Jump to content


Photo
- - - - -

อาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เชียร์จำนำจนมั่วข้อมูลประกันข้าว


  • Please log in to reply
62 ความเห็นในกระทู้นี้

#1 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:04

@ ซัดประกันราคาทำเสียหายกว่า

"ถ้านำโครงการรับประกันราคาข้าวสมัย รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เทียบกับโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ผมคิดว่าความเสียหายเกิดขึ้นในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์มากกว่า เนื่องจากใช้เงินประมาณ 90,000 ล้านบาทต่อปี แต่ไม่ได้ข้าวเก็บเข้าโกดังเลยซักเม็ดเดียว อีกทั้งยังเป็นการเอื้อประโยชน์ให้กับกลุ่มผู้ส่งออกข้าวให้สามารถเข้าซื้อข้าวจากชาวนาได้ในราคาถูก" นายพิชิตกล่าว

นายพิชิตกล่าวว่า นักวิชาการที่ออกมาเรียกร้องให้กลับไปใช้โครงการรับประกันราคาข้าวเป็นคนที่ไม่เข้าใจ หรือแกล้งไม่เข้าใจในเรื่องข้าว หรืออาจเป็นผู้ออกแบบโครงการรับประกันราคาข้าวให้กับพรรคประชาธิปัตย์เพื่อต้องการจะเอื้อให้กับกลุ่มผู้เสียผลประโยชน์คือ ผู้ส่งออกข้าวนั่นเอง
@มติชน


Posted Image

นายพิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เป็นภาพประกอบ เดี๋ยวเข้ากันผิด แต่อาจารย์คนนี้ออกแนวไหน ก็พอทราบได้

Edited by aumstar, 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:14.


#2 เช never die

เช never die

    มหาอำมาตย์แดง ชั้นที่ 1.(ระดับเดียวกับท่านตู่,ท่านเต้น)

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,845 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:07

ใครจ้างควายตัวนี้ไปสอนหนังสือให้เด็กวะ

มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล


#3 Nirvana

Nirvana

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 501 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:09

ไอ่หงอกเจียม อีกละ !!!

#4 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:13

ข้อมูลจาก ธกส
Posted Image

โครงการจำนำ ค่าจัดการอย่าเดียว สองหมื่นกว่าล้านแล้ว

#5 ssa

ssa

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,120 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:16

ธกส.เป็นสถาบันการเงินที่เรียกได้ว่า "เสือนอนกิน"
แต่เจอจำนำข้าวเข้าไปถึงกับ "เจ๊ง" เงินหมด

Edited by ssa, 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:33.


#6 เดือนเอก

เดือนเอก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 542 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:18

ลูกผมต่อไปจะไม่ให้ไปเรียนที่ มธ หรอก
สถาบันเลี้ยงคนพวกนี้เสียข้าวสุก รับเงินเดือนราชการ
มาบ่อนทำลายชาติ
แล้วพวก นิติเรดอีก
ปลูกฝังเด็กรุ่นใหม่ให้ความคิดบรรลัยหมด

#7 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:23

ผลการดำเนินงานโครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
ผลการดำเนินงานสะสมถึงสิงหาคม 2555 มีการจ่ายเงินกู้ให้แก่เกษตรกรจำนวน 1,142,557 ราย
ปริมาณข้าวเปลือก 6,989,927 ตัน เป็นจำนวนเงิน 118,573 ล้านบาท

ผลการดำเนินงานโครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555
ผลการดำเนินงานสะสมถึงสิงหาคม 2555 มีการจ่ายเงินกู้ให้แก่เกษตรกรจำนวน 962,904 ราย
ปริมาณข้าวเปลือก 10,642,265 ตัน เป็นจำนวนเงิน 157,404 ล้านบาท

ครม.อนุมัติ รับจำนำข้าวนาปี 240,000 ล้านบาท
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแผนรับจำนำข้าวเปลือกนาปีฤดูการผลิตปี 2555/2556
โดยอนุมัติเฉพาะการรับจำนำข้าวเปลือก 15 ล้านตัน วงเงิน 240,000 ล้านบาท
เพื่อรับจำนำตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 – 15 กันยายน 2556

#8 ugly-maew

ugly-maew

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 592 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:32

@ ซัดประกันราคาทำเสียหายกว่า

"ถ้านำโครงการรับประกันราคาข้าวสมัย รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เทียบกับโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ผมคิดว่าความเสียหายเกิดขึ้นในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์มากกว่า เนื่องจากใช้เงินประมาณ 90,000 ล้านบาทต่อปี แต่ไม่ได้ข้าวเก็บเข้าโกดังเลยซักเม็ดเดียว อีกทั้งยังเป็นการเอื้อประโยชน์ให้กับกลุ่มผู้ส่งออกข้าวให้สามารถเข้าซื้อข้าวจากชาวนาได้ในราคาถูก" นายพิชิตกล่าว

นายพิชิตกล่าวว่า นักวิชาการที่ออกมาเรียกร้องให้กลับไปใช้โครงการรับประกันราคาข้าวเป็นคนที่ไม่เข้าใจ หรือแกล้งไม่เข้าใจในเรื่องข้าว หรืออาจเป็นผู้ออกแบบโครงการรับประกันราคาข้าวให้กับพรรคประชาธิปัตย์เพื่อต้องการจะเอื้อให้กับกลุ่มผู้เสียผลประโยชน์คือ ผู้ส่งออกข้าวนั่นเอง
@มติชน

Posted Image

นายพิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

@ ซัดประกันราคาทำเสียหายกว่า

"ถ้านำโครงการรับประกันราคาข้าวสมัย รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เทียบกับโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ผมคิดว่าความเสียหายเกิดขึ้นในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์มากกว่า เนื่องจากใช้เงินประมาณ 90,000 ล้านบาทต่อปี แต่ไม่ได้ข้าวเก็บเข้าโกดังเลยซักเม็ดเดียว อีกทั้งยังเป็นการเอื้อประโยชน์ให้กับกลุ่มผู้ส่งออกข้าวให้สามารถเข้าซื้อข้าวจากชาวนาได้ในราคาถูก" นายพิชิตกล่าว

นายพิชิตกล่าวว่า นักวิชาการที่ออกมาเรียกร้องให้กลับไปใช้โครงการรับประกันราคาข้าวเป็นคนที่ไม่เข้าใจ หรือแกล้งไม่เข้าใจในเรื่องข้าว หรืออาจเป็นผู้ออกแบบโครงการรับประกันราคาข้าวให้กับพรรคประชาธิปัตย์เพื่อต้องการจะเอื้อให้กับกลุ่มผู้เสียผลประโยชน์คือ ผู้ส่งออกข้าวนั่นเอง
@มติชน

Posted Image

นายพิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


อ่านจากหัวข้อกระทู้ ยังไม่ได้เปิดดู

กรูนึกแล้วว่าต้องเป็นพวกมรึง

ไอ่เฮี่ยหงอกเจียม ไอ่นรกมาเกิด ไอ่อาจารย์นอกคอก ไอ่เนรคุณ ชิงหะมาเกิดไอ่ๆๆๆๆๆ
"ขอเกิดเป็นข้าฯใต้ฝ่าพระบาททุกชาติไป"

#9 ssa

ssa

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,120 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:33

โดนรุมถล่มจนต้องรีบสั่งการ ธกส.ออกข่าว
ทั้งที่ ธกส.เพิ่งบอกว่าเงินหมด จะเจ๊งแล้ว

Nuttapol wangtrup@pump_kt
ด่วน! เชิญทำข่าววันนี้ เวลา 14.00 น. ธ.ก.ส.แถลงข่าว รับเงินคืนจำนำข้าวเกือบแสนล้านบาท ณ ห้องแถลงข่าวกระทรวงการคลัง ถ.พระราม 6

#10 อาวุโสโอเค

อาวุโสโอเค

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,790 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:35

มันไม่สนหรอกครับว่าประเทศชาติจะเป็นอย่างไร

สนอย่างเดียว ออพชั่นที่กลุ่มผู้มีอำนาจในดงแดงเสนอ

บวกลบคูณหารแล้วได้อย่างไร เห็นหลายคนเกษียณแล้ว

ได้เป็นคณบดีที่นั่นที่นี่ โทดที ถ้าประเทศชาติพัง

ไอ้ตำแหน่งหัวโขนที่รอคุณน่ะ ไม่มีความหมายหรอก <_<
การเมืองไม่ใช่เพื่อกลุ่มใด แต่เพื่อทุกคนในประเทศ

#11 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:37

Posted Image

จำนำข้าวทุกเม็ด ช่วยใครกันแน่?
เพราะตอนนี้ชาวนาเข้าโครงการล้านกว่าราย
แต่มีชาวนาเกือบสี่ล้านรายทั่วประเทศ

#12 ssa

ssa

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,120 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:38

แล้วสำนักโพลโสเภณีก็ออกทำงาน

โพลชี้ปชช.หนุน′จำนำข้าว′

นายนพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจเรื่อง ประเด็นสำคัญทางการเมืองในความรู้สึกนึกคิดของสาธารณชน กรณีศึกษา ตัวอย่างประชาชนทั่วไปใน 17 จังหวัดของประเทศ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี เชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์ หนองคาย อุดรธานี ขอนแก่น นครราชสีมา อุบลราชธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี ราชบุรี นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี และสงขลา จำนวนทั้งสิ้น 2,171 ตัวอย่าง และตัวอย่างประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 1,125 ตัวอย่าง ดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 1-6 ตุลาคม พ.ศ.2555

#13 baezae

baezae

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,966 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:43

ตอแหลครับ

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๒/๒๕๕๓ ใช้งบประมาณไปราว ๒๕๐๐๐ ล้านบาท รวมข้าวโพดและมัน ยังไปแค่ ๒.๗๙ หมื่นล้าน
http://archive.voice...h/content/21583
http://www.manager.c...0008112&TabID=3&

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๓/๒๕๕๔ ใช้งบประมาณไปราว ๓๐๐๐๐ ล้านบาท
http://archive.voice...h/content/21583

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ใช้งบประมาณไปทั้งสิ้น ๒๘๕๐๐ ล้านบาท

http://www.biothai.net/news/8260

สำหรับนาปรัง ผมต่อให้ใช้งบเท่ากันเลย แปลว่าเต็มที่ต่อปีก็ ๖ หมื่นล้านบาท
--------------------------------------------------

ทีนี้มาดูจำนำ

ปัจจุบัน มีข้าวในสต๊อกอยู่ราว ๑๖ ถึง ๑๗ ล้านตัน (ตีว่า ๑๗ ล้าน) เป็นข้าวเปลือก คำนวนว่าเมื่อสีเป็นข้าวสาร เอาแบบให้เยอะสุด ๆ ข้าวเปลือก ๑ ตัน เหลือเป็นข้าวสารได้ราว ๗๐๐ ถึง ๘๐๐ กิโล

ดังนั้น ๑๗ ล้านตัน ก็จะได้ข้าวสารราว ๑๒ ล้านตัน ถึง ๑๔ ล้านตันโดยประมาณ

จากข้อมูลที่ได้ทำการขายให้กับไอเวอรรี่โคสต์ที่ ๒.๔ แสนตัน (เพิ่งขายจริง ๆ ได้แค่เจ้านี้กับกินีอีก ๒ แสนตัน) ขายไปได้ราคา ๑๔๕ ล้านเหรียญสหรัฐ ตกเป็นราคาข้าวสารตันละราว ๑๗๐๐๐ บาท

มีการคำนวนไว้ก่อนหน้าโดยทีดีอาร์ไอแล้วว่า เมื่อรวมค่าจำนำ ค่าเช่าโกดัง ค่ารมยา ค่าสี ค่าขนส่ง จะทำให้ต้นทุนต่อข้าวสาร ๑ ตันโดยเฉลี่ยทุกพันธ์ทุกความชื้น จะอยู่ที่ ๒๓๐๐๐ บาท

เท่ากับว่า ดีลนี้ขายขาดทุนไปตันละ ๖๐๐๐ บาท

ติ๊ต่างว่าได้ราคานี้ทุกเจ้าจากนี้ต่อไป (ซึ่งจริง ๆ ไม่มีทาง ข้าวยิ่งเก็บนาน ราคายิ่งเสีย) และสามารถขายได้หมดที่มีในโกดัง ก็เท่ากับว่า รัฐจะต้องพบกับการขาดทุนตั้งแต่ ๗.๒ หมื่นล้าน จนไปถึง ๘ หมื่นกว่าล้าน ซึ่งก็ยังคงมากกว่าการประกันราคาอยู่ดี

และยิ่งไม่ต้องพูดถึงการขายไม่ออก ที่จะยิ่งทำให้หนักหนาสาหัสยิ่งขึ้น

จากสถิติปีเหลี่ยมเป็นนายก ข้าวที่จำนำสามารถขายออกไปได้เพียงราวร้อยละ ๑๕ ของที่รับมาทั้งหมดเท่านั้น ลองนึกดูว่า ถ้ามันออกหน้านั้น จะขาดทุนเท่าไร

ยิ่งปีนี้ อินเดียกลับเข้าตลาด ด้วยปริมาณส่งออกราว ๑๐ ล้านตัน (พอ ๆ กับเราช่วงปี ๕๓) พร้อมกับผลผลิตที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก ทำให้ราคาข้าวในตลาดโลกน่าจะทรงตัวเป็นอย่างดีที่สุด ในขณะที่ต้นทุนเราเพิ่มขึ้น โอกาสที่เราจะส่งออกได้ย่อมน้อยลง

สถิติของช่วง ๘ เดือนแรก ของปีนี้ พบว่าเราส่งออกข้าวไปได้ทั้งหมด ๔.๕ ล้านตัน โดยปริมาณ ๔ ล้านกว่า เป็นของเอกชนล้วน ๆ มีไม่ถึง ๕ แสน มาจากโกดังที่จำนำ

และที่น่าตกใจกว่านั้นคือ ออร์เดอร์ข้าวเจ้าใหญ่ ๆ ลดลงไปตามๆ กัน เช่น ไนจีเรีย ที่ช่วง ๘ เดือนแรกในปีก่อน ๆ เคยสั่งข้าวเราถึง ๑.๕ ล้านตัน ปีนี้สั่งมาเพียง ๘ แสนตัน ญี่ปุ่น และจีนก็สั่งลดน้อยลงครึ่งหนึ่ง เกาหลีใต้หนักสุด สั่งมาแค่ร้อยละ ๑๐ ของที่เคย

(ข้อมูลการส่งออก จากกรมการค้า กระทรวงพานิชย์)

เท่านี้ก็คงพอเดาทิศทางออกแล้ว ว่าจะเป็นอย่างไรต่อไป
ถ้าคุณเป็นเสื้อเหลือง ผมคุยกับคุณได้ และหัวเราะให้กันได้ถ้าคุณเป็นเสื้อแดง ผมก็คุยกับคุณได้ และหัวเราะใ้ห้กันได้แต่ถ้าคุณเป็นควายล้มเจ้าไม่ว่าจะสีไหน ผมจะด่าอย่างเดียว

#14 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:47

คั่นเวลา กำลังเรียบเรียงข้อมูล

Posted Image
นายพิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

http://th.wikipedia....ลิขิตกิจสมบูรณ์

http://www.ccaa112.org/web/?page_id=78

#15 V for Macaw

V for Macaw

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 641 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:50

ไอหงอกเจียม กล้ามาเดินห้างดังๆกลางกรุงป่ะ

ฉันมาที่บอร์ดแห่งนี้ เพื่อหยุดระบอบทักษิณ


#16 DETECT2

DETECT2

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 291 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:51

สมสากหัวขาวเนี่ยนะออกมาพล่าม สติเลอะเลือน อยากเป็นใหญ่เป็นโตในสังคม อุบา... สุด
คนเสื้อแดงตอนนี้ไม่ได้มีจำนวนเพิ่มขึ้น แต่คนเกลียดพวกเสื้อแดงเริ่มจะมีมากขึ้น

#17 ramboboy26

ramboboy26

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,532 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:54

โง่แล้วไม่เจียม
ใครเค้าอยากให้เอาเงินซื้อข้าวเข้าโกดังกันวะ
ยิ่งเอาเข้าโกดัง ยิ่งเสียค่าดูแล ค่าเช่าที่ สารพัด สินค้าที่ได้มา ยิ่งขายออกไปไว ค่าจัดการรายทางยิ่งน้อย
บริษัทที่มีประสิทธิภาพทั่วโลกเค้าก็ลดเวลาการสต๊อกสินค้ากันทั้งนั้น ไม่มีใครซื้อของมาค้างสต๊อกนานๆเป็นเดือนๆหรอกนะครับ
กูขอปฏิญาณ ต่อหน้าสถูปสถานศักดิ์สิทธิ์ ต่อหน้าอิฐหินดินทราย ขอจองล้างจองผลาญจนตาย ต่อผู้ทำลาย แผ่นดิน...

#18 สิงห์สนามซ้อม

สิงห์สนามซ้อม

    คนดีไม่กลัวการตรวจสอบ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,757 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:54

จะได้จำไว้ มีลูกมีหานจะไม่ส่งเข้าไปเรียนที่นี้
ถ้าอาจารย์พวกนี้ไม่ตายห่านไปก่อน :lol:

" ประกาศบอยคอต ช่อง 3 ไม่ว่าจะข่าว ละคร หรือการ์ตูนลูก  กรูไม่ดู !!! "


#19 ryukendo

ryukendo

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,383 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:03

เจอข่าวเลียชนิดลืมศักดิ์ศรีอาจารย์แล้วเซ็ง แต่เห็นหน้าไอ้หงอกแล้วเซ็งกว่า :lol:
บ้านเมืองไม่ใช่ของเล่นที่จะทำพังแล้วร้องไห้ขออันใหม่

#20 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:04

Posted Image

เฉลี่ยชาวนาทั่วประเทศ มีนา 15 ไร่
กลาง เฉลี่ย 24 ไร่
เหนือ เฉลี่ย 14 ไร่
อีสาน เฉลี่ย 14 ไร่
ใต้ เฉลี่ย 6 ไร่

จำนำทุกเม็ด ใครได้ประโยชน์?
แต่รู้ภาคอีสาน ได้ประโยชนน้อยสุด
เพราะ ชาวนาเยอะสุด นาน้อยกว่า
และอยู่นอกเขตชลประทาน ไม่เหมือนภาคกลางทำนา 2 รอบ

Posted Image

Edited by aumstar, 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:08.


#21 nhum

nhum

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,056 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:11

เป็นอาจารย์นี่รู้จักเม็ดเงินที่ลงไปกระตุ้นเศรษฐกิจให้ชาวนาอยู่ได้ด้วยตนเองมั้ย
ถึงวันนึงก็ไม่ต้องช่วยแล้ว อีกทางนึงต้องรอให้ป้อนจนตาย

#22 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:23

กลุ่มผู้เสียผลประโยชน์?
นักการเมือง งบประชานิยมแจกแหลก ชาวนาจนหรือรวยได้ทุกคน
ผู้ส่งออก ส่งข้าวไม่ได้ ราคาสูง เริ่มโวยวายใกล้พัง
ชาวนา ชาวนากำไรเพิ่มโครงการ โดยเฉพาะกลุ่มมีพื้นที่นาเยอะ
นายทุนในระบบจำนำ โรงสี,โกดัง เสือนอนกิน

Edited by aumstar, 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:32.


#23 taze

taze

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 732 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:27

ข้อมูลยังมั่วขนาดนี้ แล้วเวลาสอนเด็กนักศึกษาจะไม่มั่วเอาอะไรไปสอนหรือ ไม่ไหวมั๊งเด็กที่เรียนด้วยจะได้อะไรออกมาละนี่

"Power tends to corrupt, and absolute power corrupts absolutely."


#24 คลำปม

คลำปม

    สลิ่มเต็มขั้นจ้า

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,657 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:32

เรื่องงบในการใช้ประกันราคาข้าวยุคมาร์คนี่พูดไม่ค่อยตรงกันสักรายนะครับ

ปชป.เองบอกว่าปีละ 50,000 ล้าน

นายกสมาคมค้าข้าวและ TDRI บอกว่าปีละ 60,000 ล้าน

ไอ้อาจารย์จ้ำจ๊วกในกระทู้นี้บอกว่า 90,000 ล้าน

โอ๊คบอกว่า 100,000 ล้าน

ตัวเลขชัดๆผมขี้เกี้ยจไปค้นนะครับ

แต่ผมว่าคงอยู่แถวๆ 60,000 ล้านนั่นแหละ

วิธีการยุติระบอบทักษิณ

ก็แค่เพียงทำให้คนไทยส่วนใหญ่ "ฉลาด"


#25 ssa

ssa

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,120 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:36

ความจริงอีกด้านของอาการเจ๊ง เงินหมดของ ธกส.
Prachachat@prachachat
ธ.ก.ส.ลุยจำนำข้าวจนบักโกรก ขอ4.9หมื่นล.ตุนสภาพคล่อง บ่นพาณิชย์ส่งคืนแค่หมื่นล้าน http://fb.me/1CZChmbzo

#26 พระฤๅษี

พระฤๅษี

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,127 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:38

ไอ้ หงอกเจียม นี่ ***ทุกเรื่องนะแม้กระทั่งเรื่องข้าว

เรื่องจำนำ รู้ไปหมด ที่จริงเรื่องจำนำนี่ เราก็ไม่ได้มี

ความรอบรู้อะไร. แต่อยากจะเสนอให้ ทั้ง 2 ฝ่าย คือ

ฝ่ายที่เห็นด้วยกับฝ่ายที่ไม่เห็นด้วย มานั่งถกปัญหา-

แก้กันด้วยข้อ เท็จ-จริง ..น่าจะเป็นประโยชน์กับประเทศ

มากกว่า ..ฝ่ายเห็นด้วยพูดที.ฝ่ายไม่เห็นด้วยพูดที.แล้ว

ก่อ ม็อบไปข่มขู่ ด่ากัน สารพัด ( มันอันธพาล. เถื่อน )

เกินไป ไม่ได้ประโยชน์อะไรด้วย.. จริงไม๊ ???

#27 kop16

kop16

    U will never walk alone.

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,507 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:40

เข้ามาดู นัก นิติฯ ที่ว่าเก่ง

แต่โง่ในเรื่องที่ชาวบ้านที่มีสติปัญญา รู้กัน

If you try hard enough, you can be whatever you want to be.


#28 baezae

baezae

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,966 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:50

เรื่องงบในการใช้ประกันราคาข้าวยุคมาร์คนี่พูดไม่ค่อยตรงกันสักรายนะครับ

ปชป.เองบอกว่าปีละ 50,000 ล้าน

นายกสมาคมค้าข้าวและ TDRI บอกว่าปีละ 60,000 ล้าน

ไอ้อาจารย์จ้ำจ๊วกในกระทู้นี้บอกว่า 90,000 ล้าน

โอ๊คบอกว่า 100,000 ล้าน

ตัวเลขชัดๆผมขี้เกี้ยจไปค้นนะครับ

แต่ผมว่าคงอยู่แถวๆ 60,000 ล้านนั่นแหละ


เพราะในปริมาณเงิน ๖ หมื่นนั้น จะเป็นการรวมสินค้าเกษตรอย่างน้อย ๓ ตัวครับ คือ ข้าว มันสำปะหลัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

โดยเท่าที่อ่านคร่าว ๆ จะเป็นข้าวเสียราว ๘๐ ถึง ๙๐ เปอร์เซนต์ ทำให้ยอดรวมเฉพาะข้าวอย่างเดียว น่าจะตกที่ ๕.๕ หมื่นล้านครับ
ถ้าคุณเป็นเสื้อเหลือง ผมคุยกับคุณได้ และหัวเราะให้กันได้ถ้าคุณเป็นเสื้อแดง ผมก็คุยกับคุณได้ และหัวเราะใ้ห้กันได้แต่ถ้าคุณเป็นควายล้มเจ้าไม่ว่าจะสีไหน ผมจะด่าอย่างเดียว

#29 Apichai

Apichai

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,093 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:04

ไอ้ หงอกเจียม นี่ ***ทุกเรื่องนะแม้กระทั่งเรื่องข้าว

เรื่องจำนำ รู้ไปหมด ที่จริงเรื่องจำนำนี่ เราก็ไม่ได้มี

ความรอบรู้อะไร. แต่อยากจะเสนอให้ ทั้ง 2 ฝ่าย คือ

ฝ่ายที่เห็นด้วยกับฝ่ายที่ไม่เห็นด้วย มานั่งถกปัญหา-

แก้กันด้วยข้อ เท็จ-จริง ..น่าจะเป็นประโยชน์กับประเทศ

มากกว่า ..ฝ่ายเห็นด้วยพูดที.ฝ่ายไม่เห็นด้วยพูดที.แล้ว

ก่อ ม็อบไปข่มขู่ ด่ากัน สารพัด ( มันอันธพาล. เถื่อน )

เกินไป ไม่ได้ประโยชน์อะไรด้วย.. จริงไม๊ ???


คนที่ทำนโยบาย ไม่ได้ต้องการแก้ปัญหาที่จะเกิดขึ้น
แค่ต้องการแก้ปัญหาทางการเมือง
โดยมีธงอยู่แล้วว่า ต้องเดินหน้า นโยบายจำนำข้าวต่อ
ส่วน เหตุผลว่า คงไม่พ้น สะสมทุน และเอาใจฐานเสียง

#30 หนูน้อยอาเลย์นา

หนูน้อยอาเลย์นา

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 991 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:14

พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ เป็นคนพูดว่า "ไม่เอาทุนนิยมสามานต์หรือจะเอาศักดินาล้าหลัง" แดงแจ๊ดเลยนายคนนี้

หนูน้อยอาเลย์นา น่ารักจุงเบ


#31 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:16

จำนำข้าว 15,000 บาท/ตัน

ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 25% หักสิ่งเจือปนเหลือ 12,000บาท/ตัน (3,000--------->โรงสี)

ราคาปกติ 8,500 บาท/ตัน(0บาท--------->โรงสี)

ช่วงต่าง 15,000 - 8,500 -----> 6,500 บาท/ตัน
ช่วงต่าง 12,000 - 8,500 -----> 3,500 บาท/ตัน


ชาวนา 10ไร่ (700 กก/ไร่ ) เงินโครงการจำนำทุกเม็ด 2,450*10 ------> 24,500 บาท (1 รอบ)
ชาวนา 100ไร่ (700 กก/ไร่ )เงินโครงการจำนำทุกเม็ด 2,450*100 ------> 245,000 บาท(1 รอบ)

โครงการจำนำทุกเม็ด 20ล้านตัน
งบประมาณ 300,000 ล้านบาท
ค่าบริหาร 30,000 ล้านบาท

ชาวนา ---------> 49,000 ล้านบาท(เงินที่เพิ่มขึ้นของโครงการ)
โรงสี ---------> 60,000 ล้านบาท(เฉพาะรายรับของโครงการ ยังไม่หักรายจ่าย)
อื่น โกงดัง,ดอกเบี้ย,กระสอบ,พนักงาน ---------> 30,000 ล้านบาท(ค่าบริหาร )

***กรณี ขายข้าวขาดทุนบวกเข้าไปอีก
ถึงมือชาวนาห้าหมื่นล้านบาท แต่เงินหายไปเกินแสนล้าน

#32 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:23



นายพิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

#33 yuth8866

yuth8866

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 468 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:11

ตอแหลครับ

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๒/๒๕๕๓ ใช้งบประมาณไปราว ๒๕๐๐๐ ล้านบาท รวมข้าวโพดและมัน ยังไปแค่ ๒.๗๙ หมื่นล้าน
http://archive.voice...h/content/21583
http://www.manager.c...0008112&TabID=3&

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๓/๒๕๕๔ ใช้งบประมาณไปราว ๓๐๐๐๐ ล้านบาท
http://archive.voice...h/content/21583

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ใช้งบประมาณไปทั้งสิ้น ๒๘๕๐๐ ล้านบาท

http://www.biothai.net/news/8260

สำหรับนาปรัง ผมต่อให้ใช้งบเท่ากันเลย แปลว่าเต็มที่ต่อปีก็ ๖ หมื่นล้านบาท
--------------------------------------------------

ทีนี้มาดูจำนำ

ปัจจุบัน มีข้าวในสต๊อกอยู่ราว ๑๖ ถึง ๑๗ ล้านตัน (ตีว่า ๑๗ ล้าน) เป็นข้าวเปลือก คำนวนว่าเมื่อสีเป็นข้าวสาร เอาแบบให้เยอะสุด ๆ ข้าวเปลือก ๑ ตัน เหลือเป็นข้าวสารได้ราว ๗๐๐ ถึง ๘๐๐ กิโล

ดังนั้น ๑๗ ล้านตัน ก็จะได้ข้าวสารราว ๑๒ ล้านตัน ถึง ๑๔ ล้านตันโดยประมาณ

จากข้อมูลที่ได้ทำการขายให้กับไอเวอรรี่โคสต์ที่ ๒.๔ แสนตัน (เพิ่งขายจริง ๆ ได้แค่เจ้านี้กับกินีอีก ๒ แสนตัน) ขายไปได้ราคา ๑๔๕ ล้านเหรียญสหรัฐ ตกเป็นราคาข้าวสารตันละราว ๑๗๐๐๐ บาท

มีการคำนวนไว้ก่อนหน้าโดยทีดีอาร์ไอแล้วว่า เมื่อรวมค่าจำนำ ค่าเช่าโกดัง ค่ารมยา ค่าสี ค่าขนส่ง จะทำให้ต้นทุนต่อข้าวสาร ๑ ตันโดยเฉลี่ยทุกพันธ์ทุกความชื้น จะอยู่ที่ ๒๓๐๐๐ บาท

เท่ากับว่า ดีลนี้ขายขาดทุนไปตันละ ๖๐๐๐ บาท

ติ๊ต่างว่าได้ราคานี้ทุกเจ้าจากนี้ต่อไป (ซึ่งจริง ๆ ไม่มีทาง ข้าวยิ่งเก็บนาน ราคายิ่งเสีย) และสามารถขายได้หมดที่มีในโกดัง ก็เท่ากับว่า รัฐจะต้องพบกับการขาดทุนตั้งแต่ ๗.๒ หมื่นล้าน จนไปถึง ๘ หมื่นกว่าล้าน ซึ่งก็ยังคงมากกว่าการประกันราคาอยู่ดี

และยิ่งไม่ต้องพูดถึงการขายไม่ออก ที่จะยิ่งทำให้หนักหนาสาหัสยิ่งขึ้น

จากสถิติปีเหลี่ยมเป็นนายก ข้าวที่จำนำสามารถขายออกไปได้เพียงราวร้อยละ ๑๕ ของที่รับมาทั้งหมดเท่านั้น ลองนึกดูว่า ถ้ามันออกหน้านั้น จะขาดทุนเท่าไร

ยิ่งปีนี้ อินเดียกลับเข้าตลาด ด้วยปริมาณส่งออกราว ๑๐ ล้านตัน (พอ ๆ กับเราช่วงปี ๕๓) พร้อมกับผลผลิตที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก ทำให้ราคาข้าวในตลาดโลกน่าจะทรงตัวเป็นอย่างดีที่สุด ในขณะที่ต้นทุนเราเพิ่มขึ้น โอกาสที่เราจะส่งออกได้ย่อมน้อยลง

สถิติของช่วง ๘ เดือนแรก ของปีนี้ พบว่าเราส่งออกข้าวไปได้ทั้งหมด ๔.๕ ล้านตัน โดยปริมาณ ๔ ล้านกว่า เป็นของเอกชนล้วน ๆ มีไม่ถึง ๕ แสน มาจากโกดังที่จำนำ

และที่น่าตกใจกว่านั้นคือ ออร์เดอร์ข้าวเจ้าใหญ่ ๆ ลดลงไปตามๆ กัน เช่น ไนจีเรีย ที่ช่วง ๘ เดือนแรกในปีก่อน ๆ เคยสั่งข้าวเราถึง ๑.๕ ล้านตัน ปีนี้สั่งมาเพียง ๘ แสนตัน ญี่ปุ่น และจีนก็สั่งลดน้อยลงครึ่งหนึ่ง เกาหลีใต้หนักสุด สั่งมาแค่ร้อยละ ๑๐ ของที่เคย

(ข้อมูลการส่งออก จากกรมการค้า กระทรวงพานิชย์)

เท่านี้ก็คงพอเดาทิศทางออกแล้ว ว่าจะเป็นอย่างไรต่อไป

คำนวนได้ใกล้เคียงครับ คือ

ประกันรายได้ 10,000 บาท/ตัน รัฐบาลขาดทุน 60,000 ล้านบาท
จำนำ 15,000 บาท/ตัน รัฐบาลขาดทุน 80,000-100,000 ล้านบาท/ปี

แต่ถ้า ปชป. ปรับราคา ประกันเป็น 15,000บาท/ตัน เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เท่าจำนำ ต้องจ่ายเงินเพิ่มอีก 5000 บาท*34 ล้านตัน
เท่ากับ 170,000 บาท เลยนะครับ

ไม่ว่าจะประกันหรือจำนำ ล้วนทำให้เกิดภาระกับเงินงบประมาณ
อันเนื่องมาจากการตั้งราคาประกัน หรือ ราคาจำนำ

เพื่อไม่ให้เป็นภาระกับเงินงบประมาณมากเกินไป จนนักการเมืองเอามาเป็นช่องทางในการหาเสียง
เป็นไปได้ไหมครับ ถ้าเราจะกำหนดลงให้ รัฐบาลสามารถเอาเงินมาลงทุน ในแต่ละโครงการ ไม่เกิน10% ของเงอนงบประมาณ
ทั้งนี้ จะเป็นโจทย์ ที่ทำให้นักการเมืองเหล่านนั้น ต้องคิด ก่อนจะเอาเงินงบประมาณไปใช้
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ได้มาซึ่งคะแนนเสียง

#34 RaRa

RaRa

    Seien Sie loyal zu Majesty

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,976 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:28

ไอ้ หงอกเจียม นี่ ***ทุกเรื่องนะแม้กระทั่งเรื่องข้าว

เรื่องจำนำ รู้ไปหมด ที่จริงเรื่องจำนำนี่ เราก็ไม่ได้มี

ความรอบรู้อะไร. แต่อยากจะเสนอให้ ทั้ง 2 ฝ่าย คือ

ฝ่ายที่เห็นด้วยกับฝ่ายที่ไม่เห็นด้วย มานั่งถกปัญหา-

แก้กันด้วยข้อ เท็จ-จริง ..น่าจะเป็นประโยชน์กับประเทศ

มากกว่า ..ฝ่ายเห็นด้วยพูดที.ฝ่ายไม่เห็นด้วยพูดที.แล้ว

ก่อ ม็อบไปข่มขู่ ด่ากัน สารพัด ( มันอันธพาล. เถื่อน )

เกินไป ไม่ได้ประโยชน์อะไรด้วย.. จริงไม๊ ???


บร๊ะะะะ.....เบาลงไปเยอะนะท่านพระฤๅษี

ไม่ค่อย Hardcore เหมือนเดิมแล้ว

ดีแล้วแหล่ะครับ ใจเย็นลงสักนิด สติจะมาเองครับ!!

เรื่องจำนำข้าว นี่มันผิดฝาผิดตัวเห็นๆแต่แรกแล้วครับ

มันก็ยังดันทุรังทำให้เกิดความฉิบหายไปเรื่อยๆ

แต่ก็ดีแหล่ะครับ ให้มันเดินหน้าต่อไป เพราะนี่แหล่ะ เป็น"จุดอ่อน" ของมันเลย

"โดนเมื่อไหร่ สลบเมื่อนั้น" แหล่ะครับ คอยดูกันไปครับ ;) ;)

ขอเทิดทูนศักดิ์ศรียิ่งสิ่งใด

...แม้แต่ลมหายใจก็ยอมพลี

โลกยังไม่สิ้นหวัง ถ้ายังมั่นในความดี

...ศรัทธาไม่เคยหน่ายหนี คนดีไม่มีวันตาย


#35 susu

susu

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,066 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:31

เนื่องจากใช้เงินประมาณ 90,000 ล้านบาทต่อปี แต่ไม่ได้ข้าวเก็บเข้าโกดังเลยซักเม็ดเดียว


เงินเท่าไหร่ ช่างมัน
แต่นี่หรือวิธีคิด ???? รัฐทำหน้าที่เก็บข้าวมาใว้หรือ ?

#36 kon_thai

kon_thai

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,437 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 14:43

ประกันราคาข้าวไม่ดีครับ..ทำให้รัฐเสียเงินหกหมื่นล้าน..ทำให้ราคาตลาดข้าวไม่เสีย..ทำให้มีการส่งออกข้าว.ทำให้โกดังข้าวไม่มีข้าวเก็บ(เสียรายได้)ทำให้ไทยเป็นอันดับ1ในการขายข้าว..อืม..มันไม่ดีจริงๆเน้อ.. :angry:

#37 prisonbreak

prisonbreak

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,138 posts

ตอบ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 15:52


ตอแหลครับ

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๒/๒๕๕๓ ใช้งบประมาณไปราว ๒๕๐๐๐ ล้านบาท รวมข้าวโพดและมัน ยังไปแค่ ๒.๗๙ หมื่นล้าน
http://archive.voice...h/content/21583
http://www.manager.c...0008112&TabID=3&

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๓/๒๕๕๔ ใช้งบประมาณไปราว ๓๐๐๐๐ ล้านบาท
http://archive.voice...h/content/21583

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ใช้งบประมาณไปทั้งสิ้น ๒๘๕๐๐ ล้านบาท

http://www.biothai.net/news/8260

สำหรับนาปรัง ผมต่อให้ใช้งบเท่ากันเลย แปลว่าเต็มที่ต่อปีก็ ๖ หมื่นล้านบาท
--------------------------------------------------

ทีนี้มาดูจำนำ

ปัจจุบัน มีข้าวในสต๊อกอยู่ราว ๑๖ ถึง ๑๗ ล้านตัน (ตีว่า ๑๗ ล้าน) เป็นข้าวเปลือก คำนวนว่าเมื่อสีเป็นข้าวสาร เอาแบบให้เยอะสุด ๆ ข้าวเปลือก ๑ ตัน เหลือเป็นข้าวสารได้ราว ๗๐๐ ถึง ๘๐๐ กิโล

ดังนั้น ๑๗ ล้านตัน ก็จะได้ข้าวสารราว ๑๒ ล้านตัน ถึง ๑๔ ล้านตันโดยประมาณ

จากข้อมูลที่ได้ทำการขายให้กับไอเวอรรี่โคสต์ที่ ๒.๔ แสนตัน (เพิ่งขายจริง ๆ ได้แค่เจ้านี้กับกินีอีก ๒ แสนตัน) ขายไปได้ราคา ๑๔๕ ล้านเหรียญสหรัฐ ตกเป็นราคาข้าวสารตันละราว ๑๗๐๐๐ บาท

มีการคำนวนไว้ก่อนหน้าโดยทีดีอาร์ไอแล้วว่า เมื่อรวมค่าจำนำ ค่าเช่าโกดัง ค่ารมยา ค่าสี ค่าขนส่ง จะทำให้ต้นทุนต่อข้าวสาร ๑ ตันโดยเฉลี่ยทุกพันธ์ทุกความชื้น จะอยู่ที่ ๒๓๐๐๐ บาท

เท่ากับว่า ดีลนี้ขายขาดทุนไปตันละ ๖๐๐๐ บาท

ติ๊ต่างว่าได้ราคานี้ทุกเจ้าจากนี้ต่อไป (ซึ่งจริง ๆ ไม่มีทาง ข้าวยิ่งเก็บนาน ราคายิ่งเสีย) และสามารถขายได้หมดที่มีในโกดัง ก็เท่ากับว่า รัฐจะต้องพบกับการขาดทุนตั้งแต่ ๗.๒ หมื่นล้าน จนไปถึง ๘ หมื่นกว่าล้าน ซึ่งก็ยังคงมากกว่าการประกันราคาอยู่ดี

และยิ่งไม่ต้องพูดถึงการขายไม่ออก ที่จะยิ่งทำให้หนักหนาสาหัสยิ่งขึ้น

จากสถิติปีเหลี่ยมเป็นนายก ข้าวที่จำนำสามารถขายออกไปได้เพียงราวร้อยละ ๑๕ ของที่รับมาทั้งหมดเท่านั้น ลองนึกดูว่า ถ้ามันออกหน้านั้น จะขาดทุนเท่าไร

ยิ่งปีนี้ อินเดียกลับเข้าตลาด ด้วยปริมาณส่งออกราว ๑๐ ล้านตัน (พอ ๆ กับเราช่วงปี ๕๓) พร้อมกับผลผลิตที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก ทำให้ราคาข้าวในตลาดโลกน่าจะทรงตัวเป็นอย่างดีที่สุด ในขณะที่ต้นทุนเราเพิ่มขึ้น โอกาสที่เราจะส่งออกได้ย่อมน้อยลง

สถิติของช่วง ๘ เดือนแรก ของปีนี้ พบว่าเราส่งออกข้าวไปได้ทั้งหมด ๔.๕ ล้านตัน โดยปริมาณ ๔ ล้านกว่า เป็นของเอกชนล้วน ๆ มีไม่ถึง ๕ แสน มาจากโกดังที่จำนำ

และที่น่าตกใจกว่านั้นคือ ออร์เดอร์ข้าวเจ้าใหญ่ ๆ ลดลงไปตามๆ กัน เช่น ไนจีเรีย ที่ช่วง ๘ เดือนแรกในปีก่อน ๆ เคยสั่งข้าวเราถึง ๑.๕ ล้านตัน ปีนี้สั่งมาเพียง ๘ แสนตัน ญี่ปุ่น และจีนก็สั่งลดน้อยลงครึ่งหนึ่ง เกาหลีใต้หนักสุด สั่งมาแค่ร้อยละ ๑๐ ของที่เคย

(ข้อมูลการส่งออก จากกรมการค้า กระทรวงพานิชย์)

เท่านี้ก็คงพอเดาทิศทางออกแล้ว ว่าจะเป็นอย่างไรต่อไป

คำนวนได้ใกล้เคียงครับ คือ

ประกันรายได้ 10,000 บาท/ตัน รัฐบาลขาดทุน 60,000 ล้านบาท
จำนำ 15,000 บาท/ตัน รัฐบาลขาดทุน 80,000-100,000 ล้านบาท/ปี

แต่ถ้า ปชป. ปรับราคา ประกันเป็น 15,000บาท/ตัน เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เท่าจำนำ ต้องจ่ายเงินเพิ่มอีก 5000 บาท*34 ล้านตัน
เท่ากับ 170,000 บาท เลยนะครับ

ไม่ว่าจะประกันหรือจำนำ ล้วนทำให้เกิดภาระกับเงินงบประมาณ
อันเนื่องมาจากการตั้งราคาประกัน หรือ ราคาจำนำ

เพื่อไม่ให้เป็นภาระกับเงินงบประมาณมากเกินไป จนนักการเมืองเอามาเป็นช่องทางในการหาเสียง
เป็นไปได้ไหมครับ ถ้าเราจะกำหนดลงให้ รัฐบาลสามารถเอาเงินมาลงทุน ในแต่ละโครงการ ไม่เกิน10% ของเงอนงบประมาณ
ทั้งนี้ จะเป็นโจทย์ ที่ทำให้นักการเมืองเหล่านนั้น ต้องคิด ก่อนจะเอาเงินงบประมาณไปใช้
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ได้มาซึ่งคะแนนเสียง


ถ้าปรับให้เท่ากันจริง การประกันฯจำนวนชาวนาเกษตรกรที่จะได้รับเงินเต็มๆ น่าจะเยอะกว่า การรับจำนำ(เหมาซื้อ) นะครับ ?

#38 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 05:21

เป็นอจ.สอนเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์???????????



เลิกเป็นครูแล้วมารับจ้างจัดอีเวนท์เสวนาไปเลยดีกว่า สงสารเด็กมัน
ได้ครูเศรษฐศาสตร์โคตรง่าวแบบนี้ เล่นปั่นแปะอยู่บ้านยังดีกว่า
gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#39 yuth8866

yuth8866

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 468 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 09:24



ตอแหลครับ

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๒/๒๕๕๓ ใช้งบประมาณไปราว ๒๕๐๐๐ ล้านบาท รวมข้าวโพดและมัน ยังไปแค่ ๒.๗๙ หมื่นล้าน
http://archive.voice...h/content/21583
http://www.manager.c...112&#38;TabID=3&amp;

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๓/๒๕๕๔ ใช้งบประมาณไปราว ๓๐๐๐๐ ล้านบาท
http://archive.voice...h/content/21583

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ใช้งบประมาณไปทั้งสิ้น ๒๘๕๐๐ ล้านบาท

http://www.biothai.net/news/8260

สำหรับนาปรัง ผมต่อให้ใช้งบเท่ากันเลย แปลว่าเต็มที่ต่อปีก็ ๖ หมื่นล้านบาท
--------------------------------------------------

ทีนี้มาดูจำนำ

ปัจจุบัน มีข้าวในสต๊อกอยู่ราว ๑๖ ถึง ๑๗ ล้านตัน (ตีว่า ๑๗ ล้าน) เป็นข้าวเปลือก คำนวนว่าเมื่อสีเป็นข้าวสาร เอาแบบให้เยอะสุด ๆ ข้าวเปลือก ๑ ตัน เหลือเป็นข้าวสารได้ราว ๗๐๐ ถึง ๘๐๐ กิโล

ดังนั้น ๑๗ ล้านตัน ก็จะได้ข้าวสารราว ๑๒ ล้านตัน ถึง ๑๔ ล้านตันโดยประมาณ

จากข้อมูลที่ได้ทำการขายให้กับไอเวอรรี่โคสต์ที่ ๒.๔ แสนตัน (เพิ่งขายจริง ๆ ได้แค่เจ้านี้กับกินีอีก ๒ แสนตัน) ขายไปได้ราคา ๑๔๕ ล้านเหรียญสหรัฐ ตกเป็นราคาข้าวสารตันละราว ๑๗๐๐๐ บาท

มีการคำนวนไว้ก่อนหน้าโดยทีดีอาร์ไอแล้วว่า เมื่อรวมค่าจำนำ ค่าเช่าโกดัง ค่ารมยา ค่าสี ค่าขนส่ง จะทำให้ต้นทุนต่อข้าวสาร ๑ ตันโดยเฉลี่ยทุกพันธ์ทุกความชื้น จะอยู่ที่ ๒๓๐๐๐ บาท

เท่ากับว่า ดีลนี้ขายขาดทุนไปตันละ ๖๐๐๐ บาท

ติ๊ต่างว่าได้ราคานี้ทุกเจ้าจากนี้ต่อไป (ซึ่งจริง ๆ ไม่มีทาง ข้าวยิ่งเก็บนาน ราคายิ่งเสีย) และสามารถขายได้หมดที่มีในโกดัง ก็เท่ากับว่า รัฐจะต้องพบกับการขาดทุนตั้งแต่ ๗.๒ หมื่นล้าน จนไปถึง ๘ หมื่นกว่าล้าน ซึ่งก็ยังคงมากกว่าการประกันราคาอยู่ดี

และยิ่งไม่ต้องพูดถึงการขายไม่ออก ที่จะยิ่งทำให้หนักหนาสาหัสยิ่งขึ้น

จากสถิติปีเหลี่ยมเป็นนายก ข้าวที่จำนำสามารถขายออกไปได้เพียงราวร้อยละ ๑๕ ของที่รับมาทั้งหมดเท่านั้น ลองนึกดูว่า ถ้ามันออกหน้านั้น จะขาดทุนเท่าไร

ยิ่งปีนี้ อินเดียกลับเข้าตลาด ด้วยปริมาณส่งออกราว ๑๐ ล้านตัน (พอ ๆ กับเราช่วงปี ๕๓) พร้อมกับผลผลิตที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก ทำให้ราคาข้าวในตลาดโลกน่าจะทรงตัวเป็นอย่างดีที่สุด ในขณะที่ต้นทุนเราเพิ่มขึ้น โอกาสที่เราจะส่งออกได้ย่อมน้อยลง

สถิติของช่วง ๘ เดือนแรก ของปีนี้ พบว่าเราส่งออกข้าวไปได้ทั้งหมด ๔.๕ ล้านตัน โดยปริมาณ ๔ ล้านกว่า เป็นของเอกชนล้วน ๆ มีไม่ถึง ๕ แสน มาจากโกดังที่จำนำ

และที่น่าตกใจกว่านั้นคือ ออร์เดอร์ข้าวเจ้าใหญ่ ๆ ลดลงไปตามๆ กัน เช่น ไนจีเรีย ที่ช่วง ๘ เดือนแรกในปีก่อน ๆ เคยสั่งข้าวเราถึง ๑.๕ ล้านตัน ปีนี้สั่งมาเพียง ๘ แสนตัน ญี่ปุ่น และจีนก็สั่งลดน้อยลงครึ่งหนึ่ง เกาหลีใต้หนักสุด สั่งมาแค่ร้อยละ ๑๐ ของที่เคย

(ข้อมูลการส่งออก จากกรมการค้า กระทรวงพานิชย์)

เท่านี้ก็คงพอเดาทิศทางออกแล้ว ว่าจะเป็นอย่างไรต่อไป

คำนวนได้ใกล้เคียงครับ คือ

ประกันรายได้ 10,000 บาท/ตัน รัฐบาลขาดทุน 60,000 ล้านบาท
จำนำ 15,000 บาท/ตัน รัฐบาลขาดทุน 80,000-100,000 ล้านบาท/ปี

แต่ถ้า ปชป. ปรับราคา ประกันเป็น 15,000บาท/ตัน เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เท่าจำนำ ต้องจ่ายเงินเพิ่มอีก 5000 บาท*34 ล้านตัน
เท่ากับ 170,000 บาท เลยนะครับ

ไม่ว่าจะประกันหรือจำนำ ล้วนทำให้เกิดภาระกับเงินงบประมาณ
อันเนื่องมาจากการตั้งราคาประกัน หรือ ราคาจำนำ

เพื่อไม่ให้เป็นภาระกับเงินงบประมาณมากเกินไป จนนักการเมืองเอามาเป็นช่องทางในการหาเสียง
เป็นไปได้ไหมครับ ถ้าเราจะกำหนดลงให้ รัฐบาลสามารถเอาเงินมาลงทุน ในแต่ละโครงการ ไม่เกิน10% ของเงอนงบประมาณ
ทั้งนี้ จะเป็นโจทย์ ที่ทำให้นักการเมืองเหล่านนั้น ต้องคิด ก่อนจะเอาเงินงบประมาณไปใช้
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ได้มาซึ่งคะแนนเสียง


ถ้าปรับให้เท่ากันจริง การประกันฯจำนวนชาวนาเกษตรกรที่จะได้รับเงินเต็มๆ น่าจะเยอะกว่า การรับจำนำ(เหมาซื้อ) นะครับ ?

เห็นด้วยครับ
ในเมื่อ ทั้งจำนำ และประกันต่างก็มีข้อเสีย
แต่ โครงการประกันรายได้ มีข้อดีตรงใช้งบประมาณในการดำเนินการน้อยกว่า
(แต่งบจ่ายขาด อาจจะมากกว่า)
ดังนั้น ต้องสร้างบรรทัดฐานที่เท่ากันก่อน
รายรับของรัฐบาล ประมาณ1.6 ล้าน ล้าน
หักค่าใช้จ่ายประจำแล้ว น่าจะเหลือประมาณ 1 ล้านล้าน บาท
ชาวนามี 16 ล้านคน (5 ล้านครัวเรือน) ไม่ควรใช้เงิน เกิน 1ล้าน ล้าน x16/60ล้านคน
หรือ 2.6 แสนล้านบาท/ปี ไม่ใช่ปีปีละ5แสนล้าน อย่างตอนนี้
เพราะ มันไปเบียดเบียน เงินงบประมาณที่จะไปลงใน ภาคส่วนอื่นๆ ของสังคม

#40 baezae

baezae

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,966 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 09:30




ตอแหลครับ

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๒/๒๕๕๓ ใช้งบประมาณไปราว ๒๕๐๐๐ ล้านบาท รวมข้าวโพดและมัน ยังไปแค่ ๒.๗๙ หมื่นล้าน
http://archive.voice...h/content/21583
http://www.manager.c...112&#38;TabID=3&amp;

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๓/๒๕๕๔ ใช้งบประมาณไปราว ๓๐๐๐๐ ล้านบาท
http://archive.voice...h/content/21583

โครงการประกันราคาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ใช้งบประมาณไปทั้งสิ้น ๒๘๕๐๐ ล้านบาท

http://www.biothai.net/news/8260

สำหรับนาปรัง ผมต่อให้ใช้งบเท่ากันเลย แปลว่าเต็มที่ต่อปีก็ ๖ หมื่นล้านบาท
--------------------------------------------------

ทีนี้มาดูจำนำ

ปัจจุบัน มีข้าวในสต๊อกอยู่ราว ๑๖ ถึง ๑๗ ล้านตัน (ตีว่า ๑๗ ล้าน) เป็นข้าวเปลือก คำนวนว่าเมื่อสีเป็นข้าวสาร เอาแบบให้เยอะสุด ๆ ข้าวเปลือก ๑ ตัน เหลือเป็นข้าวสารได้ราว ๗๐๐ ถึง ๘๐๐ กิโล

ดังนั้น ๑๗ ล้านตัน ก็จะได้ข้าวสารราว ๑๒ ล้านตัน ถึง ๑๔ ล้านตันโดยประมาณ

จากข้อมูลที่ได้ทำการขายให้กับไอเวอรรี่โคสต์ที่ ๒.๔ แสนตัน (เพิ่งขายจริง ๆ ได้แค่เจ้านี้กับกินีอีก ๒ แสนตัน) ขายไปได้ราคา ๑๔๕ ล้านเหรียญสหรัฐ ตกเป็นราคาข้าวสารตันละราว ๑๗๐๐๐ บาท

มีการคำนวนไว้ก่อนหน้าโดยทีดีอาร์ไอแล้วว่า เมื่อรวมค่าจำนำ ค่าเช่าโกดัง ค่ารมยา ค่าสี ค่าขนส่ง จะทำให้ต้นทุนต่อข้าวสาร ๑ ตันโดยเฉลี่ยทุกพันธ์ทุกความชื้น จะอยู่ที่ ๒๓๐๐๐ บาท

เท่ากับว่า ดีลนี้ขายขาดทุนไปตันละ ๖๐๐๐ บาท

ติ๊ต่างว่าได้ราคานี้ทุกเจ้าจากนี้ต่อไป (ซึ่งจริง ๆ ไม่มีทาง ข้าวยิ่งเก็บนาน ราคายิ่งเสีย) และสามารถขายได้หมดที่มีในโกดัง ก็เท่ากับว่า รัฐจะต้องพบกับการขาดทุนตั้งแต่ ๗.๒ หมื่นล้าน จนไปถึง ๘ หมื่นกว่าล้าน ซึ่งก็ยังคงมากกว่าการประกันราคาอยู่ดี

และยิ่งไม่ต้องพูดถึงการขายไม่ออก ที่จะยิ่งทำให้หนักหนาสาหัสยิ่งขึ้น

จากสถิติปีเหลี่ยมเป็นนายก ข้าวที่จำนำสามารถขายออกไปได้เพียงราวร้อยละ ๑๕ ของที่รับมาทั้งหมดเท่านั้น ลองนึกดูว่า ถ้ามันออกหน้านั้น จะขาดทุนเท่าไร

ยิ่งปีนี้ อินเดียกลับเข้าตลาด ด้วยปริมาณส่งออกราว ๑๐ ล้านตัน (พอ ๆ กับเราช่วงปี ๕๓) พร้อมกับผลผลิตที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก ทำให้ราคาข้าวในตลาดโลกน่าจะทรงตัวเป็นอย่างดีที่สุด ในขณะที่ต้นทุนเราเพิ่มขึ้น โอกาสที่เราจะส่งออกได้ย่อมน้อยลง

สถิติของช่วง ๘ เดือนแรก ของปีนี้ พบว่าเราส่งออกข้าวไปได้ทั้งหมด ๔.๕ ล้านตัน โดยปริมาณ ๔ ล้านกว่า เป็นของเอกชนล้วน ๆ มีไม่ถึง ๕ แสน มาจากโกดังที่จำนำ

และที่น่าตกใจกว่านั้นคือ ออร์เดอร์ข้าวเจ้าใหญ่ ๆ ลดลงไปตามๆ กัน เช่น ไนจีเรีย ที่ช่วง ๘ เดือนแรกในปีก่อน ๆ เคยสั่งข้าวเราถึง ๑.๕ ล้านตัน ปีนี้สั่งมาเพียง ๘ แสนตัน ญี่ปุ่น และจีนก็สั่งลดน้อยลงครึ่งหนึ่ง เกาหลีใต้หนักสุด สั่งมาแค่ร้อยละ ๑๐ ของที่เคย

(ข้อมูลการส่งออก จากกรมการค้า กระทรวงพานิชย์)

เท่านี้ก็คงพอเดาทิศทางออกแล้ว ว่าจะเป็นอย่างไรต่อไป

คำนวนได้ใกล้เคียงครับ คือ

ประกันรายได้ 10,000 บาท/ตัน รัฐบาลขาดทุน 60,000 ล้านบาท
จำนำ 15,000 บาท/ตัน รัฐบาลขาดทุน 80,000-100,000 ล้านบาท/ปี

แต่ถ้า ปชป. ปรับราคา ประกันเป็น 15,000บาท/ตัน เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เท่าจำนำ ต้องจ่ายเงินเพิ่มอีก 5000 บาท*34 ล้านตัน
เท่ากับ 170,000 บาท เลยนะครับ

ไม่ว่าจะประกันหรือจำนำ ล้วนทำให้เกิดภาระกับเงินงบประมาณ
อันเนื่องมาจากการตั้งราคาประกัน หรือ ราคาจำนำ

เพื่อไม่ให้เป็นภาระกับเงินงบประมาณมากเกินไป จนนักการเมืองเอามาเป็นช่องทางในการหาเสียง
เป็นไปได้ไหมครับ ถ้าเราจะกำหนดลงให้ รัฐบาลสามารถเอาเงินมาลงทุน ในแต่ละโครงการ ไม่เกิน10% ของเงอนงบประมาณ
ทั้งนี้ จะเป็นโจทย์ ที่ทำให้นักการเมืองเหล่านนั้น ต้องคิด ก่อนจะเอาเงินงบประมาณไปใช้
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ได้มาซึ่งคะแนนเสียง


ถ้าปรับให้เท่ากันจริง การประกันฯจำนวนชาวนาเกษตรกรที่จะได้รับเงินเต็มๆ น่าจะเยอะกว่า การรับจำนำ(เหมาซื้อ) นะครับ ?

เห็นด้วยครับ
ในเมื่อ ทั้งจำนำ และประกันต่างก็มีข้อเสีย
แต่ โครงการประกันรายได้ มีข้อดีตรงใช้งบประมาณในการดำเนินการน้อยกว่า
(แต่งบจ่ายขาด อาจจะมากกว่า)
ดังนั้น ต้องสร้างบรรทัดฐานที่เท่ากันก่อน
รายรับของรัฐบาล ประมาณ1.6 ล้าน ล้าน
หักค่าใช้จ่ายประจำแล้ว น่าจะเหลือประมาณ 1 ล้านล้าน บาท
ชาวนามี 16 ล้านคน (5 ล้านครัวเรือน) ไม่ควรใช้เงิน เกิน 1ล้าน ล้าน x16/60ล้านคน
หรือ 2.6 แสนล้านบาท/ปี ไม่ใช่ปีปีละ5แสนล้าน อย่างตอนนี้
เพราะ มันไปเบียดเบียน เงินงบประมาณที่จะไปลงใน ภาคส่วนอื่นๆ ของสังคม


ตรงนี้อย่าลืมนะครับว่า จำนำจะขาดทุนที่ ๘ หมื่นถึง ๑ แสนล้านได้ก็ต่อเมื่อเงื่อนไข ๒ ข้อเกิดคือ

๑. ขายข้าวได้หมด
๒. ขายได้ในราคาขาดทุนไม่เกินตันละ ๖๐๐๐ บาท

ขาดข้อใดข้อหนึ่งก็ไม่ได้

ซึ่งหากถามกันตรง ๆ ว่าโอกาสเกิดทั้ง ๒ ข้อมีไหม ตอบว่า มี แต่น้อยมาก

และแนวโน้มอย่างที่บอกไว้ก่อนหน้าคือ ไอ้ที่ขายได้ จะไม่ถึงร้อยละ ๑๕ ของที่จำนำมา และราคาที่ขายได้ต่อ ๆ ไป จะเป็นราคาที่ขาดทุนมากขึ้น เพราะข้าวเก่าราคาจะตก

เอาแค่ว่าขายได้สักครึ่งหนึ่งของทั้งหมด เท่านี้ก็ขาดทุนเกือบ ๒ แสนล้านแล้วครับ
ถ้าคุณเป็นเสื้อเหลือง ผมคุยกับคุณได้ และหัวเราะให้กันได้ถ้าคุณเป็นเสื้อแดง ผมก็คุยกับคุณได้ และหัวเราะใ้ห้กันได้แต่ถ้าคุณเป็นควายล้มเจ้าไม่ว่าจะสีไหน ผมจะด่าอย่างเดียว

#41 yuth8866

yuth8866

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 468 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:02

จำนำ 15000 บาท/ตัน ขาดทุน 2 แสนล้านบาทเลย ก็ได้ครับ
นั่นหมายความว่าข้าวที่เข้าโครงการ ตอนนี้ ประมาณ 18 ล้านตันข้าวเปลือกจะขาดทุน
ตันละ 200,000/18 =11,111 บาท
หรือรัฐบาลขายข้าวทิ้งที่ราคา 15,000-11,111 =3,889 บาท/ตัน เท่านั้นโอกาสก็เกิดขึ้นได้น้อยเช่นกัน ครับ

ประกันรายได้ ถ้าปรับราคาประกัน เป็น 15,000 บาท/ตัน
ราคา FOB ไทยจะใกล้เคียงกับของเวียดนาม 460 USD
หรือ คิดกลับเป็น ข้าวเปลือกราคา ประมาณ 8,000 บาท เท่านั้น
นั่นคือ รัฐบาลต้องจ่ายส่วนต่าง 15,000-8,000 =7,000 บาท/ตัน *34 ล้านตัน=2.38 แสนล้านบาท


แต่อย่าลืมนะครับว่า เลขขาดทุนจากจำนำเป็นเลขประมาณการที่อาจเกิด
แต่ของประกัน นี่รัฐบาลจ่ายทิ้ง เปล่าแน่นอน

#42 baezae

baezae

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,966 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:21

จำนำ 15000 บาท/ตัน ขาดทุน 2 แสนล้านบาทเลย ก็ได้ครับ
นั่นหมายความว่าข้าวที่เข้าโครงการ ตอนนี้ ประมาณ 18 ล้านตันข้าวเปลือกจะขาดทุน
ตันละ 200,000/18 =11,111 บาท
หรือรัฐบาลขายข้าวทิ้งที่ราคา 15,000-11,111 =3,889 บาท/ตัน เท่านั้นโอกาสก็เกิดขึ้นได้น้อยเช่นกัน ครับ

ประกันรายได้ ถ้าปรับราคาประกัน เป็น 15,000 บาท/ตัน
ราคา FOB ไทยจะใกล้เคียงกับของเวียดนาม 460 USD
หรือ คิดกลับเป็น ข้าวเปลือกราคา ประมาณ 8,000 บาท เท่านั้น
นั่นคือ รัฐบาลต้องจ่ายส่วนต่าง 15,000-8,000 =7,000 บาท/ตัน *34 ล้านตัน=2.38 แสนล้านบาท


แต่อย่าลืมนะครับว่า เลขขาดทุนจากจำนำเป็นเลขประมาณการที่อาจเกิด
แต่ของประกัน นี่รัฐบาลจ่ายทิ้ง เปล่าแน่นอน


ประกันนี่ รัฐบาลสูญแน่ ๆ ครับ ดังนั้น ที่ผ่านมาการประกันจึงไม่หนีไปจากราคาในตลาดโลกมากนัก เพื่อให้เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรได้ในจำนวนมาก และเพื่อไม่ให้เป็นการแทรกแซงราคาข้าวในตลาดมากจนเกินไป

ถ้าประกันที่ราคา ๑๕๐๐๐ ไม่บ้าก็เมาแล้วครับ

คุณยุทธคิดราคาต้นทุนการจำนำไว้แบบนั้นไม่ได้ครับ เพราะเวลาที่จำนำ จะจำนำเป็นข้าวเปลือกที่ ๑๕๐๐๐ ก็จริง แต่เวลาขาย จะขายเป็นข้าวสาร ซึ่งข้าวเปลือก ๑ ตัน จะได้ข้าวสารราว ๖ ถึง ๘๐๐ กิโลตามแต่กระบวนการสี และความชื้น ตีให้เป็นตรงกลางคือ ๗๐๐

ดังนั้น เพื่อให้ขายข้าวสารได้ ๑ ตัน จะต้องใช้ข้าวเปลือกที่ ๑.๔ ถึง ๑.๕ ตัน ตีเป็น ๑.๔ เท่ากับว่า ต้นทุนเฉพาะข้าวอย่างเดียวต่อข้าวสาร ๑ ตัน จะเท่ากับ ๒๓๐๐๐ บาทแล้วครับ

แล้วยังมีในส่วนที่เป็นค่าเก็บ ค่ารมยา ค่าสี ค่าขนส่งอีก เหล่านี้รวมๆ ก็ราวร้อยละ ๓๐ จึงทำให้ต้นทุนต่อข้าวสาร ๑ ตัน จากการจำนำ ไม่น่าจะต่ำกว่า ๒๖๐๐๐ บาทครับ

และจากข้อมูลที่รัฐบาลขายข้าวให้ไอเวอร์รี่โคสต์ เราขายแค่ตันละ ๑๗๐๐๐ บาท เท่านั้นเอง ขาดทุนเกือบหมื่นทีเดียว(ถ้าคิดจากราคาเฉลี่ย)

และอย่างที่เคยบอกไว้ก่อนหน้า สมัยหน้าเหลี่ยมเป็นนายก ข้าวที่จำนำมาต่อปี ขายออกแค่ราวร้อยละ ๑๕ ขอจำนวนทั้งหมดเท่านั้นเอง ที่เหลือกลายเป็นอาหารสัตว์ราคาแทบไม่ถึงร้อยละ ๓๐ ของราคาจำนำ ซึ่งตอนนั้น รับจำนำที่อัตราร้อยละ ๑๓๐ ของราคากลาง ส่วนปัจจุบัน เกือบร้อยละ ๒๐๐

ยิ่งพิจารณาจากแนวโน้มการสั่งข้าวของต่างประเทศ ที่ลดลงกว่าครึ่งจากยอดที่เคยขายได้ในปีก่อน ๆ ณ ช่วงเวลาเดียวกัน แถมที่ผ่านมา ปริมาณที่ส่งออกกว่าร้อยละ ๙๐ เป็นของเอกชนที่ราคาต้นทุนไม่ได้สูงเท่ากับของรัฐบาลด้วย

คิดว่ารัฐจะเอาข้าวราคาแพงที่รับจำนำมา ไปขายที่ไหนครับ?

ณ ตอนนี้ ข้าวในสต๊อกมีกว่า ๑๗ ล้านตัน เหลือเวลาอีกเพียงไม่กี่เดือน ข้าวนาปรังก็เตรียมมาแล้ว แต่ยังไม่มีข่าวการขายข้าวระบายข้าวที่เป็นหลักเป็นการว่าขายได้จริง มีแต่ราคาคุยจากรัฐบาลเท่านั้นเอง แต่บอกไม่ได้ว่าขายใคร (ตลกมาก)

เช่นกัน อย่างที่เคยบอกไว้ข้างต้น ราคาข้าวมันลดลงตามกาลเวลา เก็บไว้ ๑ ปีนี่ราคาเหลือแค่ราวครึ่งนึงหรือกว่าก็นิดหน่อยแล้วครับ

ข้อมูลเพิ่มเติมจากทีดีอาร์ไอ จากที่ลงทุนไป ๓.๓ แสนล้าน ณ ปัจจุบัน มีเงินที่ถึงชาวนาจริง ๆ แค่เพียง ๗ หมื่นกว่าล้านเท่านั้นเอง ที่เหลือ โน่น โรงสี พ่อค้าคนกลาง

มันคุ้มไหม?

Edited by baezae, 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:26.

ถ้าคุณเป็นเสื้อเหลือง ผมคุยกับคุณได้ และหัวเราะให้กันได้ถ้าคุณเป็นเสื้อแดง ผมก็คุยกับคุณได้ และหัวเราะใ้ห้กันได้แต่ถ้าคุณเป็นควายล้มเจ้าไม่ว่าจะสีไหน ผมจะด่าอย่างเดียว

#43 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:25

จำนำข้าว 15,000 บาท/ตัน

ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 25% หักสิ่งเจือปนเหลือ 12,000บาท/ตัน (3,000--------->โรงสี)

ราคาปกติ 8,500 บาท/ตัน(0บาท--------->โรงสี)

ช่วงต่าง 15,000 - 8,500 -----> 6,500 บาท/ตัน
ช่วงต่าง 12,000 - 8,500 -----> 3,500 บาท/ตัน


ชาวนา 10ไร่ (700 กก/ไร่ ) เงินโครงการจำนำทุกเม็ด 2,450*10 ------> 24,500 บาท (1 รอบ)
ชาวนา 100ไร่ (700 กก/ไร่ )เงินโครงการจำนำทุกเม็ด 2,450*100 ------> 245,000 บาท(1 รอบ)

โครงการจำนำทุกเม็ด 20ล้านตัน
งบประมาณ 300,000 ล้านบาท
ค่าบริหาร 30,000 ล้านบาท

ชาวนา ---------> 49,000 ล้านบาท(เงินที่เพิ่มขึ้นของโครงการ)
โรงสี ---------> 60,000 ล้านบาท(เฉพาะรายรับของโครงการ ยังไม่หักรายจ่าย)
อื่น โกงดัง,ดอกเบี้ย,กระสอบ,พนักงาน ---------> 30,000 ล้านบาท(ค่าบริหาร )

***กรณี ขายข้าวขาดทุนบวกเข้าไปอีก
ถึงมือชาวนาห้าหมื่นล้านบาท แต่เงินหายไปเกินแสนล้าน


งบประมาณ 100% (กรณีรัฐขายข้าวไม่ขาดทุน)
ชาวนา 35%
โรงสี 43%
ค่าบริหาร 22%

งบประมาณ 100% (กรณีรัฐขายข้าวขาดทุน 25%)
โครงการจำนำทุกเม็ด 20ล้านตัน (300,000 ล้านบาท)--------------> 75,000 ล้านบาท
ชาวนา 23%
โรงสี 28%
ค่าบริหาร 14%
ขาดทุน 35%

Edited by aumstar, 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 10:27.


#44 Get_Backer

Get_Backer

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 159 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:44

คุณyuth8866 ตั้งแต่ปีที่แล้วคุณก็ออกความเห็นในลักษณะนี้ เพราะคุณเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์โดยตรงจากโครงการนี้

คุณเลยมองไม่เห็นปัญหาที่แท้จริง

ผลเสียของระบบจำนำแบบที่รัฐบาลนี้ทำอยู่ข้อที่ผมว่าร้ายแรง คือ
ทำลายระบบการค้าข้าวของไทยอย่างถาวร
ทำลายการพัฒนาประสิทธิภาพของชาวนาและคุณภาพของข้าว
ทำลายจิตสำนึกความรับผิดชอบที่มีต่อส่วนรวม ต่อประเทศ

สิ่งเหล่านี้เป็นการทำลายชาวนาและประเทศไทยในระยะยาว

หรือว่าคุณ yuth8866 มองเห็นปัญหานี้
แต่เพราะผลประโยชน์ครอบงำจิตสำนึกหรืออย่างไรไม่ทราบ คุณไม่พยายามพูดถึงปัญหาเหล่านี้เลย



การประกันรายได้สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ เป้าหมายเพื่อพยุงชาวนาให้อยู่ได้ในระบบผลิตข้าว แต่ไม่ใช่จุดหมายหลัก
ผมเข้าใจว่าจุดหมายที่แท้จริงคือ "ระบบการผลิตและจำหน่ายข้าวที่ไม่มีภาครัฐเข้าไปแทรกแซง๑๐๐เปอร์เซ็น"
รัฐจะเป็นเพียงผู้สนับสนุนเท่านั้น

ผมว่า "การประกันภัยพืชผลทางการเกษตร" เป็นตัวอย่างที่ให้เห็นว่า
สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ตั้งใจทำเพื่อประโยชน์ชองชาวนาไทยอย่างยั่งยืนโดยแท้จริง

แต่สำหรับคนเห็นแก่ตัวคงจะมองเรื่องอย่างนี้ไม่ออก



คุณyuth8866 ลองบอกหน่อยสิว่า มีระบบจำนำข้าวนี้แล้วรัฐบาลยิ่งลักษณ์มีแผนงานอะไรเพิ่มเติม
เพื่อประโยชน์ชองชาวนาไทยอย่างยั่งยืนบ้าง
อีกอย่างผมว่ารัฐบาลนี้กำลังวัดดวงอยู่นะ คงจะลุ้นจนถึงวิกฤติขั้นสุดท้ายนั่นแหละ







ป.ล.ให้รอดูได้เลยอีกไม่เกิน๒ปีนี้ จะรู้ว่าเป็นนโยบายแหกตาหรือเปล่า

#45 อู๋ ฮานามิ

อู๋ ฮานามิ

    สมาชิกหน้าเก่า

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,018 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:45

ชื่อเสียงมหาวิทยาลัยไม่ช่วยอะไร ถ้ามีอาจารย์ความรู้มั่ว สักแต่อวยฝ่ายการเมือง

ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด

 

เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ


#46 yuth8866

yuth8866

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 468 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 11:51


จำนำ 15000 บาท/ตัน ขาดทุน 2 แสนล้านบาทเลย ก็ได้ครับ
นั่นหมายความว่าข้าวที่เข้าโครงการ ตอนนี้ ประมาณ 18 ล้านตันข้าวเปลือกจะขาดทุน
ตันละ 200,000/18 =11,111 บาท
หรือรัฐบาลขายข้าวทิ้งที่ราคา 15,000-11,111 =3,889 บาท/ตัน เท่านั้นโอกาสก็เกิดขึ้นได้น้อยเช่นกัน ครับ

ประกันรายได้ ถ้าปรับราคาประกัน เป็น 15,000 บาท/ตัน
ราคา FOB ไทยจะใกล้เคียงกับของเวียดนาม 460 USD
หรือ คิดกลับเป็น ข้าวเปลือกราคา ประมาณ 8,000 บาท เท่านั้น
นั่นคือ รัฐบาลต้องจ่ายส่วนต่าง 15,000-8,000 =7,000 บาท/ตัน *34 ล้านตัน=2.38 แสนล้านบาท


แต่อย่าลืมนะครับว่า เลขขาดทุนจากจำนำเป็นเลขประมาณการที่อาจเกิด
แต่ของประกัน นี่รัฐบาลจ่ายทิ้ง เปล่าแน่นอน


ประกันนี่ รัฐบาลสูญแน่ ๆ ครับ ดังนั้น ที่ผ่านมาการประกันจึงไม่หนีไปจากราคาในตลาดโลกมากนัก เพื่อให้เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรได้ในจำนวนมาก และเพื่อไม่ให้เป็นการแทรกแซงราคาข้าวในตลาดมากจนเกินไป

ถ้าประกันที่ราคา ๑๕๐๐๐ ไม่บ้าก็เมาแล้วครับ

คุณยุทธคิดราคาต้นทุนการจำนำไว้แบบนั้นไม่ได้ครับ เพราะเวลาที่จำนำ จะจำนำเป็นข้าวเปลือกที่ ๑๕๐๐๐ ก็จริง แต่เวลาขาย จะขายเป็นข้าวสาร ซึ่งข้าวเปลือก ๑ ตัน จะได้ข้าวสารราว ๖ ถึง ๘๐๐ กิโลตามแต่กระบวนการสี และความชื้น ตีให้เป็นตรงกลางคือ ๗๐๐

ดังนั้น เพื่อให้ขายข้าวสารได้ ๑ ตัน จะต้องใช้ข้าวเปลือกที่ ๑.๔ ถึง ๑.๕ ตัน ตีเป็น ๑.๔ เท่ากับว่า ต้นทุนเฉพาะข้าวอย่างเดียวต่อข้าวสาร ๑ ตัน จะเท่ากับ ๒๓๐๐๐ บาทแล้วครับ

แล้วยังมีในส่วนที่เป็นค่าเก็บ ค่ารมยา ค่าสี ค่าขนส่งอีก เหล่านี้รวมๆ ก็ราวร้อยละ ๓๐ จึงทำให้ต้นทุนต่อข้าวสาร ๑ ตัน จากการจำนำ ไม่น่าจะต่ำกว่า ๒๖๐๐๐ บาทครับ

และจากข้อมูลที่รัฐบาลขายข้าวให้ไอเวอร์รี่โคสต์ เราขายแค่ตันละ ๑๗๐๐๐ บาท เท่านั้นเอง ขาดทุนเกือบหมื่นทีเดียว(ถ้าคิดจากราคาเฉลี่ย)

และอย่างที่เคยบอกไว้ก่อนหน้า สมัยหน้าเหลี่ยมเป็นนายก ข้าวที่จำนำมาต่อปี ขายออกแค่ราวร้อยละ ๑๕ ขอจำนวนทั้งหมดเท่านั้นเอง ที่เหลือกลายเป็นอาหารสัตว์ราคาแทบไม่ถึงร้อยละ ๓๐ ของราคาจำนำ ซึ่งตอนนั้น รับจำนำที่อัตราร้อยละ ๑๓๐ ของราคากลาง ส่วนปัจจุบัน เกือบร้อยละ ๒๐๐

ยิ่งพิจารณาจากแนวโน้มการสั่งข้าวของต่างประเทศ ที่ลดลงกว่าครึ่งจากยอดที่เคยขายได้ในปีก่อน ๆ ณ ช่วงเวลาเดียวกัน แถมที่ผ่านมา ปริมาณที่ส่งออกกว่าร้อยละ ๙๐ เป็นของเอกชนที่ราคาต้นทุนไม่ได้สูงเท่ากับของรัฐบาลด้วย

คิดว่ารัฐจะเอาข้าวราคาแพงที่รับจำนำมา ไปขายที่ไหนครับ?

ณ ตอนนี้ ข้าวในสต๊อกมีกว่า ๑๗ ล้านตัน เหลือเวลาอีกเพียงไม่กี่เดือน ข้าวนาปรังก็เตรียมมาแล้ว แต่ยังไม่มีข่าวการขายข้าวระบายข้าวที่เป็นหลักเป็นการว่าขายได้จริง มีแต่ราคาคุยจากรัฐบาลเท่านั้นเอง แต่บอกไม่ได้ว่าขายใคร (ตลกมาก)

เช่นกัน อย่างที่เคยบอกไว้ข้างต้น ราคาข้าวมันลดลงตามกาลเวลา เก็บไว้ ๑ ปีนี่ราคาเหลือแค่ราวครึ่งนึงหรือกว่าก็นิดหน่อยแล้วครับ

ข้อมูลเพิ่มเติมจากทีดีอาร์ไอ จากที่ลงทุนไป ๓.๓ แสนล้าน ณ ปัจจุบัน มีเงินที่ถึงชาวนาจริง ๆ แค่เพียง ๗ หมื่นกว่าล้านเท่านั้นเอง ที่เหลือ โน่น โรงสี พ่อค้าคนกลาง

มันคุ้มไหม?

เรื่องตัวเลขเงินที่ถึงชาวนา นี่ผมงงอะครับ
ถึงมือชาวนาแค่ 7 หมื่นล้าน/ ตันละ 15,000 บาท = 4.6 ล้านตัน
ข้อเท็จจริงคือ ข้าวเปลือกเข้าโครงการกว่า 18 ล้านตัน เงินเข้าบัญชี ธกส. ของชาวนาทุกคน

แต่ส่วนขาดทุนของรัฐบาล มันเกิดจาก พวกข้าราชการ โรงสี ผู้ส่งออก
เพราะมีการเอาข้าวสารคุณภาพต่ำ เช่น ข้าวต่างชาติ ข้าวเก่า จากโครงการเก่า มาส่งมอบคลังกลาง
แทนข้าวคุณภาพดี ของชาวนา
ทั้งหมด มันเป็นความพกพร่อง ของคนทำงาน หรือรัฐบาล เองที่ทำให้รัฐบาลขาดทุนมากกว่าที่ควร
ตรงนี้คือส่วนที่เราต้อง โจมตี

ที่บอกว่า ไม่บ้าก็เมา ที่จะประกันรายได้ 15,000 บาท/ตัน
เพราะมันเป็นการแย่งชิงคะแนนเสียง ของ 16 ล้านเสียง จากภาคเกษตรกรรม ครับ
ชาวนาเขาดูผลประโยชน์ที่เขาได้รับ เป็นหลัก
เราจึงต้องสร้างกลไก ที่ทำให้ นักการเมือง เอาไปใช้หาเสียงได้ อย่างมีข้อจำกัด

อย่างที่ผมบอก ทั้งประกัน หรือจำนำ ราคา เป็นตัวสร้างภาระให้รัฐบาล
ถ้าเราไม่จำกัด งบประมาณ ในการดำเนินโครงการ หรือ ความสูญเสีย ที่ยอมรับได้
พวกนักการเมือง จะเอามาเป็นตัวหาเสียง โดยไม่ได้คำนึงถึง ความรู้สึกของคน ในภาคส่วนอื่น ของประเทศ

#47 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:00

แต่ส่วนขาดทุนของรัฐบาล มันเกิดจาก พวกข้าราชการ โรงสี ผู้ส่งออก
เพราะมีการเอาข้าวสารคุณภาพต่ำ เช่น ข้าวต่างชาติ ข้าวเก่า จากโครงการเก่า มาส่งมอบคลังกลาง
แทนข้าวคุณภาพดี ของชาวนา
ทั้งหมด มันเป็นความพกพร่อง ของคนทำงาน หรือรัฐบาล เองที่ทำให้รัฐบาลขาดทุนมากกว่าที่ควร
ตรงนี้คือส่วนที่เราต้อง โจมตี

ถ้าต้องการข้าวขาว 5% 1 ตัน ต้องใช้ข้าวเปลือกจำนวนเท่าไหร่ครับ
หากต้องการขายข้าวขาว 5% ในราคาตันละ 17000 บาท ต้องซื้อข้าวเปลือกตันละเท่าไหร่ครับ

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#48 baezae

baezae

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,966 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:30

เอ่อ โครงการนี้ไม่ใช่ชาวนาได้ทุกคนนะครับ เพราะผู้เข้าร่วมโครงการมีไม่ถึง ๑ ล้านคน จากชาวนาทั้งหมด ๔ ล้านกว่า

ข้อต่อมา ๑ ล้านคนที่ว่า ก็ไม่ได้เงินทุกคนนะครับ เพราะ ธกส. ถังแตกเหมือนกัน ไม่มีจ่าย หลายรายก็เอาข้าวไปจำนำ ได้แต่ตั๋วแต่แลกเงินไม่ได้ เพราะธกส.ไม่มีเงินจ่าย

ส่วนขาดทุนของรัฐบาล ไม่ใช่เฉพาะโรงสี หรือผู้ส่งออกครับ แต่กับต้นทุนที่ซื้อข้าวเพียว ๆ อย่างเดียวก็ขาดทุน ตามตัวเลขที่ผมแจกแจงไปข้างต้น ต่อให้ไม่รวมค่าดำเนินการต่าง ๆ ราคาที่ขายไป ยังขาดทุนอยู่ราว ๖๐๐๐ บาทอยู่เลย

เพราะประกัน ๑๕๐๐๐ มันใช้ไม่ได้ไงครับ ที่ผ่านมา ปชป เลยไม่ยอมใช้ แม้จะมีเสียงเรียกร้อง หรือกระทั่งมีการประท้วงจากชาวนา เพราะมันต้องรักษากลไกตลาดด้วย ไม่ใช่นึกจะแทรกแซง ถ้าปชป งวดหน้าออกแคมเปญประกัน ๑๕๐๐๐ มา ผมก็สาปส่งเช่นกัน

ทั้งประกัน และจำนำเป็นภาระรัฐบาลจริงครับ แต่ที่ผ่านมา ปชป. เลือกที่จะใช้ประกัน ในราคา ๑๑๐๐๐ บาทต่อตัน งบที่ใช้ราว ๕.๕ หมื่นล้านบาทต่อปี ในขณะที่รายได้ต่อปีที่รัฐเก็บได้คือราว ๑.๘ ล้านล้าน (อ้างอิงตัวเลขปี ๕๔) ต่อให้คิดทุกอย่างเป็นอัตราก้าวหน้าร้อยละ ๑๐ ทุกปี ก็ยังเท่ากับว่า ระบบประกันในอัตราที่เคยใช้ จะคิดเป็นสัดราวร้อยละ ๓ ของรายได้ของประเทศทั้งหมด

ในขณะที่จำนำด้วยอัตรานี้ ณ ปีแรก เตรียมขาดทุนไปแล้ว ๑.๑ แสนล้าน จากการลงทุน ๓.๓ แสนล้าน ในขณะที่ปีที่ ๒ เห็นเคาะออกมาแล้วว่าราว ๔ แสนล้าน หมายความว่าภาระงบประมาณที่จะต้องใช้ในการดำเนินนโยบายนี้ต่อ ณ ปีที่ ๒ จะเป็นที่ ๕.๑ แสนล้าน คิดเป็นร้อยละ ๒๕ ของรายได้ทั้งประเทศ และยิ่งมากปีขึ้นเรื่อย ๆ ภาระก็จะยิ่งหนักขึ้น เพราะหนี้สินบวกดอกเบี้ย มันจะทวีคูณขึ้นเรื่อย ๆ เหมือนกัน จาก ๕.๑ แสนล้านในปีที่ ๒ ในปีที่ ๓ จะกลายเป็น ๖.๒ ปีที่ ๔ กลายเป็น ๗.๓ แสนล้าน นี่ต่อให้คิดจำนวนเงินที่ขาดทุน และจำนวนเงินที่ตั้งงบประมาณเท่าเดิมทุกปี โดยไม่รวมดอกเบี้ย เท่ากับว่า ณ ปีสุดท้ายของรัฐบาลหัวกลวงชุดนี้ จะต้องมีภาระของนโยบายจำนำข้าว คิดเป็นร้อยละ ๔๐ ของรายได้ทั้งประเทศทีเดียว เรียกว่า โครงการอื่นแทบไม่ต้องทำกันเลย

มันมีแต่คนส่วนน้อยมาก ๆ ที่ได้ประโยชน์จากโครงการนี้ แล้วสน้ับสนุน ในขณะที่เหลืออีกกว่า ๖๐ ล้านคน ต้องมานั่งแบกภาระที่ไม่สมเหตุสมผลนี้ คิดว่ามันเหมาะสมหรือไม่
ถ้าคุณเป็นเสื้อเหลือง ผมคุยกับคุณได้ และหัวเราะให้กันได้ถ้าคุณเป็นเสื้อแดง ผมก็คุยกับคุณได้ และหัวเราะใ้ห้กันได้แต่ถ้าคุณเป็นควายล้มเจ้าไม่ว่าจะสีไหน ผมจะด่าอย่างเดียว

#49 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 12:43

เอ่อ โครงการนี้ไม่ใช่ชาวนาได้ทุกคนนะครับ เพราะผู้เข้าร่วมโครงการมีไม่ถึง ๑ ล้านคน จากชาวนาทั้งหมด ๔ ล้านกว่า

ข้อต่อมา ๑ ล้านคนที่ว่า ก็ไม่ได้เงินทุกคนนะครับ เพราะ ธกส. ถังแตกเหมือนกัน ไม่มีจ่าย หลายรายก็เอาข้าวไปจำนำ ได้แต่ตั๋วแต่แลกเงินไม่ได้ เพราะธกส.ไม่มีเงินจ่าย

ส่วนขาดทุนของรัฐบาล ไม่ใช่เฉพาะโรงสี หรือผู้ส่งออกครับ แต่กับต้นทุนที่ซื้อข้าวเพียว ๆ อย่างเดียวก็ขาดทุน ตามตัวเลขที่ผมแจกแจงไปข้างต้น ต่อให้ไม่รวมค่าดำเนินการต่าง ๆ ราคาที่ขายไป ยังขาดทุนอยู่ราว ๖๐๐๐ บาทอยู่เลย

เพราะประกัน ๑๕๐๐๐ มันใช้ไม่ได้ไงครับ ที่ผ่านมา ปชป เลยไม่ยอมใช้ แม้จะมีเสียงเรียกร้อง หรือกระทั่งมีการประท้วงจากชาวนา เพราะมันต้องรักษากลไกตลาดด้วย ไม่ใช่นึกจะแทรกแซง ถ้าปชป งวดหน้าออกแคมเปญประกัน ๑๕๐๐๐ มา ผมก็สาปส่งเช่นกัน

ทั้งประกัน และจำนำเป็นภาระรัฐบาลจริงครับ แต่ที่ผ่านมา ปชป. เลือกที่จะใช้ประกัน ในราคา ๑๑๐๐๐ บาทต่อตัน งบที่ใช้ราว ๕.๕ หมื่นล้านบาทต่อปี ในขณะที่รายได้ต่อปีที่รัฐเก็บได้คือราว ๑.๘ ล้านล้าน (อ้างอิงตัวเลขปี ๕๔) ต่อให้คิดทุกอย่างเป็นอัตราก้าวหน้าร้อยละ ๑๐ ทุกปี ก็ยังเท่ากับว่า ระบบประกันในอัตราที่เคยใช้ จะคิดเป็นสัดราวร้อยละ ๓ ของรายได้ของประเทศทั้งหมด

ในขณะที่จำนำด้วยอัตรานี้ ณ ปีแรก เตรียมขาดทุนไปแล้ว ๑.๑ แสนล้าน จากการลงทุน ๓.๓ แสนล้าน ในขณะที่ปีที่ ๒ เห็นเคาะออกมาแล้วว่าราว ๔ แสนล้าน หมายความว่าภาระงบประมาณที่จะต้องใช้ในการดำเนินนโยบายนี้ต่อ ณ ปีที่ ๒ จะเป็นที่ ๕.๑ แสนล้าน คิดเป็นร้อยละ ๒๕ ของรายได้ทั้งประเทศ และยิ่งมากปีขึ้นเรื่อย ๆ ภาระก็จะยิ่งหนักขึ้น เพราะหนี้สินบวกดอกเบี้ย มันจะทวีคูณขึ้นเรื่อย ๆ เหมือนกัน จาก ๕.๑ แสนล้านในปีที่ ๒ ในปีที่ ๓ จะกลายเป็น ๖.๒ ปีที่ ๔ กลายเป็น ๗.๓ แสนล้าน นี่ต่อให้คิดจำนวนเงินที่ขาดทุน และจำนวนเงินที่ตั้งงบประมาณเท่าเดิมทุกปี โดยไม่รวมดอกเบี้ย เท่ากับว่า ณ ปีสุดท้ายของรัฐบาลหัวกลวงชุดนี้ จะต้องมีภาระของนโยบายจำนำข้าว คิดเป็นร้อยละ ๔๐ ของรายได้ทั้งประเทศทีเดียว เรียกว่า โครงการอื่นแทบไม่ต้องทำกันเลย

มันมีแต่คนส่วนน้อยมาก ๆ ที่ได้ประโยชน์จากโครงการนี้ แล้วสน้ับสนุน ในขณะที่เหลืออีกกว่า ๖๐ ล้านคน ต้องมานั่งแบกภาระที่ไม่สมเหตุสมผลนี้ คิดว่ามันเหมาะสมหรือไม่

เอาที่ขาดทุนชัด ๆ เลยก็ตอนที่โรงสีส่งมอบข้าวครับ

Posted Image

ราคาในวงเล็บคือราคาขายส่งเฉลี่ยใน กทม. หมายความว่าราคานี้ได้รวมต้นทุนด้านขนส่ง สีแปร ฯลฯ เป็นราคาสูงสุดก่อนที่จะขายปลีกให้ผู้บริโภค
แต่ขนาดคิดราคาแบบนี้ เมื่อรวมกันแล้วก็ยังไม่ได้ 15000 บาท กลายเป็นขาดทุนตั้งแต่ซื้อข้าวเลย

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#50 aumstar

aumstar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,707 posts

ตอบ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 13:04

Posted Image




ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน