างสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3 สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติแปลง A-18 ในพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย ที่คณะกรรมการองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย ได้เห็นชอบแล้วในการประชุมองค์กรร่วมครั้งที่ 97 เมื่อวันที่ 24 มี.ค. 2555 และได้มีการลงนามกำกับย่อ (Initial) โดยคู่สัญญาทุกรายเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อขอรับความเห็นชอบจากรัฐบาลไทย (พร้อมทั้งนำเสนอขอความเห็นชอบจากรัฐบาลมาเลเซียด้วยเช่นกัน) ก่อนที่องค์กรร่วมจะได้ลงนามในฐานะผู้ขายก๊าซร่วมต่อไป
3. สรุปสาระสำคัญร่างสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3 ได้ดังนี้ วันที่มีผลบังคับใช้ของสัญญา อายุสัญญาเริ่มตั้งแต่วันที่ 3 ม.ค. 2555 จนถึงวันสิ้นสุดของสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติแปลง A-18 ฉบับลงวันที่ 30 ต.ค. 2542 กลุ่มผู้ขายจะส่งก๊าซส่วนเพิ่มให้กับบริษัท เปโตรนาสในอัตรา 70 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน (และส่งเพิ่มขึ้นอีก 20 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน หากได้รับการร้องขอจากบริษัท เปโตรนาส) เป็นเวลา 1 ปี เริ่มตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ของปี 2555 ปริมาณก๊าซที่ส่งเกินกว่า 869 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวันจะมีราคาเพิ่มขึ้น 1.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อล้านบีทียู
นอกจากนี้ บริษัท เปโตรนาสจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อข้อผูกพันและความรับผิดของกลุ่มผู้ซื้อที่เกิดภายใต้สัญญาฉบับนี้แต่เพียงผู้เดียว พน.โดยกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติได้ส่งร่างสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3 นี้ให้สำนักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาควบคู่กันไปด้วยแล้ว.
2012-08-21 00:01:49
thairath
Edited by Stargate-1, 4 กันยายน พ.ศ. 2555 - 08:15.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 6 กันยายน พ.ศ. 2555 - 20:44
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 8 กันยายน พ.ศ. 2555 - 17:05
Edited by Stargate-1, 8 กันยายน พ.ศ. 2555 - 17:05.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 11 กันยายน พ.ศ. 2555 - 07:52
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 15 กันยายน พ.ศ. 2555 - 06:56
Edited by Stargate-1, 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 07:34.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 15 กันยายน พ.ศ. 2555 - 15:16
ตอบ 24 กันยายน พ.ศ. 2555 - 21:10
Edited by Stargate-1, 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 19:05.
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 - 11:47
Edited by กรกช, 30 กันยายน พ.ศ. 2555 - 11:49.
ตอบ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 - 13:04
Edited by โคนัน, 30 กันยายน พ.ศ. 2555 - 13:17.
ตอบ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 - 13:43
ตอบ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 - 23:41
ปตท ขายเองหรือบริษัทต่างชาติที่ได้รับสัมปทานเอาไปขายครับบอกหน่อย แสดงข้อมูลหน่อยครับ
คุณคิดว่าถ้าไม่ให้ส่งออกน้ำมันดิบนี้แต่ใช้ในประเทศ ราคาน้ำมันในประเทศมันจะถูกลงรึ
เพราะอะไร ทำไมผมต้องขายน้ำมันดิบ แล้วผมต้องซื้อปลีกราคาแพง.เรื่องเก็บข้อมูลไว้มิดชิดนั้นมิดชิดจริงหรือครับ ราคาหน้าโรงกลั่นก็มีโชว์หราเลยนี่ครับว่าเท่าไหร่ มาถึงหน้าปั๊มเท่าไหร่ ของมาเลเซียที่ว่าถูกนะรัฐช่วยเท่าไหร่ครับ แล้วก็คงย้อนไปที่ผมถามตั้งแต่แรก ๆ ว่าไทยผลิตได้วันละเท่าไหร่ ใช้วันละเท่าไหร่ครับ ถ้าเทียบกับมาเลเซียนั้นมาเลเซียผลิตเท่าไหร่ ใช้เท่าไหร่
ผมถาม.....ว่า ถ้าไม่พอใช้ในประเทศแล้ว ทำไมต้องเอาไปขาย. หรือว่าต้องการแข่งกับพวกกองทัพมด.
ถ้าผมขายเอง ผมก็รู้สิว่าต้นทุนเท่าไหร่ กำไรเท่าไหร่ ....และ....ทำไมผมต้องเอาไปขายยังต่างประเทศ.
จะให้ผมถามอีกกี่รอบครับ. ในเมื่อใช้ในประเทศยังไม่พอ ดันเอาไปขายเก็งกำไรต่างประเทศ.
ผมสับสนนะเนี่ย.
ในประเทศไม่พอเอาไปขายต่างประเทศแล้วเอาเงินไปซื้อน้ำมันที่ถูกกว่านี่คุณคิดว่ามันไม่ดีใช่ไหมครับ
คุณผลิตใช้เองได้ 4 ลิตร แต่ถ้าคุณขายแล้วซื้อกลับมาคุณจะใช้ได้ 5 ลิตรแบบนี้มันไม่ดีใช่ไหมครับ
ขอขอบคุณ คุณSolidus ที่เข้ามาให้ข้อมูลแย้งที่ชัดเจนมากขึ้นครับ
สิ่งที่เกิดขึ้นคือ มันมีการส่งออกน้ำมันไปต่างประเทศจริง ส่งไปอเมริกาจริง นะครับ
คุณS บอกว่า ถ้าผลิตขายเองได้ 4 แต่ถ้าส่งออกเอาเงินมาซื้อ จะได้ 5 ตรงนี้น่าสนใจ
และ ราคาน้ำมันดิบ ที่ขายส่งออกราคา ก็ไม่ต่ำ(เพราะเกรดดี) นะครับ
ประกอบกับ อเมริกา "ไม่มีการสนับสนุนราคาน้ำมันในประเทศ" นะครับ
คำถามมันจึงอยู่ที่ว่า
ทำไม อเมริกา ใช้น้ำมันและแก๊ส ราคา ถูกกว่าเราครับ
ในเมื่อปัจจัยที่คุณ S บอกมานั้น มันล้วนแต่เป็นปัจจัยที่สนับสนุน ให้ ราคาน้ำมันในอเมริกา ต้องแพงกว่าเมืองไทย สิครับ
น้ำมันเกรดดี ราคาสูง รัฐบาลไม่สนับสนุน แต่ราคาหน้าปั๊ม ถูกกว่าเมืองไทย
ตรงนี้แหละครับ
ที่หลายๆคนเขาไม่เข้าใจกัน นี่ข้อที่ 1
ข้อที่ 2
ราคาน้ำมันที่ปั๊มในเมืองไทย มีปัญหา คือไม่ไปตามตลาดโลก
แค่คลังน้ำมันบางจากระเบิดนิดหน่อย
มันก็ประกาศขึ้นราคาวันรุ่งขึ้นเลย
ปรากฎว่า ราคาน้ำมันตลาดโลก ลดลงต่อเนื่อง ครับ
จนถึงวันนี้ ไม่รู้ว่าตั้งแต่คลังน้ำมันระเบิด จนถึงวันนี้
"มัน (ไอ้here ขูดรีดและทำนาบนหลัง gu) ลดราคาน้ำมันลงอีก มั่งหรือยัง?????
ตอบ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 - 23:42
สนับสนุน
เสนอ"ปักหมุด"ครับ
ขอสนับสนุนเพราะให้ความรู้ดีมาก
Edited by father, 30 กันยายน พ.ศ. 2555 - 23:43.
ตอบ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 00:26
“คำนูณ” ชำแหละ พ.ร.บ.ปิโตรเลียม 2514 ให้ส่งออกได้ไม่จำกัด แถมขายในประเทศก็ต้องใช้ราคาตลาดโลก
ซึ่งหากไม่มีการแก้ไข คนไทยไม่มีวันได้ประโยชน์จากพลังงานของชาติอย่างคุ้มค่า
ระบุเปิดสัมปทานรอบ 21 สำคัญมาก เพราะจะกินเวลาถึง 39 ปี หนุนทำประชามติก่อน พร้อมชี้เป็นเรื่องมหัศจรรย์
เพื่อไทย-ประชาธิปัตย์-คมช.” ขัดแย้งกันทางการเมือง แต่เรื่องพลังงานกลับเป็นไปในทิศทางเดียวกันหมด
http://www.manager.c...D=9550000090625
เป็นที่น่าแปลกใจ 41 ปีมานี้ เราฉีกรัฐธรรมนูญมาแล้ว 4 ฉบับ
แต่ พ.ร.บ.ปิโตรเลียม 2514 ไม่เคยมีคนตั้งคำถามเลยว่าหลักการสมควรเปลี่ยนแปลงหรือยัง
แปลกหรือไม่ทำไมกฎหมายฉบับหนึ่งมีรากฐานทางปรัชญาสูงมาก ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย ทะเลาะกันจะเป็นจะตาย
เพื่อไทยกับรัฐประหาร หรือ คมช. ประณามกันสาดเสียเทเสีย แต่ทิศทางพลังงานของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นใคร
นโยบายพลังงานเป็นไปในทิศทางเดียวกันตลอด มันมหัศจรรย์ที่สุดในโลก
หรือจะพูดว่าไม่มหัศจรรย์เลย ถ้าเรารู้ว่าเนื้อแท้ของนโยบายพลังงานบ้านเรา
มันมีเงาทมึนของกลุ่มทุนมหาอำนาจอยู่เบื้องหลัง และเป็นไปเพื่อประโยชน์ของเขา
จริงอยู่เราต้องโอนอ่อนผ่อนตามผลประโยชน์ของเขา แต่ผลประโยชน์ของคนไทย มันก็ต้องให้คุ้ม สมน้ำสมเนื้อกัน
สิ่งที่เราพูดกันอยู่ ต้องก้าวข้าม พ.ต.ท.ทักษิณ เพราะก็ไม่ได้ต่างจาก พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์
สมัยรัฐบาลสุรยุทธ์ ก็มีการแก้ไข พ.ร.บ.ปิโตรเลียมครั้งใหญ่ในปี 2550
นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานในขณะนั้น
ได้มีการเปิดสัมปทานรอบที่ 20 มีการต่ออายุออกไป มีความวิจิตรพิสดารตามสมควร
มาถึงยุคประชาธิปัตย์เป็นรัฐบาล ทิศทางนโยบายปิโตรเลียมก็ไม่ได้ขยับเขยื้อน
มันมหัศจรรย์หรือไม่ ที่ปรัชญารากฐานนโยบายพลังงานแห่งชาติตั้งแต่ปี 2514 ไม่เคยเปลี่ยนแปลง
ความขัดแย้งทางการเมืองมีมากมาย คนตายไปเป็นร้อย แต่กลุ่มการเมืองไม่เคยเห็นต่างเรื่องพลังงานเลย
เห็นมีแต่ภาคประชาชนที่ตั้งคำถาม แต่ก็ไม่เคยไปสู่สื่อกระแสหลัก เพราะผลประโยชน์มหาศาล ทั้งปตท. และกระทรวงพลังงาน
ประชาธิปัตย์วิจารณ์ น.ส.ยิงลักษณ์เรื่องแต่งตัว ส่วนเพื่อไทยก็วิจารณ์นายอภิสิทธิ์เรื่องหนีทหาร
แต่ไม่มีนักกากรเมืองคนไหนหันมาพูดเรื่องสัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ 21 แล้วเสนอแนวทางที่ต่างจากกระแสหลักอย่างจริงจัง
ตอบ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 01:07
ตอบ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:31
ตอบ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:00
ตอบ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:13
ตอบ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 16:45
ตอบ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 18:15
Tam-mic-ra ฟันธง! คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ ..... คิดครับคิด จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96 ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3
ตอบ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 00:13
มันบอกว่าน้ำมันที่ขุดในเมืองไทย ไม่มีคุณภาพ
มันมีด้วยเหรอ แล้วจริงปะ บอกกันที
ตอบ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:06
Edited by กรกช, 6 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:10.
ตอบ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:18
ตอบ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:27
ปักหมุดเลยครับ แอดมินขอสนับสนุนเพราะให้ความรู้ดีมาก
เสนอ"ปักหมุด"ครับ
หายจน ทั้งแผ่นดิน ด้วยการต่อต้าน นกม.ชั่ว และเอา ปตท กลับคืนมาเป็นของคนไทย
ตอบ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:49
ตอบ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:04
ตอบ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:12
ทรัพย์สมบัติพลังงานของชาติ แต่กลับกลายเป็นกำไรเข้ากระเป๋าคนไม่กี่คนแถมสร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชนทั้งประเทศ
ต่างชาติโกยกำไรสนุกสนาน แต่รัฐบาลกลับมาขูดเลือดขูดเนื้อเอากับคนไทย
ทรัพย์สมบัติของชาติไทย แต่มีเท่าไหร่ไม่รู้ ต้องรับฟังจากต่างชาติ
รัฐบาลทำคลิปออกมาโกหก หลอกลวงคนไทยเพื่อที่จะขึ้นราคาพลังงาน
ทั้งยอมเสียเปรียบเขมรแม้กระทั้งเรื่องอาณาเขตอธิปไตยของชาติ เพื่อผลประโยชน์ส่วนตน
ฯลฯ
ใครจะคิดยังไงไม่รู้ แต่ผมคิดว่านักการเมืองไทยสารเลวที่สุดในโลกแล้ว
ฝากถึงญาติพี่น้องนักการเมืองไทยด้วย ถ้าพวกเขาตาย ช่วยเอาเงินยัดปากให้มากๆ จะได้นอนตายตาหลับ
ความโลภของมนุษย์นี่น่าสพรึงกลัวจริงๆ คนไทยก็บ้านักการเมืองไม่ลืมหูลืมตา คิดแล้วก็เหนื่อยใจ
ตอบ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:21
ปักหมุดเลยครับ แอดมิน
ขอสนับสนุนเพราะให้ความรู้ดีมาก
เสนอ"ปักหมุด"ครับ
เรื่องใหญ่ขนาดนี้ ทำไมเงียบจัง
คนไทย โดนหลอกกันทั้งประเทศ เลยนะเนี่ย
ตอบ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:57
ตอบ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 22:55
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 3 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน