...ที่ดินรัชดา ประสาชาวบ้าน...
#251
ตอบ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 16:04
เลยไม่มีคนรู้ว่ามั่วมาตลอด ไม่มีใครรู้ขนาดและปริมาณของสติปัญญา
พอโดนย้อน โดนถาม ก็บื้อใบ้ มั่วซั่วไปเรื่อย...
มติมันออกมาแล้ว ออกมา 5 ต่อ 4 จะเพ้อเจ้ออะไร เรื่อง 4 ต่อ 4
#252
ตอบ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 16:12
ถ้าไม่ฉลาดกว่า เป็นซุปหน่อไม้ของเวปบ้านลาดไม่ได้หรอกครับคิดง่ายๆ นะคุณปลายอะไรซักอย่าง (เจ้าของกระทู้)
ถ้าประเด็นที่คุณกำลังพูดถึงมันเป็นอย่างที่คุณคิดจริงๆ คิดว่าทีมกฏหมายระดับเทพของวงการที่คุณทักษิณต้องมีตังจ้างมานั้นจะไม่รู้เชียวเหรอว่ามีช่องนี้ให้โจมตีได้ว่าคำตัดสินไม่เป็นไปตามกฏหมายรัฐธรรมนูญ
ถ้าฝ่ายกฏหมายเค้าเห็นว่ามันเป็นไปได้ เค้าอ้างได้ เค้าคงทำไปแล้วแหละ และที่สำคัญถ้ามันเป็นอย่างนั้นจริง คุณทักษิณก็คงไม่ต้องหลบหนีคุกอยู่ต่างประเทศแบบนี้หรอก!
หรือคุณคิดว่าคุณฉลาดกว่า เก่งกว่า รู้มากกว่า มีประสบการณ์มากกว่านักกฏหมายเหล่านั้น?
ช่วงนี้ คนเป่านกหวีดเสียงดังกันเยอะ ปีนี้เลยกลายเป็น " ปี แสบ หู "
#253
ตอบ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 16:13
ลาก ม.184 ประเด็นเดีัยวไปหลายหน้า
มันจะทำให้เราคิดก่อนพูดได้ดีขึ้น เมื่อเชื่อว่าคำพูดที่ออกไปเหล่านั้นคือคำที่เราจะได้ยินเองในอนาคต
และถ้าเราจะทำดีได้มากขึ้น เมื่อเชื่อว่าเราจะได้เจอสิ่งดีๆในอนาคต
แม้ว่าวันนี้เราจะยังไม่เห็นว่ามันดีอย่างไรแต่อย่างน้อยทำให้เราผ่านวันนี้ไปได้อย่างราบรื่น
#254
ตอบ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 16:15
การใช้เส้นสายจากอิทธิพลส่วนตัวเป็นการทุจริตรูปแบบหนึ่งที่มีอยู่ทุกวงการ
- พ่อไอ้ร้อยล็อคอิน and ดราม่า like this
ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด
เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ
#255
ตอบ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 16:46
ประชาธิปไตยก็เหมือนส้วมสาธารณะแบบนั่งเต็มตูด ควายนับถือศาสนาชินวัตรใช้แล้วสกปรกชิบเป๋ง
#256
ตอบ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 16:48
เป็นธรรมดาครับ เพราะควายต้องยกย่องจ่าฝูงที่เป็นควายอยู่แล้วบ้านขี้ราดนี่เขาชาบูตัวตลกโง่ ๆ แฮะ
#257
ตอบ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 16:53
พฤติกรรมแบบนี้ไม่ใช่เป็นแค่ที่นี่ครับ ที่บ้าน(ขี้)ราด เค้าก็เป็นแบบนี้ ไม่เชื่อไปดูกระทู้ปักหมุดเค้าได้ เรื่องน้ำท่วมที่เค้าเขียนปั่นหัวควายให้เชื่อว่า e-โง่ โดนรัฐบาลมาร์ควางยา มีผู้กล้าท่านหนึ่งจาก สรท (คุณ joecth2003 - ขออนุญาตเอ่ยนาม และขอแสดงความนับถือ) ไปให้ความรู้ ปรากฎว่า จขกท ซึ่งตั้งกระทู้เองสุดท้ายไปไม่เป็น ทิ้งกระทู้ตัวเองดื้อ ๆ ขนาดกระทู้ปักหมุดของตัวเองนะนั่น
- เพื่อนร่วมชาติ, MIRO, ต้นหอม and 4 others like this
#258
ตอบ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 17:04
รวมทั้งคุณ จขกท คุณปลายอะไรซักอย่างด้วย ที่ตั้งทู้นี้ขึ้นมาให้อิฉันและหลาย ๆ คนได้ความรู้
น่าเสียดายที่ จขกท เองกลับไม่ได้อะไรกลับไปเลย
ยกเว้นหน้าแหก ๆ กลับไป..
#259
ตอบ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 18:46
พฤติกรรมของ จขกท คือ เค้าจะแถก่อนครับ พอโดนไล่จนจนมุม เค้าก็จะแกล้งทำตลก พอตลกเสร็จ ถ้าฝ่ายตรงข้ามยังไล่ไม่เลิก เค้าก็จะสรุปของเค้าไปเลยว่าเค้าเชื่อหยั่งงี้แหละ แล้วจบปิดกระทู้ไปเลย คนอื่นไม่ต้องเถียง
พฤติกรรมแบบนี้ไม่ใช่เป็นแค่ที่นี่ครับ ที่บ้าน(ขี้)ราด เค้าก็เป็นแบบนี้ ไม่เชื่อไปดูกระทู้ปักหมุดเค้าได้ เรื่องน้ำท่วมที่เค้าเขียนปั่นหัวควายให้เชื่อว่า e-โง่ โดนรัฐบาลมาร์ควางยา มีผู้กล้าท่านหนึ่งจาก สรท (คุณ joecth2003 - ขออนุญาตเอ่ยนาม และขอแสดงความนับถือ) ไปให้ความรู้ ปรากฎว่า จขกท ซึ่งตั้งกระทู้เองสุดท้ายไปไม่เป็น ทิ้งกระทู้ตัวเองดื้อ ๆ ขนาดกระทู้ปักหมุดของตัวเองนะนั่น
นั่นแหละที่มาของคำว่า กาก ที่ผมให้เขาครับ คือ ไม่รับผิด รับแต่ชอบ
- David_GinoLa likes this
#260
ตอบ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 20:10
#262
ตอบ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 01:22
ขอด้วยคน อยากรู้ว่า ที่ดินอัลไพน์ ฉบับประชาชนไพร่แม้ว จะแสดงความคิดเห็นอย่างไรปลายอ้อที่ดินรัชดาไปแล้ว ขอที่ดินอัลไพน์ฉบับประชาชนด้วยนะอยากรู้อะ หรือใบ้แดกอะกรณีนี้อะ
#263
ตอบ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 14:57
ขอด้วยคน อยากรู้ว่า ที่ดินอัลไพน์ ฉบับประชาชนไพร่แม้ว จะแสดงความคิดเห็นอย่างไร
ปลายอ้อที่ดินรัชดาไปแล้ว ขอที่ดินอัลไพน์ฉบับประชาชนด้วยนะอยากรู้อะ หรือใบ้แดกอะกรณีนี้อะ
ขอด้วยครับ
ว่าแต่ จขกท. มักง่ายดีจังเลย
สรุปเอง เออเอง
ประเด็นที่เพื่อนสมาชิกทีนี่ตอบไว้ก็ไม่สนใจ
สนใจแต่คำตอบของตัวเอง
ทุเรศ
#264
ตอบ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 15:04
กลัวคนอื่นเห็นขี้เลื่อย
#265
ตอบ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 16:04
ช่วงนี้ คนเป่านกหวีดเสียงดังกันเยอะ ปีนี้เลยกลายเป็น " ปี แสบ หู "
#266
ตอบ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 16:08
แต่เมื่อใดที่เห็นทักษิณแลบลิ้นแผล็บ ๆ ผมก็จะเชื่อทันทีโดยสุจริตใจว่า
มันกำลังงาบอีกแล้ว ***
อันสยามเป็นบ้านเกิดเมืองนอน
ดุจบิดามารดรเปรียบได้
#267
ตอบ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 17:15
คนดังอุส่ามาหน้าแหกถึงที่นี่
#268
ตอบ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 19:45
ม.184 มีตำราอยู่เกลื่อนตลาดหนังสือ ทั้งไทยและเทศใช้หลักเดียวกัน
มาตั้งกระทู้มั่วๆ โชว์โง่แล้วยังอวดฉลาดว่าตนนั้นเก่งอีก
ผู้พิพากษาทุกคนมี 1 เสียง 9 คนก็ 9 เสียง
จะใช้หลัก ม. 184 ต่อเมื่อองค์คณะมีจำนวนเป็นเลขคู่ เช่น องค์คณะ 8 คน โหวตแล้ว 4 ต่อ 4 ฝ่ายใดมีความเห็นเป็นผลร้ายจึงต้องยอม
ประเภทมั่วๆ เจ้าของสำนวนต้องยอมอะไรบ้าๆ บอๆ ไม่มีประเทศไหนในโลกมีกฎหมายวิธีพิจารณาความแบบนี้
อ่านหนังสือเยอะๆ หรือไปเรียนกฎหมายซะจะได้หายโง่แล้วค่อยมาโพสเรื่องกฎหมาย
โง่แล้วไม่เจียม
#269
ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 05:02
#270
ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 09:58
ผมคิดเหมือนท่านนี้ครับ ที่ว่าเราแค่มาถกประเด็นเฉยๆ แต่จริงๆแล้ว คนที่รู้จริงๆ คิดว่าตัวเองผิดแน่ๆก็เลยเผ่นครับคิดง่ายๆ นะคุณปลายอะไรซักอย่าง (เจ้าของกระทู้)
ถ้าประเด็นที่คุณกำลังพูดถึงมันเป็นอย่างที่คุณคิดจริงๆ คิดว่าทีมกฏหมายระดับเทพของวงการที่คุณทักษิณต้องมีตังจ้างมานั้นจะไม่รู้เชียวเหรอว่ามีช่องนี้ให้โจมตีได้ว่าคำตัดสินไม่เป็นไปตามกฏหมายรัฐธรรมนูญ
ถ้าฝ่ายกฏหมายเค้าเห็นว่ามันเป็นไปได้ เค้าอ้างได้ เค้าคงทำไปแล้วแหละ และที่สำคัญถ้ามันเป็นอย่างนั้นจริง คุณทักษิณก็คงไม่ต้องหลบหนีคุกอยู่ต่างประเทศแบบนี้หรอก!
หรือคุณคิดว่าคุณฉลาดกว่า เก่งกว่า รู้มากกว่า มีประสบการณ์มากกว่านักกฏหมายเหล่านั้น?
#271
ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 10:31
ผมขอสรุปประเด็นที่ผมตั้งขึ้น..ในท้ายสุด
เนื่องจากเราคุย .ใน “คนละเรื่องเดียวกัน”อยู่ จึงไม่อาจหาข้อสรุปที่ชัดเจนได้ ซึ่งท่านก็มีข้อมูลอีกด้าน ผมก็มีข้อมูลอีกด้าน และด้วยใจที่ต่างมี “ธง”กันอยู่..จึงไม่เกิดการยอมรับ
ผมขอสรุปสุดท้ายในประเด็นข้อถกเถียงที่ได้ตั้งขึ้น แล้วจะไม่เข้ามาตอบอีกในประเด็นนี้อีกต่อไป.. เพราะยืดยาวเกินไปแล้ว
.........................................................
โดยปกติ ผู้พิพากษา 9 คน ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่า จำเลยยังไม่มีความผิดรธน. 2550 ม. 39 หากมีความสงสัยว่า จำเลยได้กระทำผิดหรือไม่ ต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยนั้นให้จำเลย ตาม ป.วิ 227
ในคดีนี้แม้ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2542 มาตรา 20 ที่บัญญัติว่า
“การทำคำสั่งที่เป็นการวินิจฉัยชี้ขาด หรือพิพากษาคดี ให้ผู้พิพากษาในองค์คณะผู้พิพากษาทุกคน ทำความเห็นในการวินิจฉัยคดีเป็นหนังสือ พร้อมทั้งต้องแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ และให้ถือมติตามเสียงข้างมาก ในการนี้ องค์คณะผู้พิพากษาอาจมอบหมายให้ผู้พิพากษาคนใดคนหนึ่ง ในองค์คณะผู้พิพากษาเป็นผู้จัดทำคำสั่งหรือคำพิพากษาตามมตินั้นก็ได้...” ก็ตาม
แต่กลับไม่ปรากฏข้อกำหนดของประธานศาลฎีกา หรือบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ บัญญัติถึงการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนในการประชุมปรึกษาคดีไว้ ตลอดจนกรณีที่มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้นั้น จะต้องดำเนินการอย่างไร ?
เหตุนี้ ม. 18 วรรคสอง แห่ง พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ก็บอกว่า
“...ให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาใช้บังคับ...โดยอนุโลม”
หมายความว่า ป.วิ อาญา ม. 184 มาบังคับใช้ กฎหมายนี้ ไม่ได้บอกผู้พิพากษา 9 คน ออกเสียงพร้อมกันในคราวเดียวกัน เพื่อให้ได้เสียงข้างมาก แต่ให้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนทำหน้าที่เป็นประธาน ยังไม่มีสิทธิออกเสียงทันที ต้องไปถามผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาอีก 8 คนทีละคนว่า จำเลยที่ 1 กระทำความผิดหรือไม่ ?
ในวันพิพากษา คณะผู้พิพากษาทั้ง 9 คนลงมติด้วยคะแนน 5 ต่อ 4 ว่าจำเลยที่ 1 มีความผิดให้จำคุก 2 ปี ก็แสดงให้เห็นว่า ในชั้นนี้ ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน ทำหน้าที่ประธานสอบถามความเห็นผู้พิพากษา อีก 8 คนนั้น มีผู้พิพากษา 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดแต่ผู้พิพากษาอีก 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด คะแนนเสียงจึงเป็น 4 ต่อ 4 เท่ากัน แย้งกันอยู่
ตอนนี้ จึงเข้าบทบัญญัติแห่งรธน. กับ ป.วิ ที่อ้างไว้ คือต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด และกรณียังเป็นที่สงสัยว่าจำเลยที่ 1 กระทำผิดจริงหรือไม่ เพราะมีคะแนนเสียงเท่ากัน หาเสียงข้างมากไม่ได้ เป็นไปตาม. 184 ที่ว่า
“ถ้าปัญหาใด มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้ ให้ผู้พิพากษาที่เห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากกว่า ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า” อีกด้วย
ท่านผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนผู้ทำหน้าป็นประธานและต้องออกเสียงเป็นคนสุดท้าย ต้องถูกผูกมัดให้ปฎิบัติด้วยบทกฎหมายที่บัญญัติไว้นี้ ให้จำต้องลงมติว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด เพราะเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า แม้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน จะมีความเห็นขณะนั้นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดก็ตาม
คะแนน 5 - 4 จึงเท่ากับว่า ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนที่ออกเสียงเป็นคนสุดท้ายได้ลงมติว่า จำเลยที่ 1 กระทำความผิด ซึ่งเป็นผลร้ายแก่จำเลยที่ 1 มากกว่า น่าจะขัดต่อ รธน. 50 มาตรา 39 วรรคสอง และ ป.วิอาญา 227 และ 184
ตัวบทมาตรา 184 ที่ว่า “...ให้เจ้าของสำนวนเป็นประธาน ถามผู้พิพาทที่นั่งพิจารณาทีละคน ให้ออกความเห็นทุกประเด็นที่จะวินิจฉัย... ถ้าในปัญหาใด มีความเห็นแย้งกัน…” ดังนี้ เป็นเหมือนบังคับให้ท่านผู้พิพากษา ต้องปฏิบัติตามความในมาตรา 184 ไม่มีข้อยกเว้น
..................
ผมจบแค่นี้ ครับ
และหากมีข้อความ ถ้อยคำ สำนวนใดของผม ที่ทำให้เกิดความรู้สึกไม่พอใจในกับเพื่อนสมาชิกในนี้ ..ผมขออภัย !
ตามที่ผมกล่าวหาคุณ (ตามคำติติงของเพื่อนสมาชิกในกระทู้นี้ตาม REP 231 และ 232) ในกระทู้ http://webboard.seri...95/page__st__50 ว่าคุณเอาบทความคนอื่นมาลงโดยไม่ให้เครดิต และคุณเรียกร้องหลักฐานจากผม ผมเอามาลงให้แล้วนะครับ บทความที่คุณคัดลอกมาโดยไม่ให้เครดิตผู้เขียนหรือที่มานั้นมีอยู่ในเว็บแดงหลายแห่ง แต่เวลาคุณเอามาลงในความเห็นคุณข้างบน คุณทำเสมือนว่ามันเป็นบทความที่คุณเขียนเอง มีการอ้างบทบัญญัติ มาตรากฎหมายมากมาย ทำให้คนไม่รู้ก็พลอยนึกว่า คุณเป็นเทพทางกฎหมายแห่งราชอาณาจักรไทย พฤติกรรมแบบนี้เหมาะควรหรือไม่ คุณพิจารณาเองครับ
ข้อความที่ผมเอามาลงนั้นเอามาจาก http://www.dlo.co.th/node/204 (ตามที่คุณ IXORA ได้ให้ link ไว้ นอกจากนั้น บทความดังกล่าวยังมีลงไว้ในเว็บแดงอีกหลายแห่ง) ส่วนที่ hi-light สีแดงเป็นส่วนที่คุณเอามาลงในข้อความของคุณที่ผม quote เอาไว้ข้างบน จริง ๆ แล้ว ผมไม่อยากลงเท่าไหร่เพราะมันยาวน่าเบื่อครับ แต่ในเมื่อเรียกร้องก็เอาซะหน่อย
---------------------------------------
ปรากฏว่าในคดีที่ดินรัชดาฯ นี้ มีผู้พิพากษาเป็นองค์คณะ 9 คน การพิจารณาพิพากษาอรรถคดี ต้องดำเนินการให้เป็นไปโดยยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญ ตามกฎหมายและในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้ตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 197 วรรคแรก บัญญัติไว้
ดังนั้น ผู้พิพากษาทั้ง 9 คน จึงต้องตระหนักและต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่า พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร และคุณหญิงพจมาน จำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 ไม่มีความผิดตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 39 วรรคสอง และหากกรณีมีความสงสัยตามสมควรว่า จำเลยได้กระทำผิดหรือไม่ ต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยนั้นให้จำเลย ตามประมวลกฏหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 227
สำหรับการประชุมปรึกษาเพื่อมีคำพิพากษาคดีดังกล่าวนี้ แม้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2542 มาตรา 20 จะบัญญัติว่า
“การทำคำสั่งที่เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดหรือพิพากษาคดี ให้ผู้พิพากษาในองค์คณะผู้พิพากษาทุกคน ทำความเห็นในการวินิจฉัยคดีเป็นหนังสือ พร้อมทั้งต้องแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ และให้ถือมติตามเสียงข้างมาก ในการนี้ องค์คณะผู้พิพากษาอาจมอบหมายให้ผู้พิพากษาคนใดคนหนึ่ง ในองค์คณะผู้พิพากษาเป็นผู้จัดทำคำสั่งหรือคำพิพากษาตามมตินั้นก็ได้...” ก็ตาม
แต่ก็ไม่ปรากฏมีข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาหรือบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ บัญญัติถึงการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนในการประชุมปรึกษาคดี ไว้ ตลอดจนกรณีที่มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้นั้น จะต้องดำเนินการอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ความในมาตรา 18 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน จึงบัญญัติว่า
“...ให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาใช้บังคับ... โดยอนุโลม” นั่นก็คือ ต้องนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 184 ข้างต้น มาบังคับใช้นั่นเอง โดยบทกฎหมายดังกล่าว ไม่ได้บัญญัติให้ผู้พิพากษาทั้ง 9 คนออกเสียงพร้อมกันในคราวเดียวกัน เพื่อให้ได้เสียงข้างมาก แต่บัญญัติให้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน ต้องทำหน้าที่เป็นประธาน ยังไม่มีสิทธิออกเสียงทันที ต้องถามผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาอีก 8 คนทีละคนว่า จำเลยที่ 1 กระทำความผิดหรือไม่
ปรากฏจากคำพิพากษาที่อ่านและเปิดเผยแล้วว่า คณะผู้พิพากษาทั้ง 9 คนลงมติด้วยคะแนน 5 ต่อ 4 ว่าจำเลยที่ 1 มีความผิดให้จำคุก 2 ปี ย่อมแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่า ในชั้นที่ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน ทำหน้าที่ประธานสอบถามความเห็นผู้พิพากษา อีก 8 คนนั้น มีผู้พิพากษา 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดแต่ผู้พิพากษาอีก 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด คะแนนเสียงจึงเป็น 4 ต่อ 4 เท่ากัน แย้งกันอยู่
กรณีเช่นนี้ ณ เวลานั้น ขณะนั้น จึงต้องด้วยบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญาดังกล่าวข้างต้นว่า ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีความผิดและกรณียังเป็นที่สงสัยว่าจำเลยที่ 1 กระทำผิดจริงหรือไม่ เพราะมีคะแนนเสียงเท่ากัน หาเสียงข้างมากไม่ได้ ซึ่งกรณีย่อมต้องด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 184 ที่บัญญัติว่า
“ถ้าปัญหาใด มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้ ให้ผู้พิพากษาที่เห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากกว่า ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า” อีกด้วย
ดังนั้น ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนคดีนี้ ซึ่งเป็นประธานและต้องออกเสียงเป็นคนสุดท้าย จึงต้องถูกผูกมัดและถูกบังคับด้วยบทกฎหมายที่บัญญัติไว้อย่างชัดแจ้งดัง กล่าว ให้จำต้องลงมติว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด เพราะเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า แม้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน จะมีความเห็นขณะนั้นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดก็ตาม
ด้วยเหตุนี้ คะแนนเสียงของผู้พิพากษาคดีนี้ ที่พิพากษาลงโทษจำเลยที่ 1 ด้วยคะแนน 5 ต่อ 4 จึงเท่ากับว่า ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนที่ออกเสียงเป็นคนสุดท้ายได้ลงมติว่า จำเลยที่ 1 กระทำความผิด ซึ่งเป็นผลร้ายแก่จำเลยที่ 1 มากกว่า น่าจะเป็นการฝ่าฝืนและขัดต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 39 วรรคสอง และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 227 และมาตรา 184
จึงมีข้อพิจารณาว่า เป็นการลงมติที่ถูกต้องหรือไม่ คำพิพากษาคดีนี้ สามารถยืนยันได้แท้จริงหรือไม่ว่า พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร จำเลยที่ 1 ควรต้องรับโทษในทางอาญา
อนึ่ง การลงมติที่จะต้องเป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 184 ดังกล่าวนี้ ย่อมครอบคลุมทุกประเด็นปัญหาในการประชุม เพื่อมีคำพิพากษาหรือคำสั่งในคดีอาญา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาว่า จำเลยกระทำผิดหรือไม่ ควรลงโทษจำเลยหรือไม่เพียงใด หรือสมควรลงโทษหรือรอการกำหนดโทษ หรือกำหนดโทษ แต่รอการลงโทษจำเลยไว้หรือไม่เป็นต้น
ดังจะเห็นได้จากถ้อยคำตามตัวบทมาตรา 184 ที่ว่า “...ให้เจ้าของสำนวนเป็นประธาน ถามผู้พิพาทที่นั่งพิจารณาทีละคน ให้ออกความเห็นทุกประเด็นที่จะวินิจฉัย... ถ้าในปัญหาใด มีความเห็นแย้งกัน…” ดังนี้ แสดงว่าการลงมติขององค์คณะผู้พิพากษาในคดีอาญา ต้องปฏิบัติตามความในมาตรา 184 ทุก ๆ ประเด็นปัญหา ไม่มีข้อยกเว้น
ด้วยเหตุผล ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายที่กล่าวมา พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร จำเลยที่ 1 จะได้รู้เห็นยินยอมให้คุณหญิงพจมาน ชินวัตร จำเลยที่ 2 ดำเนินกิจการเป็นคู่สัญญา หรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่จะทำให้จำเลยที่ 1 กลายเป็นผู้กระทำผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 100(1) และมาตรา 122 วรรคสอง หรือไม่ และการประชุมปรึกษาองค์คณะผู้พิพากษาเป็นการประชุมและลงมติที่สอดคล้องกับ กฎหมายดังกล่าวมาแล้วหรือไม่
หากองค์คณะผู้พิพากษาทั้ง 9 คน ได้ลงมติให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติไว้อย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว มติในการพิพากษาคดีนี้ น่าจะเป็นว่าจำเลยที่ 1 ไม่ได้ทำผิดด้วยคะแนนเสียง 5 ต่อ 4 ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาดัง กล่าวหรือไม่
หากกรณีเป็นไปตามที่กล่าวมาโดยลำดับ สมควรหรือไม่ ที่พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร จะต้องได้รับโทษในทางอาญา
ที่มา - ประชาไท
ข้อมูลเพิ่มเติม 1. คำพิพากษาคดีทุจริตที่ดินรัชดาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
2. คลิปวิดีโอการอ่านคำพิพากษาคดีทุจริตที่ดินรัชดา ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
3. ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ เกี่ยวกับคดีทุจริตที่ดินรัชดา ที่วิกีพีเดียไทย
#272
ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 12:16
#273
ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 12:23
ปล.ไปบีบเขามากๆ ระวังนะ เขาขู่แล้วนะ กรี๊ดดดดด!!!
เตือน ผู้เข้ามาโหวตทุกท่าน
หากผลปรากฎออมาว่า F=Fail ละก็...
พรุ่งนี้ 10 กระทู้ ..เอาแบบให้อ่านไม่ทัน
#274
ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 12:39
มีขู่จะป่วนด้วยวุ้ย..
#275
ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 12:48
#277
ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 12:37
มีบางคนอ้างมาตรา 184 ป.วิอ. แต่อ้างแบบโง่ๆ เอางี้เราจะอธิบายให้ฟัง
"มาตรา 184 ในการประชุมปรึกษาเพื่อมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง ...หัวหน้าผู้พิพากษาใน
ศาลนั้นหรือเจ้าของสำนวนเป็นประธาน ถามผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาทีละคน ให้ออก
ความเห็นทุกประเด็นที่วินิจฉัย ให้ประธานออกความเห็นท้ายสุด การวินิจฉัยให้ถือตาม
เสียงข้างมาก ถ้าในปัญหาใดมีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่ายหรือเกินกว่าสองฝ่ายขึ้นไป
จะหาเสียงข้างมากไม่ได้ ให้ผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากยอมเห็น
ด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า"
ขอถามก่อนว่า คุณเข้าใจมาตรานี้ดีแค่ไหน ถ้าถามง่ายๆเข้าไปอีก คุณรู้ไหมว่ามาตรานี้เขา
ใช้กันตอนไหน แต่เอชักไม่แน่ใจว่าถามแบบไหนจะง่ายกว่า แต่เอาเป็นว่า
คุณอ่านมาตรานี้แล้วเข้าใจว่าอย่างไร เราเชื่อว่ามาตรานี้ถ้าคนที่แยกวรรคตอน อ่านจับใจความ
ได้ดีพอควร ก็น่าจะเข้าใจมาตรานี้ได้ไม่ยากว่า มันหมายความว่ายังไง ไม่จำต้องเรียนนิติมา
อย่างเราก็น่าจะพอเข้าใจได้เป็นเบื้องต้นว่า เขาใช้มาตรานี้กันยังไง แต่ไม่ต้องห่วง เดี๋ยวเรา
จะทำให้มันอ่านง่ายขึ้น
มาตรา 184 ในการประชุมปรึกษาเพื่อมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง ...หัวหน้าผู้พิพากษาใน
ศาลนั้นหรือเจ้าของสำนวนเป็นประธาน (ให้ประธานเป็นผู้) ถามผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณา
ทีละคน (จนครบ โดย) ให้ (ผู้พิพากษาแต่ละคน) ออกความเห็นทุกประเด็นที่วินิจฉัย
(โดย) ให้ประธาน (เป็นผู้) ออกความเห็นท้ายสุด
(สำหรับ) การวินิจฉัย (เพื่อทำคำสั่งหรือคำพิพากษา) ให้ถือตาม (หลัก) เสียงข้างมาก
(แต่) ถ้าในปัญหา (ในข้อ) ใดมีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่ายหรือเกินกว่าสองฝ่ายขึ้นไป
(จน) จะหาเสียงข้างมากไม่ได้ ให้ผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมาก (กว่า)
ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า
หวังว่าเราคงไม่ต้องอธิบายอะไรเพิ่มเติมอีกแล้วนะว่า มาตรา 184 นี้เขาใช้กันยังไง
#278
ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 12:49
ขอโทษนะ พอดีไม่ได้เข้ามาเล่นนาน พอเข้ามาก็เจอดริฟท์แบบคร่อมรางเลยทีเดียว
มีบางคนอ้างมาตรา 184 ป.วิอ. แต่อ้างแบบโง่ๆ เอางี้เราจะอธิบายให้ฟัง
"มาตรา 184 ในการประชุมปรึกษาเพื่อมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง ...หัวหน้าผู้พิพากษาใน
ศาลนั้นหรือเจ้าของสำนวนเป็นประธาน ถามผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาทีละคน ให้ออก
ความเห็นทุกประเด็นที่วินิจฉัย ให้ประธานออกความเห็นท้ายสุด การวินิจฉัยให้ถือตาม
เสียงข้างมาก ถ้าในปัญหาใดมีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่ายหรือเกินกว่าสองฝ่ายขึ้นไป
จะหาเสียงข้างมากไม่ได้ ให้ผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากยอมเห็น
ด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า"
ขอถามก่อนว่า คุณเข้าใจมาตรานี้ดีแค่ไหน ถ้าถามง่ายๆเข้าไปอีก คุณรู้ไหมว่ามาตรานี้เขา
ใช้กันตอนไหน แต่เอชักไม่แน่ใจว่าถามแบบไหนจะง่ายกว่า แต่เอาเป็นว่า
คุณอ่านมาตรานี้แล้วเข้าใจว่าอย่างไร เราเชื่อว่ามาตรานี้ถ้าคนที่แยกวรรคตอน อ่านจับใจความ
ได้ดีพอควร ก็น่าจะเข้าใจมาตรานี้ได้ไม่ยากว่า มันหมายความว่ายังไง ไม่จำต้องเรียนนิติมา
อย่างเราก็น่าจะพอเข้าใจได้เป็นเบื้องต้นว่า เขาใช้มาตรานี้กันยังไง แต่ไม่ต้องห่วง เดี๋ยวเรา
จะทำให้มันอ่านง่ายขึ้น
มาตรา 184 ในการประชุมปรึกษาเพื่อมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง ...หัวหน้าผู้พิพากษาใน
ศาลนั้นหรือเจ้าของสำนวนเป็นประธาน (ให้ประธานเป็นผู้) ถามผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณา
ทีละคน (จนครบ โดย) ให้ (ผู้พิพากษาแต่ละคน) ออกความเห็นทุกประเด็นที่วินิจฉัย
(โดย) ให้ประธาน (เป็นผู้) ออกความเห็นท้ายสุด
(สำหรับ) การวินิจฉัย (เพื่อทำคำสั่งหรือคำพิพากษา) ให้ถือตาม (หลัก) เสียงข้างมาก
(แต่) ถ้าในปัญหา (ในข้อ) ใดมีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่ายหรือเกินกว่าสองฝ่ายขึ้นไป
(จน) จะหาเสียงข้างมากไม่ได้ ให้ผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมาก (กว่า)
ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า
หวังว่าเราคงไม่ต้องอธิบายอะไรเพิ่มเติมอีกแล้วนะว่า มาตรา 184 นี้เขาใช้กันยังไง
คดี ชุกหุ้น 1 ชัดเจนที่สุด เลยครับสำหรับอันนี้ 7 ผิด 4 เอาผิดมาตรานี้ไม่ได้ ต้องอีกมาตรา 4 ไม่ผิด
ผลออกมา 7:8
ปล ประธานตัดสิน ผิด จริงครับ แต่ยกประโยชน์ ให้จำเลย ถ้าจะพูดให้ชาวบ้านเห็นชัดๆ สมมุติ ขับรถชนคนตาย เป็นคนที่มีเรื่องบาดหมางกันมาแต่ไม่ได้คิดจะฆ่าหรืออะไร ตำรวจส่งฟ้องศาลข้อหาฆ่าคนตายโดยเจตนา ศาล 7 คน ตัดสินผิดจริง ศาล4 คนตัดสินเอาผิดข้อนี้ไม่ได้ ศาล 4 คนบอกไม่ผิด แต่ประโยชน์ของจำเลย ถ้าตีผิด จริงโดยฆ่าคนตายโดยเจตนา ซึ่งโทษอาจเกิน ศาลเขายกฟ้อง ถ้่าจะฟ้องให้ผิดต้อง ข้อหาประมาทเท่านั้น
#279
ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 13:16
แล้วไม่สามารถหาเสียงข้างมากได้ มาตรา 184 นี้ถ้าจะเห็นบ่อยหน่อยก็จะเป็นกรณีที่อยู่
ในศาลชั้นต้น ซึ่งกำหนดให้มีองค์คณะอย่างน้อย 2 คน ซึ่งส่วนใหญ่แล้วผู้พิพากษาจะมี
ไม่พออยู่แล้ว เพราะฉะนั้นก็มักจะมี 2 คนตามขั้นต่ำตามพระธรรมนูญศาลฯ แล้วเกิดปัญหา
ว่าในคดีอาญาองค์คณะ 2 คนนั้นเห็นต่างกัน มาตรา 184 จึงจะถูกนำมาใช้ แต่ถ้าองค์คณะ
ไม่ใช่เลขคู่ โดยส่วนใหญ่ก็มักจะไม่มีปัญหาที่จะต้องนำมาตรา 184 มาใช้ เพราะส่วนใหญ่
ถ้าจะมีการแตกเสียงก็มักจะแตกเป็นแค่ 2 ฝ่าย ซึ่งยังไงๆก็ต้องมีเสียงข้างมากอยู่แล้ว
การที่ผู้พิพากษาที่เป็นประธานจะออกเสียงเป็นคนสุดท้าย อย่าลืมเรื่องหลักของความเป็น
อิสระของผู้พิพากษา เพราะฉะนั้นประธานจะออกเสียงอย่างไรก็ได้ ไม่ได้ถูกบังคับว่าจะ
ต้องออกเสียงอย่างนี้ ตั้งแต่เรียนมาจนถึงทุกวันนี้เป็นสิบปี เราไม่เคยได้ยินหลักที่ว่าผู้เป็น
ประธานในการทำคำพิพากษาจะถูกบังคับให้ต้องออกเสียงเป็นอย่างไรเลย เคยได้ยินแต่ว่า
ถ้าหาเสียงข้างมากไม่ได้ ในคดีอาญาจำต้องยอมเห็นด้วยกับความเห็นที่เป็นคุณแก่จำเลยกว่า
เท่านั้นเอง
- MIRO likes this
#280
ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 - 13:50
เขาเรียกว่า "ประสาโง่แล้วอวดฉลาด"
#281
ตอบ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2554 - 12:19
จากประเด็นปัญหา..เรื่องคำพิพากษา ประสาชาวบ้าน
มาจบลงที่ ประเด็นปัญหา มติขององค์คณะผู้พิพากษา...
เท่าที่อ่านมาพอจับใจความได้ว่า จขกท โต้แย้งการลงมติขององค์คณะผู้พิพากษาตามมาตรา 184
ไม่ว่าจะเป็น ประธาน หรือ เจ้าของสำนวน ลงคะแนนเป็นคนสุดท้าย และ ข้อความสุดท้ายของ
มาตรา 184 ที่ว่า
“ ถ้าปัญหาใด มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้ ให้ผู้พิพากษาที่เห็นเป็นผลร้าย
แก่จำเลยมากกว่า ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า ”
ขออธิบายอย่างนี้ค่ะ
เริ่มจากการแต่งตั้งองค์คณะผู้พิพากษา ในการพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
รัฐธรรมนูญ 2550 ระบุไว้ในมาตรา 219 (วรรค 4) ความว่า
“ ให้มีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในศาลฎีกา โดยองค์คณะผู้พิพากษา
ประกอบด้วย ผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกาหรือ
ผู้พิพากษาอาวุโสซึ่งเคยดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกาจำนวนเก้าคน ซึ่งได้รับ
เลือกโดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา โดยวิธีลงคะแนนลับ และให้เลือกเป็นรายคดี ”
และถ้าจะโต้แย้งว่า รัฐธรรมนูญ 2550 เชื่อถือไม่ได้ ในรัฐธรรมนูญ 2540 ได้บัญญัติไว้ในหมวด
ที่ 8 (ศาล) ส่วนที่ 3 ว่าด้วยศาลยุติธรรม ในมาตรา 272 ความว่า
“ มาตรา ๒๗๒ ศาลยุติธรรมมีสามชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา เว้นแต่ที่มีบัญญัติ
ไว้เป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้หรือตามกฎหมายอื่นให้มีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทาง
การเมืองในศาลฎีกา โดยองค์คณะผู้พิพากษาประกอบด้วยผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่ง
ไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกา จำนวนเก้าคน ซึ่งได้รับเลือกโดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาโดยวิธีลง
คะแนนลับ และให้เลือกเป็นรายคดีอำนาจหน้าที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่ง
ทางการเมืองและวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ให้เป็นไปตามที่บัญญัติไว้
ในรัฐธรรมนูญนี้และในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่ง
ทางการเมือง
ดังนั้น ประเด็นที่ว่า ทำไมต้องมีองค์คณะผู้พิพากษา 9 คงตกไป ไม่น่านำมาเป็นประเด็นโต้แย้ง
หลังจากแต่งตั้งองค์คณะผู้พิพากษาตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว องค์คณะผู้
พิพากษาทั้ง 9 ท่านจะเลือกประธานองค์คณะผู้พิพากษา จากนั้นก็เข้าสู่กระบวนการพิจารณา
คดี โดยยึดหลักระบบการไต่สวน ภายใต้ พรบ. วิธีพิจารณาคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ประเด็นก็ไม่น่าจะมีปัญหาให้ต้องชีแจงมากกว่านี้
ที่นี้ในประเด็น การพิพากษาและคำวินิจฉัย รัฐธรรมนูญ 2550 ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 278 (วรรคแรก)
ความว่า
“ การพิพากษาคดีให้ถือเสียงข้างมาก โดยผู้พิพากษาซึ่งเป็นองค์คณะทุกคนต้องทำความเห็น
ในการวินิจฉัยเป็นหนังสือพร้อมทั้งต้องแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ “
แล้วก็ใน รัฐธรรมนูญ 2540 ก็ได้บัญญัติในประเด็นการพิพากษาไว้ใน มาตรา 311 ความว่า
“การพิพากษาคดีให้ถือเสียงข้างมาก โดยผู้พิพากษาซึ่งเป็นองค์คณะทุกคนต้องทำ
ความเห็นในการวินิจฉัยคดีเป็นหนังสือพร้อมทั้งต้องแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ “
แปลความว่า ทั้ง 2540 และ 2550 บัญญัติไว้เหมือนกันคือ องค์คณะทั้ง 9 ท่านต้องมีความเห็น
ก่อนการประชุมลงมติ (ประธานองค์คณะ คือ 1 ในองค์คณะผู้พิพากษาเช่นเดียวกัน)
ที่นี้ก็มาถึงประเด็นการลงมติ ตาม ป.วิอาญา มาตรา 184 ที่ว่า
“ ในการประชุมปรึกษาเพื่อมีคำพิพากษาหรือคำสั่งให้ อธิบดีผู้พิพากษา ข้าหลวงยุติธรรม หัวหน้า
ผู้พิพากษาในศาลนั้น หรือเจ้าของสำนวนเป็นประธาน ถามผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาทีละคน ให้ออก
ความเห็นทุกประเด็นที่จะวินิจฉัย ให้ประธานออกความเห็น สุดท้าย
การวินิจฉัยให้ถือตามเสียงข้างมาก
ถ้าในปัญหาใดมีความ เห็นแย้งกันเป็นสองฝ่ายหรือเกินกว่าสองฝ่ายขึ้นไปจะหาเสียงข้างมากมิได้
ให้ผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากยอม เห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็น
ผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า “
คือ การแถลงคำวินิจฉัยส่วนตัวขององค์คณะผู้พิพากษาตามมาตรา 278 ของรัฐธรรมนูญ 2550 หรือ ตาม
มาตรา 311 ของรัฐธรรมนูญ 2540 ไม่ใช่มาลงมติกันสด ๆ วันนั้นเดียวนั้น
แต่เป็นการมาสรุปว่าแต่ละท่านมีคำพิพากษาส่วนตัวว่าแต่ละประเด็นในคำฟ้องผิดหรือไม่ผิด..
ในประโยคที่ว่า
" หัวหน้าผู้พิพากษาในศาลนั้น หรือเจ้าของสำนวนเป็นประธาน ถามผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาทีละคน
ให้ออกความเห็นทุกประเด็นที่จะวินิจฉัย ให้ประธานออกความเห็น สุดท้าย "
หมายความว่า ในการประชุมเพื่อลงมติ ให้ผู้พิพากษาแต่ละท่านแถลงคำวินิจฉัยที่ละท่าน โดยประเพณี
ส่วนใหญ่จะเริ่มจากผู้พิพากษาทีมีอาวุโสน้อยที่สุด เรียงตามลำดับ ประธานที่ประชุม ถือเป็นตำแหน่ง
ใหญ่ที่สุดในที่ประชุม จึงสมควรแถลงคำวินิจฉัยเป็นท่านสุดท้าย
ตัวอย่างเช่น...ในที่ประชุมของบริษัท ส่วนใหญ่ บรรดาหัวหน้าแผนก ก็จะแสดงความเห็นต่าง ๆ ตาม
ความคิดเห็นของแต่ละคน สุดท้ายเจ้าของบริษัทถึงจะแถลงความเห็น เพราะอะไรรู้มั้ย
เพื่อจะได้ตัดปัญหา ข้อครหาว่า ลงมติเอาใจเจ้านาย ไง ในประเด็นนี้ก็คล้ายกัน ประธานแถลงคำวินิจฉัย
เป็นท่านสุดท้ายเพื่อจะได้ไม่มีข้อกล่าวหาว่า วินิจฉัยเอาใจประธาน รัฐธรรมนูญถึงกำหนดว่าแต่ละท่าน
ต้องมีคำวินิจฉัยเป็นลายลักษณ์อักษรก่อนการลงมติ เพื่อเป็นหลักฐานการวินิจฉัย ไม่ใช่มาวินิจฉัยในวัน
ประชุมลงมติ
ส่วนที่ว่า หากหาเสียงข้างมากมิได้ ตามหลักจริยธรรมคือ ใช้หลักให้คุณต่อจำเลย ส่วนใหญ่ปัญหาจะ
เกิดในกรณีมีผู้พิพากษาในองค์คณะฯ ลาออก หรือ ถอนตัว ระหว่างการพิจารณาคดี ซึ่งโดยปกติจะไม่มี
การแต่งตั้งใหม่ ก็จะทำให้มีจำนวนองค์คณะเป็นเลขคู่ ที่อาจจะมีคำวินิจฉัยส่วนตัวออกมาเท่า ๆ กัน
ประเด็นนี้ให้ใช้หลักกฎหมายที่เป็นคุณต่อจำเลย...คือ
ถ้าวินิจฉัยว่า...ยกฟ้อง...เท่ากับ มีความผิด....ให้ถือว่ายกฟ้อง แต่ผู้พิพากษาที่มีความเห็นแย้งอาจนำ
สำนวนคำพิพากษารวบเข้าไว้ในสำนวนได้
ถ้าวินิจฉัยว่า...มีความผิด ด้วยเสียงข้างมาก และกำหนดบทลงโทษไว้แตกต่างกัน เช่น
ให้ลงโทษสูงสุด 10 ปี 4 ท่าน และให้ลงโทษ 2 ปี 4 ท่าน ก็จะถือว่า มีความผิดและให้ลงโทษ 2 ปี
ที่นี้ในประเด็นของ ที่ดินพิพาท พิพากษาว่าผิดด้วยเสียงข้างมาก ประเด็นเดียวเท่านั้น คือ มีความผิด
ตาม พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต พศ. 2542 มาตรา 100 และ
มีบทกำหนดโทษ ตาม พรบ. มาตรา 122
ถ้ายังไงลองไปหาคำวินิจฉัยส่วนตัวของทั้ง 9 ท่านมาอ่านและวิเคราะห์ดู
หวังว่าข้อมูลข้างต้น จะให้ความกระจ่างได้บ้าง
ขอบคุณครับ ทุกท่านอธิบายได้ชัดเจน จนปลายอ้อฯ หนีไปตั้งกระทู้ไร้สมองที่อื่นแล้ว
#282
ตอบ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2554 - 12:27
กลับมาตอบกระทู้นี้ดีกว่าควายอ้อ
ยังไม่มีปัญญาตอบเลย อยากเสล่อโชว์พลัง
#283
ตอบ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2554 - 12:29
ลิงค์กระทู้นี้ไปกระทู้ใหม่แล้ว
กลับมาตอบกระทู้นี้ดีกว่าควายอ้อ
ยังไม่มีปัญญาตอบเลย อยากเสล่อโชว์พลัง
ผมว่าเขาคงหมดปัญญาเขามาแถต่อแล้วครับ
ตังเองคงเริ่มรู้ตัวแล้วว่า แถข้อกฎหมายพลาดไปอย่างหน้าขายหน้าที่สุด
จริงๆถ้าเฉลียวใจสักนิด มีสมองสักหน่อย ก็จะเอะใจว่าทำไมนิติขี้ราด อาจานกฎหมายธรรมศาสตร์ถึงไม่เคยเล่นประเด็นนี้
แต่ไปเล่นประเด็นให้"ย้อนเวลา"ให้โมฆะไปเลย ก็เพราะนิติขี้ราดรู้ว่าตามข้อกฎหมายแล้วทักษิณผิดเต็มๆ เลยต้องใช้วิธีนอกรีตไงครับ
#284
ตอบ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2554 - 12:32
มันแถไม่ไป มันหนีดื้อๆ บอกว่า "เชื่อแบบนี้" หน้าด้านแต่ถ่ายเดียว เสื้อแดงเป็นแบบนี้ทุกราย
ลิงค์กระทู้นี้ไปกระทู้ใหม่แล้ว
กลับมาตอบกระทู้นี้ดีกว่าควายอ้อ
ยังไม่มีปัญญาตอบเลย อยากเสล่อโชว์พลัง
ผมว่าเขาคงหมดปัญญาเขามาแถต่อแล้วครับ
ตังเองคงเริ่มรู้ตัวแล้วว่า แถข้อกฎหมายพลาดไปอย่างหน้าขายหน้าที่สุด
ยังไม่เคยเห็นเสื้อแดงสักรายที่เจ๋งๆ
พวกที่พอไหวหนีหายหมด เหลือแต่กากเดนอย่างบังเละ กระเทยคิลเลอร์ ปลายอ้อ ลูกชาวนาเขมร พวกนี้ปลายแถวทั้งนั้น
#285
ตอบ 20 มีนาคม พ.ศ. 2555 - 16:18
เลยขออนุญาตดันกระทู้ กรณีศึกษาขึ้นมา
เป็นทานแก่ไพร่แดง
#286
ตอบ 20 มีนาคม พ.ศ. 2555 - 16:25
เสื้อแดงถึงมีเงินกินใช้มาชุมนุมไงครับ หวังว่าท่านคงนอนตาหลับได้แล้วนะ RIP ครับ
เอ็งขอเป็น"ขี้ข้าโจร" ข้าเลือกเป็น"ข้าธุลีพระบาท" เอ็งขอเป็น"ไพร่" ข้าเลือกเป็น"พสกนิกร"
#287
ตอบ 20 มีนาคม พ.ศ. 2555 - 17:14
กระทู้ป่วนไร้สาระ มากเกินไป
เลยขออนุญาตดันกระทู้ กรณีศึกษาขึ้นมา
เป็นทานแก่ไพร่แดง
คิดถึง ปลายอ้อฯ เหรอครับ
[color=#0000ff;][font="Tahoma, sans-serif;"]เราจะรู้.....รสชาติของความสุข[/color][font="Tahoma, sans-serif;"]ก็ต่อเมื่อ เราผ่านความทุกข์มาก่อน[/font][/font]
#288
ตอบ 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 06:29
ผมขอสรุปประเด็นที่ผมตั้งขึ้น..ในท้ายสุด
เนื่องจากเราคุย .ใน “คนละเรื่องเดียวกัน”อยู่ จึงไม่อาจหาข้อสรุปที่ชัดเจนได้ ซึ่งท่านก็มีข้อมูลอีกด้าน ผมก็มีข้อมูลอีกด้าน และด้วยใจที่ต่างมี “ธง”กันอยู่..จึงไม่เกิดการยอมรับ
ผมขอสรุปสุดท้ายในประเด็นข้อถกเถียงที่ได้ตั้งขึ้น แล้วจะไม่เข้ามาตอบอีกในประเด็นนี้อีกต่อไป.. เพราะยืดยาวเกินไปแล้ว
.........................................................
โดยปกติ ผู้พิพากษา 9 คน ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่า จำเลยยังไม่มีความผิดรธน. 2550 ม. 39 หากมีความสงสัยว่า จำเลยได้กระทำผิดหรือไม่ ต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยนั้นให้จำเลย ตาม ป.วิ 227
ในคดีนี้แม้ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2542 มาตรา 20 ที่บัญญัติว่า
“การทำคำสั่งที่เป็นการวินิจฉัยชี้ขาด หรือพิพากษาคดี ให้ผู้พิพากษาในองค์คณะผู้พิพากษาทุกคน ทำความเห็นในการวินิจฉัยคดีเป็นหนังสือ พร้อมทั้งต้องแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ และให้ถือมติตามเสียงข้างมาก ในการนี้ องค์คณะผู้พิพากษาอาจมอบหมายให้ผู้พิพากษาคนใดคนหนึ่ง ในองค์คณะผู้พิพากษาเป็นผู้จัดทำคำสั่งหรือคำพิพากษาตามมตินั้นก็ได้...” ก็ตาม
แต่กลับไม่ปรากฏข้อกำหนดของประธานศาลฎีกา หรือบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ บัญญัติถึงการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนในการประชุมปรึกษาคดีไว้ ตลอดจนกรณีที่มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้นั้น จะต้องดำเนินการอย่างไร ?
เหตุนี้ ม. 18 วรรคสอง แห่ง พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ก็บอกว่า
“...ให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาใช้บังคับ...โดยอนุโลม”
หมายความว่า ป.วิ อาญา ม. 184 มาบังคับใช้ กฎหมายนี้ ไม่ได้บอกผู้พิพากษา 9 คน ออกเสียงพร้อมกันในคราวเดียวกัน เพื่อให้ได้เสียงข้างมาก แต่ให้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนทำหน้าที่เป็นประธาน ยังไม่มีสิทธิออกเสียงทันที ต้องไปถามผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาอีก 8 คนทีละคนว่า จำเลยที่ 1 กระทำความผิดหรือไม่ ?
ในวันพิพากษา คณะผู้พิพากษาทั้ง 9 คนลงมติด้วยคะแนน 5 ต่อ 4 ว่าจำเลยที่ 1 มีความผิดให้จำคุก 2 ปี ก็แสดงให้เห็นว่า ในชั้นนี้ ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน ทำหน้าที่ประธานสอบถามความเห็นผู้พิพากษา อีก 8 คนนั้น มีผู้พิพากษา 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดแต่ผู้พิพากษาอีก 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด คะแนนเสียงจึงเป็น 4 ต่อ 4 เท่ากัน แย้งกันอยู่
ตอนนี้ จึงเข้าบทบัญญัติแห่งรธน. กับ ป.วิ ที่อ้างไว้ คือต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด และกรณียังเป็นที่สงสัยว่าจำเลยที่ 1 กระทำผิดจริงหรือไม่ เพราะมีคะแนนเสียงเท่ากัน หาเสียงข้างมากไม่ได้ เป็นไปตาม. 184 ที่ว่า
“ถ้าปัญหาใด มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้ ให้ผู้พิพากษาที่เห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากกว่า ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า” อีกด้วย
ท่านผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนผู้ทำหน้าป็นประธานและต้องออกเสียงเป็นคนสุดท้าย ต้องถูกผูกมัดให้ปฎิบัติด้วยบทกฎหมายที่บัญญัติไว้นี้ ให้จำต้องลงมติว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด เพราะเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า แม้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน จะมีความเห็นขณะนั้นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดก็ตาม
คะแนน 5 - 4 จึงเท่ากับว่า ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนที่ออกเสียงเป็นคนสุดท้ายได้ลงมติว่า จำเลยที่ 1 กระทำความผิด ซึ่งเป็นผลร้ายแก่จำเลยที่ 1 มากกว่า น่าจะขัดต่อ รธน. 50 มาตรา 39 วรรคสอง และ ป.วิอาญา 227 และ 184
ตัวบทมาตรา 184 ที่ว่า “...ให้เจ้าของสำนวนเป็นประธาน ถามผู้พิพาทที่นั่งพิจารณาทีละคน ให้ออกความเห็นทุกประเด็นที่จะวินิจฉัย... ถ้าในปัญหาใด มีความเห็นแย้งกัน…” ดังนี้ เป็นเหมือนบังคับให้ท่านผู้พิพากษา ต้องปฏิบัติตามความในมาตรา 184 ไม่มีข้อยกเว้น
..................
ผมจบแค่นี้ ครับ
และหากมีข้อความ ถ้อยคำ สำนวนใดของผม ที่ทำให้เกิดความรู้สึกไม่พอใจในกับเพื่อนสมาชิกในนี้ ..ผมขออภัย !
มั่วแหลกลาญ แถมเนื้อความไปก๊อปเขามาด้วย เปิดกูเกิลหาคำตรงเป๊ะ ๆ ยังได้
ถ้าอ่านตามมาตรา ๑๘๔ เนื้อความลำดับดังนี้ (ซ้ำรอบที่เท่าไรไม่รู้)
๑. ประธานถามทีละท่าน
๒. ประธานออกเสียงท่านสุดท้าย
๓. วินิจฉัยตามเสียงข้างมาก
๔. หากไม่มีเสียงข้างมาก จึงยกประโยชน์ให้จำเลย โดยฝ่ายที่เห็นว่าผิดต้องยอมฝ่ายที่เห็นว่าไม่ผิด
แต่ปลายอ้อฯ เล่นมั่วเรียงลำดับ ๑-๔-๒-๓ สงสัยว่าเพราะอะไรเลยข้าม ๒ กับ ๓ มาพิจารณา ๔ ก่อน?
ถามว่าเช่นนั้นประธานจะไปอดตาหลับขับตานอนพิจารณาสำนวนทำไม สู้รอให้คณะพิจารณาออกเสียง แล้วออกเสียงตามเสียงข้างมากหรือเสียงด้านไม่ผิดในกรณีเท่ากันไปเลยไม่ดีกว่าหรือ?
เนื้อหากฎหมายบัญญัติไว้ชัดเจน ทำไมถึงตีความว่าต้องยกส่วนขยายมาใช้ก่อน โดยข้ามส่วนหลักที่มาก่อนหน้าไป?
อีกประเด็นคือ ปลายอ้อ ตีความว่า "ผู้พิพากษา" เท่ากับ "ประธาน" ทั้งที่ในเนื้อหาที่บัญญัติไว้ มีทั้งคำว่าประธาน และผู้พิพากษาแยกกันชัดเจน จะบิดเบือนเนื้อหากฎหมายทำไม?
บทสรุปที่ง่ายที่สุดในการทำความเข้าใจ
ฉายา "ปลายอ้อฯ ๑ ๔ ๒ ๓ " ไม่ได้มาเพราะโชคช่วย 555+++
ขุดมาประจานอีกที ต้อนรับการกลับมาของ พาลทึบ ห้องลากดำนา "บอร์ดดริฟ แห่งตำนาน" 555++
เอาไว้เป็นอุทาหรณ์ ซุป'ตาร์ ทั้งหลาย...
Edited by ศรอรชุน, 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 06:56.
"ควาย" ในความหมายของผม คือ คนที่มีความคิด เล่นเน็ตเป็น แต่แยกแยะ ดี ชั่ว ถูก ผิด ไม่ได้
มิได้หมายถึง ชาวรากหญ้า ที่เป็นเหยื่อในสงครามทางความคิดครั้งนี้
"คนชั่ว" จะถูกปราบราบคาบสิ้น แผ่นดินเดือดสูญหายไร้ปัญหา... อยากให้ถึงวรรคท้ายของคำทำนาย ไวๆ ว่ะ...
#289
ตอบ 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 06:49
#290
ตอบ 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 15:35
ช่วงนี้ คนเป่านกหวีดเสียงดังกันเยอะ ปีนี้เลยกลายเป็น " ปี แสบ หู "
#291
ตอบ 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 19:09
สมมุตินะครับสมมุติ สมมุติว่าพ่อของปลายอ้อ ออกไปเดินเล่นนอกบ้าน พอดีเกิดเหตุการณ์ตำรวจไล่จับผู้ร้ายค้ายาบ้า ตามนโยบายสงครามยาเสพติด และเกิดการยิงปะทะกันกันขึ้น พอดีว่าตำรวจ ดันเข้าใจผิดว่าพ่อของปลายอ้อเป็นพวกค้ายา เลยยิงกบาลเข้าให้
ท่านปลายอ้อโกรธมาก ไปฟ้องศาลให้ดำเนินคดีกับตำรวจ แล้วพอดีต้องขึ้นศาลแบบเดียวกับที่ทักกี้โดน มีวิธีพิจารณาคดีเหมือนกันเป๊ะๆ
ผู้พิพากษา มี 9 คน ผู้้พิพากษา 4 คนบอกตำรวจไม่ผิดเป็นอุบัติเหตุ หรืออีกนัยนึง พ่อมรึงเสรือกทะเล่อทะล่าเข้ามาเอง โทษตำรวจไม่ได้
ผู้พิพากษาอีก 4 คนบอกตำรวจผิด ปฎิบัติหน้าทีบกพร่อง +โดยประมาท + เกิดกว่าเหตุ เป็นเหตุให้เกิดความสูญเสียชีวิตของผู้บริสุทธิ์
ตีความมาตรา 184 ตามความเข้าใจของผม
- ประธานคณะตุลาการ ฟังความเห็นของเพื่อนๆ ทั้ง 8 คนแล้ว และพิจารณาพยานและหลักฐาน ประธานจึงตัดสินใจออกเสียงว่า....
1. ตำรวจผิด ผลคือ ปลายอ้อชนะคดี เพราะตุลาการตัดสินตามเสียงข้างมาก 5:4 ให้ตำรวจผิด ตำรวจที่บกพร่องต่อหน้าที่จึง
โดนลงโทษ ปลายอ้อได้เงินชดเชยเต็มที่ ได้รับความเห็นใจทางสังคม ตำรวจต้องปรับปรุงการทำงานเพื่อไม่ให้เหตุการณ์ซ้ำรอย....
2. ตำรวจไม่ผิด ผลคือ ปลายอ้อแพ้ พ่อมรึงตายฟรี ได้ค่าทำขวัญเป็นเศษเงินนิดหน่อย
ตีความมาตรา 184 ตามความเข้าใจของปลายอ้อ
- ประธานคณะตุลาการ ฟังความเห็นของเพื่อนๆ ทั้ง 8 คนแล้ว ปรากฎว่ามีเสียงเสมอกัน 4:4 หาเสียงข้างมากไม่ได้ ประธานคณะตุลาการต้องตัดสินให้ผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลย(ตำรวจ)มาก ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลย(ตำรวจ)น้อยกว่า
ผล ศาลตัดสิน ด้วยคะแนนเสียง 5:4 ยกประโยชน์ให้จำเลยคือตำรวจไม่ผิด
ดังนั้น ปลายอ้อแพ้ พ่อมรึงตายฟรี ได้ค่าทำขวัญเป็นเศษเงินนิดหน่อย
แบบไหนยุติธรรมกว่ากัน?
Edited by annykun, 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 19:19.
- DarkSwan likes this
คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ชนะสงคราม คือ ความแข็งแกร่ง และ อุดมการณ์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริง
คุณธรรมที่พร้ำสอน ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นรองลงมา ส่วน ประชาธิปไตยน่ะรึ เอาเข้าจริงๆ สำคัญอันใด??
#292
ตอบ 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 19:22
ไม่เคยและไม่ปัญญาซื้อที่ดินกับเค้า
อีกทั้งไม่มีการศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยม
ถึงได้ไม่รู้จักกฎหมายข้อนี้
"ควาย"แดง ดีๆนี่เอง
#293
ตอบ 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 20:20
#294
ตอบ 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 20:35
5 ใน 9 บอกว่าผิด
ส่วนที่4ท่าน ลงความเห็นไม่เหมือนกัน
2 คนบอกไม่ผิด
1 คนบอก ไม่ผิดมาตรา....
1 คน บอกไม่ผิดมาตรา....
แต่ก็นับเป็น 5-4 แบบนี้ก็มีเยอะครับ
ประเด็นสำคัญ มันอยู่ที่ทักษิณผิดเต็มๆ ผู้ดำรงต่ำแหน่งทางการเมือง ปล่อยให้เมียยื่นประมูลได้ไง
#295
ตอบ 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 21:28
ตั้งใจมาแถมากวนอะไรหรอก เพราะดูแล้วท่าทางมั่นอกมั่นใจในข้อมูลที่เขามีอยู่
แต่ผมมีข้อสังเกตถึงคุณปลายอ้อนิดหนึ่งนะครับ ผมเข้าใจว่าคุณปลายอ้ออ่านในบทความ
ที่เอามาโพสต์ไว้แล้วบอกว่าผู้พิพากษาเป็นคนเขียนน่ะ ผมว่าคุณปลายอ้อต้องอ่านแล้วใช้
ดุลยพินิจแบบทำใจให้เป็นกลาง ๆ นะครับ เพราะถ้าใจเราไม่เป็นกลางมันก็แน่นอนว่าเราต้อง
เห็นด้วยกับบทความดังกล่าว
ถ้าคุณปลายอ้อสังเกตบทความที่เอามาโพสต์ จะเห็นว่า เขาพยายามโต้แย้งดุลยพินิจของศาล
ในเรื่องที่ว่า ทักษิณรู้เห็นกับการซื้อขายที่ดินหรือไม่ ผมอ่านแล้วก็เหมือนกับพูดเองเออเอง ว่า
ศาลก็รู้อยู่ว่าทักษิณไม่มีส่วนเกี่ยวข้องเพราะไม่ได้เป็นคู่สัญญาทำสัญญาอะไรทำนองนั้น คือ
สรุปเอาเองว่าศาลรู้อยู่แก่ใจนั่นแหละว่าทักษิณไม่เกี่ยวข้อง ซึ่งตรงนี้ผมว่ามันไม่ใช่ข้อโต้แย้ง
ทางกฎหมาย แต่ดูเหมือนบทความจะพยายามเขียนให้เป็นอย่างนั้นว่าศาลรู้อยู่แล้ว ซึ่งผมคิดว่า
ผู้เขียนบทความก็คงรู้ว่าตรงนี้มันไม่มีน้ำหนักพอ จึงโยงมาเรื่อง ป วิ อาญา ม 184 อีก แล้วก็
พยายามบอกว่า เมื่อมันหาเสียงข้างมากไม่ได้ การพิจารณาของศาล ต้องพิจารณาลงโทษที่น้อยกว่า
โดยอ้างว่าเสียงมันเท่ากัน 4 ต่อ 4
กรณีดังกล่าวถ้าคุณปลายอ้อเชื่อว่าเสียงมันเท่ากัน มันก็ไม่มีประโยชน์ที่จะมากถกเถียงกันหรอกครับ
เพราะคุณเชื่ออย่างนั้น แต่สมาชิกที่นี่มองว่ามันได้เท่ากัน มันเป็น 5 ต่อ 4
ผมจึงมองว่า ในเมื่อคุณทักษิณมีข้อโต้แย้งตามบทความนี้ ทำไมคุณทักษิณไม่ยอมอุทธรณ์ต่อศาลล่ะครับ
ทำไมจะต้องบอกศาลไม่ยุติธรรมไม่เป็นธรรม อย่างที่ผ่าน ๆ มา หรือว่าตอนศาลตัดสินคดีไปใหม่ ๆ ผู้พิพากษา
ท่านนี้ยังไม่ได้เขียนบทความ แต่ผมว่าถึงจะยังไม่ได้เขียนบทความก็แนะนำคุณทักษิณให้อุทธรณ์ได้ ทำไม
ไม่ทำครับ
#296
ตอบ 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 21:43
ขอรีรันกระทู้นะครับ เคยตั้งในพันทิป..แต่ตอนนี้ไม่มีแล้ว
............................
เมื่อต่อมาเมื่อไม่นาน ศาลแพ่งฯ ตัดสินสั่งให้คุณหญิงคืนโฉนดที่ดินให้กับกองทุนฯเขาซะ
และให้กองทุนคืนเงินให้คุณหญิงไปพร้อมดอกเบี้ย ถือว่า การซื้อ-ขายไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน นิติกรรมใดๆที่ทำกันมาถือว่าเลิกล้มหมดสิ้นกันไป เริ่มต้นกันใหม่
การซื้อ-ขายผิดกฎหมายจึงถูกเพิกถอนครับ ไม่ใช่ไม่เคยเกิดขึ้น
การที่คุณสรุปเลอะเทอะเอาเองว่าไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน มันจึงเป็นเหตุให้ตรรกะวิบัติ
สมมุติมีการยืมเงินกันแล้วเป็นคดี ขึ้นศาล ศาลสั่งให้ลูกหนี้ชำระเงินพร้อมดอกเบี้ย
แล้วเราบอกได้ไหมครับว่าการยืมเงินไม่เคยเกิดขึ้น
มันบอกไม่ได้หรอกครับแม้นจะหมดภาระหนี้สินต่อกันไปแล้วก็ตาม
มีการทำผิดกฎหมายในคดีรัชดา ศาลจึงสั่งเพิกถอนนิติกรรม
คุณจะมาบิดเบือนว่าไม่เคยมีการทำนิติกรรมใดๆมันคนละเรื่อง ผิดไปหลายปีแสงเลยครับ
ผมเห็นแต่คนเสื้อแดงที่ไม่ค่อยมีการศึกษากล่าวอ้างกันแบบนี้
แต่ชาวบ้านอย่างผม ก็ยังเห็นมีคนบอกว่าทักษิณผิดต้องกลับมาติดคุก 2 ปีอยู่อีก
ถ้าไม่ผิดศาลท่านจะเพิกถอนทำไมล่ะครับ ผิดจึงเพิกถอนการทำนิติกรรม
ไม่ใช่พอเพิกถอนแล้วกลายเป็นไม่มีความผิด
โดยเฉพาะนักกฎหมายขั้นเทพอย่างประชาธิปัตย์ และนักวิชาการทั้งหลายแหล่ที่บอกเป็นเสียงเดียวกัน
ไม่ต้องนักกฎหมายขั้นเทพหรอกครับ นักเรียนมัธยมยังรู้ว่าความผิดสำเร็จไปแล้ว
มันเป็นไปได้หรือว่า ในเมื่อเสมือนไม่มีความผิดใดๆเกิดขึ้นในเรื่องนี้เลย กับทั้งคุณหญิงและกองทุนฯ ที่เป็นต้นเรื่อง
คุณก็หมกมุ่นมัวแต่จะคิดว่าเรื่องไม่เคยเกิดขึ้น
ถ้าไม่เคยเกิดขึ้นศาลจะเอาคดีที่ไหนมาตัดสินล่ะ? หา
แล้วถ้าเรื่องที่ศาลสั่งยกเลิกนิติกรรม ถือว่าไม่มีความผิดทั้งสิ้น
ไอ้พวกเจ้าหนี้ที่ทำสัญญาเงินกู้ผิดกฎหมาย
พวกปลอมแปลงเอกสารราชการทั้งหลายแหล่ก็คงไม่ต้องติดคุก
เพราะพอขึ้นศาลสัญญาหรือเอกสารนั้นถูกยกเลิกไปเพราะผิดกฎหมาย
จำเลยก็ต้องไม่มีความผิดเพราะถือว่าเรื่องไม่เคยเกิดขึ้น
มองยังไงก็ต้องปัญญาอ่อนจริงๆถึงจะคิดได้แบบนั้นนะครับ
ทุกอย่างกลายเป็นศูนย์ไปหมดแล้ว
ศูนย์ยังไง? ทำผิดแล้วศาลจับได้สั่งระงับนิติกรรม
เลยกลายเป็นว่าไม่ได้ทำเนี่ยนะ?
คิดอย่างงี้จริงๆเลยหรือครับ
แต่กลับยังส่งผลให้คนที่ 3 ซึ่งไม่ได้รับรู้เรื่องราวมาแต่ต้น ยังทนหน้าด้านถูกคนกล่าวหาเป็นนักโทษหนีคดีอยู่ได้อีก
นั่นสิ ตรงนี้ผมเห็นด้วยว่าทักษิณหน้าด้านจริงๆ
ชาวบ้านอย่างผม จึงสงสัยไม่หายมาจนทุกวันนี้ สงสัยจนไม่เป็นอันกินอันนอน พูดไม่ออก บอกไม่ถูก
เรียกว่าเพ้อเข้าข้างทักษิณจนไม่ได้มองดูโลกของความเป็นจริงไงครับ
คนที่มีอาการนี้คือความยุติธรรมมันหายไปจากหัวใจแล้ว
หายใจเข้าออกก็คิดว่าทักษิณไม่ผิด เป็นกรรมของชาติประการนึง
ลองเป็นชาวบ้านไปปลอมโฉลดที่ดินแล้วศาลสั่งเพิกถอน
ชาวบ้านต้องติดคุกจะมีคนเสื้อแดงช่วยนอนไม่หลับไหมว่า..
โฉนดปลอมก็เพิกถอนไปแล้วเหมือนเรื่องไม่เคยเกิดขึ้น ทำไมถึงต้องติดคุกอีก
ไม่รู้จะบอกลูกบอกหลานอย่างไรดี
ถ้าคิดได้แค่นี้ผมขอร้องว่าอย่าไปสอนลูกหลานเลยครับ
เมื่อถูกลูกหลานถามว่า “ทักษิณติดคุกเพราะอะไร” เมื่อตอบว่า “เพราะที่ดินรัชดา” ก็จะถูกถามต่อไปว่า “แล้วทำไมเมียกับกองทุนฯถึงไม่ติดด้วย เพราะเป็นคนก่อเรื่องตั้งแต่ต้น” ผมคงต้องตอบว่า “นอนเถอะลูก ดึกแล้ว พรุ่งนี้ต้องไปเรียนนะ”
ลูกถามม้าตอบช้างแบบนี้มันถึงได้ต้องไม่เป็นอันกินอันนอนไงครับ
เมียไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่รัฐที่มีอำนาจกำกับดูแล
ไม่มีบทลงโทษก็เลยไม่ต้องหนีคุกอีกคน
ส่วนกองทุนฯเขาเป็นผู้ขาย ยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าสมคบกับผู้ซื้อกระทำผิดกฎหมาย
ถ้ามีหลักฐานถึงตรงนั้น เจ้าหน้าที่สอบสวนจนศาลเห็นเชื่อ
ก็ต้องเจอเหมือนกันแหละครับ
ไม่ใช่คนนั้นไม่ผิด คนนี้ไม่ผิด อีกคนจะต้องไม่ผิดด้วย
ลองไปดูคดีที่จำเลยเป็นหมู่คณะถูกจับพร้อมกันก็มีให้เห็นถมเถครับ
คนนึงติด คนนึงหลุด คนนึงถูกจำคุกตลอดชีวิต บางคนแค่ภาคทัณฑ์
ตำแหน่งหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละคนมันต่างกัน ถ้าคิดเหมารวมยกเข่งประเทศนี้คงเดินไปไหนไม่ได้
ผิดทั้งหลักการและสามัญสำนึก
ขอแสดงความเห็นด้วยแต่เพียงประเด็นนี้ครับ
เรื่องอื่นๆผมว่าเพื่อนสมาชิกชี้แจงจนคุณไปไม่เป็นแล้ว
วิธีการยุติระบอบทักษิณ
ก็แค่เพียงทำให้คนไทยส่วนใหญ่ "ฉลาด"
#297
ตอบ 4 เมษายน พ.ศ. 2555 - 22:45
แต่มันเป็นไปตามข้อเท็จจริง และข้อกฎหมาย เซ็ง
#298
ตอบ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 - 14:57
"ควาย" ในความหมายของผม คือ คนที่มีความคิด เล่นเน็ตเป็น แต่แยกแยะ ดี ชั่ว ถูก ผิด ไม่ได้
มิได้หมายถึง ชาวรากหญ้า ที่เป็นเหยื่อในสงครามทางความคิดครั้งนี้
"คนชั่ว" จะถูกปราบราบคาบสิ้น แผ่นดินเดือดสูญหายไร้ปัญหา... อยากให้ถึงวรรคท้ายของคำทำนาย ไวๆ ว่ะ...
#299
ตอบ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 - 15:32
แต่คนกลางมันฉลาด เราต้องยอมรับ ไม่ยอมเข้ามาใน killing ZONE เลย
http://webboard.seri...า/page__st__150
Edited by ter162525, 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 - 16:39.
- ศรอรชุน likes this
#300
ตอบ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 - 16:55
เห็นกระทู้นี้ แล้วอยากบอกว่า ภูมิใจนะ ที่เป็นคนแรก ที่ล่อปลายอ้อ เข้ามาใน killing ZONE ได้ อิอิอิ
แต่คนกลางมันฉลาด เราต้องยอมรับ ไม่ยอมเข้ามาใน killing ZONE เลย
http://webboard.seri...า/page__st__150
ขอคาราวะด้วยนารีแดงหนึ่งจอก ครับ ... ^__^ 555++
"ควาย" ในความหมายของผม คือ คนที่มีความคิด เล่นเน็ตเป็น แต่แยกแยะ ดี ชั่ว ถูก ผิด ไม่ได้
มิได้หมายถึง ชาวรากหญ้า ที่เป็นเหยื่อในสงครามทางความคิดครั้งนี้
"คนชั่ว" จะถูกปราบราบคาบสิ้น แผ่นดินเดือดสูญหายไร้ปัญหา... อยากให้ถึงวรรคท้ายของคำทำนาย ไวๆ ว่ะ...
ผู้ใช้ 2 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 2 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน