Jump to content


Photo
* * * * * 1 votes

นายอำเภอฝรั่ง จากเมืองศาลโลก บุกพิสูจน์“ปราสาทพระวิหาร” เผยจากสภาพข้อเท็จจริงทั้งลักษณะภูมิประเทศและหลักการปักปันเขตแดน “ปราสาทพระวิหาร” ควรเป็นของไทย


  • Please log in to reply
170 ความเห็นในกระทู้นี้

#101 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 13 มกราคม พ.ศ. 2556 - 23:44

 

 

 

 

 

 

กำหนดจุดสองจุดที่ยอดภูมะเขือกับยอดเขาพระวิหาร ลากเส้นระหว่างจุดสองจุดโดยที่แบ่งน้ำที่ตกบนเส้นนั้นไหลออกไปด้านลุ่มน้ำโขงด้านหนึ่ง ด้านลุ่มน้ำมูนอีกด้านหนึ่ง ไม่มีการไหลย้อนกลับไปอีกด้านคุณก็จะได้เส้นที่ถูกต้องเอง แต่จะทำได้ต้องลงพื้นที่หาเลยครับ คงต้องรอคณะกรรมการปักปันนั่นแหละ จะอ้างของเมื่อร้อยกว่าปีก่อนก็ใช่ที่ เพราะยุคนั้นที่อ้างว่าเป็นสันปันน้ำอาจไม่ใช่สันปันน้ำที่แท้จริงโดนฝรั่งเศสมันโกงเอาก็ได้
 
อีกอย่างหนึ่งเขาที่สูงที่สุดไม่จำเป็นต้องเป็นสันปันน้ำเสมอไปครับ ลองดูภาพนี้เล่น ๆ
ถ้าห้วยตามาเรียถูกเขมรเจาะให้ไหลลงที่ลุ่มน้ำโขงแทนที่จะไหลลงที่ลุ่มน้ำมูน ไทยคงงานงอกหนักเลยล่ะครับ มันจะกลายเป็นว่าน้ำที่ไหลจากเขาที่สูงที่สุดไม่ได้ไหลลงฝั่งไทยแต่ไหลลงฝั่งเขมร ต้องหาเส้นแบ่งที่น้ำไหลลงฝั่งไทยและฝั่งเขมรเท่า ๆ กัน 
attachicon.giforiginal_Preah_Vihea_Divide.jpg
 
อย่างนั้นภาพนี้ก็ไม่ใช่ซิครับ ฝรั่งเศสเขาคงอ้างเส้นบน(Incorrect Border line)ใช่ไหมครับ ควรทำให้เป็นเส้นล่าง(Correct Border Line)ดีกว่าครับ
 
ปล. ขอปฏิเสธครับ เพิ่งมาค้นเท่านั้น ไม่รุ้อะไรมาก่อนเลย ครับคุณปุถุชน
 
ฝรั่งเศสอ้างเส้นบนอยู่แล้วครับ เพราะหน้าด้าน ส่วนเส้นล่างก็ไม่ใช่สันปันน้ำอยู่ดีนอกจากเราจะหน้าด้านตามฝรั่งเศสบ้าง
 
ส่วนเส้นสีแดงก็คงไม่ใช่สันปันน้ำที่แท้จริงอยู่ดี เพราะดูภาพนี้ฝนตกลงมาที่ปราสาทก็คงไหลไปทางลุ่มน้ำโขงไม่ได้มาทางลุ่มน้ำมูน
 
น่าจะลองถามนายอำเภอฯว่า เขาตีความนิยามอย่างไร เป็นแบบนิยามใหม่ หรือเปล่าครับ
แถมอีกภาพ ดูท่าน้ำจะไหลไปทางลุ่มน้ำโขงอีกแล้วครับ

 



มีหลักฐานใหม่มาฝากครับ

http://www.facebook....23707478&type=2

 

เส้นชั้นความสูงแต่ละเส้นสูงกัน 20 เมตร ถ้าสันปันน้ำอยู่สุงกว่า 6 เมตร มันก็ไม่แสดงในเส้นชั้นความสูง การใช้เส้นชั้นความสูงเป็นสันปันน้ำก็ผิดแล้วล่ะครับ

 

attachicon.gifคอนทัวร์.JPG
แนวสันปันน้ำ เป็นสีน้ำเงินและสีขาว

 

ตกลงว่าน้ำไหลจากขอบหน้าผาไปยังที่ทหารยืนอยู่รึครับ ถึงได้บอกว่าขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำ
 
36786310528aea5cec2bz.jpg

 

 
.ในคลิปบอกอย่างนั้น เว้นแต่ตรงสีน้ำเงิน ใช้เส้นแบ่งตรงช่องอานม้า แล้วเราจะไปสู้เขาได้ไหมนี้ อ.คนนี้เป็นที่ปรึกษาเสียด้วย

 

ในคลิปบอกแบบนั้นแล้วมันตรงกับความจริงไหมครับ คลิปโกหกหรือภาพโกหกกัน จะสู้เขาได้ไหมก่อนอื่นต้องพูดตามหลักความจริงก่อนไม่ใช่บิดเบือนให้เขาโจมตีได้
สู้ได้นี่หมายถึงเราพอมีหลักฐานพอจะสู้เขาได้ไหม เพราะเท่าที่เห็นก็มีเท่านี้ กับนิยามใหม่เท่านั้น

นิยามใหม่ใครรับรองล่ะครับ ในเมื่อสนธิสัญญาเขาให้ใช้แค่ภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศสเท่านั้นหากความหมายของภาษาไทยขัดกับภาษาฝรั่งเศสในสนธิสัญญาก็ให้ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นหลัก คุณเอาภาษาอังกฤษไปอ้างก็โดนตีตกตั้งแต่เริ่มแล้วครับ


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#102 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 13 มกราคม พ.ศ. 2556 - 23:49

 

 

 

 

 

 

 

 

กำหนดจุดสองจุดที่ยอดภูมะเขือกับยอดเขาพระวิหาร ลากเส้นระหว่างจุดสองจุดโดยที่แบ่งน้ำที่ตกบนเส้นนั้นไหลออกไปด้านลุ่มน้ำโขงด้านหนึ่ง ด้านลุ่มน้ำมูนอีกด้านหนึ่ง ไม่มีการไหลย้อนกลับไปอีกด้านคุณก็จะได้เส้นที่ถูกต้องเอง แต่จะทำได้ต้องลงพื้นที่หาเลยครับ คงต้องรอคณะกรรมการปักปันนั่นแหละ จะอ้างของเมื่อร้อยกว่าปีก่อนก็ใช่ที่ เพราะยุคนั้นที่อ้างว่าเป็นสันปันน้ำอาจไม่ใช่สันปันน้ำที่แท้จริงโดนฝรั่งเศสมันโกงเอาก็ได้
 
อีกอย่างหนึ่งเขาที่สูงที่สุดไม่จำเป็นต้องเป็นสันปันน้ำเสมอไปครับ ลองดูภาพนี้เล่น ๆ
ถ้าห้วยตามาเรียถูกเขมรเจาะให้ไหลลงที่ลุ่มน้ำโขงแทนที่จะไหลลงที่ลุ่มน้ำมูน ไทยคงงานงอกหนักเลยล่ะครับ มันจะกลายเป็นว่าน้ำที่ไหลจากเขาที่สูงที่สุดไม่ได้ไหลลงฝั่งไทยแต่ไหลลงฝั่งเขมร ต้องหาเส้นแบ่งที่น้ำไหลลงฝั่งไทยและฝั่งเขมรเท่า ๆ กัน 
attachicon.giforiginal_Preah_Vihea_Divide.jpg
 
อย่างนั้นภาพนี้ก็ไม่ใช่ซิครับ ฝรั่งเศสเขาคงอ้างเส้นบน(Incorrect Border line)ใช่ไหมครับ ควรทำให้เป็นเส้นล่าง(Correct Border Line)ดีกว่าครับ
 
ปล. ขอปฏิเสธครับ เพิ่งมาค้นเท่านั้น ไม่รุ้อะไรมาก่อนเลย ครับคุณปุถุชน
 
ฝรั่งเศสอ้างเส้นบนอยู่แล้วครับ เพราะหน้าด้าน ส่วนเส้นล่างก็ไม่ใช่สันปันน้ำอยู่ดีนอกจากเราจะหน้าด้านตามฝรั่งเศสบ้าง
 
ส่วนเส้นสีแดงก็คงไม่ใช่สันปันน้ำที่แท้จริงอยู่ดี เพราะดูภาพนี้ฝนตกลงมาที่ปราสาทก็คงไหลไปทางลุ่มน้ำโขงไม่ได้มาทางลุ่มน้ำมูน
 
น่าจะลองถามนายอำเภอฯว่า เขาตีความนิยามอย่างไร เป็นแบบนิยามใหม่ หรือเปล่าครับ
แถมอีกภาพ ดูท่าน้ำจะไหลไปทางลุ่มน้ำโขงอีกแล้วครับ

มีหลักฐานใหม่มาฝากครับ
เส้นชั้นความสูงแต่ละเส้นสูงกัน 20 เมตร ถ้าสันปันน้ำอยู่สุงกว่า 6 เมตร มันก็ไม่แสดงในเส้นชั้นความสูง การใช้เส้นชั้นความสูงเป็นสันปันน้ำก็ผิดแล้วล่ะครับ

attachicon.gifคอนทัวร์.JPG
แนวสันปันน้ำ เป็นสีน้ำเงินและสีขาว

 

ตกลงว่าน้ำไหลจากขอบหน้าผาไปยังที่ทหารยืนอยู่รึครับ ถึงได้บอกว่าขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำ
 
 .ในคลิปบอกอย่างนั้น เว้นแต่ตรงสีน้ำเงิน ใช้เส้นแบ่งตรงช่องอานม้า แล้วเราจะไปสู้เขาได้ไหมนี้ อ.คนนี้เป็นที่ปรึกษาเสียด้วย

 

ในคลิปบอกแบบนั้นแล้วมันตรงกับความจริงไหมครับ คลิปโกหกหรือภาพโกหกกัน จะสู้เขาได้ไหมก่อนอื่นต้องพูดตามหลักความจริงก่อนไม่ใช่บิดเบือนให้เขาโจมตีได้

 

สู้ได้นี่หมายถึงเราพอมีหลักฐานพอจะสู้เขาได้ไหม เพราะเท่าที่เห็นก็มีเท่านี้ กับนิยามใหม่เท่านั้น
นิยามใหม่ใครรับรองล่ะครับ ในเมื่อสนธิสัญญาเขาให้ใช้แค่ภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศสเท่านั้นหากความหมายของภาษาไทยขัดกับภาษาฝรั่งเศสในสนธิสัญญาก็ให้ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นหลัก คุณเอาภาษาอังกฤษไปอ้างก็โดนตีตกตั้งแต่เริ่มแล้วครับ

 

แสดงว่าแพ้อยู่แล้ว ต้องเสียดินแดนเพิ่ม ใช่ไหมครับ


Edited by Stargate-1, 13 มกราคม พ.ศ. 2556 - 23:55.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#103 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 00:02

แสดงว่าแพ้อยู่แล้ว ต้องเสยดินแดนเพิ่ม ใช่ไหมครับ

เสียดินแดนเพิ่ม? แล้วทราบเขตแดนตามสนธิสัญญาแล้วหรือครับ แผนที่ไทยก็ไม่ได้ทำตามสนธิสัญญา แผนที่ฝรั่งเศสก็ไม่ได้ทำตามสนธิสัญญาเช่นกัน แต่ต่างฝ่ายต่างอ้างอิงแผนที่ที่ตนใช้


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#104 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 00:05

แสดงว่าแพ้อยู่แล้ว ต้องเสยดินแดนเพิ่ม ใช่ไหมครับ

เสียดินแดนเพิ่ม? แล้วทราบเขตแดนตามสนธิสัญญาแล้วหรือครับ แผนที่ไทยก็ไม่ได้ทำตามสนธิสัญญา แผนที่ฝรั่งเศสก็ไม่ได้ทำตามสนธิสัญญาเช่นกัน แต่ต่างฝ่ายต่างอ้างอิงแผนที่ที่ตนใช้

 

ถ้าใช้สันปันน้ำปัจจุบัน ก็จะล้ำมาทางไทย ไม่ใช่หรือครับ


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#105 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 00:19

แสดงว่าแพ้อยู่แล้ว ต้องเสยดินแดนเพิ่ม ใช่ไหมครับ

เสียดินแดนเพิ่ม? แล้วทราบเขตแดนตามสนธิสัญญาแล้วหรือครับ แผนที่ไทยก็ไม่ได้ทำตามสนธิสัญญา แผนที่ฝรั่งเศสก็ไม่ได้ทำตามสนธิสัญญาเช่นกัน แต่ต่างฝ่ายต่างอ้างอิงแผนที่ที่ตนใช้

 

ถ้าใช้สันปันน้ำปัจจุบัน ก็จะล้ำมาทางไทย ไม่ใช่หรือครับ

ถ้าตรงเขาพระวิหารก็ใช่ครับ ส่วนที่อื่นไม่ทราบ หากเป็นไปตามสนธิสัญญารับได้ไหมล่ะครับ หรือจะฉีกสนธิสัญญาทิ้ง


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#106 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 00:48



แสดงว่าแพ้อยู่แล้ว ต้องเสยดินแดนเพิ่ม ใช่ไหมครับ

เสียดินแดนเพิ่ม? แล้วทราบเขตแดนตามสนธิสัญญาแล้วหรือครับ แผนที่ไทยก็ไม่ได้ทำตามสนธิสัญญา แผนที่ฝรั่งเศสก็ไม่ได้ทำตามสนธิสัญญาเช่นกัน แต่ต่างฝ่ายต่างอ้างอิงแผนที่ที่ตนใช้

 

ถ้าใช้สันปันน้ำปัจจุบัน ก็จะล้ำมาทางไทย ไม่ใช่หรือครับ

ถ้าตรงเขาพระวิหารก็ใช่ครับ ส่วนที่อื่นไม่ทราบ หากเป็นไปตามสนธิสัญญารับได้ไหมล่ะครับ หรือจะฉีกสนธิสัญญาทิ้ง

Tag3Bild17.jpg

The Cambodia–Thailand boundary stretches approximately 499 miles from the Gulf of

Siam northward and then eastward to the Laos tripoint at the Col (pass) de Preah

Chambot near the Mekong River. The boundary has been delimited by a series of

agreements between France and Thailand during the period when Cambodia was under

French control. Part of the boundary has been demarcated. For 326 miles, watersheds

form the boundary while streams (130 miles) and straight line segments (43 miles)

complete the total.

 

..............

..................

 

After Cambodia regained its independence, a border problem came to light again

involving a "lost" Khmer temple, Preah Vihear, situated on the edge of the Dangrek

escarpment. Thai police forces had occupied the temple and began to perform

administrative actions. Cambodia protested but did not force the issue. Finally, in

1959, the question of sovereignty was submitted to the International Court of Justice.

Thailand's position was that the temple was north of the watershed line specified as the

Dangrek boundary by the 1904 and 1907 treaties. Cambodia based its case on the

delimitation commission map which showed that the boundary in places deviated from

the watershed; Preah Vihear was only one instance. In 1962, the Court ruled that the

map of the eastern Dangrek range was valid and the temple was Cambodian. Although

pleased by the favorable ICJ decision, Cambodia has felt somewhat frustrated over the

fact that the Thai, while accepting the decision de facto, have maintained a rather vague

reservation with respect to it. Cambodia has recently called for an international

conference on the "neutrality and territorial integrity" of Cambodia to seek inter alia

formal Thai acceptance of the validity of the Thai–French treaties which delimit the

boundary (which the Thai maintain were entered into under duress) and of the 1962

decision of the ICJ. While expressing willingness to agree to some formulation showing

their acceptance of the status quo, the Thai have not been willing to express it in this

way. Thus while there is no active boundary dispute between the two countries at the

moment, the history of such disputes is an important factor in the extremely bad Thai–

Cambodian relations of the present.

 

อันนี้เป็นการวิจัยของInternational Boundary Study ของสหรัฐ  จาก

http://www.law.fsu.e...seas/ibs040.pdf

 

ถ้าฝรั่งเศสไม่ยอมรับว่า ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน ทำไมไม่ปักปันเขตแดนตรงบริเวณหน้าผาที่ตนเองคิดว่าเป็นเขตแดนครับ ปล่อยว่างไว้ทำไม แล้วบอกว่าปักปันเขตแดนกันเสร็จแล้ว ในสมัย ร.5 ครับ


Edited by Stargate-1, 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 09:01.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#107 nornoo

nornoo

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,578 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 01:40

ไม่มีไหนในโลกเขายอมมห้แผ่นดินของตัวเองตามสิทธิอันชอบธรม
ยิมยกให้ประเทศอื่นไปฟรีๆ
อังกฤษกับอาเจนติน่า มันยังเถียงทะเลาะกันทุกวัน
หมู่เกาะสแปรตลี่มันยังเถียงกัน
แต่รัฐบาลไทยใจเขมร ยอมยกให้เพราะสัมปเวสีที่ดูไบ เอาจะเแาผลประโยชน์ส่วนตัวเป็นที่ตั้ง
ทุรน อนาถยิ่งนัก รวมทั้งชาติควายใจหมาเผาเมืองในเวปนี้

#108 redfrog53

redfrog53

    เกิดที่รัสเซีย มาโตที่ สรท.

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 25,221 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 04:45

423989_433660936707599_139288835_n.jpg  
หลังจาก อาร์เจนตินา แพ้สงครามยกหมู่เกาะฟอล์คแลนด์ให้อังกฤษไปอย่างไม่เป็นทางการตั้งแต่30ปีที่แล้ว ปัจจุบันนี้ก็เริ่มมาทวงคืนอีก แต่อังกฤษก็ไม่ยอมและมีท่าทีว่าอาจจะต้องเกิดสงครามขึ้นอีกครั้งหนึ่ง 
 
ข้อสังเกตุในเรื่องนี้ มีอยู่3ประการครับ 
(1)อาร์เจนตินา นั้นคล้ายคลึงไทย ใช้ประชานิยมล่อประชาประธานาธิบดีก็เป็นผู้หญิง ที่ไม่เป็นตัวของตัวเองเหมือนๆไทย (2)ตอนนี้เศรษกิจอาร์เจนตินากำลังลงเหวอีกครั้งหนึ่ง ประชาชนด่ากันมาก การบิดเบื่อนสร้างกระแสร์ชาตินิยมจึงเกิดขึ้นด้วยการท้วงคืน เกาะฟอล์คแลนด์ เหมือนเขมรหาเรื่องรบไทย ซึ่งได้ผลระดับหนึ่ง (3)อังกฤษไม่ยอมแน่ แม้หมู่เกาะฟอล์คแลนด์จะไกลขนาดไหนก็ต้องไปป้องกัน ยิ่งตอนนี้ลงทุนพัฒนาไปแยะแล้วด้วย ของเราแค่เขาพระวิหารยังเฉยๆๆๆๆ
ใครว่าเรื่องพรหมแดนไม่สำคัญ มันสำคัญยิ่งกว่าอะไรทั้งหมดครับ เพราะสมัยนี้จะหาใหม่ไม่ได้อีกแล้ว ทุกประเทศสู้ตายกันทั้งนั้นครับ ยกเว้นประเทศที่ผมอยู่ดูท่าทีไม่ออกครับ
Nuntdach Makswat
 

Posted Image

#109 redfrog53

redfrog53

    เกิดที่รัสเซีย มาโตที่ สรท.

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 25,221 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 04:53

305153_10151333845174346_919661792_n.jpg  
ไม่มีกรอบเราไม่สามารถกำหนดการเจรจาได้.....ไม่ได้แน่นอน เพราะกัมพูชา มั่วเอาได้ตลอดเราจึงต้องวางกรอบคุย โดยใช้ MOU 2543
 
แพรต ช่วยลอกไปให้แป๊ะลิ้มฯมหาเมทมนต์ดำด้วยนะ

Posted Image

#110 phat21

phat21

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,969 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:51

423989_433660936707599_139288835_n.jpg
หลังจาก อาร์เจนตินา แพ้สงครามยกหมู่เกาะฟอล์คแลนด์ให้อังกฤษไปอย่างไม่เป็นทางการตั้งแต่30ปีที่แล้ว ปัจจุบันนี้ก็เริ่มมาทวงคืนอีก แต่อังกฤษก็ไม่ยอมและมีท่าทีว่าอาจจะต้องเกิดสงครามขึ้นอีกครั้งหนึ่ง 
 
ข้อสังเกตุในเรื่องนี้ มีอยู่3ประการครับ 
(1)อาร์เจนตินา นั้นคล้ายคลึงไทย ใช้ประชานิยมล่อประชาประธานาธิบดีก็เป็นผู้หญิง ที่ไม่เป็นตัวของตัวเองเหมือนๆไทย (2)ตอนนี้เศรษกิจอาร์เจนตินากำลังลงเหวอีกครั้งหนึ่ง ประชาชนด่ากันมาก การบิดเบื่อนสร้างกระแสร์ชาตินิยมจึงเกิดขึ้นด้วยการท้วงคืน เกาะฟอล์คแลนด์ เหมือนเขมรหาเรื่องรบไทย ซึ่งได้ผลระดับหนึ่ง (3)อังกฤษไม่ยอมแน่ แม้หมู่เกาะฟอล์คแลนด์จะไกลขนาดไหนก็ต้องไปป้องกัน ยิ่งตอนนี้ลงทุนพัฒนาไปแยะแล้วด้วย ของเราแค่เขาพระวิหารยังเฉยๆๆๆๆ
 
ใครว่าเรื่องพรหมแดนไม่สำคัญ มันสำคัญยิ่งกว่าอะไรทั้งหมดครับ เพราะสมัยนี้จะหาใหม่ไม่ได้อีกแล้ว ทุกประเทศสู้ตายกันทั้งนั้นครับ ยกเว้นประเทศที่ผมอยู่ดูท่าทีไม่ออกครับ
Nuntdach Makswat
 

ไอ้มาร์ค หาเรื่องขายชาติโดยอ้างสันติสู้ชาติมหาอํานาจหรือชาติเล็กไม่ได้ปกป้องดินแดนเอาเป็นเอาตายต่อให้รบก็ยอมไม่มีพิพาทดินแดนไหนไปขึ้นศาลโลก ไอ้พวกนี้มาเทียบกับพรรคควายแดงหรือแมลงสาปมิได้เพราะขายชาติทั้งคู่


Posted Image Posted Image Posted ImagePosted Image Posted Image Posted Image Posted Imageไอ้สนธิบังเละ ไอ้ขิงเน่า+ไอ้มาร์คไอ้เทพเทือกคือตัวการให้ระบอบทักษิณยังลอยนวล

#111 phat21

phat21

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,969 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:53

305153_10151333845174346_919661792_n.jpg
ไม่มีกรอบเราไม่สามารถกำหนดการเจรจาได้.....ไม่ได้แน่นอน เพราะกัมพูชา มั่วเอาได้ตลอดเราจึงต้องวางกรอบคุย โดยใช้ MOU 2543
 
แพรต ช่วยลอกไปให้แป๊ะลิ้มฯมหาเมทมนต์ดำด้วยนะ

กรอบแบบไหนครับไม่เรื่องดินแดนอธิปไตยไม่มีชาติไหนลงสัญญาหรือมีกรอบถ้ากรอบเจรจาที่เซนมันมี แผนที่ รุกมาในดินแดนไทยมันรับไม่ได้อยู่แล้ว   เรื่องเขตแดงอธิปไตยต่อให้ออกนอกลู่นอกทางมันก็ต้องยอม ครับ 55555555555555555   ไอ้เขมรมันคุยไม่รู้เรื่องนอกจากไม่คุยแล้วมันยังส่งทหารมายึดดินแดนไทยมากขึ้น แต่ของเราแสร้งยึดหลักบ้าๆแล้วปล่อยเขมรยึด 4.6และหลายพื้นที่ทุเรศ  ผมเบื่อแล้วว่ะกับสันติจอมปลอม   เขมรมั่วเราก็มั่วชาติอื่นมันมั่วหมดเพราะเขารักดินแดนสัมพันธ์จะเป็นยังไงชั่งมัน  จะใช้ปากให้ตายเขมรมันไม่ไปหรอกโว้ยไอ้พวกแมลงสาปงี่เง่า    ถ้าจะปักปันจริงๆมันต้องเขียนให้ชัดว่าต้องไม่มี 1ต่อ2แสนแต่นี่มันมี 1ต่อ2แสนที่ขัด 1904 และ 1907 มันก็ปักปันไม่เป็นธรรมแล้ว

 

 

ศาลโลกเช่นกันรู้ว่าศาลโลกมันศาลการเมืองไปเมื่อไหร่แพ้ทันทีแต่พวกแมลงสาปแกล้งโง่ไปแล้วไอ้แม้วสวมตอต่อไปเพื่อขายชาติ

 

 

แถเข้าไปพวกแมลงสาปพวกนี้ทําลายความรักชาติจนสิ้น


Edited by phat21, 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 13:00.

Posted Image Posted Image Posted ImagePosted Image Posted Image Posted Image Posted Imageไอ้สนธิบังเละ ไอ้ขิงเน่า+ไอ้มาร์คไอ้เทพเทือกคือตัวการให้ระบอบทักษิณยังลอยนวล

#112 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 20:19

 

ถ้าฝรั่งเศสไม่ยอมรับว่า ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน ทำไมไม่ปักปันเขตแดนตรงบริเวณหน้าผาที่ตนเองคิดว่าเป็นเขตแดนครับ ปล่อยว่างไว้ทำไม แล้วบอกว่าปักปันเขตแดนกันเสร็จแล้ว ในสมัย ร.5 ครับ

สนธิสัญญาไม่ได้เจาะจงแค่เขาพระวิหารลูกเดียวครับ เขตแดนสยามกับอินโดจีนยาวกี่กิโลเมตรครับ มีภูเขากี่ลูกครับ จะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดนคงต้องไปนิยามเรื่องหน้าผาของเขาแต่ละลูกก่อนกระมังว่าเริ่มจากจุดไหนบ้างแล้วเขตรายละเอียดลงสนธิสัญญาทั้งหมดไม่ทราบว่าทำกี่ปีเสร็จครับ ในเมื่อในสนธิสัญญาก็ให้การปักปันเขตแดนเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการเขตแดนอีกทีหนึ่งไงครับ ผลปักปันว่าไงล่ะเอาหลักฐานมาแสดงสิ (ถ้ามีจริงคงเอาไปใช้ในศาลโลกตั้งแต่ปี 2505 แล้วล่ะ) อย่าว่าแต่ฝรั่งเศสปล่อยว่างเลย (จริง ๆ ก็ไม่ได้ปล่อยว่างในเมื่อแผนที่ที่มันทำขึ้นเองก็ไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำจึงไม่ต้องสนแนวหน้าผาเลยด้วยซ้ำ) ไทยเองก็ไม่ได้สนใจเขตแดนตามสนธิสัญญาบริเวณเขาพระวิหารเลยจนโดนเอาขึ้นศาลโลก ถ้าสนใจจริงทำไมถึงใช้แผนที่ L708 มิทราบ


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#113 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 20:38

 

ถ้าฝรั่งเศสไม่ยอมรับว่า ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน ทำไมไม่ปักปันเขตแดนตรงบริเวณหน้าผาที่ตนเองคิดว่าเป็นเขตแดนครับ ปล่อยว่างไว้ทำไม แล้วบอกว่าปักปันเขตแดนกันเสร็จแล้ว ในสมัย ร.5 ครับ

สนธิสัญญาไม่ได้เจาะจงแค่เขาพระวิหารลูกเดียวครับ เขตแดนสยามกับอินโดจีนยาวกี่กิโลเมตรครับ มีภูเขากี่ลูกครับ จะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดนคงต้องไปนิยามเรื่องหน้าผาของเขาแต่ละลูกก่อนกระมังว่าเริ่มจากจุดไหนบ้างแล้วเขตรายละเอียดลงสนธิสัญญาทั้งหมดไม่ทราบว่าทำกี่ปีเสร็จครับ ในเมื่อในสนธิสัญญาก็ให้การปักปันเขตแดนเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการเขตแดนอีกทีหนึ่งไงครับ ผลปักปันว่าไงล่ะเอาหลักฐานมาแสดงสิ (ถ้ามีจริงคงเอาไปใช้ในศาลโลกตั้งแต่ปี 2505 แล้วล่ะ) อย่าว่าแต่ฝรั่งเศสปล่อยว่างเลย (จริง ๆ ก็ไม่ได้ปล่อยว่างในเมื่อแผนที่ที่มันทำขึ้นเองก็ไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำจึงไม่ต้องสนแนวหน้าผาเลยด้วยซ้ำ) ไทยเองก็ไม่ได้สนใจเขตแดนตามสนธิสัญญาบริเวณเขาพระวิหารเลยจนโดนเอาขึ้นศาลโลก ถ้าสนใจจริงทำไมถึงใช้แผนที่ L708 มิทราบ

 

The Cambodia–Thailand boundary stretches approximately 499 miles from the Gulf of

Siam northward and then eastward to the Laos tripoint at the Col (pass) de Preah

Chambot near the Mekong River. The boundary has been delimited by a series of

agreements between France and Thailand during the period when Cambodia was under

French control. Part of the boundary has been demarcated. For 326 miles, watersheds

form the boundary while streams (130 miles) and straight line segments (43 miles)

complete the total

      
              
        เส้นเขตแดนไทยกัมพูชานั้นได้จัดทำเสร็จสิ้นไปเมื่อ 103 ปีที่แล้ว ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกำหนดให้เส้นเขตแดนบริเวณทิวเขาดงรัก จากช่องสะงำ จ. ศรีสะเกษ จนถึง ช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาว 195 กิโลเมตร (รวมเขาพระวิหาร) นั้นให้ใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำและเส้นเขตแดนตามธรรมชาติ และสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงไม่ต้องทำหลักเขตแดนใดๆ ทั้งสิ้น
       
       ตัวอย่างหลักฐาน “ผลงาน” การเดินสำรวจและปักปันเขตแดนระหว่างสยามกับฝรั่งเศสได้แก่ เอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศสของคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศสชุดแรก ที่จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญา ค.ศ.1904 ซึ่งได้แสดงที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2450 อ ความตอนหนึ่งว่า:
       
       “ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”
       
       ปกติแล้วเส้นสันปันน้ำหากไม่ใช้ขอบหน้าผาแล้วจะมองเห็นด้วยตาเปล่าไม่ง่ายนักจึงย่อมต้องทำหลักเขตแดนเป็นสัญลักษณ์เอาไว้ แต่การที่ประธานสำรวจและปักปันฝ่ายฝรั่งเศส มองเห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้งย่อมแสดงว่าต้องเป็นขอบหน้าผาเท่านั้นจึงจะสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
       
       หลักฐานอีกชิ้นหนึ่งก็คือบันทึกรายงานของ พันเอก มองกิเอร์ ประธานกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสในคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศส ชุดที่ 2 ซึ่งจัดตั้งขึ้นมาตามสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 (พ.ศ. 2450) ได้ยืนยันตามผลงานการสำรวจและปักปันของคณะกรรมการชุดแรกว่าขอบหน้าผาคือสันปันน้ำอย่างชัดเจนว่า:
       
        “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
       
       นี่คือเหตุผลหลักในการตอบคำถามว่าทำไมคณะกรรมการปักปันสยาม-ฝรั่งเศส ชุดที่ 2 จึงเริ่มทำหลักเขตแดนทางบก “หมายเลข 1” ที่ ช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ ไปทางทิศตะวันตก จรดไปจนถึงจังหวัดตราดและตัวหลักเขตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆไปทางทิศตะวันตก โดยปล่อยทิ้งด้านทิศตะวันออกจนถึงช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาวถึง 195 กิโลเมตรว่าไม่ต้องทำหลักเขตแดน เพราะสามารถเห็นหน้าผาเป็นเส้นเขตแดนที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากตีนภูเขาดงรัก
       


 


Edited by Stargate-1, 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 20:40.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#114 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:29

 

ถ้าฝรั่งเศสไม่ยอมรับว่า ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน ทำไมไม่ปักปันเขตแดนตรงบริเวณหน้าผาที่ตนเองคิดว่าเป็นเขตแดนครับ ปล่อยว่างไว้ทำไม แล้วบอกว่าปักปันเขตแดนกันเสร็จแล้ว ในสมัย ร.5 ครับ

สนธิสัญญาไม่ได้เจาะจงแค่เขาพระวิหารลูกเดียวครับ เขตแดนสยามกับอินโดจีนยาวกี่กิโลเมตรครับ มีภูเขากี่ลูกครับ จะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดนคงต้องไปนิยามเรื่องหน้าผาของเขาแต่ละลูกก่อนกระมังว่าเริ่มจากจุดไหนบ้างแล้วเขตรายละเอียดลงสนธิสัญญาทั้งหมดไม่ทราบว่าทำกี่ปีเสร็จครับ ในเมื่อในสนธิสัญญาก็ให้การปักปันเขตแดนเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการเขตแดนอีกทีหนึ่งไงครับ ผลปักปันว่าไงล่ะเอาหลักฐานมาแสดงสิ (ถ้ามีจริงคงเอาไปใช้ในศาลโลกตั้งแต่ปี 2505 แล้วล่ะ) อย่าว่าแต่ฝรั่งเศสปล่อยว่างเลย (จริง ๆ ก็ไม่ได้ปล่อยว่างในเมื่อแผนที่ที่มันทำขึ้นเองก็ไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำจึงไม่ต้องสนแนวหน้าผาเลยด้วยซ้ำ) ไทยเองก็ไม่ได้สนใจเขตแดนตามสนธิสัญญาบริเวณเขาพระวิหารเลยจนโดนเอาขึ้นศาลโลก ถ้าสนใจจริงทำไมถึงใช้แผนที่ L708 มิทราบ

 

The Cambodia–Thailand boundary stretches approximately 499 miles from the Gulf of

Siam northward and then eastward to the Laos tripoint at the Col (pass) de Preah

Chambot near the Mekong River. The boundary has been delimited by a series of

agreements between France and Thailand during the period when Cambodia was under

French control. Part of the boundary has been demarcated. For 326 miles, watersheds

form the boundary while streams (130 miles) and straight line segments (43 miles)

complete the total

      
              
        เส้นเขตแดนไทยกัมพูชานั้นได้จัดทำเสร็จสิ้นไปเมื่อ 103 ปีที่แล้ว ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกำหนดให้เส้นเขตแดนบริเวณทิวเขาดงรัก จากช่องสะงำ จ. ศรีสะเกษ จนถึง ช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาว 195 กิโลเมตร (รวมเขาพระวิหาร) นั้นให้ใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำและเส้นเขตแดนตามธรรมชาติ และสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงไม่ต้องทำหลักเขตแดนใดๆ ทั้งสิ้น
       
       ตัวอย่างหลักฐาน “ผลงาน” การเดินสำรวจและปักปันเขตแดนระหว่างสยามกับฝรั่งเศสได้แก่ เอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศสของคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศสชุดแรก ที่จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญา ค.ศ.1904 ซึ่งได้แสดงที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2450 อ ความตอนหนึ่งว่า:
       
       “ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”
       
       ปกติแล้วเส้นสันปันน้ำหากไม่ใช้ขอบหน้าผาแล้วจะมองเห็นด้วยตาเปล่าไม่ง่ายนักจึงย่อมต้องทำหลักเขตแดนเป็นสัญลักษณ์เอาไว้ แต่การที่ประธานสำรวจและปักปันฝ่ายฝรั่งเศส มองเห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้งย่อมแสดงว่าต้องเป็นขอบหน้าผาเท่านั้นจึงจะสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
       
       หลักฐานอีกชิ้นหนึ่งก็คือบันทึกรายงานของ พันเอก มองกิเอร์ ประธานกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสในคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศส ชุดที่ 2 ซึ่งจัดตั้งขึ้นมาตามสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 (พ.ศ. 2450) ได้ยืนยันตามผลงานการสำรวจและปักปันของคณะกรรมการชุดแรกว่าขอบหน้าผาคือสันปันน้ำอย่างชัดเจนว่า:
       
        “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
       
       นี่คือเหตุผลหลักในการตอบคำถามว่าทำไมคณะกรรมการปักปันสยาม-ฝรั่งเศส ชุดที่ 2 จึงเริ่มทำหลักเขตแดนทางบก “หมายเลข 1” ที่ ช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ ไปทางทิศตะวันตก จรดไปจนถึงจังหวัดตราดและตัวหลักเขตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆไปทางทิศตะวันตก โดยปล่อยทิ้งด้านทิศตะวันออกจนถึงช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาวถึง 195 กิโลเมตรว่าไม่ต้องทำหลักเขตแดน เพราะสามารถเห็นหน้าผาเป็นเส้นเขตแดนที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากตีนภูเขาดงรัก
       


 

ภูเขาดงรักมันตรงส่วนไหนบ้างล่ะครับ ถ้าใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำขัดแย้งกับภูมิประเทศจริงไหมครับ หรือน้ำตรงส่วนเขาพระวิหารมีปรากฎการณ์น้ำไหลขึ้นที่สูงได้กันครับ ยังไม่นับเรื่องที่ความยาว 195 กิโลเมตรนั้นไม่ได้เป็นหน้าผาทั้งหมดอีก จึงขัดแย้งประโยคที่ว่า “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก” เพราะหลายจุดมีสันปันน้ำแต่ไม่มีหน้าผา

36786310528aea5cec2bz.jpg

ภาพที่ยกมาก็หาจุดที่จะเป็นสันปันน้ำได้เช่นกันเพราะสูงกว่าด้านล่างชัดเจน

 

สนธิสัญญาให้ใช้สันปันน้ำเป็นเขตแดน ถ้าสันปันน้ำเปลี่ยนแปลง เขตแดนยังคงเดิมหรือเปลี่ยนแปลงด้วยครับ

 

อ้างเอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศส แล้วประธานฝ่ายไทยรับรองยังครับ แสดงหลักฐานมาด้วยสิครับ ไม่งั้นฝ่ายฝรั่งเศสก็สามารถอ้างแผนที่ที่ทำขึ้นโดยประธานฝ่ายฝรั่งเศสได้เช่นกัน

 

ตกลงเทคโนโลยีสมัยร้อยกว่าปีก่อนก็เทียบเท่าสมัยนี้แล้วใช่ไหมครับ คุณไม่คิดว่ามันจะผิดพลาดใช่ไหมครับ

 

แล้วลองอ่านประโยคนี้ที่ยกมาดี ๆ นะครับ

 

 ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”

1. หน้าผาอยู่ตรงกับยอดภูเขาดงรักหรือครับ

2. ถ้ายอดภูเขาดงรักคือสันปันน้ำ แล้วคำว่าทางเหนือนี่หมายถึงอะไร ถ้าหมายถึงทิศ ก็เสียท่าฝรั่งเศสแล้วล่ะครับเพราะทางเหนือยอดนั่นมันก็เข้ามาฝั่งไทย


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#115 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:33

 

ถ้าฝรั่งเศสไม่ยอมรับว่า ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน ทำไมไม่ปักปันเขตแดนตรงบริเวณหน้าผาที่ตนเองคิดว่าเป็นเขตแดนครับ ปล่อยว่างไว้ทำไม แล้วบอกว่าปักปันเขตแดนกันเสร็จแล้ว ในสมัย ร.5 ครับ

สนธิสัญญาไม่ได้เจาะจงแค่เขาพระวิหารลูกเดียวครับ เขตแดนสยามกับอินโดจีนยาวกี่กิโลเมตรครับ มีภูเขากี่ลูกครับ จะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดนคงต้องไปนิยามเรื่องหน้าผาของเขาแต่ละลูกก่อนกระมังว่าเริ่มจากจุดไหนบ้างแล้วเขตรายละเอียดลงสนธิสัญญาทั้งหมดไม่ทราบว่าทำกี่ปีเสร็จครับ ในเมื่อในสนธิสัญญาก็ให้การปักปันเขตแดนเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการเขตแดนอีกทีหนึ่งไงครับ ผลปักปันว่าไงล่ะเอาหลักฐานมาแสดงสิ (ถ้ามีจริงคงเอาไปใช้ในศาลโลกตั้งแต่ปี 2505 แล้วล่ะ) อย่าว่าแต่ฝรั่งเศสปล่อยว่างเลย (จริง ๆ ก็ไม่ได้ปล่อยว่างในเมื่อแผนที่ที่มันทำขึ้นเองก็ไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำจึงไม่ต้องสนแนวหน้าผาเลยด้วยซ้ำ) ไทยเองก็ไม่ได้สนใจเขตแดนตามสนธิสัญญาบริเวณเขาพระวิหารเลยจนโดนเอาขึ้นศาลโลก ถ้าสนใจจริงทำไมถึงใช้แผนที่ L708 มิทราบ

 

The Cambodia–Thailand boundary stretches approximately 499 miles from the Gulf of

Siam northward and then eastward to the Laos tripoint at the Col (pass) de Preah

Chambot near the Mekong River. The boundary has been delimited by a series of

agreements between France and Thailand during the period when Cambodia was under

French control. Part of the boundary has been demarcated. For 326 miles, watersheds

form the boundary while streams (130 miles) and straight line segments (43 miles)

complete the total

      
              
        เส้นเขตแดนไทยกัมพูชานั้นได้จัดทำเสร็จสิ้นไปเมื่อ 103 ปีที่แล้ว ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกำหนดให้เส้นเขตแดนบริเวณทิวเขาดงรัก จากช่องสะงำ จ. ศรีสะเกษ จนถึง ช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาว 195 กิโลเมตร (รวมเขาพระวิหาร) นั้นให้ใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำและเส้นเขตแดนตามธรรมชาติ และสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงไม่ต้องทำหลักเขตแดนใดๆ ทั้งสิ้น
       
       ตัวอย่างหลักฐาน “ผลงาน” การเดินสำรวจและปักปันเขตแดนระหว่างสยามกับฝรั่งเศสได้แก่ เอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศสของคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศสชุดแรก ที่จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญา ค.ศ.1904 ซึ่งได้แสดงที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2450 อ ความตอนหนึ่งว่า:
       
       “ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”
       
       ปกติแล้วเส้นสันปันน้ำหากไม่ใช้ขอบหน้าผาแล้วจะมองเห็นด้วยตาเปล่าไม่ง่ายนักจึงย่อมต้องทำหลักเขตแดนเป็นสัญลักษณ์เอาไว้ แต่การที่ประธานสำรวจและปักปันฝ่ายฝรั่งเศส มองเห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้งย่อมแสดงว่าต้องเป็นขอบหน้าผาเท่านั้นจึงจะสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
       
       หลักฐานอีกชิ้นหนึ่งก็คือบันทึกรายงานของ พันเอก มองกิเอร์ ประธานกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสในคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศส ชุดที่ 2 ซึ่งจัดตั้งขึ้นมาตามสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 (พ.ศ. 2450) ได้ยืนยันตามผลงานการสำรวจและปักปันของคณะกรรมการชุดแรกว่าขอบหน้าผาคือสันปันน้ำอย่างชัดเจนว่า:
       
        “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
       
       นี่คือเหตุผลหลักในการตอบคำถามว่าทำไมคณะกรรมการปักปันสยาม-ฝรั่งเศส ชุดที่ 2 จึงเริ่มทำหลักเขตแดนทางบก “หมายเลข 1” ที่ ช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ ไปทางทิศตะวันตก จรดไปจนถึงจังหวัดตราดและตัวหลักเขตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆไปทางทิศตะวันตก โดยปล่อยทิ้งด้านทิศตะวันออกจนถึงช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาวถึง 195 กิโลเมตรว่าไม่ต้องทำหลักเขตแดน เพราะสามารถเห็นหน้าผาเป็นเส้นเขตแดนที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากตีนภูเขาดงรัก
       


 

ภูเขาดงรักมันตรงส่วนไหนบ้างล่ะครับ ถ้าใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำขัดแย้งกับภูมิประเทศจริงไหมครับ หรือน้ำตรงส่วนเขาพระวิหารมีปรากฎการณ์น้ำไหลขึ้นที่สูงได้กันครับ ยังไม่นับเรื่องที่ความยาว 195 กิโลเมตรนั้นไม่ได้เป็นหน้าผาทั้งหมดอีก จึงขัดแย้งประโยคที่ว่า “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก” เพราะหลายจุดมีสันปันน้ำแต่ไม่มีหน้าผา

 

ภาพที่ยกมาก็หาจุดที่จะเป็นสันปันน้ำได้เช่นกันเพราะสูงกว่าด้านล่างชัดเจน

 

สนธิสัญญาให้ใช้สันปันน้ำเป็นเขตแดน ถ้าสันปันน้ำเปลี่ยนแปลง เขตแดนยังคงเดิมหรือเปลี่ยนแปลงด้วยครับ

 

อ้างเอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศส แล้วประธานฝ่ายไทยรับรองยังครับ แสดงหลักฐานมาด้วยสิครับ ไม่งั้นฝ่ายฝรั่งเศสก็สามารถอ้างแผนที่ที่ทำขึ้นโดยประธานฝ่ายฝรั่งเศสได้เช่นกัน

 

ตกลงเทคโนโลยีสมัยร้อยกว่าปีก่อนก็เทียบเท่าสมัยนี้แล้วใช่ไหมครับ คุณไม่คิดว่ามันจะผิดพลาดใช่ไหมครับ

 

แล้วลองอ่านประโยคนี้ที่ยกมาดี ๆ นะครับ

 

 ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”

1. หน้าผาอยู่ตรงกับยอดภูเขาดงรักหรือครับ

2. ถ้ายอดภูเขาดงรักคือสันปันน้ำ แล้วคำว่าทางเหนือนี่หมายถึงอะไร ถ้าหมายถึงทิศ ก็เสียท่าฝรั่งเศสแล้วล่ะครับเพราะทางเหนือยอดนั่นมันก็เข้ามาฝั่งไทย

 

MapPVH12.jpg

 

 

แล้วมีหลักเขตให้เห็นบ้างไหมครับที่บนเขาพระวิหาร


Edited by Stargate-1, 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:43.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#116 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 21:50

 

ถ้าฝรั่งเศสไม่ยอมรับว่า ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน ทำไมไม่ปักปันเขตแดนตรงบริเวณหน้าผาที่ตนเองคิดว่าเป็นเขตแดนครับ ปล่อยว่างไว้ทำไม แล้วบอกว่าปักปันเขตแดนกันเสร็จแล้ว ในสมัย ร.5 ครับ

สนธิสัญญาไม่ได้เจาะจงแค่เขาพระวิหารลูกเดียวครับ เขตแดนสยามกับอินโดจีนยาวกี่กิโลเมตรครับ มีภูเขากี่ลูกครับ จะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดนคงต้องไปนิยามเรื่องหน้าผาของเขาแต่ละลูกก่อนกระมังว่าเริ่มจากจุดไหนบ้างแล้วเขตรายละเอียดลงสนธิสัญญาทั้งหมดไม่ทราบว่าทำกี่ปีเสร็จครับ ในเมื่อในสนธิสัญญาก็ให้การปักปันเขตแดนเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการเขตแดนอีกทีหนึ่งไงครับ ผลปักปันว่าไงล่ะเอาหลักฐานมาแสดงสิ (ถ้ามีจริงคงเอาไปใช้ในศาลโลกตั้งแต่ปี 2505 แล้วล่ะ) อย่าว่าแต่ฝรั่งเศสปล่อยว่างเลย (จริง ๆ ก็ไม่ได้ปล่อยว่างในเมื่อแผนที่ที่มันทำขึ้นเองก็ไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำจึงไม่ต้องสนแนวหน้าผาเลยด้วยซ้ำ) ไทยเองก็ไม่ได้สนใจเขตแดนตามสนธิสัญญาบริเวณเขาพระวิหารเลยจนโดนเอาขึ้นศาลโลก ถ้าสนใจจริงทำไมถึงใช้แผนที่ L708 มิทราบ

 

The Cambodia–Thailand boundary stretches approximately 499 miles from the Gulf of

Siam northward and then eastward to the Laos tripoint at the Col (pass) de Preah

Chambot near the Mekong River. The boundary has been delimited by a series of

agreements between France and Thailand during the period when Cambodia was under

French control. Part of the boundary has been demarcated. For 326 miles, watersheds

form the boundary while streams (130 miles) and straight line segments (43 miles)

complete the total

      
              
        เส้นเขตแดนไทยกัมพูชานั้นได้จัดทำเสร็จสิ้นไปเมื่อ 103 ปีที่แล้ว ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกำหนดให้เส้นเขตแดนบริเวณทิวเขาดงรัก จากช่องสะงำ จ. ศรีสะเกษ จนถึง ช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาว 195 กิโลเมตร (รวมเขาพระวิหาร) นั้นให้ใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำและเส้นเขตแดนตามธรรมชาติ และสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงไม่ต้องทำหลักเขตแดนใดๆ ทั้งสิ้น
       
       ตัวอย่างหลักฐาน “ผลงาน” การเดินสำรวจและปักปันเขตแดนระหว่างสยามกับฝรั่งเศสได้แก่ เอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศสของคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศสชุดแรก ที่จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญา ค.ศ.1904 ซึ่งได้แสดงที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2450 อ ความตอนหนึ่งว่า:
       
       “ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”
       
       ปกติแล้วเส้นสันปันน้ำหากไม่ใช้ขอบหน้าผาแล้วจะมองเห็นด้วยตาเปล่าไม่ง่ายนักจึงย่อมต้องทำหลักเขตแดนเป็นสัญลักษณ์เอาไว้ แต่การที่ประธานสำรวจและปักปันฝ่ายฝรั่งเศส มองเห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้งย่อมแสดงว่าต้องเป็นขอบหน้าผาเท่านั้นจึงจะสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
       
       หลักฐานอีกชิ้นหนึ่งก็คือบันทึกรายงานของ พันเอก มองกิเอร์ ประธานกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสในคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศส ชุดที่ 2 ซึ่งจัดตั้งขึ้นมาตามสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 (พ.ศ. 2450) ได้ยืนยันตามผลงานการสำรวจและปักปันของคณะกรรมการชุดแรกว่าขอบหน้าผาคือสันปันน้ำอย่างชัดเจนว่า:
       
        “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
       
       นี่คือเหตุผลหลักในการตอบคำถามว่าทำไมคณะกรรมการปักปันสยาม-ฝรั่งเศส ชุดที่ 2 จึงเริ่มทำหลักเขตแดนทางบก “หมายเลข 1” ที่ ช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ ไปทางทิศตะวันตก จรดไปจนถึงจังหวัดตราดและตัวหลักเขตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆไปทางทิศตะวันตก โดยปล่อยทิ้งด้านทิศตะวันออกจนถึงช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาวถึง 195 กิโลเมตรว่าไม่ต้องทำหลักเขตแดน เพราะสามารถเห็นหน้าผาเป็นเส้นเขตแดนที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากตีนภูเขาดงรัก
       


 

ภูเขาดงรักมันตรงส่วนไหนบ้างล่ะครับ ถ้าใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำขัดแย้งกับภูมิประเทศจริงไหมครับ หรือน้ำตรงส่วนเขาพระวิหารมีปรากฎการณ์น้ำไหลขึ้นที่สูงได้กันครับ ยังไม่นับเรื่องที่ความยาว 195 กิโลเมตรนั้นไม่ได้เป็นหน้าผาทั้งหมดอีก จึงขัดแย้งประโยคที่ว่า “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก” เพราะหลายจุดมีสันปันน้ำแต่ไม่มีหน้าผา

36786310528aea5cec2bz.jpg

ภาพที่ยกมาก็หาจุดที่จะเป็นสันปันน้ำได้เช่นกันเพราะสูงกว่าด้านล่างชัดเจน

 

สนธิสัญญาให้ใช้สันปันน้ำเป็นเขตแดน ถ้าสันปันน้ำเปลี่ยนแปลง เขตแดนยังคงเดิมหรือเปลี่ยนแปลงด้วยครับ

 

อ้างเอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศส แล้วประธานฝ่ายไทยรับรองยังครับ แสดงหลักฐานมาด้วยสิครับ ไม่งั้นฝ่ายฝรั่งเศสก็สามารถอ้างแผนที่ที่ทำขึ้นโดยประธานฝ่ายฝรั่งเศสได้เช่นกัน

 

ตกลงเทคโนโลยีสมัยร้อยกว่าปีก่อนก็เทียบเท่าสมัยนี้แล้วใช่ไหมครับ คุณไม่คิดว่ามันจะผิดพลาดใช่ไหมครับ

 

แล้วลองอ่านประโยคนี้ที่ยกมาดี ๆ นะครับ

 

 ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”

1. หน้าผาอยู่ตรงกับยอดภูเขาดงรักหรือครับ

2. ถ้ายอดภูเขาดงรักคือสันปันน้ำ แล้วคำว่าทางเหนือนี่หมายถึงอะไร ถ้าหมายถึงทิศ ก็เสียท่าฝรั่งเศสแล้วล่ะครับเพราะทางเหนือยอดนั่นมันก็เข้ามาฝั่งไทย

 

แล้วมีหลักเขตให้เห็นบ้างไหมครับที่บนเขาพระวิหาร

ถ้าใช้สันปันน้ำก็ไม่ต้องใช้หลักเขตครับ แต่ถ้าสันปันน้ำเปลี่ยนแปลงก็งานเข้าประเทศใดประเทศหนึ่งนั่นแหละ เหมือนกับที่ใช้ร่องน้ำลึกของแม่น้ำเป็นเขตแดนหากแม่น้ำเปลี่ยนทิศทางก็ลุ้นเอาเองว่าจะได้หรือจะเสีย แต่ที่แน่ ๆ หลักเขตที่ปักปันไปแล้วทำไมถึงแจ้งพิกัดเส้นรุ้งเส้นแวงไม่ได้ล่ะครับหรือเทคโนโลยีสมัยนั้นไม่เพียงพอที่จะหาค่าที่ถูกต้องได้ พอไทยทำแผนที่ก็ดันทำตามตำแหน่งหลักเขตปัจจุบัน ทำไมไม่ทำตามตำแหน่งพิกัดเดิมของหลักเขตล่ะครับ อย่างว่าแต่หลักเขตเลย ขนาดแนวเส้นเขตแดนที่อ้างว่าทำตามสันปันน้ำยังไม่ตรงกันสักฉบับ คุณลองไปดูแผนที่ L708 L7017 L7018 เอาละกัน ทำไมเส้นถึงไม่ตรงครับในเมื่อบอกว่าปักปันเสร็จไปแล้วตั้งร้อยกว่าปี


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#117 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 22:07

 

ถ้าฝรั่งเศสไม่ยอมรับว่า ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน ทำไมไม่ปักปันเขตแดนตรงบริเวณหน้าผาที่ตนเองคิดว่าเป็นเขตแดนครับ ปล่อยว่างไว้ทำไม แล้วบอกว่าปักปันเขตแดนกันเสร็จแล้ว ในสมัย ร.5 ครับ

สนธิสัญญาไม่ได้เจาะจงแค่เขาพระวิหารลูกเดียวครับ เขตแดนสยามกับอินโดจีนยาวกี่กิโลเมตรครับ มีภูเขากี่ลูกครับ จะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดนคงต้องไปนิยามเรื่องหน้าผาของเขาแต่ละลูกก่อนกระมังว่าเริ่มจากจุดไหนบ้างแล้วเขตรายละเอียดลงสนธิสัญญาทั้งหมดไม่ทราบว่าทำกี่ปีเสร็จครับ ในเมื่อในสนธิสัญญาก็ให้การปักปันเขตแดนเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการเขตแดนอีกทีหนึ่งไงครับ ผลปักปันว่าไงล่ะเอาหลักฐานมาแสดงสิ (ถ้ามีจริงคงเอาไปใช้ในศาลโลกตั้งแต่ปี 2505 แล้วล่ะ) อย่าว่าแต่ฝรั่งเศสปล่อยว่างเลย (จริง ๆ ก็ไม่ได้ปล่อยว่างในเมื่อแผนที่ที่มันทำขึ้นเองก็ไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำจึงไม่ต้องสนแนวหน้าผาเลยด้วยซ้ำ) ไทยเองก็ไม่ได้สนใจเขตแดนตามสนธิสัญญาบริเวณเขาพระวิหารเลยจนโดนเอาขึ้นศาลโลก ถ้าสนใจจริงทำไมถึงใช้แผนที่ L708 มิทราบ

 

The Cambodia–Thailand boundary stretches approximately 499 miles from the Gulf of

Siam northward and then eastward to the Laos tripoint at the Col (pass) de Preah

Chambot near the Mekong River. The boundary has been delimited by a series of

agreements between France and Thailand during the period when Cambodia was under

French control. Part of the boundary has been demarcated. For 326 miles, watersheds

form the boundary while streams (130 miles) and straight line segments (43 miles)

complete the total

      
              
        เส้นเขตแดนไทยกัมพูชานั้นได้จัดทำเสร็จสิ้นไปเมื่อ 103 ปีที่แล้ว ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกำหนดให้เส้นเขตแดนบริเวณทิวเขาดงรัก จากช่องสะงำ จ. ศรีสะเกษ จนถึง ช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาว 195 กิโลเมตร (รวมเขาพระวิหาร) นั้นให้ใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำและเส้นเขตแดนตามธรรมชาติ และสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงไม่ต้องทำหลักเขตแดนใดๆ ทั้งสิ้น
       
       ตัวอย่างหลักฐาน “ผลงาน” การเดินสำรวจและปักปันเขตแดนระหว่างสยามกับฝรั่งเศสได้แก่ เอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศสของคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศสชุดแรก ที่จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญา ค.ศ.1904 ซึ่งได้แสดงที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2450 อ ความตอนหนึ่งว่า:
       
       “ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”
       
       ปกติแล้วเส้นสันปันน้ำหากไม่ใช้ขอบหน้าผาแล้วจะมองเห็นด้วยตาเปล่าไม่ง่ายนักจึงย่อมต้องทำหลักเขตแดนเป็นสัญลักษณ์เอาไว้ แต่การที่ประธานสำรวจและปักปันฝ่ายฝรั่งเศส มองเห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้งย่อมแสดงว่าต้องเป็นขอบหน้าผาเท่านั้นจึงจะสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
       
       หลักฐานอีกชิ้นหนึ่งก็คือบันทึกรายงานของ พันเอก มองกิเอร์ ประธานกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสในคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศส ชุดที่ 2 ซึ่งจัดตั้งขึ้นมาตามสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 (พ.ศ. 2450) ได้ยืนยันตามผลงานการสำรวจและปักปันของคณะกรรมการชุดแรกว่าขอบหน้าผาคือสันปันน้ำอย่างชัดเจนว่า:
       
        “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
       
       นี่คือเหตุผลหลักในการตอบคำถามว่าทำไมคณะกรรมการปักปันสยาม-ฝรั่งเศส ชุดที่ 2 จึงเริ่มทำหลักเขตแดนทางบก “หมายเลข 1” ที่ ช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ ไปทางทิศตะวันตก จรดไปจนถึงจังหวัดตราดและตัวหลักเขตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆไปทางทิศตะวันตก โดยปล่อยทิ้งด้านทิศตะวันออกจนถึงช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาวถึง 195 กิโลเมตรว่าไม่ต้องทำหลักเขตแดน เพราะสามารถเห็นหน้าผาเป็นเส้นเขตแดนที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากตีนภูเขาดงรัก
       


 

ภูเขาดงรักมันตรงส่วนไหนบ้างล่ะครับ ถ้าใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำขัดแย้งกับภูมิประเทศจริงไหมครับ หรือน้ำตรงส่วนเขาพระวิหารมีปรากฎการณ์น้ำไหลขึ้นที่สูงได้กันครับ ยังไม่นับเรื่องที่ความยาว 195 กิโลเมตรนั้นไม่ได้เป็นหน้าผาทั้งหมดอีก จึงขัดแย้งประโยคที่ว่า “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก” เพราะหลายจุดมีสันปันน้ำแต่ไม่มีหน้าผา

 

ภาพที่ยกมาก็หาจุดที่จะเป็นสันปันน้ำได้เช่นกันเพราะสูงกว่าด้านล่างชัดเจน

 

สนธิสัญญาให้ใช้สันปันน้ำเป็นเขตแดน ถ้าสันปันน้ำเปลี่ยนแปลง เขตแดนยังคงเดิมหรือเปลี่ยนแปลงด้วยครับ

 

อ้างเอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศส แล้วประธานฝ่ายไทยรับรองยังครับ แสดงหลักฐานมาด้วยสิครับ ไม่งั้นฝ่ายฝรั่งเศสก็สามารถอ้างแผนที่ที่ทำขึ้นโดยประธานฝ่ายฝรั่งเศสได้เช่นกัน

 

ตกลงเทคโนโลยีสมัยร้อยกว่าปีก่อนก็เทียบเท่าสมัยนี้แล้วใช่ไหมครับ คุณไม่คิดว่ามันจะผิดพลาดใช่ไหมครับ

 

แล้วลองอ่านประโยคนี้ที่ยกมาดี ๆ นะครับ

 

 ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”

1. หน้าผาอยู่ตรงกับยอดภูเขาดงรักหรือครับ

2. ถ้ายอดภูเขาดงรักคือสันปันน้ำ แล้วคำว่าทางเหนือนี่หมายถึงอะไร ถ้าหมายถึงทิศ ก็เสียท่าฝรั่งเศสแล้วล่ะครับเพราะทางเหนือยอดนั่นมันก็เข้ามาฝั่งไทย

 

แล้วมีหลักเขตให้เห็นบ้างไหมครับที่บนเขาพระวิหาร

ถ้าใช้สันปันน้ำก็ไม่ต้องใช้หลักเขตครับ แต่ถ้าสันปันน้ำเปลี่ยนแปลงก็งานเข้าประเทศใดประเทศหนึ่งนั่นแหละ เหมือนกับที่ใช้ร่องน้ำลึกของแม่น้ำเป็นเขตแดนหากแม่น้ำเปลี่ยนทิศทางก็ลุ้นเอาเองว่าจะได้หรือจะเสีย แต่ที่แน่ ๆ หลักเขตที่ปักปันไปแล้วทำไมถึงแจ้งพิกัดเส้นรุ้งเส้นแวงไม่ได้ล่ะครับหรือเทคโนโลยีสมัยนั้นไม่เพียงพอที่จะหาค่าที่ถูกต้องได้ พอไทยทำแผนที่ก็ดันทำตามตำแหน่งหลักเขตปัจจุบัน ทำไมไม่ทำตามตำแหน่งพิกัดเดิมของหลักเขตล่ะครับ อย่างว่าแต่หลักเขตเลย ขนาดแนวเส้นเขตแดนที่อ้างว่าทำตามสันปันน้ำยังไม่ตรงกันสักฉบับ คุณลองไปดูแผนที่ L708 L7017 L7018 เอาละกัน ทำไมเส้นถึงไม่ตรงครับในเมื่อบอกว่าปักปันเสร็จไปแล้วตั้งร้อยกว่าปี

 

 

MapPVH12.jpg

หลักเขต มันเคลื่อนที่ได้ครับ ผมเห็นว่าเขาใช้ขอบหน้าผาเป็นแนวเขตแดนครับ ดูจากคลิปก็ได้ครับ ไม่อย่างนั้นฝรั่งมันคงปักหลักเขตไปแล้ว

สมัยก่อนมันคงนั่งเทียนลากเส้นมั่วๆเอามากกว่า เอามาเขียนเป็นแผนที่ 1:200000 ต่อมาก็มานั่งปักหลักเขตกันที่หลัง

แต่ไม่ปักบนหน้าผาเพราะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน จึงไม่คำนวณหาเส้นรุ้งเส้นแวงกัน และก็ไม่มีหลักเขตปักไว้ด้วย

คงไม่รู้วิธีคำนวณหาสันปันน้ำกันด้วย Contour หรอกครับ


Edited by Stargate-1, 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 22:09.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#118 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 22:43

 

ถ้าฝรั่งเศสไม่ยอมรับว่า ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน ทำไมไม่ปักปันเขตแดนตรงบริเวณหน้าผาที่ตนเองคิดว่าเป็นเขตแดนครับ ปล่อยว่างไว้ทำไม แล้วบอกว่าปักปันเขตแดนกันเสร็จแล้ว ในสมัย ร.5 ครับ

สนธิสัญญาไม่ได้เจาะจงแค่เขาพระวิหารลูกเดียวครับ เขตแดนสยามกับอินโดจีนยาวกี่กิโลเมตรครับ มีภูเขากี่ลูกครับ จะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดนคงต้องไปนิยามเรื่องหน้าผาของเขาแต่ละลูกก่อนกระมังว่าเริ่มจากจุดไหนบ้างแล้วเขตรายละเอียดลงสนธิสัญญาทั้งหมดไม่ทราบว่าทำกี่ปีเสร็จครับ ในเมื่อในสนธิสัญญาก็ให้การปักปันเขตแดนเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการเขตแดนอีกทีหนึ่งไงครับ ผลปักปันว่าไงล่ะเอาหลักฐานมาแสดงสิ (ถ้ามีจริงคงเอาไปใช้ในศาลโลกตั้งแต่ปี 2505 แล้วล่ะ) อย่าว่าแต่ฝรั่งเศสปล่อยว่างเลย (จริง ๆ ก็ไม่ได้ปล่อยว่างในเมื่อแผนที่ที่มันทำขึ้นเองก็ไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำจึงไม่ต้องสนแนวหน้าผาเลยด้วยซ้ำ) ไทยเองก็ไม่ได้สนใจเขตแดนตามสนธิสัญญาบริเวณเขาพระวิหารเลยจนโดนเอาขึ้นศาลโลก ถ้าสนใจจริงทำไมถึงใช้แผนที่ L708 มิทราบ

 

The Cambodia–Thailand boundary stretches approximately 499 miles from the Gulf of

Siam northward and then eastward to the Laos tripoint at the Col (pass) de Preah

Chambot near the Mekong River. The boundary has been delimited by a series of

agreements between France and Thailand during the period when Cambodia was under

French control. Part of the boundary has been demarcated. For 326 miles, watersheds

form the boundary while streams (130 miles) and straight line segments (43 miles)

complete the total

      
              
        เส้นเขตแดนไทยกัมพูชานั้นได้จัดทำเสร็จสิ้นไปเมื่อ 103 ปีที่แล้ว ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกำหนดให้เส้นเขตแดนบริเวณทิวเขาดงรัก จากช่องสะงำ จ. ศรีสะเกษ จนถึง ช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาว 195 กิโลเมตร (รวมเขาพระวิหาร) นั้นให้ใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำและเส้นเขตแดนตามธรรมชาติ และสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงไม่ต้องทำหลักเขตแดนใดๆ ทั้งสิ้น
       
       ตัวอย่างหลักฐาน “ผลงาน” การเดินสำรวจและปักปันเขตแดนระหว่างสยามกับฝรั่งเศสได้แก่ เอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศสของคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศสชุดแรก ที่จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญา ค.ศ.1904 ซึ่งได้แสดงที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2450 อ ความตอนหนึ่งว่า:
       
       “ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”
       
       ปกติแล้วเส้นสันปันน้ำหากไม่ใช้ขอบหน้าผาแล้วจะมองเห็นด้วยตาเปล่าไม่ง่ายนักจึงย่อมต้องทำหลักเขตแดนเป็นสัญลักษณ์เอาไว้ แต่การที่ประธานสำรวจและปักปันฝ่ายฝรั่งเศส มองเห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้งย่อมแสดงว่าต้องเป็นขอบหน้าผาเท่านั้นจึงจะสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
       
       หลักฐานอีกชิ้นหนึ่งก็คือบันทึกรายงานของ พันเอก มองกิเอร์ ประธานกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสในคณะกรรมการปักปันผสมสยามกับฝรั่งเศส ชุดที่ 2 ซึ่งจัดตั้งขึ้นมาตามสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 (พ.ศ. 2450) ได้ยืนยันตามผลงานการสำรวจและปักปันของคณะกรรมการชุดแรกว่าขอบหน้าผาคือสันปันน้ำอย่างชัดเจนว่า:
       
        “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
       
       นี่คือเหตุผลหลักในการตอบคำถามว่าทำไมคณะกรรมการปักปันสยาม-ฝรั่งเศส ชุดที่ 2 จึงเริ่มทำหลักเขตแดนทางบก “หมายเลข 1” ที่ ช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ ไปทางทิศตะวันตก จรดไปจนถึงจังหวัดตราดและตัวหลักเขตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆไปทางทิศตะวันตก โดยปล่อยทิ้งด้านทิศตะวันออกจนถึงช่องบก จ.อุบลราชธานี ความยาวถึง 195 กิโลเมตรว่าไม่ต้องทำหลักเขตแดน เพราะสามารถเห็นหน้าผาเป็นเส้นเขตแดนที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากตีนภูเขาดงรัก
       


 

ภูเขาดงรักมันตรงส่วนไหนบ้างล่ะครับ ถ้าใช้ขอบหน้าผาเป็นสันปันน้ำขัดแย้งกับภูมิประเทศจริงไหมครับ หรือน้ำตรงส่วนเขาพระวิหารมีปรากฎการณ์น้ำไหลขึ้นที่สูงได้กันครับ ยังไม่นับเรื่องที่ความยาว 195 กิโลเมตรนั้นไม่ได้เป็นหน้าผาทั้งหมดอีก จึงขัดแย้งประโยคที่ว่า “เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก” เพราะหลายจุดมีสันปันน้ำแต่ไม่มีหน้าผา

 

ภาพที่ยกมาก็หาจุดที่จะเป็นสันปันน้ำได้เช่นกันเพราะสูงกว่าด้านล่างชัดเจน

 

สนธิสัญญาให้ใช้สันปันน้ำเป็นเขตแดน ถ้าสันปันน้ำเปลี่ยนแปลง เขตแดนยังคงเดิมหรือเปลี่ยนแปลงด้วยครับ

 

อ้างเอกสารบันทึกการปาฐกถาของพันโท แบร์นาร์ด ประธานฝ่ายฝรั่งเศส แล้วประธานฝ่ายไทยรับรองยังครับ แสดงหลักฐานมาด้วยสิครับ ไม่งั้นฝ่ายฝรั่งเศสก็สามารถอ้างแผนที่ที่ทำขึ้นโดยประธานฝ่ายฝรั่งเศสได้เช่นกัน

 

ตกลงเทคโนโลยีสมัยร้อยกว่าปีก่อนก็เทียบเท่าสมัยนี้แล้วใช่ไหมครับ คุณไม่คิดว่ามันจะผิดพลาดใช่ไหมครับ

 

แล้วลองอ่านประโยคนี้ที่ยกมาดี ๆ นะครับ

 

 ทางเหนือยอดภูเขาดงรัก เป็นเส้นเขตแดนที่เห็นได้อย่างถนัดชัดแจ้ง”

1. หน้าผาอยู่ตรงกับยอดภูเขาดงรักหรือครับ

2. ถ้ายอดภูเขาดงรักคือสันปันน้ำ แล้วคำว่าทางเหนือนี่หมายถึงอะไร ถ้าหมายถึงทิศ ก็เสียท่าฝรั่งเศสแล้วล่ะครับเพราะทางเหนือยอดนั่นมันก็เข้ามาฝั่งไทย

 

แล้วมีหลักเขตให้เห็นบ้างไหมครับที่บนเขาพระวิหาร

ถ้าใช้สันปันน้ำก็ไม่ต้องใช้หลักเขตครับ แต่ถ้าสันปันน้ำเปลี่ยนแปลงก็งานเข้าประเทศใดประเทศหนึ่งนั่นแหละ เหมือนกับที่ใช้ร่องน้ำลึกของแม่น้ำเป็นเขตแดนหากแม่น้ำเปลี่ยนทิศทางก็ลุ้นเอาเองว่าจะได้หรือจะเสีย แต่ที่แน่ ๆ หลักเขตที่ปักปันไปแล้วทำไมถึงแจ้งพิกัดเส้นรุ้งเส้นแวงไม่ได้ล่ะครับหรือเทคโนโลยีสมัยนั้นไม่เพียงพอที่จะหาค่าที่ถูกต้องได้ พอไทยทำแผนที่ก็ดันทำตามตำแหน่งหลักเขตปัจจุบัน ทำไมไม่ทำตามตำแหน่งพิกัดเดิมของหลักเขตล่ะครับ อย่างว่าแต่หลักเขตเลย ขนาดแนวเส้นเขตแดนที่อ้างว่าทำตามสันปันน้ำยังไม่ตรงกันสักฉบับ คุณลองไปดูแผนที่ L708 L7017 L7018 เอาละกัน ทำไมเส้นถึงไม่ตรงครับในเมื่อบอกว่าปักปันเสร็จไปแล้วตั้งร้อยกว่าปี

 

 

attachicon.gifMapPVH12.jpg

หลักเขต มันเคลื่อนที่ได้ครับ ผมเห็นว่าเขาใช้ขอบหน้าผาเป็นแนวเขตแดนครับ ดูจากคลิปก็ได้ครับ ไม่อย่างนั้นฝรั่งมันคงปักหลักเขตไปแล้ว

สมัยก่อนมันคงนั่งเทียนลากเส้นมั่วๆเอามากกว่า เอามาเขียนเป็นแผนที่ 1:200000 ต่อมาก็มานั่งปักหลักเขตกันที่หลัง

แต่ไม่ปักบนหน้าผาเพราะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน จึงไม่คำนวณหาเส้นรุ้งเส้นแวงกัน และก็ไม่มีหลักเขตปักไว้ด้วย

คงไม่รู้วิธีคำนวณหาสันปันน้ำกันด้วย Contour หรอกครับ

หลักเขตเคลื่อนที่ได้ ถ้าคุณระบุพิกัดชัดเจนต่อให้มันเคลื่อนไปยังไงก็ย้ายมาที่พิกัดเดิมได้ แล้วสันปันน้ำมันเคลื่อนที่ไม่ได้รึไงครับ ร้อยปีเป็นอย่างไรก็คงเดิมตลอดรึครับ งั้นคุณอธิบายภาพที่ผมเอามาให้คุณดูได้รึยังทำไมถึงได้มีจุดที่สูงกว่าหน้าผามิทราบครับ

แล้วหลักเขตเขาใช้กับภูมิประเทศที่ไม่ชัดเจนครับ ถ้ามันชัดเจนอย่างภูเขาหรือแม่น้ำเขาก็ไม่จำเป็นต้องปักหลักเขต สนธิสัญญาก็ไม่ได้บอกให้ใช้หน้าผาเป็นแนวเขตแดนเลย เพราะตลอดแนวเขตแดนไม่ได้เป็นหน้าผาทั้งหมด เอาอย่างหุบเขารูปอานม้าในคลิปที่คุณยกมานะมีหน้าผารึครับ ถ้าไม่มีจะใช้อะไรเป็นเขตแดนมิทราบ หากใช้หน้าผาเป็นเขตแดนอย่างลืมด้วยว่ามันยังมีหน้าผาที่ลึกเข้ามาในเขตไทยอีกนะครับ จะยอมเสียดินแดนส่วนนี้เพิ่มรึไงครับ

แล้วคุณดูแผนที่หนึ่งต่อสองแสนรึยังมีทั้งเส้นรุ้งเส้นแวงรวมถึงเส้นชั้นความสูงให้ ที่ไม่ตรงกับปัจจุบันไม่ใช่เพราะขีดมั่ว ๆ แต่เพราะไม่มีเทคโนโลยีเทียบเท่าสมัยนี้ต่างหาก เอาแค่แผนที่ L708 L7017 L7018 เส้นชั้นความสูงตรงกันไหมล่ะครับ หรือคุณจะบอกว่าไทยขีดมั่ว ๆ เลยไม่ตรงกันอีก

 

ตัวอย่างสันปันน้ำไม่ตรงกับความเป็นจริงก็เห็นจากกรณีไทยลาวแล้วครับ ต้องมาหาสันปันน้ำที่แท้จริง สร้างหลักเขต ระบุตำแหน่งเส้นรุ้งเส้นแวงตรงพิกัดหลักเขตไว้ สมัยนี้ใช้ดาวเทียมหาพิกัดกันได้แล้ว


Edited by Jörmungandr, 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 22:47.

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#119 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 23:04

 

      
              
       

 

attachicon.gifMapPVH12.jpg

หลักเขต มันเคลื่อนที่ได้ครับ ผมเห็นว่าเขาใช้ขอบหน้าผาเป็นแนวเขตแดนครับ ดูจากคลิปก็ได้ครับ ไม่อย่างนั้นฝรั่งมันคงปักหลักเขตไปแล้ว

สมัยก่อนมันคงนั่งเทียนลากเส้นมั่วๆเอามากกว่า เอามาเขียนเป็นแผนที่ 1:200000 ต่อมาก็มานั่งปักหลักเขตกันที่หลัง

แต่ไม่ปักบนหน้าผาเพราะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน จึงไม่คำนวณหาเส้นรุ้งเส้นแวงกัน และก็ไม่มีหลักเขตปักไว้ด้วย

คงไม่รู้วิธีคำนวณหาสันปันน้ำกันด้วย Contour หรอกครับ

หลักเขตเคลื่อนที่ได้ ถ้าคุณระบุพิกัดชัดเจนต่อให้มันเคลื่อนไปยังไงก็ย้ายมาที่พิกัดเดิมได้ แล้วสันปันน้ำมันเคลื่อนที่ไม่ได้รึไงครับ ร้อยปีเป็นอย่างไรก็คงเดิมตลอดรึครับ งั้นคุณอธิบายภาพที่ผมเอามาให้คุณดูได้รึยังทำไมถึงได้มีจุดที่สูงกว่าหน้าผามิทราบครับ

แล้วหลักเขตเขาใช้กับภูมิประเทศที่ไม่ชัดเจนครับ ถ้ามันชัดเจนอย่างภูเขาหรือแม่น้ำเขาก็ไม่จำเป็นต้องปักหลักเขต สนธิสัญญาก็ไม่ได้บอกให้ใช้หน้าผาเป็นแนวเขตแดนเลย เพราะตลอดแนวเขตแดนไม่ได้เป็นหน้าผาทั้งหมด เอาอย่างหุบเขารูปอานม้าในคลิปที่คุณยกมานะมีหน้าผารึครับ ถ้าไม่มีจะใช้อะไรเป็นเขตแดนมิทราบ หากใช้หน้าผาเป็นเขตแดนอย่างลืมด้วยว่ามันยังมีหน้าผาที่ลึกเข้ามาในเขตไทยอีกนะครับ จะยอมเสียดินแดนส่วนนี้เพิ่มรึไงครับ

แล้วคุณดูแผนที่หนึ่งต่อสองแสนรึยังมีทั้งเส้นรุ้งเส้นแวงรวมถึงเส้นชั้นความสูงให้ ที่ไม่ตรงกับปัจจุบันไม่ใช่เพราะขีดมั่ว ๆ แต่เพราะไม่มีเทคโนโลยีเทียบเท่าสมัยนี้ต่างหาก เอาแค่แผนที่ L708 L7017 L7018 เส้นชั้นความสูงตรงกันไหมล่ะครับ หรือคุณจะบอกว่าไทยขีดมั่ว ๆ เลยไม่ตรงกันอีก

 

ตัวอย่างสันปันน้ำไม่ตรงกับความเป็นจริงก็เห็นจากกรณีไทยลาวแล้วครับ ต้องมาหาสันปันน้ำที่แท้จริง สร้างหลักเขต ระบุตำแหน่งเส้นรุ้งเส้นแวงตรงพิกัดหลักเขตไว้ สมัยนี้ใช้ดาวเทียมหาพิกัดกันได้แล้ว

นายวีระพล โสภา แกนนำชาวบ้านจัดตั้ง “หมู่บ้าน 1 ต่อ 2 แสน” (บ้านคลองน้ำซับ) ต.แนงมุด อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ ตะเข็บชายแดนไทย-กัมพูชา กลุ่มปัญหาชาวบ้านไร้ที่ทำกิน และที่ดินถูกอุทยานประกาศทับที่ดินทำกิน เปิดเผยกับ “กรุงเทพธุรกิจ” ว่าเมื่อปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ได้ออกสำรวจตามแนวชายแดน พบว่าหลักแดนถาวรที่ 27 จัดทำในสมัยรัชกาลที่ 5 บริเวณบ้านราษฎร์รักแดน(เดิมชื่อ บาระแนะ2) ต.หนองแวง อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์ พบร่องรอยการเคลื่อนย้ายจากจุดเดิมเข้ามาหาดินแดนไทย ห่างจากหน้าผาซึ่งเป็นสันปันน้ำธรรมชาติ ประมาณ 100 เมตร

"จุดดังกล่าวที่เคลื่อนย้ายมาเป็นพลาญหิน ได้ถ่ายรูปไว้เป็นหลักฐานด้วย พบว่าโคนหินหลักแดนมีคราบเก่าของดินกลบฝัง บริเวณรอบหลักดินแดนมีค่ายทหารกัมพูชาตั้งรายล้อม เหมือนกับเฝ้าหลักแดนอยู่ มีการตั้งเสาธงชาติกัมพูชาเด่นชัด และกำลังก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมอย่างถาวร พร้อมทั้งติดตั้งแผงพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์อีกด้วย" นายวีระพล กล่าวพร้อมชี้ให้ดูรูปภาพ

เขาระบุด้วยว่า ชาวบ้านเขตใกล้กันนั้นบอกอีกว่า หลักเขตแดนที่ 26 ก็ถูกย้ายกินแดนไทยเข้ามามากกว่าหลักที่ 27 เสียด้วยซ้ำ ซึ่งอยู่ถัดไปตำแหน่งตรงกับบ้านแท่นทัพไทย(บาระแนะ3) ต.หนองแวง  ไม่เพียงเท่านั้น คณะสำรวจชาวบ้านกลุ่มปัญหาที่ดินยังไปสำรวจพบหลักที่ 29 ต.ทับราษฎร์ อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว ก็มีร่องรอยการเคลื่อนย้านเช่นกัน

ทั้งนี้ หลักที่ 29 เดิมปักอยู่ตระพักราบถัดจากริมหน้าผา ถูกย้ายขึ้นมาฝังที่หน้าผา ซึ่งไม่ใช้สันปันน้ำ (เรื่องนี้นอกจากชาวบ้านยืนยันแล้ว ในเว็บไซต์เสธ.แดง มีรูปและข้อความระบุชัดเจน ว่าอยู่ที่ตระพักราบลงไป สมัยนั้น พลตรีขัตติยะ สวัสดิผล เคยปฏิบัติหน้าที่สังกัดกองกำลังบูรพา รับผิดชอบชายแดนด้านตะวันออก

"เรามีภาพเสธ.แดงถ่ายรูปกับหลักเขตแดนที่ 29 เมื่อปี 2533 นอกจากนี้ยังมีภาพฝูงวัวกว่า 200 ตัวของชาวเขมรต้อนเข้ามาเลี้ยงในที่ราบฝั่งไทย ลึกเข้ามาประมาณ 2 กิโลเมตร บริเวณใกล้ศูนย์ทับทิมสยาม 3 ตำบลทับราษฎร์ ซึ่งก็ไม่เคยมีปัญหาถูกทางเจ้าหน้าที่ไทยจับแต่อย่างใด แต่กับคนไทย 7 คนกลับมาจับไปตัดสิน ผมถือว่าไม่ถูกต้อง"

นายวีระพล กล่าวต่อไปว่าไม่เพียงหลักฐานเชิงประจักษ์เท่านั้น ในภาพถ่ายดาวเทียมแสดงพิกัดของหน่วยงานระดับโลก ก็ระบุชัดถึงแนวสันปันน้ำเขตตำบลหนองแวง อ.ละหานทราย แต่พบหลักแดนที่ 26 ถูกย้ายกินแดนเข้ามาอย่างชัดเจน

แกนนำหมู่บ้าน 1 ต่อ 2 แสน ซึ่งตั้งล้อแผนที่ 1 ต่อ 2 แสนของกัมพุชาที่อ้างต่อคณะกรรมการมรดกโลก เพื่อให้ได้เปรียบพื้นที่ 4.6 ตารางกิโลเมตรรอบปราสาทพระวิหาร และอาจจะโยงไปตลอดแนวชายแดน กล่าวเพิ่มเติมว่า เราได้ถ่ายภาพที่ประหลาดมาก บริเวณบ้านทับเสรี ต.ทับเสด็จ อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว เพราะปรากฎแนวรั้วลวดหนามไม่รู้ใครทำขึ้น แล้วติดเครื่องหมายระวังกับระเบิด กินแดนทิศใต้ของถนนศรีเพ็ญ และกันเอาป้ายแสดงการขุดสระกรมชลประทานของไทย เมื่อปี 2546 ไปอยู่อีกฝั่งหนึ่งพร้อมกัน

"ไม่เพียงเท่านั้น ในรูปยังปรากฎเสาไฟฟ้าที่อยู่ริมถนนศรีเพ็ญฝั่งใต้ ซึ่งก็ดึงสายไฟฟ้าเข้ามใช้ในหมู่บ้านทับเสรีอีกด้วย อยากถามว่าหน่วยงานต่างๆ ของประเทศไทยไปสร้างไว้ แล้วทำไมล้อมรั้วกั้น ผมอยากบอกว่า ทิศใต้ของถนนศรีเพ็ญทั้งหมดมีปัญหาเหมือนกับบ้านหนองจาน จุดที่ 7 คนไทยถูกจับนั่นแหละ ยิ่งไปกว่านั้นผมเชื่อว่าถนนสุริยวิถี อ.ละหานทราย ถนนยุทธศาสตร์ที่ไม่ให้ชาวบ้านเข้าไปใช้ ที่เชื่อมต่อถนนศรีเพ็ญ อาจตกเป็นของเขมรครอบครองปรปักษ์อีกแน่ๆ"

นายวีระพล กล่าวทิ้งท้ายด้วยว่า ตอนนี้กำลังรอข้อมูลหลักที่ 19 ต.กาบเชิง อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ จะมีสภาพอย่างไร จะถูกรื้อขยับเข้ามาเหมือนกันหรือไม่


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#120 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 23:11

http://www.oknation....t.php?id=688949

 

 

ย้อนไป เมื่อ20 กว่าปีมาแล้ว รถถังเวียตนามเข้ามา"ปลดปล่อย"ดินแดนของเขมรแดง กองกำลังเวียดนามมีความเข้มแข็งจน อเมริกันต้องยกธงพ่ายมาแล้ว

 

วันนี้ ผู้นำกัมพูชากัมพูชายังคงเดินหน้าแสวงหาความช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้านอย่างเวียดนาม และประเทศพันธมิตรที่เดินทัพเข้ามาลงทุน ในกัมพูชา

 

_51125578_011193140-1.jpgความรุนแรงและสงครามจากความขัดแย้งนี้อยู่ในความสนใจขององค์กรพัฒนาเอกชนที่เป็นนายทุนต่างชาติที่เข้าไปทำงานในประเทศกัมพูชาและชาวต่างชาติที่น่ากลัว บนภูมิภาคที่มีความละเอียดอ่อนอันเนื่องจากมีวาระต่างๆเข้ามามากมาย ตั้งแต่อดีต ตั้งแต่ยุค เหมา นิกสัน และนอกเหนือจากจีนยังมีอินเดีย ที่ต้องทำสงครามเศรษฐกิจเพื่อครองความเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ ประชาคมอาเซียนที่ประเทศไทยต้องการเข้าไปสร้างคอมมูนิตี้เพื่อความพัฒนาด้านการค้าและเศรษฐกิจ ในขณะที่สมเด็จฮุนเซน แสดงเจตนาว่าให้แยกเรื่องระหว่างการค้าและการพัฒนา แต่เบี้องหลังก็อาจมีวาระแฝงเร้น เพื่อให้ประเทศไทยดูไม่ดีจากสายตาโลกจากกรณีความขัดแย้ง

 

 

 

soldier.jpg

สำหรับประเด็นของ MOU 2543 และเรื่องราวการปักปันในอดีต นั้น ลองดูความเป็นมาเกี่ยวกับกรณีปราสาทพระวิหาร โดยเป็นอีกมุมมองที่บล็อกเกอร์ ศุภศรุตได้ไปออกรายการ จับข่าวคุย ช่องสุวรรณภูมิ ASTV5 เมื่อวันที่ 17 ก.พ. (มี 4 คลิปด้วยกัน )

GoogleMap.jpg

ภาพจากGoogle

MapPVH12.jpg

 

 

 

แผนที่แสดง แนวปะทะในปัจจุบัน เมื่อวันที่ 4 ก.พ.2554

 

 

ก่อนอื่นขอนำภาพแผนที่และระวางต่างๆ ครั้งสนธิสัญญาสยาม - อินโดจีน 1904 - 1907 ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของการปักปันเขตแดน ก่อนที่จะนำมาซึ่งความขัดแย้ง จนไปถึง คำตัดสินของศาลโลก

MapPVH1.jpg

ภาพ 1 กรอบแผนที่ 5 ระวาง สนธิสัญญาสยาม - อินโดจีน 1904

MapPVH2.jpg

 

ภาพ 2 แผนที่ 6 ระวาง สนธิสัญญาสยาม - อินโดจีน 1904 - 1907 จะเห็นว่า ตรงบริเวณที่ไม่มีระวางแผนที่ต่อจากภาพที่ 1 ใช้แม่น้ำโขงเป็นเส้นเขตแดน

 

 

เมื่อมีการทำสัญญาใหม่ในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2449/ค.ศ.1907 โดยที่ฝ่ายสยามตกลงที่จะยกดินแดนพระตะบอง เสียมราฐ และศรีโสภณให้ฝรั่งเศส แลกกับพื้นที่จังหวัดตราดและด่านซ้าย จึงมีผลให้แผนที่ 3 ระวางสุดท้าย คือ พนมกุเลน Phnom Kulen, Lake และ Muang Trat ถูกยกเลิกไป

MapPVH3.jpg

 

ภาพ 3 แผนที่ ระวางดงเร็ก พิมพ์ในปี 1908

 

MapPVH4.jpg

 

ภาพที่ 4 แผนที่ระวาง โขง พิมพ์ในปี 1908

 

MapPVH5.jpg

 

ภาพที่ 5 ภาพขยายของแผนที่ 1:200,000 ระวางดงเร็ก ตรงบริเวณปราสาทเขาพระวิหาร

 

 

 

MapPVH6.jpg

ภาพที่ 6 แผนที่ L 708 กรมแผนที่ทหาร พิมพ์ 2508 (เทคโนโลยีสหรัฐอเมริกา)

MapPVH7.jpg

 

ภาพที่ 7 ขยายเฉพาะส่วนบริเวณปราสาทพระวิหาร ของแผนที่ L708

 

 

MapPVH8.jpg

 

ภาพที่ 8 แผนที่ L7017 ประมาณปี 2527

 

MapPVH9.jpg

 

ภาพที่ 9 ขยาย L7017

 

MapPVH10.jpg

 

ภาพที่ 10 แผนที่ L 7018 พิมพ์ประมาณปี 2538

 

MapPVH11.jpg

 

ภาพที่ 11 ขยาย L7018


Edited by Stargate-1, 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 23:15.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#121 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 23:23

 

      
              
       

 

attachicon.gifMapPVH12.jpg

หลักเขต มันเคลื่อนที่ได้ครับ ผมเห็นว่าเขาใช้ขอบหน้าผาเป็นแนวเขตแดนครับ ดูจากคลิปก็ได้ครับ ไม่อย่างนั้นฝรั่งมันคงปักหลักเขตไปแล้ว

สมัยก่อนมันคงนั่งเทียนลากเส้นมั่วๆเอามากกว่า เอามาเขียนเป็นแผนที่ 1:200000 ต่อมาก็มานั่งปักหลักเขตกันที่หลัง

แต่ไม่ปักบนหน้าผาเพราะใช้ขอบหน้าผาเป็นเขตแดน จึงไม่คำนวณหาเส้นรุ้งเส้นแวงกัน และก็ไม่มีหลักเขตปักไว้ด้วย

คงไม่รู้วิธีคำนวณหาสันปันน้ำกันด้วย Contour หรอกครับ

หลักเขตเคลื่อนที่ได้ ถ้าคุณระบุพิกัดชัดเจนต่อให้มันเคลื่อนไปยังไงก็ย้ายมาที่พิกัดเดิมได้ แล้วสันปันน้ำมันเคลื่อนที่ไม่ได้รึไงครับ ร้อยปีเป็นอย่างไรก็คงเดิมตลอดรึครับ งั้นคุณอธิบายภาพที่ผมเอามาให้คุณดูได้รึยังทำไมถึงได้มีจุดที่สูงกว่าหน้าผามิทราบครับ

แล้วหลักเขตเขาใช้กับภูมิประเทศที่ไม่ชัดเจนครับ ถ้ามันชัดเจนอย่างภูเขาหรือแม่น้ำเขาก็ไม่จำเป็นต้องปักหลักเขต สนธิสัญญาก็ไม่ได้บอกให้ใช้หน้าผาเป็นแนวเขตแดนเลย เพราะตลอดแนวเขตแดนไม่ได้เป็นหน้าผาทั้งหมด เอาอย่างหุบเขารูปอานม้าในคลิปที่คุณยกมานะมีหน้าผารึครับ ถ้าไม่มีจะใช้อะไรเป็นเขตแดนมิทราบ หากใช้หน้าผาเป็นเขตแดนอย่างลืมด้วยว่ามันยังมีหน้าผาที่ลึกเข้ามาในเขตไทยอีกนะครับ จะยอมเสียดินแดนส่วนนี้เพิ่มรึไงครับ

แล้วคุณดูแผนที่หนึ่งต่อสองแสนรึยังมีทั้งเส้นรุ้งเส้นแวงรวมถึงเส้นชั้นความสูงให้ ที่ไม่ตรงกับปัจจุบันไม่ใช่เพราะขีดมั่ว ๆ แต่เพราะไม่มีเทคโนโลยีเทียบเท่าสมัยนี้ต่างหาก เอาแค่แผนที่ L708 L7017 L7018 เส้นชั้นความสูงตรงกันไหมล่ะครับ หรือคุณจะบอกว่าไทยขีดมั่ว ๆ เลยไม่ตรงกันอีก

 

ตัวอย่างสันปันน้ำไม่ตรงกับความเป็นจริงก็เห็นจากกรณีไทยลาวแล้วครับ ต้องมาหาสันปันน้ำที่แท้จริง สร้างหลักเขต ระบุตำแหน่งเส้นรุ้งเส้นแวงตรงพิกัดหลักเขตไว้ สมัยนี้ใช้ดาวเทียมหาพิกัดกันได้แล้ว

นายวีระพล โสภา แกนนำชาวบ้านจัดตั้ง “หมู่บ้าน 1 ต่อ 2 แสน” (บ้านคลองน้ำซับ) ต.แนงมุด อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ ตะเข็บชายแดนไทย-กัมพูชา กลุ่มปัญหาชาวบ้านไร้ที่ทำกิน และที่ดินถูกอุทยานประกาศทับที่ดินทำกิน เปิดเผยกับ “กรุงเทพธุรกิจ” ว่าเมื่อปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ได้ออกสำรวจตามแนวชายแดน พบว่าหลักแดนถาวรที่ 27 จัดทำในสมัยรัชกาลที่ 5 บริเวณบ้านราษฎร์รักแดน(เดิมชื่อ บาระแนะ2) ต.หนองแวง อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์ พบร่องรอยการเคลื่อนย้ายจากจุดเดิมเข้ามาหาดินแดนไทย ห่างจากหน้าผาซึ่งเป็นสันปันน้ำธรรมชาติ ประมาณ 100 เมตร

"จุดดังกล่าวที่เคลื่อนย้ายมาเป็นพลาญหิน ได้ถ่ายรูปไว้เป็นหลักฐานด้วย พบว่าโคนหินหลักแดนมีคราบเก่าของดินกลบฝัง บริเวณรอบหลักดินแดนมีค่ายทหารกัมพูชาตั้งรายล้อม เหมือนกับเฝ้าหลักแดนอยู่ มีการตั้งเสาธงชาติกัมพูชาเด่นชัด และกำลังก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมอย่างถาวร พร้อมทั้งติดตั้งแผงพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์อีกด้วย" นายวีระพล กล่าวพร้อมชี้ให้ดูรูปภาพ

เขาระบุด้วยว่า ชาวบ้านเขตใกล้กันนั้นบอกอีกว่า หลักเขตแดนที่ 26 ก็ถูกย้ายกินแดนไทยเข้ามามากกว่าหลักที่ 27 เสียด้วยซ้ำ ซึ่งอยู่ถัดไปตำแหน่งตรงกับบ้านแท่นทัพไทย(บาระแนะ3) ต.หนองแวง  ไม่เพียงเท่านั้น คณะสำรวจชาวบ้านกลุ่มปัญหาที่ดินยังไปสำรวจพบหลักที่ 29 ต.ทับราษฎร์ อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว ก็มีร่องรอยการเคลื่อนย้านเช่นกัน

ทั้งนี้ หลักที่ 29 เดิมปักอยู่ตระพักราบถัดจากริมหน้าผา ถูกย้ายขึ้นมาฝังที่หน้าผา ซึ่งไม่ใช้สันปันน้ำ (เรื่องนี้นอกจากชาวบ้านยืนยันแล้ว ในเว็บไซต์เสธ.แดง มีรูปและข้อความระบุชัดเจน ว่าอยู่ที่ตระพักราบลงไป สมัยนั้น พลตรีขัตติยะ สวัสดิผล เคยปฏิบัติหน้าที่สังกัดกองกำลังบูรพา รับผิดชอบชายแดนด้านตะวันออก

"เรามีภาพเสธ.แดงถ่ายรูปกับหลักเขตแดนที่ 29 เมื่อปี 2533 นอกจากนี้ยังมีภาพฝูงวัวกว่า 200 ตัวของชาวเขมรต้อนเข้ามาเลี้ยงในที่ราบฝั่งไทย ลึกเข้ามาประมาณ 2 กิโลเมตร บริเวณใกล้ศูนย์ทับทิมสยาม 3 ตำบลทับราษฎร์ ซึ่งก็ไม่เคยมีปัญหาถูกทางเจ้าหน้าที่ไทยจับแต่อย่างใด แต่กับคนไทย 7 คนกลับมาจับไปตัดสิน ผมถือว่าไม่ถูกต้อง"

นายวีระพล กล่าวต่อไปว่าไม่เพียงหลักฐานเชิงประจักษ์เท่านั้น ในภาพถ่ายดาวเทียมแสดงพิกัดของหน่วยงานระดับโลก ก็ระบุชัดถึงแนวสันปันน้ำเขตตำบลหนองแวง อ.ละหานทราย แต่พบหลักแดนที่ 26 ถูกย้ายกินแดนเข้ามาอย่างชัดเจน

แกนนำหมู่บ้าน 1 ต่อ 2 แสน ซึ่งตั้งล้อแผนที่ 1 ต่อ 2 แสนของกัมพุชาที่อ้างต่อคณะกรรมการมรดกโลก เพื่อให้ได้เปรียบพื้นที่ 4.6 ตารางกิโลเมตรรอบปราสาทพระวิหาร และอาจจะโยงไปตลอดแนวชายแดน กล่าวเพิ่มเติมว่า เราได้ถ่ายภาพที่ประหลาดมาก บริเวณบ้านทับเสรี ต.ทับเสด็จ อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว เพราะปรากฎแนวรั้วลวดหนามไม่รู้ใครทำขึ้น แล้วติดเครื่องหมายระวังกับระเบิด กินแดนทิศใต้ของถนนศรีเพ็ญ และกันเอาป้ายแสดงการขุดสระกรมชลประทานของไทย เมื่อปี 2546 ไปอยู่อีกฝั่งหนึ่งพร้อมกัน

"ไม่เพียงเท่านั้น ในรูปยังปรากฎเสาไฟฟ้าที่อยู่ริมถนนศรีเพ็ญฝั่งใต้ ซึ่งก็ดึงสายไฟฟ้าเข้ามใช้ในหมู่บ้านทับเสรีอีกด้วย อยากถามว่าหน่วยงานต่างๆ ของประเทศไทยไปสร้างไว้ แล้วทำไมล้อมรั้วกั้น ผมอยากบอกว่า ทิศใต้ของถนนศรีเพ็ญทั้งหมดมีปัญหาเหมือนกับบ้านหนองจาน จุดที่ 7 คนไทยถูกจับนั่นแหละ ยิ่งไปกว่านั้นผมเชื่อว่าถนนสุริยวิถี อ.ละหานทราย ถนนยุทธศาสตร์ที่ไม่ให้ชาวบ้านเข้าไปใช้ ที่เชื่อมต่อถนนศรีเพ็ญ อาจตกเป็นของเขมรครอบครองปรปักษ์อีกแน่ๆ"

นายวีระพล กล่าวทิ้งท้ายด้วยว่า ตอนนี้กำลังรอข้อมูลหลักที่ 19 ต.กาบเชิง อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ จะมีสภาพอย่างไร จะถูกรื้อขยับเข้ามาเหมือนกันหรือไม่

แผนที่ L7017 พิมพ์ขึ้นมาอย่างน้อย 2 ครั้ง ก่อนเขมรอพยพครั้งหนึ่ง หลังเขมรอพยพครั้งหนึ่ง คุณลองเทียบกันเอาละกันว่าต่ำแหน่งที่อ้างถึงนี้หลักเขตเคลื่อนย้ายเข้ามายังประเทศไทยหรือเคลื่อนย้ายออกไปยังประเทศเขมรกัน เอาแผนที่ L7018 มาเทียบด้วยก็ได้


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#122 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 23:31

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#123 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 - 23:59

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#124 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 00:17

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน


Edited by Stargate-1, 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 00:45.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#125 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 09:56

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน

Wasserscheide ภาษาเยอรมัน = ligne de partage des eaux ภาษาฝรั่งเศส

ใช่สันปันน้ำรึเปล่าคิดเอาเองนะครับ

แผนที่คณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสที่ทำขึ้นฝ่ายเดียวบอกไม่ยอมรับ แต่ดันไปยอมรับคำพูดบางประโยคของคณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสฝ่ายเดียวอีก ผมถามว่าคณะกรรมการฝ่ายไทยรับรองยังล่ะ หาได้รึยัง

อ้างว่าใช้สันปันน้ำขอบหน้าผาแต่จนป่านนี้ยังหาคำอธิบายไม่ได้ว่าทำไมมีส่วนที่สูงกว่าหน้าผา อธิบายไม่ได้ว่าน้ำจากขอบหน้าผาจะไหลขึ้นไปยังจุดที่สูงกว่าได้อย่างไร

อ้างขอบหน้าผาแต่พอหน้าผามีแนวลึกเข้ามาในฝั่งไทยก็ตัดทิ้งซะงั้นไม่ใช้หน้าผาแล้ว ถ้าอ้างว่าขอบหน้าผาเป็นแนวสันปันน้ำจริงเขตแดนก็ต้องมาใช้ตามแนวสีขาวสิครับ มาใช้เส้นแบ่งกลางซึ่งไม่ใช่หน้าผาทำไม หรือจะยอมรับว่าสันปันน้ำไม่ได้อยู่ที่หน้าผาเสมอไป

 

อ้างว่าเห็นได้ชัด แต่ดันไปอ้างคำพูดที่ใช้เทคโนโลยีเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ถ้ามันเหมือนปัจจุบันคงไม่มีปัญหาเกิดขึ้นตอนที่หาสันปันน้ำร่วมกันกับลาวหรอกครับ ตัวอย่างมีให้เห็นชัดเจน


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#126 คนบูรพา

คนบูรพา

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,290 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:13

ไอ้พวกสัตว์นรก......ที่ไปสวามิภักดิ์.....ให้ไอ้ห่วยเซน........มันคงคิดไม่เป็นหรอกเรื่องอย่างงี้


ถ้าไม่คิดจะตอบแทนแผ่นดิน ก็จงอย่าทำลาย

#127 คนบูรพา

คนบูรพา

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,290 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:14

ไอ้พวกสัตว์นรก......ที่ไปสวามิภักดิ์.....ให้ไอ้ห่วยเซน........มันคงคิดไม่เป็นหรอกเรื่องอย่างงี้


ถ้าไม่คิดจะตอบแทนแผ่นดิน ก็จงอย่าทำลาย

#128 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:21

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน

Wasserscheide ภาษาเยอรมัน = ligne de partage des eaux ภาษาฝรั่งเศส

ใช่สันปันน้ำรึเปล่าคิดเอาเองนะครับ

แผนที่คณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสที่ทำขึ้นฝ่ายเดียวบอกไม่ยอมรับ แต่ดันไปยอมรับคำพูดบางประโยคของคณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสฝ่ายเดียวอีก ผมถามว่าคณะกรรมการฝ่ายไทยรับรองยังล่ะ หาได้รึยัง

อ้างว่าใช้สันปันน้ำขอบหน้าผาแต่จนป่านนี้ยังหาคำอธิบายไม่ได้ว่าทำไมมีส่วนที่สูงกว่าหน้าผา อธิบายไม่ได้ว่าน้ำจากขอบหน้าผาจะไหลขึ้นไปยังจุดที่สูงกว่าได้อย่างไร

อ้างขอบหน้าผาแต่พอหน้าผามีแนวลึกเข้ามาในฝั่งไทยก็ตัดทิ้งซะงั้นไม่ใช้หน้าผาแล้ว ถ้าอ้างว่าขอบหน้าผาเป็นแนวสันปันน้ำจริงเขตแดนก็ต้องมาใช้ตามแนวสีขาวสิครับ มาใช้เส้นแบ่งกลางซึ่งไม่ใช่หน้าผาทำไม หรือจะยอมรับว่าสันปันน้ำไม่ได้อยู่ที่หน้าผาเสมอไป

 

อ้างว่าเห็นได้ชัด แต่ดันไปอ้างคำพูดที่ใช้เทคโนโลยีเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ถ้ามันเหมือนปัจจุบันคงไม่มีปัญหาเกิดขึ้นตอนที่หาสันปันน้ำร่วมกันกับลาวหรอกครับ ตัวอย่างมีให้เห็นชัดเจน

 

ขั้นตอนที่ 5.GIF

 

คงต้องหาว่าที่เขาพูดขึ้นมา ที่บริเวณไหน เพราะอะไร แต่คณะสำรวจและปักปันก็ไม่ได้มีการปักหลักเขตที่สันปันน้ำในตอนนั้นในบริเวณเขาพระวิหาร เท่ากับเป็นการยืนยันว่าเขาเห็นว่าขอบหน้าผาที่เห็นได้ชัดจากตีนเขา ว่าเป็นสันปันน้ำ

 

ที่ไทยไม่ยอมรับนั้นเฉพาะระวางดงรักนะครับ ไม่มีการเซ็นรับรองแผนที่ดังกล่าว

 

ในขั้นตอนการปักหลักเขตแดน โดยม.บูรพา ก็กล่าวถึงการปักหลักเขตแดนบนสันปันน้ำ

แสดงว่าในตอนนั้นเขาปักไม่ได้ซิครับ ถ้าปักได้คงปักไปแล้ว แบบที่เห็นในรูปข้างบน

ที่เสนอขั้นตอนที่ 5 ขึ้นมาก็คงเห็นแล้วว่ามีปัญหา ต้องปักหลักเขตแดนแล้ว แม้จะเป็นขอบหน้าผาก็ตาม


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#129 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:27

การดำเนินการของฝ่ายไทยในการแก้ไขปัญหาเขตแดนไทย - กัมพูชา

การดำเนินการของฝ่ายไทยในการแก้ไขปัญหาเขตแดนไทย - กัมพูชา โดยที่ประเทศไทยมีนโยบายอย่างชัดเจนและต่อเนื่องที่จะสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อแก้ไขปัญหาเขตแดนอย่างถาวร อันจะนำมาซึ่งความสงบสุขของประชาชนของทั้งสองประเทศและเสริมสร้างบรรยากาศความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน จึงเป็นที่มาของการจัดตั้งคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมไทย - กัมพูชา (Joint Boundary Commission - JBC) ขึ้นในปี 2540 เพื่อเป็นกลไกหลักในการเจรจาและการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบกไทย - กัมพูชา

คณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมไทย - กัมพูชา (Joint Boundary Commission - JBC) 2540

จัดตั้งตามคำแถลงร่วมระหว่างไทยกับกัมพูชา (Joint statement on the Establishment of the Thai - Cambodian Joint Commission on Demarcation for Land Boundary) ฉบับวันที่ 21 มิถุนายน 2540 โดยคณะกรรมาธิการฝ่ายไทยประกอบด้วยผู้แทนจากหลายส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม กระทรวง
มหาดไทย และสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นต้น

ภูมิหลังการประชุมคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมไทย - กัมพูชา (JBC)

ตั้งแต่ปี 2540 จนถึงปี 2554 มีการจัดการประชุม JBC แล้ว 9 ครั้ง การประชุมครั้งสุดท้าย เมื่อวันที่ 7 - 8 เมษายน 2554 ที่เมืองโบกอร์ ประเทศอินโดนีเซีย

- การประชุม JBC ครั้งที่ 1 (30 มิถุนายน - 2 กรกฎาคม 2542) ตกลงกันในประเด็นพื้นฐาน เช่น การจัดตั้งคณะอนุกรรมาธิการเทคนิคร่วม และการกำหนดพื้นฐานทางกฎหมายที่จะนำไปใช้ในการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบก ซึ่งได้แก่เอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดเขตแดนทางบกระหว่างสยาม - ฝรั่งเศส อาทิ อนุสัญญาปี ค.ศ. 1904 และสนธิสัญญาปี ค.ศ. 1907 รวมทั้งเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น โดยทั้งสองประเทศหลีกเลี่ยงการกระทำใด ๆ ที่จะเป็นการกระทบต่อเขตแดน และหากมีความขัดแย้งเกิดขึ้น ทั้งสองฝ่ายจะพยายามแก้ไขความขัดแย้งโดยสันติ

- การประชุม JBC ครั้งที่ 2 (5 - 7 มิถุนายน 2543) ณ กรุงพนมเปญ ตกลงกันว่าหากมีปัญหาชายแดนที่มีปัจจัยเรื่องเขตแดนประธาน JBC ร่วมทั้งสองฝ่ายจะหารือกันโดยรวดเร็ว และที่ประชุมเห็นชอบร่างบันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชาว่าด้วย การสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบก ซึ่งต่อมาเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2543 ประธาน JBC ของทั้งสองฝ่ายคือ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศกับนายวาร์ กิมฮง ที่ปรึกษารัฐบาลกัมพูชารับผิดชอบกิจการชายแดน ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบก (Memorandum of Understanding between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the Kingdom of Cambodia on the Survey and Demarcation of Land Boundary) หรือ MOU 2543 ทั้งนี้ ฝ่ายไทยเห็นว่าบันทึกความเข้าใจฉบับนี้จะช่วยลดความขัดแย้งตามแนวชายแดนที่มีอยู่ในปัจจุบันอันอาจเกิดจากความเข้าใจผิดเรื่องแนวเขตแดน และจะเป็นปัจจัยสำคัญในการแก้ปัญหาเขตแดน ระหว่างกันอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป โดยจะวางกรอบและกลไก ในการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของการเคารพเส้นเขตแดนระหว่างประเทศทั้งสองที่ได้จัดทำขึ้นระหว่างสยามกับฝรั่งเศสเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขเส้นเขตแดนแต่อย่างใดเพราะทั้งสองฝ่ายไม่ประสงค์ให้มีการได้หรือเสียดินแดน ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายจะสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนในภูมิประเทศเพื่อให้เห็นแนวเขตแดนอย่างชัดเจนเท่านั้น

- การประชุม JBC สมัยวิสามัญ (25 สิงหาคม 2546) ทั้งสองฝ่ายได้รับรองแผนแม่บทและข้อกำหนดอำนาจหน้าที่ (TOR 2546) ในการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบกร่วมระหว่างไทย - กัมพูชา เพื่อเป็นแนวทางในการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนระหว่างกัน

- การประชุม JBC ครั้งที่ 3 (31 สิงหาคม 2547) ทั้งสองฝ่ายได้รับรองผลการดำเนินงานในสำนักงาน (ตามขั้นตอนที่ 1 ของ TOR 2546 ซึ่งมีทั้งหมด 5 ขั้นตอน (อ่าน TOR ในหัวข้อถัดไป)) เกี่ยวกับการปักหลักเขตแดน ซ่อมแซม และการสร้างทดแทนหลักเขตแดนที่เคยปักไว้แล้ว ทั้ง 73 หลัก รวมทั้งจะส่งชุดสำรวจร่วมไทย - กัมพูชา ลงไปปฏิบัติงานภาคสนามในต้นปี 2547

- การประชุม JBC สมัยวิสามัญ (11 - 15 มีนาคม 2549) ทั้งสองฝ่ายได้เห็นชอบร่วมกันให้ชุดสำรวจร่วมเริ่มต้นสำรวจหาที่ตั้งหลักเขตแดนเดิมจำนวน 73 หลัก โดยเริ่มลงพื้นที่ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2549 จนถึงปัจจุบัน ชุดสำรวจร่วมได้ดำเนินการสำรวจหาที่ตั้งหลักเขตแดนไปแล้ว 48 หลัก (จากหลักที่ 23 - 70) มีความเห็นตรงกัน จำนวน 33 หลักและมีความเห็นไม่ตรงกัน 15 หลัก

การดำเนินการตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 การประชุม JBC ครั้งต่อ ๆ มา เกิดขึ้นภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 จึงต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ตามมาตรา 190 วรรคสอง และต้องดำเนินการตามมาตรา 190 วรรคสาม คือ ต้องให้ข้อมูลและจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และต้องชี้แจงต่อรัฐสภาเกี่ยวกับหนังสือสัญญา นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรีต้องเสนอกรอบการเจรจาต่อรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำเนินการเจรจาด้วย

ต่อมา เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2551 รัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบกรอบการเจรจาในคราวประชุมร่วมกันของรัฐสภา (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) ตามที่คณะรัฐมนตรีเสนอ ด้วยคะแนน 406 ต่อ 8 (จาก 418 เสียงของผู้เข้าร่วมประชุม) ตามลำดับ 26

กรอบการเจรจาด้านการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบกไทย - กัมพูชา ตลอดแนวในกรอบของ JBC และกลไกอื่น ๆภายใต้กรอบนี้

ให้ JBC ฝ่ายไทยเจรจากับฝ่ายกัมพูชาเพื่อดำเนินการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบกระหว่างราชอาณาจักรไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชาให้เป็นไปตามเอกสารดังต่อไปนี้

1. อนุสัญญาระหว่างสยามกับฝรั่งเศส แก้ไขข้อบทเพิ่มเติมข้อบทแห่งสนธิสัญญา ฉบับลงวันที่ 3 ตุลาคม ร.ศ. 112 (ค.ศ. 1893) ว่าด้วยดินแดนกับข้อตกลงอื่น ๆ ฉบับลงนาม ณ กรุงปารีสเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 122 (ค.ศ. 1904)

2. สนธิสัญญาระหว่างพระเจ้าแผ่นดินสยามกับประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสฉบับลงนาม ณ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม ร.ศ. 125 (ค.ศ. 1907) กับพิธีสารว่าด้วยการปักปันเขตแดนแนบท้าย สนธิสัญญา ฉบับลงวันที่ 23 มีนาคม ร.ศ. 125 (ค.ศ. 1907)

3. แผนที่ที่จัดทำขึ้นตามผลงานการปักปันเขตแดนของคณะกรรมการปักปันเขตแดนระหว่างสยามกับ อินโดจีน ที่จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญา ค.ศ. 1904 และสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 กับเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้อนุสัญญา ค.ศ. 1904 และสนธิสัญญาค.ศ. 1907 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศส

นับตั้งแต่รัฐสภาให้ความเห็นชอบกรอบการเจรจาดังกล่าว จนถึงเดือนพฤษภาคม 2554 คณะกรรมาธิการร่วมฯ ได้มีการประชุมกันต่อมาอีก 4 ครั้ง ดังนี้ คือ
- การประชุม JBC สมัยวิสามัญ (10 - 12 พฤศจิกายน 2551) ที่เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา

- การประชุม JBC ครั้งที่ 4 (3 - 4 กุมภาพันธ์ 2552) ที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย

- การประชุม JBC สมัยวิสามัญ (6 - 7 เมษายน 2552) ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา

- การประชุม JBC (7 - 8 เมษายน 2554) ที่เมืองโบกอร์ ประเทศอินโดนีเซีย

การเสนอบันทึกการประชุม JBC 3 ฉบับ4 เพื่อขอรับความเห็นชอบของรัฐสภา

รัฐธรรมนูญมาตรา 190 มีความเกี่ยวข้องอย่างไรต่อการกำหนดเขตแดนไทย - กัมพูชา และเพราะเหตุใด ในเบื้องต้นจึงต้องนำบันทึกการประชุม JBC 3 ฉบับ เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ

มาตรา 190 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ระบุว่า “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่น กับนานาประเทศ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ

หนังสือสัญญาใดมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพื้นที่นอกอาณาเขตซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอำนาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือจะต้องออกพระราชบัญญัติเพื่อให้การเป็นไปตามหนังสือสัญญา หรือมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรือมีผลผูกพันด้านการค้า การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอย่างมีนัยสำคัญ ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา ในการนี้ รัฐสภาจะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับเรื่องดังกล่าว

ก่อนดำเนินการเพื่อทำหนังสือสัญญากับนานาประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศตามวรรคสอง คณะรัฐมนตรีต้องให้ข้อมูลและจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และต้องชี้แจงต่อรัฐสภาเกี่ยวกับหนังสือสัญญานั้น ในการนี้ ให้คณะรัฐมนตรีเสนอกรอบการเจรจาต่อรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบด้วย

เมื่อลงนามในหนังสือสัญญาตามวรรคสองแล้ว ก่อนที่จะแสดงเจตนาให้มีผลผูกพัน คณะรัฐมนตรีต้องให้ประชาชนสามารถเข้าถึงรายละเอียดของหนังสือสัญญานั้น และในกรณีที่การปฏิบัติตามหนังสือสัญญาดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนหรือผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม คณะรัฐมนตรีต้องดำเนินการแก้ไขหรือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบนั้นอย่างรวดเร็ว เหมาะสม และเป็นธรรม

ให้มีกฎหมายว่าด้วยการกำหนดขั้นตอนและวิธีการจัดทำหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรือมีผลผูกพันด้านการค้า หรือการลงทุนอย่างมีนัยสำคัญรวมทั้งการแก้ไขหรือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญาดังกล่าวโดยคำนึงถึงความเป็นธรรมระหว่างผู้ที่ได้รับประโยชน์กับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญานั้นและประชาชนทั่วไป

ในกรณีที่มีปัญหาตามวรรคสอง ให้เป็นอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญที่จะวินิจฉัยชี้ขาด โดยให้นำบทบัญญัติตามมาตรา 154 (1) มาใช้บังคับกับการเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญโดยอนุโลม”

โดยที่บันทึกการประชุม JBC อาจมีผลเปลี่ยนแปลงอาณาเขตหรือความมั่นคงของสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง กระทรวงการต่างประเทศจึงได้เสนอบันทึกการประชุม JBC 3 ฉบับ เพื่อให้รัฐสภาให้ความเห็นชอบ ได้แก่ (1) บันทึกการประชุม JBC สมัยวิสามัญ (10 - 12 พฤศจิกายน 2551) (2) บันทึกการประชุม JBC ครั้งที่ 4 (3 - 4 กุมภาพันธ์ 2552) และ (3) บันทึกการประชุม JBC สมัยวิสามัญ (6 - 7 เมษายน 2552) โดยในการประชุมเมื่อวันที่ 6 - 7 เมษายน 2552 ทั้งสองฝ่ายสามารถลงนามบันทึกการประชุมของ 2 ครั้งที่ผ่านมาได้ โดยก่อนหน้านี้มีประเด็นคงค้างที่ตกลงกันไม่ได้ แต่ในครั้งนี้สามารถตกลงกันได้ ทั้งนี้ สาระของบันทึกการประชุม JBC ทั้ง 3 ฉบับดังกล่าว อยู่ในกรอบที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของ JBC ตามอำนาจหน้าที่

อย่างไรก็ดี ในเบื้องต้นบันทึกการประชุม JBC ทั้ง 3 ฉบับ ที่ทั้งสองฝ่ายลงนามแล้วนี้ ยังไม่มีผลผูกพันจนกว่า ทั้งสองฝ่ายจะยืนยันผ่านช่องทาง29 การทูตว่า ได้มีการดำเนินการตามกระบวนการกฎหมายภายในครบถ้วน แล้วตามข้อ 19 ของบันทึกการประชุมเมื่อวันที่ 6 - 7 เมษายน 2552 โดยในส่วนของฝ่ายไทยจะต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาก่อน จึงจะยืนยันให้บันทึกการประชุมฯ ทั้ง 3 ฉบับนี้มีผลผูกพัน (ต่อมา ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยว่า กรณีดังกล่าวยังไม่ถึงขั้นตอนที่จะให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าเป็นหนังสือสัญญาหรือไม่ เพราะยังมีขั้นตอนที่ทั้งสองฝ่ายจะต้องเจรจากันต่อไป (อ่านลำดับเหตุการณ์เสนอบันทึกการประชุม 3 ฉบับ ให้รัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบในหน้าถัดไป)

สาระสำคัญในการประชุม JBC ทั้ง 3 ครั้ง มีความคืบหน้าเพิ่มเติมในอีกหลายประเด็น ได้แก่

1. ที่ประชุมยืนยันว่าควรดำเนินการตามขั้นตอนที่ 2 ของแผนแม่บทและข้อกำหนดอำนาจหน้าที่ของการสำรวจฯ (TOR 2546 ซึ่งมี5 ขั้นตอน) โดยเร็วที่สุด คือ ให้ผลิตแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศตลอดแนวเขตแดน เพื่อช่วยในการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดน

2. เห็นชอบว่า ชุดสำรวจร่วมอาจเริ่มการสำรวจพื้นที่ตอนที่ 5 (หลักเขตแดนที่ 1 - 23)

3. ที่ประชุมหารือเรื่องการจัดทำคำแนะนำสำหรับการสำรวจในพื้นที่ตอนที่ 6 (หลักเขตแดนที่ 1 - เขาสัตตะโสม) ซึ่งรวมบริเวณปราสาทพระวิหารด้วย และมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ไปหารือกันในระดับเทคนิคต่อไป

4. ระหว่างรอการจัดทำข้อตกลงชั่วคราวเกี่ยวกับสถานการณ์ชายแดนไทย - กัมพูชา (Provisional Arrangement) บริเวณปราสาทพระวิหารให้แล้วเสร็จ ทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องให้เริ่มสำรวจและจัดทำเขตแดนในพื้นที่ตอนที่ 6 ทันทีที่ได้ข้อยุติเกี่ยวกับคำแนะนำสำหรับการสำรวจในพื้นที่ตอนที่ 6

5. เห็นชอบให้มีการประชุม JBC สมัยวิสามัญ เพื่อหารือประเด็นกฎหมายเกี่ยวกับพื้นที่สำรวจตอนที่ 6 เมื่อมีการเริ่มสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนในพื้นที่ดังกล่าว

6. รับทราบว่าเจ้าหน้าที่ทางเทคนิคของทั้งสองฝ่ายได้เห็นพ้องกันเกี่ยวกับร่างรายงานร่วมภาษาอังกฤษ ว่าด้วยการสำรวจสภาพและที่ตั้ง 30 ของหลักเขตแดนสำหรับ 29 หลัก (หลักเขตแดนที่ 23 - 51) และตกลงให้เจ้าหน้าที่เทคนิคของทั้งสองฝ่ายร่วมกันตรวจสอบร่างรายงานการสำรวจฯ ทั้งสามภาษาก่อนส่งให้คณะอนุกรรมาธิการเทคนิคร่วม (Joint TechnicalSub - Commission - JTSC) และ JBC พิจารณาและให้ความเห็นชอบต่อไปตามลำดับ (ดูองค์ประกอบของคณะ JTSC ตลอดจนขั้นตอนการปฏิบัติงานตามสายบังคับบัญชาในหัวข้อ TOR 2546)

7. ฝ่ายไทยจะส่งร่างรายงานร่วมภาษาอังกฤษ ว่าด้วยการสำรวจสภาพและที่ตั้งของหลักเขตแดน สำหรับ 19 หลักที่เหลือ(หลักเขตแดนที่ 52 - 70) ให้ฝ่ายกัมพูชาพิจารณาต่อไป

หมายเหตุ : สำหรับการประชุม JBC (7 - 8 เมษายน 2554) ที่เมืองโบกอร์ประเทศอินโดนีเซีย ทั้งสองฝ่ายได้หารือในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมการดำเนินงานในประเด็นต่าง ๆ ในระหว่างที่รอให้บันทึกการประชุมในการประชุม JBC 3 ครั้งที่ผ่านมา ได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาไทย อาทิ การเตรียมการดำเนินการสำรวจในบริเวณพื้นที่ตอนที่ 5 การคัดเลือกบริษัทจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ และยังได้หารือเรื่องการดำเนินการสำรวจรายละเอียดในบริเวณที่จะเปิดจุดผ่านแดนถาวร

ลำดับเหตุการณ์การเสนอบันทึกการประชุมฯ 3 ฉบับ ให้รัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบ

1. คณะรัฐมนตรีได้เสนอบันทึกการประชุมฯ 3 ฉบับ ให้รัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบตามมาตรา 190 วรรคสอง เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 ต่อมา ในคราวประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 5 (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 ที่ประชุมฯ มีมติเห็นชอบให้ถอนบันทึกการประชุม JBC ไทย - กัมพูชา ทั้ง 3 ฉบับ ออกจากวาระการพิจารณาไปก่อน

2. เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้การเสนอบันทึกการประชุม JBC ทั้ง 3 ฉบับ อีกครั้ง และประธานรัฐสภาได้บรรจุบันทึกการประชุมฯ ในระเบียบวาระการประชุมร่วมกันของรัฐสภาครั้งที่ 2 (สมัยสามัญทั่วไป) วันที่ 7 พฤษภาคม 2553 แต่รัฐสภายังไม่ได้พิจารณาจนปิดสมัยประชุมสามัญทั่วไป บันทึกการประชุมฯ ดังกล่าว จึงเป็นอันตกไปตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551 ข้อ 57 ซึ่งนำมาใช้บังคับโดยอนุโลม ในระหว่างที่ยังไม่มีข้อบังคับการประชุมรัฐสภา

3. เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาได้แต่งตั้งคณะกรรมาธิการ (ประกอบด้วยกรรมาธิการจำนวน 30 คน) เพื่อพิจารณาศึกษาบันทึกการประชุมฯ ซึ่งมีการประชุมของคณะกรรมาธิการฯ จำนวน 13 ครั้ง โดยกระทรวงการต่างประเทศได้เข้าร่วมชี้แจงในการประชุมทุกครั้ง ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการฯ ได้มีรายงานผลการพิจารณาศึกษาเสนอต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 โดยมีข้อแนะนำที่สำคัญ ได้แก่

3.1 ให้ส่งข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการฯ เกี่ยวกับการที่ประเทศไทยไม่ยอมรับแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระวางดงรัก ไปยังนายกรัฐมนตรี เพื่อให้นำเรื่องเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีต่อไป

3.2 ฝ่ายไทยควรเจรจาให้ฝ่ายกัมพูชานำชุมชน ประชาชนทหาร ออกนอกพื้นที่พิพาท โดยอาจใช้รูปแบบการเจรจาที่แตกต่างจากเดิม อาทิ การพบปะอย่างไม่เป็นทางการ

3.3 ให้คณะรัฐมนตรีกำหนดแนวทางเยียวยาบรรเทาความทุกข์ของประชาชนที่ไม่สามารถเข้าไปทำกินในพื้นที่ที่ตนเองมีเอกสารสิทธิได้

3.4 ให้โต้แย้ง/ท้วงติงในกรณีคำกล่าวปราศรัยของฝ่ายกัมพูชาในการประชุม JBC ที่กล่าวหาว่าฝ่ายไทยรุกล้ำดินแดนหรือทำผิด MOU 2543 ซึ่งเป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง

4. เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2553 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 80 คน ได้ยื่นหนังสือต่อประธานรัฐสภา เพื่อเสนอความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญให้พิจารณาบันทึกการประชุม JBC ทั้ง 3 ฉบับว่า เป็นหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสองหรือไม่ ซึ่งประธานรัฐสภาได้ส่งคำร้องดังกล่าวไปให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554

5. ในการประชุมร่วมของสมาชิกรัฐสภาเมื่อวันที่ 25 และ 29 มีนาคม 2554 นายชัย ชิดชอบ ประธานรัฐสภา ได้เลื่อนการพิจารณา 32 รับทราบผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการศึกษาบันทึก การประชุม JBC รวม 3 ฉบับ ออกไปอีก เนื่องจากสมาชิกไม่ครบองค์ประชุม

6. ศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำสั่งที่ 10/2554 ในเรื่องดังกล่าว เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2554 ว่า “พิจารณาแล้วเห็นว่า แม้ผู้ร้องจะเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา แต่การที่คณะรัฐมนตรีได้นำบันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมไทย - กัมพูชา รวม 3 ฉบับเสนอต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยมีข้อเท็จจริงปรากฏตามคำร้องและเอกสารที่ประธานรัฐสภาส่งต่อศาลว่า คณะผู้แทนทั้งสองฝ่าย
ยังจะต้องเจรจากันต่อไป กรณียังไม่ถึงขั้นตอนที่จะต้องเสนอเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาด เนื่องจากยังมีขั้นตอนอื่น ๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติจะต้องพิจารณาดำเนินการเสียก่อนในชั้นนี้จึงยังไม่ต้องด้วยหลักเกณฑ์ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 วรรคหก (6) ประกอบมาตรา 154 วรรคหนึ่ง (1) ที่จะเสนอเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาด”

7. คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 รับทราบคำสั่งศาลรัฐธรรมนูญที่ 10/2554 และให้ถอนบันทึกการประชุมฯทั้ง 3 ฉบับ ออกจากการพิจารณาให้ความเห็นชอบของรัฐสภา และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการเจรจาต่อไป และในคราวประชุมร่วมกันของรัฐสภาเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2554 ที่ประชุมฯ ได้มีมติให้ถอนบันทึกการประชุมฯ ทั้ง 3 ฉบับ ออกจากการพิจารณาของรัฐสภา

8. เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2554 กระทรวงการต่างประเทศได้มีหนังสือแจ้งให้กัมพูชาทราบถึงการมีผลใช้บังคับของบันทึกการประชุมฯ ทั้ง 3 ฉบับ เนื่องจากการดำเนินการตามกระบวนการกฎหมายภายในของไทยเสร็จสิ้นแล้ว ซึ่งฝ่ายกัมพูชาได้มีหนังสือตอบกลับเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2554 รับทราบการแจ้งของฝ่ายไทย และแจ้งว่า สำหรับกัมพูชา บันทึกการประชุมฯ ทั้ง 3 ฉบับดังกล่าว มีผลใช้บังคับตั้งแต่สิ้นสุดการประชุม เมื่อวันที่ 7 - 8 เมษายน 2552

4.1.4 การเจรจาร่างข้อตกลงชั่วคราว (draft Provisional Arrangement - PA) เกี่ยวกับสถานการณ์ชายแดนบริเวณเขาพระวิหาร

ในการประชุม JBC ทั้ง 3 ครั้ง ที่กล่าวมาแล้ว ทั้งสองฝ่ายหารือเกี่ยวกับร่างข้อตกลงชั่วคราว (PA) เกี่ยวกับปัญหาชายแดนไทย - กัมพูชา บริเวณปราสาทพระวิหาร และสามารถตกลงกันได้เป็นส่วนใหญ่ เหลือเพียงประเด็นเดียว คือ การเรียกชื่อปราสาทพระวิหารและเปรียะวิเฮียร์ ซึ่งจะต้องเจรจากันต่อไป รัฐบาลจึงมิได้เสนอร่างข้อตกลงชั่วคราวฯ นี้เพื่อขอความเห็นชอบของรัฐสภาแต่อย่างใด

กรอบการเจรจาร่างข้อตกลงชั่วคราวฯ นี้ ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้วเช่นกันเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2551 ดังนี้

1. วัตถุประสงค์ เพื่อมีมาตรการชั่วคราวร่วมกันสำหรับลดความตึงเครียดและลดการเผชิญหน้าทางทหารระหว่างไทยกับกัมพูชาที่ชายแดนบริเวณเขาพระวิหาร ระหว่างรอให้คณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมไทย - กัมพูชา (Thai - Cambodian Joint Commission on Demarcation for Land Boundary - JBC) สำรวจและจัดทำหลักเขตแดนในพื้นที่ดังกล่าวแล้วเสร็จ

2. สาระสำคัญ

2.1 ปรับกำลังของแต่ละฝ่ายออกจากวัดแก้วสิขาคีรีสะวาราพื้นที่รอบวัด และปราสาทพระวิหาร เหลือไว้เพียงชุดติดตามสถานการณ์ทหาร (Military Monitoring Groups) ของแต่ละฝ่ายในจำนวนที่เท่ากัน

2.2 จัดการประชุมระหว่างหัวหน้าชุดประสานงานชั่วคราวฝ่ายกัมพูชา (ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2551) กับประธานคณะกรรมการชายแดนส่วนภูมิภาคฝ่ายไทย ครั้งที่ 2 ที่กัมพูชา เพื่อหารือเรื่องการปรับกำลังช่วงที่สอง และให้ฝ่ายไทยจัดตั้งชุดประสานงานชั่วคราว

2.3 เก็บกู้ทุ่นระเบิดในลักษณะที่ประสานงานกัน ในพื้นที่ที่จะทำการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนโดย JBC ตามบันทึกความเข้าใจปี 2543

2.4 ให้ JBC กำหนดพื้นที่ที่จะทำให้อยู่ในสภาพพร้อมสำหรับการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนภายใต้แผนแม่บทและข้อกำหนดอำนาจหน้าที่ของ JBC และทำให้พื้นที่ดังกล่าวอยู่ในสภาพพร้อมก่อนที่ชุดสำรวจร่วมจะเริ่มงาน

2.5 จัดตั้งชุดประสานงานชั่วคราวประกอบด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของทั้งสองฝ่าย เพื่อพิจารณาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ รวมทั้งวัดแก้วสิขาคีรีสะวารา

2.6 ข้อตกลงชั่วคราวนี้จะไม่กระทบต่อสิทธิของแต่ละฝ่ายเกี่ยวกับการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดน ในกรอบของ JBC และท่าทีทางกฎหมายของตน

4.2 บันทึกความเข้าใจระหว่างไทย - กัมพูชา ว่าด้วยการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบก ปี 2543 (MOU 2543)

ปัจจุบัน กัมพูชายังคงอ้างเส้นเขตแดนตามแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 บริเวณปราสาทพระวิหาร ซึ่งล้ำดินแดนไทยเข้ามาประมาณ 3,000 ไร่ หรือ 4.6 ตารางกิโลเมตร

ปัญหาเขตแดนบริเวณปราสาทพระวิหารเป็นหนึ่งในปัญหาเขตแดนไทย - กัมพูชา ที่มีอยู่ตลอดแนว ซึ่งที่ผ่านมาประเทศไทยได้ใช้ความอดกลั้นอย่างสูงสุดต่อการละเมิดดินแดนไทยที่มีขึ้น เนื่องจากคำนึงถึงมิตรภาพ ความใกล้ชิดทางวัฒนธรรม แต่กระทรวงการต่างประเทศและหน่วยงานในท้องถิ่นได้ประท้วงการละเมิดดังกล่าวทุกครั้ง เพื่อรักษาสิทธิตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศของไทยไว้ระหว่างที่รอการแก้ไขปัญหาเขตแดนโดยกลไกการเจรจาที่มีอยู่

MOU (เอ็มโอยู) คืออะไร

MOU (Memorandum of Understanding - MOU) เป็นบันทึกความเข้าใจ ซึ่งเป็น “agreement to negotiate” (การตกลงว่าจะเจรจากัน) มิใช่ “agreement to agree” (การตกลงว่าจะตกลงกัน) โดยอาจกำหนดพื้นฐานทางกฎหมายที่ผู้ทำบันทึกทั้งสองฝ่ายเข้าใจร่วมกันในการดำเนินความสัมพันธ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ก่อนเข้าแข่งขันกีฬาจะต้องมีการตกลงกันเสียก่อนว่า กติกาของการแข่งขันคืออะไร ซึ่งเมื่อตกลงกติกากันได้แล้วจะมีการแข่งขันกันจริงหรือไม่ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งกติกาพื้นฐานนี้จะกำหนดขึ้นเพื่อใช้ระหว่างการแข่งขัน หรือสำหรับก่อนและ/หรือหลังการแข่งขันด้วยก็ได้ เช่น กติกาในการเลือกวัน เวลา และสนามแข่ง วิธีการส่ง
ผู้เข้าแข่งขัน อุปกรณ์ที่ใช้แข่งขัน เป็นต้น

สำหรับ MOU ที่เป็นความตกลงระหว่างประเทศนั้น คือ การที่ประเทศสองประเทศตกลงกันในเรื่องความเข้าใจพื้นฐาน หรือกติกาพื้นฐานของการเจรจาหรือการมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันให้เข้าใจตรงกัน ก่อนที่จะมีการเข้าเจรจาหรือมีปฏิสัมพันธ์กันจริง ๆ เพื่อให้การเจรจาหรือปฏิสัมพันธ์นั้น ๆ ตั้งอยู่บนพื้นฐานหรือกติกาที่ทั้งสองฝ่ายเข้าใจตรงกันแล้ว

กรณี MOU 2543 เป็น บันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชาว่าด้วยการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบก (Memorandum of Understanding between the Government of the Kingdom of Thailand and the Kingdom of Cambodia on the Survey and Demarcation of Land Boundary) กำหนดพื้นฐานทางกฎหมายว่า การเจรจาเขตแดนไทย - กัมพูชานั้น จะใช้เอกสารใดในการเจรจา แต่นั่นมิได้หมายความว่า อีกฝ่ายยอมรับว่าเอกสารดังกล่าวผูกพันตนเองแล้ว
แต่อย่างใด

ความเป็นมาของ MOU 2543

ประมาณปี 2537 หลังจากที่ประเทศกัมพูชาสามารถจัดการปัญหาการเมืองภายในและมีการจัดตั้งรัฐบาล รัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชาได้เริ่มเจรจาปัญหาเขตแดนอีกครั้ง เหตุผลหลักที่ประเทศไทยต้องการเจรจาปัญหาเขตแดนกับกัมพูชา คือ

1. หลังจากศาลโลกพิพากษาในปี 2505 ประเด็นปัญหาเรื่องเขตแดนไทย - กัมพูชา ถูกละทิ้งเป็นเวลานานกว่า 30 ปี

2. เหตุการณ์สู้รบระหว่างทหารไทยกับลาว บริเวณบ้านร่มเกล้าชายแดนจังหวัดพิษณุโลก ทำให้รัฐบาลตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาเขตแดนและนำไปสู่ความจำเป็นในการดำเนินการแก้ไขปัญหาเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน

3. รัฐบาลมีนโยบายไม่ให้เรื่องเขตแดนกลายเป็นประเด็นทางการเมือง แต่เป็นเรื่องของกฎหมายและเรื่องทางเทคนิค

4. รัฐบาลตระหนักถึงความจำเป็นที่จะใช้กฎหมายระหว่างประเทศในการเจรจาเขตแดน

ดังนั้น เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2540 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยและกัมพูชาได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมเพื่อจัดตั้งคณะกรรมาธิการร่วมจัดทำหลักเขตแดนสำหรับเขตแดนทางบก (Joint Statement on the Establishment of the Thai - Cambodian Joint Commission on the Demarcation for Land Boundary) ต่อมาในการประชุม คณะกรรมาธิการร่วมฯ ครั้งที่ 1 (30 มิถุนายน - 2 กรกฎาคม 2542) ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมฯ ขึ้นและเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2543 ประธานคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมฯ ของทั้งสองฝ่าย คือ ม.ร.ว.สุขุมพันธ์ุ บริพัตร รัฐมนตรี
ช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และนายวาร์ กิม ฮง ที่ปรึกษารัฐบาลผู้รับผิดชอบกิจการชายแดน ได้ลงนามใน MOU 2543 โดย MOU 2543 ข้อ 1 กำหนดว่า

“[ไทยและกัมพูชา] จะร่วมกันดำเนินการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบกระหว่างราชอาณาจักรไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชาให้เป็นไปตามเอกสารต่อไปนี้

(ก) อนุสัญญาระหว่างสยามกับฝรั่งเศสแก้ไขเพิ่มเติมข้อบทแห่งสนธิสัญญาฉบับลงวันที่ 3 ตุลาคม รัตนโกสินทรศก 112 (ค.ศ.1893) ว่าด้วยดินแดนกับข้อตกลงอื่น ๆ ฉบับลงนาม ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ รัตนโกสินทรศก 122 (ค.ศ. 1904)

(ข) สนธิสัญญาระหว่างสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินสยามกับประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส ฉบับลงนาม ณ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 23 มีนาคม รัตนโกสินทรศก 125 (ค.ศ. 1907) กับพิธีสารว่าด้วยการปักปันเขตแดน แนบท้ายสนธิสัญญา ฉบับลงวันที่ 23 มีนาคม รัตนโกสินทรศก 125 (ค.ศ. 1907) และ

(ค) แผนที่ที่จัดทำขึ้นตามผลงานการปักปันเขตแดนของคณะกรรมการปักปันเขตแดนระหว่างสยามกับอินโดจีนซึ่งจัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญา ค.ศ. 1904 และสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 กับเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้อนุสัญญา ค.ศ. 1904 และสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศส”

ทั้งนี้ MOU 2543 ไม่ใช่การกำหนดเขตแดนแต่เป็น MOU ที่ 2 ฝ่ายตกลงกันเกี่ยวกับขั้นตอนการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดน

การที่ฝ่ายกัมพูชาอ้างว่าแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 เป็นแผนที่ของคณะกรรมการปักปันฯ การอ้างอิงเอกสารดังกล่าว ก็ไม่ได้แสดงว่า ไทย“ยอมรับ” แผนที่หรือเส้นที่ปรากฏในแผนที่เป็นเส้นเขตแดน หากจะถือว่าไทยยอมรับในลักษณะนี้ ก็ต้องถือว่ากัมพูชายอมรับสันปันน้ำตามที่ระบุในอนุสัญญา ค.ศ. 1904 และสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 ในข้อ 1 (ก) และ (ข) ของ MOU 2543 ด้วย ดังนั้น จะต้องมีการเจรจากันต่อไป จนกว่าทั้งสองฝ่ายจะได้ข้อยุติร่วมกัน

4.2.1 ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000
ที่มาของ “แผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000”

สนธิสัญญากำหนดเขตแดนไทย - กัมพูชา มี 2 ฉบับ ได้แก่ อนุสัญญาสยาม - ฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 และสนธิสัญญาสยาม - ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 สนธิสัญญาทั้งสองฉบับระบุให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการผสมสยาม - ฝรั่งเศสเพื่อปักปันเขตแดน เพื่อดำเนินการสำรวจภูมิประเทศจริง และได้มีการจัดทำแผนที่แสดงเส้นเขตแดน โดยมีการจัดทำแผนที่ 2 ชุด ได้แก่ แผนที่ชุด Bernard5 (ตามอนุสัญญาฯ ค.ศ. 1904 มี 11 ระวาง) และแผนที่ชุด Montguers (ตามสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 มี 5 ระวาง) ซึ่งทั้งหมดเป็นแผนที่จัดทำในมาตราส่วน 1 : 200,000 ดังนั้น เมื่อกล่าวถึง “แผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000” จึงหมายรวมถึงแผนที่หลายฉบับ (มิได้หมายถึงแผนที่ระวางดงรักฉบับเดียว) ซึ่งครอบคลุมเขตแดนไทย - ลาว และไทย - กัมพูชา ปัจจุบันทั้งหมด

“แผนที่ระวางดงรัก” ซึ่งเป็นแผนที่ที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุดและแสดงเขตแดนบริเวณปราสาทพระวิหาร จังหวัดศรีสะเกษ เป็นเพียง 1 ในแผนที่จำนวน 11 ระวางของแผนที่ชุด Bernard (ปัจจุบันเหลือใช้เพียง 8 ระวาง เนื่องจากเส้นเขตแดน ค.ศ. 1904 ตามแผนที่ชุด Bernard จำนวน 3 ระวาง ถูกยกเลิกโดยเส้นเขตแดนใหม่ตามสนธิสัญญา ค.ศ. 1907)

แผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระวางดงรัก กับคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ปี 2505

ในคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร ปี 2505 ศาลฯ ระบุว่า จะไม่ตัดสินว่า เส้นเขตแดนไทย - กัมพูชา บริเวณปราสาทพระวิหารเป็นไปตามแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระวางดงรัก (ต่อไปนี้จะเรียกว่า “แผนที่ดงรัก”) หรือไม่ อย่างไรก็ตาม ศาลฯ จำเป็นต้องทราบว่า เส้นเขตแดนไทย -กัมพูชา อยู่ที่ใดในบริเวณปราสาทพระวิหาร เพื่อใช้เป็นเหตุผลที่จะตัดสินว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ภายใต้อธิปไตยของประเทศใด6

ลักษณะของคำพิพากษาของศาลฯ แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่

(1) ส่วนเหตุผล (reasoning) ซึ่งในหลักการ ไม่มีผลผูกพันทางกฎหมายและ (2) ส่วนบทปฏิบัติการ (operative paragraph) ซึ่งมีผลผูกพันคู่กรณี

ในส่วนเหตุผล ศาลฯ อ้างเหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นว่า ไทยได้ยอมรับแผนที่ดงรัก ดังต่อไปนี้

(1) ฝ่ายไทยได้ดำเนินการเผยแพร่แผนที่ดงรักอย่างกว้างขวางภายหลังที่ได้รับมาจากฝรั่งเศส และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงขอแผนที่เพิ่มเติมด้วย

(2) ไทยไม่เคยคัดค้านเส้นเขตแดนบนแผนที่ดงรักจนถึง ค.ศ.1958 แม้ว่าจะมีโอกาสหลายครั้ง เช่น การทำงานของคณะกรรมการถอดอักษรสยาม - ฝรั่งเศส ค.ศ. 1909 การสำรวจภูมิประเทศของกรมแผนที่ทหาร ค.ศ. 1934 และต่อมาได้ผลิตแผนที่ที่แสดงเส้นเขตแดนไปตามแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 การเจรจาสนธิสัญญาทางไมตรีพาณิชย์ และการเดินเรือ ค.ศ. 1925 และ ค.ศ. 1937 และระหว่างการประชุมหารือของคณะกรรมการประนอมฝรั่งเศส - ไทย ค.ศ. 1947

ในส่วนบทปฏิบัติการ ศาลฯ ระบุว่า ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ในอาณาเขตภายใต้อธิปไตยกัมพูชา โดยไม่ได้ตัดสินเกี่ยวกับเส้นเขตแดน หรือสถานะของแผนที่ระวางดงรัก

แผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 กับแผนที่ L7017/L7018

ประเด็นว่า เมื่อนำแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 มาทาบลงบนแผนที่ L7017/L7018 แล้วจะพบว่า เส้นเขตแดนตามแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ทำให้ไทยเสียดินแดนเป็นจำนวนมากนั้น มีข้ออธิบาย ดังนี้

1) แผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 และแผนที่ L7017/L7018 เป็นแผนที่ที่มีวิธีการจัดทำ (Projection) แตกต่างกัน จึงมีลักษณะแตกต่างกัน

2) L7017/L7018 จัดทำโดยใช้พื้นผิวของรูปทรงกระบอก (Mercator Projection) ซึ่งจะแสดงระยะทางที่ถูกต้อง แต่ขนาดของภูมิประเทศจะคลาดเคลื่อน ในขณะที่แผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ซึ่งจัดทำโดยใช้ Sinusoidal Projection (ลักษณะคล้ายหัวหอม) จะแสดงขนาดภูมิประเทศถูกต้อง แต่ระยะทางคลาดเคลื่อน

3) เนื่องด้วยคุณสมบัติที่แตกต่างกันของแผนที่ทั้ง 2 ชุด จึงไม่สามารถนำแผนที่มาทาบกันได้ เพราะขนาดและรูปทรงของภูมิประเทศและเส้นเขตแดนจะแตกต่างกันมาก

4.2.2 การละเมิดข้อตกลงของกัมพูชาและการประท้วงของไทย

MOU 2543 ข้อ 5 กำหนดว่า “เพื่ออำนวยความสะดวกให้การสำรวจตลอดแนวเขตแดนทางบกร่วมกัน เป็นไปอย่างประสิทธิผลหน่วยงานของรัฐบาลกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานเหล่านั้น จะงดเว้นการดำเนินการใด ๆ ที่มีผล เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของพื้นที่ชายแดน เว้นแต่จะเป็นการดำเนินการของคณะอนุกรรมาธิการ
เทคนิคร่วม เพื่อประโยชน์ในการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดน”

อย่างไรก็ดี นับแต่มีการจัดทำ MOU 2543 ฝ่ายกัมพูชาได้ละเมิดMOU 2543 ข้อ 5 โดยก่อสร้างรุกล้ำเขตแดนไทยในบางพื้นที่ รวมทั้งก่อสร้างวัด ถนน ตลาด และให้มีประชาชนกัมพูชาอาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงปราสาทพระวิหาร นอกจากนี้ ฝ่ายกัมพูชายังได้ดำเนินกิจกรรมอื่น ๆ ในบริเวณพื้นที่ 4.6 ตารางกิโลเมตร ซึ่งถือเป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศไทย ฝ่ายไทยจึงได้ดำเนินการประท้วงต่อเรื่องดังกล่าว

ในทางปฏิบัติของไทย การประท้วงจะเริ่มจากหน่วยงานในท้องถิ่น อาทิ หน่วยงานประสานงานชายแดนประจำพื้นที่ และหากหน่วยบังคับบัญชาเห็นว่าควรมีการประท้วงในระดับรัฐบาลก็จะมีหนังสือแจ้งให้กระทรวงการต่างประเทศพิจารณาดำเนินการต่อไป ในขณะเดียวกัน กระทรวงการต่างประเทศก็ได้รับแจ้งเรื่องจากหน่วยงานระดับท้องถิ่นเพื่อติดตามสถานการณ์ด้วย

การประท้วงของไทยในระดับรัฐบาล
25 พฤศจิกายน 2547 - ไทยดำเนินการประท้วงชุมชนและการก่อสร้างที่พัก และการบริหารจัดการขยะและน้ำเสีย
8 มีนาคม 2548 - ประท้วงการก่อสร้างและพัฒนาถนนจากบ้านโกมุยขึ้นสู่ปราสาทพระวิหาร
17 พฤษภาคม 2550 - คัดค้านการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก
10 เมษายน 2551 - ประท้วงการขึ้นทะเบียนมรดกโลก การก่อสร้างถนน การก่อสร้างต่าง ๆ ของชุมชนและกรณีกัมพูชาวางกำลังทหารรวมทั้งส่งหน่วยเก็บกู้ระเบิดเข้าดำเนินการในพื้นที่
11 พฤศจิกายน 2551 - ประท้วงกรณีชาวกัมพูชาและเจ้าหน้าที่ยูเนสโกเดินทางผ่านเข้ามาในไทยโดยมิได้ขออนุญาตเพื่อเข้าร่วมพิธีปักธงบริเวณปราสาทพระวิหารและพื้นที่ใกล้เคียง
12 พฤศจิกายน 2551 - ประท้วงการตั้งเสาธงชาติและธงยูเนสโกการก่อสร้างป้ายบริเวณแนวบันไดปราสาทพระวิหาร 13 พฤศจิกายน 2551 - ประท้วงกรณีกัมพูชานำพระสงฆ์ เณร และประชาชนชาวกัมพูชา เข้าร่วมพิธีทอดกฐิน ณ วัดแก้วสิขาคีรีสะวารา

10 มีนาคม 2552 - ประท้วงการก่อสร้างและพัฒนาถนนจากฝั่งกัมพูชาขึ้นสู่ปราสาทพระวิหารถึงบริเวณวัดแก้วสิขาคีรีสะวารา
26 มีนาคม 2552 - ประท้วงการก่อสร้างห้องน้ำและอาคารบริเวณวัดแก้วสิขาคีรีสะวารา
22 กันยายน 2552 - ประท้วงสิ่งปลูกสร้างบริเวณบันไดเชิงปราสาทพระวิหาร
29 ตุลาคม 2552 - ไทยปฏิเสธข้อกล่าวหาของกัมพูชาที่กล่าวว่าทหารไทยเป็นผู้ทำลายตลาดบริเวณปราสาท
9 เมษายน 2553 - ประท้วงการสร้างกุฏิพระที่วัดแก้วสิขาคีรีสะวาราในพื้นที่ใกล้ปราสาทพระวิหาร
4 มีนาคม 2554 - ประท้วงการจัดให้ผู้ช่วยทูตทหารต่างประเทศดูพื้นที่ปราสาทพระวิหารผ่านพื้นที่ที่ไทยอ้างสิทธิ
31 มีนาคม 2554 - ไทยเรียกร้องให้กัมพูชารื้อถอนวัดและปลดธงจากวัดแก้วสิขาคีรีสะวารา

*** การประท้วงของไทยโดยกระทรวงการต่างประเทศ ถือว่ามีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ในการรักษาสิทธิและอธิปไตยของประเทศ โดยถึงแม้กัมพูชาจะมีการสร้างถนน ตลาด วัด และชุมชนในพื้นที่ก็ตาม ประเทศไทยเลือกใช้แนวทางการเจรจาซึ่งเป็นการยุติข้อพิพาทโดยสันติวิธีอันเป็นหลักที่ยอมรับในอารยประเทศ ***

4.3 แผนแม่บทและข้อกำหนดอำนาจหน้าที่ของการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบก ปี 2546 (TOR 2546)

Terms of Reference - TOR คือ แผนแม่บทและข้อกำหนดอำนาจหน้าที่ที่จัดทำขึ้นตาม MOU 2543 ข้อ 2 และ 3 สำหรับการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนของคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมฯ (JBC) โดยเฉพาะในกระบวนการทางเทคนิคที่มีความซับซ้อนสูง มี 5 ขั้นตอน คือ

ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของหลักเขตแดนทั้ง 73 หลัก ที่ได้จัดทำไว้ในอดีต โดยเมื่อสามารถตกลงเห็นชอบกับ ตำแหน่งที่ตั้งของหลักเขตแดนแต่ละหลักได้แล้วก็จะซ่อมแซม (ในกรณีที่ชำรุดหรือถูกเคลื่อนย้าย) หรือสร้างขึ้นใหม่ (ในกรณีที่สูญหายหรือถูกทำลาย)

ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศ(Orthophoto Map) คือ การจัดทำแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศแสดงลักษณะภูมิประเทศตามแนวเขตแดนทางบกตลอดแนว และได้ตกลงกันว่าจะจ้างประเทศที่สามเป็นผู้ดำเนินการ

ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดแนวที่จะเดินสำรวจลงบนแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศ โดยทั้งสองฝ่ายจะร่วมกันกำหนดแนวที่จะเดินสำรวจตามหลักฐานทางกฎหมายลงบนแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศ เพื่อใช้เป็นแนวทางให้การเดินสำรวจหาแนวเขตแดนในภูมิประเทศจริงเป็นไปโดยสะดวกและมีความถูกต้อง หากทั้งสองฝ่ายมีความเห็นแตกต่างกันเกี่ยวกับแนวที่จะเดินสำรวจ ก็ให้จัดทำแนวของทั้งสองฝ่ายลงบนแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศ

ขั้นตอนที่ 4 การเดินสำรวจหาแนวเขตในภูมิประเทศ โดยทั้งสองฝ่ายจะร่วมกันเดินสำรวจสภาพภูมิประเทศจริงตามแนวที่จะเดินสำรวจ ตามขั้นตอนที่ 3 เพื่อกำหนดแนวเขตแดนในภูมิประเทศที่มีทั้งสันปันน้ำแนวเส้นตรง และลำคลอง พร้อมทั้งกำหนดจุดที่จะก่อสร้างหลักเขตแดนไปด้วย (ทุกระยะไม่เกิน 5 กิโลเมตร)

ขั้นตอนที่ 5 การก่อสร้างหลักเขตแดน ซึ่งจะก่อสร้างในภูมิประเทศสำคัญ ทั้งนี้ ได้ตกลงกันด้วยว่าขั้นตอนเหล่านี้เป็นเพียงการวางแผนแม่บทในการปฏิบัติงานไว้ จึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการไปทีละขั้นตอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดทำแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศนั้น สามารถดำเนินการควบคู่กันไปกับการค้นหาที่ตั้งหลักเขตแดนได้

4.4 การประชุมคณะกรรมการชายแดนทั่วไปไทย - กัมพูชา (General Border Committee - GBC) และการประชุมคณะกรรมการชายแดนส่วนภูมิภาค (Regional BorderCommittee - RBC)

ไทยและกัมพูชามีความร่วมมือระหว่างกันในการรักษาความสงบเรียบร้อยบริเวณชายแดนไทย - กัมพูชา โดยในปี 2538 ไทยและกัมพูชาได้ลงนามในความตกลงระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชาว่าด้วย ความร่วมมือชายแดน ส่งผลให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการชายแดนทั่วไปไทย -กัมพูชา (GBC) และคณะกรรมการชายแดนส่วนภูมิภาค (RBC) ขึ้นโดย GBC เป็นกลไกทวิภาคีฝ่ายทหารระดับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ซึ่งมีกำหนดจัดประชุมทุกปีโดยสลับกันเป็นเจ้าภาพ ในขณะที่ RBC เป็นกลไกทวิภาคีฝ่ายทหารระดับแม่ทัพภาค แบ่งออกเป็น 3 คณะกรรมการได้แก่ RBC ด้านกองทัพภาคที่ 2 กับภูมิภาคทหารที่ 4 ของกัมพูชา ดูแล
ชายแดนด้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนใต้ (อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์) ด้านกองทัพภาคที่ 1 กับภูมิภาคทหารที่ 5 ของกัมพูชา ดูแลชายแดนด้านภาคตะวันออกตอนบน (สระแก้ว) และด้านกองบัญชาการป้องกันชายแดนด้านจันทบุรีและตราด (กปช. จต.) กับภูมิภาคทหารที่ 3 ดูแลชายแดนด้านภาคตะวันออกตอนล่าง (จันทบุรีและตราด)

ล่าสุด ฝ่ายไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม GBC ครั้งที่ 7ระหว่างวันที่ 29 - 30 ตุลาคม 2553 ที่พัทยา โดยมี พล.อ. ประวิตร วงษ์สุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและ พล.อ. เตีย บันห์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมกัมพูชาเป็นประธานร่วม ทั้งสองฝ่ายได้หารือเกี่ยวกับประเด็นความร่วมมือด้านความมั่นคงทั่วไป อาทิ การสัญจรข้ามแดน แรงงาน การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดและอาชญากรรมข้ามชาติ ความมั่นคงทางทะเลการกู้ทุ่นระเบิด และความร่วมมือด้านอื่น ๆ อาทิ การค้าชายแดนการเกษตร สาธารณสุข การท่องเที่ยว การอนุรักษ์ป่าไม้ การศึกษาวัฒนธรรม และการจัดการสาธารณภัย

ในระดับ RBC ได้มีการประชุมล่าสุดในแต่ละคณะกรรมการ โดย RBC ด้านกองทัพภาคที่ 2 กับภูมิภาคทหารที่ 4 ของกัมพูชา ได้มี การประชุมครั้งที่ 15 เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2554 ที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย RBC ด้านกองทัพภาคที่ 1 กับภูมิภาคทหารที่ 5 ของกัมพูชา จัดการประชุมครั้งที่ 18 เมื่อ 14 - 16 กันยายน 2553 ที่ จังหวัดชลบุรีประเทศไทย และ RBC ด้านกองบัญชาการป้องกันชายแดนด้านจันทบุรี และตราด (กปช. จต.) กับภูมิภาคทหารที่ 3 จัดการประชุมครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553 โดยในระหว่างการประชุมทั้ง 3 คณะกรรมการ ทั้งสองฝ่ายได้หารือทั้งในประเด็นความมั่นคงบริเวณชายแดนและประเด็นความร่วมมือด้านอื่น ๆ อาทิ การค้า การเกษตร สิ่งแวดล้อม สาธารณสุขและการท่องเที่ยว

ภายใต้บริบทการแก้ไขปัญหาระหว่างไทย - กัมพูชา การประชุมGBC เป็นหนึ่งในสองกลไกหลักนอกเหนือจาก JBC ที่ได้ถูกหยิบยกขึ้นเพื่อ ใช้ในการแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดความตึงเครียดบริเวณชายแดน ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ไทย กัมพูชา และอินโดนีเซีย ได้มีการเจรจาหารือและตกลงกันให้มีการดำเนินการแบบชุดข้อตกลง (package of solutions) 3 ขั้นตอน7 ซึ่งในขั้นตอนที่ 2 และ 3 ได้ระบุถึง การหารือเกี่ยวกับการถอนทหารกัมพูชาออกจากบริเวณปราสาทและรอบปราสาทพระวิหาร วัดแก้วสิขาคีรีสะวารา รวมถึงตลาดและชุมชนโดยรอบในกรอบ GBC ซึ่งหากการหารือดังกล่าวเป็นผลสำเร็จนำไปสู่การถอนทหาร
ของกัมพูชาในบริเวณดังกล่าวข้างต้น อินโดนีเซียจึงจะสามารถส่งคณะผู้สังเกตการณ์ฯ เข้ามาในฝั่งไทยและกัมพูชาได้

อย่างไรก็ดี เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมกับรองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมกัมพูชา ได้ตกลงที่จะให้มีการส่งคณะสำรวจ (survey team) ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่สังกัดสถานเอกอัครราชทูตอินโดนีเซียประจำประเทศไทยและกัมพูชามายังพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในฝั่งไทยและกัมพูชา โดยในช่วงเดียวกัน จะจัดการประชุม GBC โดยเป็นวาระที่กัมพูชาเป็นเจ้าภาพ เพื่อหารือเกี่ยวกับการถอนทหารกัมพูชาออกจากปราสาทพระวิหาร บริเวณรอบปราสาทฯวัดแก้วสิขาคีรีสะวารา รวมถึงตลาดและชุมชนโดยรอบ และเมื่อมีการดำเนินการตามผลการประชุม GBC ในเรื่องการปรับกำลังทหารกัมพูชา ดังกล่าวแล้ว จึงจะมีการลงนามในหนังสือแลกเปลี่ยนเรื่อง TOR ของคณะผู้สังเกตการณ์ฯ ต่อไป


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#130 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:29

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน

Wasserscheide ภาษาเยอรมัน = ligne de partage des eaux ภาษาฝรั่งเศส

ใช่สันปันน้ำรึเปล่าคิดเอาเองนะครับ

แผนที่คณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสที่ทำขึ้นฝ่ายเดียวบอกไม่ยอมรับ แต่ดันไปยอมรับคำพูดบางประโยคของคณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสฝ่ายเดียวอีก ผมถามว่าคณะกรรมการฝ่ายไทยรับรองยังล่ะ หาได้รึยัง

อ้างว่าใช้สันปันน้ำขอบหน้าผาแต่จนป่านนี้ยังหาคำอธิบายไม่ได้ว่าทำไมมีส่วนที่สูงกว่าหน้าผา อธิบายไม่ได้ว่าน้ำจากขอบหน้าผาจะไหลขึ้นไปยังจุดที่สูงกว่าได้อย่างไร

อ้างขอบหน้าผาแต่พอหน้าผามีแนวลึกเข้ามาในฝั่งไทยก็ตัดทิ้งซะงั้นไม่ใช้หน้าผาแล้ว ถ้าอ้างว่าขอบหน้าผาเป็นแนวสันปันน้ำจริงเขตแดนก็ต้องมาใช้ตามแนวสีขาวสิครับ มาใช้เส้นแบ่งกลางซึ่งไม่ใช่หน้าผาทำไม หรือจะยอมรับว่าสันปันน้ำไม่ได้อยู่ที่หน้าผาเสมอไป

 

อ้างว่าเห็นได้ชัด แต่ดันไปอ้างคำพูดที่ใช้เทคโนโลยีเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ถ้ามันเหมือนปัจจุบันคงไม่มีปัญหาเกิดขึ้นตอนที่หาสันปันน้ำร่วมกันกับลาวหรอกครับ ตัวอย่างมีให้เห็นชัดเจน

 

attachicon.gifขั้นตอนที่ 5.GIF

 

คงต้องหาว่าที่เขาพูดขึ้นมา ที่บริเวณไหน เพราะอะไร แต่คณะสำรวจและปักปันก็ไม่ได้มีการปักหลักเขตที่สันปันน้ำในตอนนั้นในบริเวณเขาพระวิหาร เท่ากับเป็นการยืนยันว่าเขาเห็นว่าขอบหน้าผาที่เห็นได้ชัดจากตีนเขา ว่าเป็นสันปันน้ำ

 

ที่ไทยไม่ยอมรับนั้นเฉพาะระวางดงรักนะครับ ไม่มีการเซ็นรับรองแผนที่ดังกล่าว

 

ในขั้นตอนการปักหลักเขตแดน โดยม.บูรพา ก็กล่าวถึงการปักหลักเขตแดนบนสันปันน้ำ

แสดงว่าในตอนนั้นเขาปักไม่ได้ซิครับ ถ้าปักได้คงปักไปแล้ว แบบที่เห็นในรูปข้างบน

ที่เสนอขั้นตอนที่ 5 ขึ้นมาก็คงเห็นแล้วว่ามีปัญหา ต้องปักหลักเขตแดนแล้ว แม้จะเป็นขอบหน้าผาก็ตาม

ผมถามคุณไปแล้วว่าเขาพูดถึงบริเวณไหนคุณก็ไม่เห็นตอบแต่ก็ยังเอามาอ้างคำพูดเรื่อย ๆ

อ้างว่าไทยไม่เซ็นรับรองแผนที่แล้วไทยเซ็นรับรองคำพูดไหมล่ะครับ ถ้าไม่เซ็นรับรองมันก็ใช้ไม่ได้เหมือนกัน

อ้างหลักปักเขตแดนของ ม.บรูพา แล้ว ม.บรูพาใช้เทคโนโลยีสมัยไหนล่ะครับ สมัยนั้นคิดว่าปักกี่ปีถึงจะเสร็จหมดครับ ขนาดใช้เทคโนโลยีปัจจุบัน ของไทยกับลาวผ่านไปจะสิบกว่าปียังทำกันไม่เสร็จ


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#131 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:48

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน

Wasserscheide ภาษาเยอรมัน = ligne de partage des eaux ภาษาฝรั่งเศส

ใช่สันปันน้ำรึเปล่าคิดเอาเองนะครับ

แผนที่คณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสที่ทำขึ้นฝ่ายเดียวบอกไม่ยอมรับ แต่ดันไปยอมรับคำพูดบางประโยคของคณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสฝ่ายเดียวอีก ผมถามว่าคณะกรรมการฝ่ายไทยรับรองยังล่ะ หาได้รึยัง

อ้างว่าใช้สันปันน้ำขอบหน้าผาแต่จนป่านนี้ยังหาคำอธิบายไม่ได้ว่าทำไมมีส่วนที่สูงกว่าหน้าผา อธิบายไม่ได้ว่าน้ำจากขอบหน้าผาจะไหลขึ้นไปยังจุดที่สูงกว่าได้อย่างไร

อ้างขอบหน้าผาแต่พอหน้าผามีแนวลึกเข้ามาในฝั่งไทยก็ตัดทิ้งซะงั้นไม่ใช้หน้าผาแล้ว ถ้าอ้างว่าขอบหน้าผาเป็นแนวสันปันน้ำจริงเขตแดนก็ต้องมาใช้ตามแนวสีขาวสิครับ มาใช้เส้นแบ่งกลางซึ่งไม่ใช่หน้าผาทำไม หรือจะยอมรับว่าสันปันน้ำไม่ได้อยู่ที่หน้าผาเสมอไป

 

อ้างว่าเห็นได้ชัด แต่ดันไปอ้างคำพูดที่ใช้เทคโนโลยีเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ถ้ามันเหมือนปัจจุบันคงไม่มีปัญหาเกิดขึ้นตอนที่หาสันปันน้ำร่วมกันกับลาวหรอกครับ ตัวอย่างมีให้เห็นชัดเจน

 

attachicon.gifขั้นตอนที่ 5.GIF

 

คงต้องหาว่าที่เขาพูดขึ้นมา ที่บริเวณไหน เพราะอะไร แต่คณะสำรวจและปักปันก็ไม่ได้มีการปักหลักเขตที่สันปันน้ำในตอนนั้นในบริเวณเขาพระวิหาร เท่ากับเป็นการยืนยันว่าเขาเห็นว่าขอบหน้าผาที่เห็นได้ชัดจากตีนเขา ว่าเป็นสันปันน้ำ

 

ที่ไทยไม่ยอมรับนั้นเฉพาะระวางดงรักนะครับ ไม่มีการเซ็นรับรองแผนที่ดังกล่าว

 

ในขั้นตอนการปักหลักเขตแดน โดยม.บูรพา ก็กล่าวถึงการปักหลักเขตแดนบนสันปันน้ำ

แสดงว่าในตอนนั้นเขาปักไม่ได้ซิครับ ถ้าปักได้คงปักไปแล้ว แบบที่เห็นในรูปข้างบน

ที่เสนอขั้นตอนที่ 5 ขึ้นมาก็คงเห็นแล้วว่ามีปัญหา ต้องปักหลักเขตแดนแล้ว แม้จะเป็นขอบหน้าผาก็ตาม

ผมถามคุณไปแล้วว่าเขาพูดถึงบริเวณไหนคุณก็ไม่เห็นตอบแต่ก็ยังเอามาอ้างคำพูดเรื่อย ๆ

อ้างว่าไทยไม่เซ็นรับรองแผนที่แล้วไทยเซ็นรับรองคำพูดไหมล่ะครับ ถ้าไม่เซ็นรับรองมันก็ใช้ไม่ได้เหมือนกัน

อ้างหลักปักเขตแดนของ ม.บรูพา แล้ว ม.บรูพาใช้เทคโนโลยีสมัยไหนล่ะครับ สมัยนั้นคิดว่าปักกี่ปีถึงจะเสร็จหมดครับ ขนาดใช้เทคโนโลยีปัจจุบัน ของไทยกับลาวผ่านไปจะสิบกว่าปียังทำกันไม่เสร็จ

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

ผมก็ไม่ทราบเหมือนกัน คุณทราบไหมล่ะ แต่ที่แน่ๆ คือเขามองจากตีนเขา มีที่ไหนที่มองจากตีนเขาตงรักแล้วเห็นได้บ้างล่ะ

 

ในเมื่อเห็นพ้องต้องกัน ทำไมต้องรับรองกันอีกครับ ถ้าไม่เห็นด้วยคงต้องมีสนธิสัญญาแล้วครับ

แต่แผนที่ก็มีกล่าวไว้ในนี้ http://webboard.seri...e-3#entry569589

 

การที่เขาไม่ปักหลักเขตตามแผนที่ของเขา ที่มีที่พื้นที่มากพอที่จะทำได้ แล้วไม่ทำ แบบนี้ พอที่จะป็นการยืนยันคำพูดเขาได้ไหม

 

ของม.บูรพามีคนเขาเอามาครับ ตามนี้

http://webboard.seri...e-2#entry569421


Edited by Stargate-1, 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 10:51.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#132 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 11:01

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน

Wasserscheide ภาษาเยอรมัน = ligne de partage des eaux ภาษาฝรั่งเศส

ใช่สันปันน้ำรึเปล่าคิดเอาเองนะครับ

แผนที่คณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสที่ทำขึ้นฝ่ายเดียวบอกไม่ยอมรับ แต่ดันไปยอมรับคำพูดบางประโยคของคณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสฝ่ายเดียวอีก ผมถามว่าคณะกรรมการฝ่ายไทยรับรองยังล่ะ หาได้รึยัง

อ้างว่าใช้สันปันน้ำขอบหน้าผาแต่จนป่านนี้ยังหาคำอธิบายไม่ได้ว่าทำไมมีส่วนที่สูงกว่าหน้าผา อธิบายไม่ได้ว่าน้ำจากขอบหน้าผาจะไหลขึ้นไปยังจุดที่สูงกว่าได้อย่างไร

อ้างขอบหน้าผาแต่พอหน้าผามีแนวลึกเข้ามาในฝั่งไทยก็ตัดทิ้งซะงั้นไม่ใช้หน้าผาแล้ว ถ้าอ้างว่าขอบหน้าผาเป็นแนวสันปันน้ำจริงเขตแดนก็ต้องมาใช้ตามแนวสีขาวสิครับ มาใช้เส้นแบ่งกลางซึ่งไม่ใช่หน้าผาทำไม หรือจะยอมรับว่าสันปันน้ำไม่ได้อยู่ที่หน้าผาเสมอไป

 

อ้างว่าเห็นได้ชัด แต่ดันไปอ้างคำพูดที่ใช้เทคโนโลยีเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ถ้ามันเหมือนปัจจุบันคงไม่มีปัญหาเกิดขึ้นตอนที่หาสันปันน้ำร่วมกันกับลาวหรอกครับ ตัวอย่างมีให้เห็นชัดเจน

 

attachicon.gifขั้นตอนที่ 5.GIF

 

คงต้องหาว่าที่เขาพูดขึ้นมา ที่บริเวณไหน เพราะอะไร แต่คณะสำรวจและปักปันก็ไม่ได้มีการปักหลักเขตที่สันปันน้ำในตอนนั้นในบริเวณเขาพระวิหาร เท่ากับเป็นการยืนยันว่าเขาเห็นว่าขอบหน้าผาที่เห็นได้ชัดจากตีนเขา ว่าเป็นสันปันน้ำ

 

ที่ไทยไม่ยอมรับนั้นเฉพาะระวางดงรักนะครับ ไม่มีการเซ็นรับรองแผนที่ดังกล่าว

 

ในขั้นตอนการปักหลักเขตแดน โดยม.บูรพา ก็กล่าวถึงการปักหลักเขตแดนบนสันปันน้ำ

แสดงว่าในตอนนั้นเขาปักไม่ได้ซิครับ ถ้าปักได้คงปักไปแล้ว แบบที่เห็นในรูปข้างบน

ที่เสนอขั้นตอนที่ 5 ขึ้นมาก็คงเห็นแล้วว่ามีปัญหา ต้องปักหลักเขตแดนแล้ว แม้จะเป็นขอบหน้าผาก็ตาม

ผมถามคุณไปแล้วว่าเขาพูดถึงบริเวณไหนคุณก็ไม่เห็นตอบแต่ก็ยังเอามาอ้างคำพูดเรื่อย ๆ

อ้างว่าไทยไม่เซ็นรับรองแผนที่แล้วไทยเซ็นรับรองคำพูดไหมล่ะครับ ถ้าไม่เซ็นรับรองมันก็ใช้ไม่ได้เหมือนกัน

อ้างหลักปักเขตแดนของ ม.บรูพา แล้ว ม.บรูพาใช้เทคโนโลยีสมัยไหนล่ะครับ สมัยนั้นคิดว่าปักกี่ปีถึงจะเสร็จหมดครับ ขนาดใช้เทคโนโลยีปัจจุบัน ของไทยกับลาวผ่านไปจะสิบกว่าปียังทำกันไม่เสร็จ

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

ผมก็ไม่ทราบเหมือนกัน คุณทราบไหมล่ะ แต่ที่แน่ๆ คือเขามองจากตีนเขา มีที่ไหนที่มองจากตีนเขาตงรักแล้วเห็นได้บ้างล่ะ

 

ในเมื่อเห็นพ้องต้องกัน ทำไมต้องรับรองกันอีกครับ ถ้าไม่เห็นด้วยคงต้องมีสนธิสัญญาแล้วครับ

แต่แผนที่ก็มีกล่าวไว้ในนี้ http://webboard.seri...e-3#entry569589

 

การที่เขาไม่ปักหลักเขตตามแผนที่ของเขา ที่มีที่พื้นที่มากพอที่จะทำได้ แล้วไม่ทำ แบบนี้ พอที่จะป็นการยืนยันคำพูดเขาได้ไหม

 

ของม.บูรพามีคนเขาเอามาครับ ตามนี้

http://webboard.seri...e-2#entry569421

เห็นพ้องต้องกันให้เห็นพ้องครับ ผมถึงได้ถามไงว่าฝ่ายไทยรับรองคำพูดรึยัง หรือจะอ้างว่าไทยไม่แย้งถือว่ายอมรับ งั้นก็สมควรได้โดนกฎหมายปิดปากแล้วล่ะครับ ไทยไม่แย้งแผนที่ที่ฝรั่งเศสส่งมาให้ก็แสดงว่าเห็นพ้องต้องกันเช่นกัน

ในเมื่อคุณอ้างว่าแผนที่ก็มีกล่าวไว้ก็แสดงมาสิครับ จนป่านนี้ยังไม่เห็นแผนที่ของคณะกรรมการร่วมเลย เห็นแต่แผนที่ที่คณะกรรมการฝรั่งเศสทำขึ้นฝ่ายเดียว

แล้วที่ไม่ปักหลักเขตบนสันปันน้ำเพราะมันเสียเวลามาก จึงเน้นไปปักในพื้นที่ราบที่ภูมิประเทศไม่ชัดเจนก่อน แล้วคุณคิดว่าสมัยนั้นเทคโนโลยีเอื้ออำนวยเลยรึครับ ขนาดเขตแดนไทยกับลาวที่ทำหลักเขตใหม่จนป่านนี้มันยังทำกันไม่เสร็จ ยังไม่นับเรื่องไข้ป่าในสมัยนั้นอีก อย่าว่าแต่ใช้สันปันน้ำเลย ขนาดหลักเขต 73 หลักมันยังมีบางช่วงที่ต้องใช้สันปันน้ำโดนไม่ปักหลักเขตเช่นกัน


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#133 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 11:11

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน

Wasserscheide ภาษาเยอรมัน = ligne de partage des eaux ภาษาฝรั่งเศส

ใช่สันปันน้ำรึเปล่าคิดเอาเองนะครับ

แผนที่คณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสที่ทำขึ้นฝ่ายเดียวบอกไม่ยอมรับ แต่ดันไปยอมรับคำพูดบางประโยคของคณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสฝ่ายเดียวอีก ผมถามว่าคณะกรรมการฝ่ายไทยรับรองยังล่ะ หาได้รึยัง

อ้างว่าใช้สันปันน้ำขอบหน้าผาแต่จนป่านนี้ยังหาคำอธิบายไม่ได้ว่าทำไมมีส่วนที่สูงกว่าหน้าผา อธิบายไม่ได้ว่าน้ำจากขอบหน้าผาจะไหลขึ้นไปยังจุดที่สูงกว่าได้อย่างไร

อ้างขอบหน้าผาแต่พอหน้าผามีแนวลึกเข้ามาในฝั่งไทยก็ตัดทิ้งซะงั้นไม่ใช้หน้าผาแล้ว ถ้าอ้างว่าขอบหน้าผาเป็นแนวสันปันน้ำจริงเขตแดนก็ต้องมาใช้ตามแนวสีขาวสิครับ มาใช้เส้นแบ่งกลางซึ่งไม่ใช่หน้าผาทำไม หรือจะยอมรับว่าสันปันน้ำไม่ได้อยู่ที่หน้าผาเสมอไป

 

อ้างว่าเห็นได้ชัด แต่ดันไปอ้างคำพูดที่ใช้เทคโนโลยีเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ถ้ามันเหมือนปัจจุบันคงไม่มีปัญหาเกิดขึ้นตอนที่หาสันปันน้ำร่วมกันกับลาวหรอกครับ ตัวอย่างมีให้เห็นชัดเจน

 

attachicon.gifขั้นตอนที่ 5.GIF

 

คงต้องหาว่าที่เขาพูดขึ้นมา ที่บริเวณไหน เพราะอะไร แต่คณะสำรวจและปักปันก็ไม่ได้มีการปักหลักเขตที่สันปันน้ำในตอนนั้นในบริเวณเขาพระวิหาร เท่ากับเป็นการยืนยันว่าเขาเห็นว่าขอบหน้าผาที่เห็นได้ชัดจากตีนเขา ว่าเป็นสันปันน้ำ

 

ที่ไทยไม่ยอมรับนั้นเฉพาะระวางดงรักนะครับ ไม่มีการเซ็นรับรองแผนที่ดังกล่าว

 

ในขั้นตอนการปักหลักเขตแดน โดยม.บูรพา ก็กล่าวถึงการปักหลักเขตแดนบนสันปันน้ำ

แสดงว่าในตอนนั้นเขาปักไม่ได้ซิครับ ถ้าปักได้คงปักไปแล้ว แบบที่เห็นในรูปข้างบน

ที่เสนอขั้นตอนที่ 5 ขึ้นมาก็คงเห็นแล้วว่ามีปัญหา ต้องปักหลักเขตแดนแล้ว แม้จะเป็นขอบหน้าผาก็ตาม

ผมถามคุณไปแล้วว่าเขาพูดถึงบริเวณไหนคุณก็ไม่เห็นตอบแต่ก็ยังเอามาอ้างคำพูดเรื่อย ๆ

อ้างว่าไทยไม่เซ็นรับรองแผนที่แล้วไทยเซ็นรับรองคำพูดไหมล่ะครับ ถ้าไม่เซ็นรับรองมันก็ใช้ไม่ได้เหมือนกัน

อ้างหลักปักเขตแดนของ ม.บรูพา แล้ว ม.บรูพาใช้เทคโนโลยีสมัยไหนล่ะครับ สมัยนั้นคิดว่าปักกี่ปีถึงจะเสร็จหมดครับ ขนาดใช้เทคโนโลยีปัจจุบัน ของไทยกับลาวผ่านไปจะสิบกว่าปียังทำกันไม่เสร็จ

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

ผมก็ไม่ทราบเหมือนกัน คุณทราบไหมล่ะ แต่ที่แน่ๆ คือเขามองจากตีนเขา มีที่ไหนที่มองจากตีนเขาตงรักแล้วเห็นได้บ้างล่ะ

 

ในเมื่อเห็นพ้องต้องกัน ทำไมต้องรับรองกันอีกครับ ถ้าไม่เห็นด้วยคงต้องมีสนธิสัญญาแล้วครับ

แต่แผนที่ก็มีกล่าวไว้ในนี้ http://webboard.seri...e-3#entry569589

 

การที่เขาไม่ปักหลักเขตตามแผนที่ของเขา ที่มีที่พื้นที่มากพอที่จะทำได้ แล้วไม่ทำ แบบนี้ พอที่จะป็นการยืนยันคำพูดเขาได้ไหม

 

ของม.บูรพามีคนเขาเอามาครับ ตามนี้

http://webboard.seri...e-2#entry569421

เห็นพ้องต้องกันให้เห็นพ้องครับ ผมถึงได้ถามไงว่าฝ่ายไทยรับรองคำพูดรึยัง หรือจะอ้างว่าไทยไม่แย้งถือว่ายอมรับ งั้นก็สมควรได้โดนกฎหมายปิดปากแล้วล่ะครับ ไทยไม่แย้งแผนที่ที่ฝรั่งเศสส่งมาให้ก็แสดงว่าเห็นพ้องต้องกันเช่นกัน

ในเมื่อคุณอ้างว่าแผนที่ก็มีกล่าวไว้ก็แสดงมาสิครับ จนป่านนี้ยังไม่เห็นแผนที่ของคณะกรรมการร่วมเลย เห็นแต่แผนที่ที่คณะกรรมการฝรั่งเศสทำขึ้นฝ่ายเดียว

แล้วที่ไม่ปักหลักเขตบนสันปันน้ำเพราะมันเสียเวลามาก จึงเน้นไปปักในพื้นที่ราบที่ภูมิประเทศไม่ชัดเจนก่อน แล้วคุณคิดว่าสมัยนั้นเทคโนโลยีเอื้ออำนวยเลยรึครับ ขนาดเขตแดนไทยกับลาวที่ทำหลักเขตใหม่จนป่านนี้มันยังทำกันไม่เสร็จ ยังไม่นับเรื่องไข้ป่าในสมัยนั้นอีก อย่าว่าแต่ใช้สันปันน้ำเลย ขนาดหลักเขต 73 หลักมันยังมีบางช่วงที่ต้องใช้สันปันน้ำโดนไม่ปักหลักเขตเช่นกัน

 

ขณะที่ฝรั่งเศสทำแผนที่ เขาทำแต่ฝ่ายเดียวนะครับ แต่การสำรวจและป้กหลักเขตแดน ไม่ได้ทำกันฝ่ายเดียวนะครับ ถ้าไม่เห็นพ้องต้องกันจะทำกันจนเสร็จหรือครับ ไม่ลองไปดูในนี้ละครับ

http://webboard.seri...e-3#entry569589


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#134 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 11:18

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน

Wasserscheide ภาษาเยอรมัน = ligne de partage des eaux ภาษาฝรั่งเศส

ใช่สันปันน้ำรึเปล่าคิดเอาเองนะครับ

แผนที่คณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสที่ทำขึ้นฝ่ายเดียวบอกไม่ยอมรับ แต่ดันไปยอมรับคำพูดบางประโยคของคณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสฝ่ายเดียวอีก ผมถามว่าคณะกรรมการฝ่ายไทยรับรองยังล่ะ หาได้รึยัง

อ้างว่าใช้สันปันน้ำขอบหน้าผาแต่จนป่านนี้ยังหาคำอธิบายไม่ได้ว่าทำไมมีส่วนที่สูงกว่าหน้าผา อธิบายไม่ได้ว่าน้ำจากขอบหน้าผาจะไหลขึ้นไปยังจุดที่สูงกว่าได้อย่างไร

อ้างขอบหน้าผาแต่พอหน้าผามีแนวลึกเข้ามาในฝั่งไทยก็ตัดทิ้งซะงั้นไม่ใช้หน้าผาแล้ว ถ้าอ้างว่าขอบหน้าผาเป็นแนวสันปันน้ำจริงเขตแดนก็ต้องมาใช้ตามแนวสีขาวสิครับ มาใช้เส้นแบ่งกลางซึ่งไม่ใช่หน้าผาทำไม หรือจะยอมรับว่าสันปันน้ำไม่ได้อยู่ที่หน้าผาเสมอไป

 

อ้างว่าเห็นได้ชัด แต่ดันไปอ้างคำพูดที่ใช้เทคโนโลยีเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ถ้ามันเหมือนปัจจุบันคงไม่มีปัญหาเกิดขึ้นตอนที่หาสันปันน้ำร่วมกันกับลาวหรอกครับ ตัวอย่างมีให้เห็นชัดเจน

 

attachicon.gifขั้นตอนที่ 5.GIF

 

คงต้องหาว่าที่เขาพูดขึ้นมา ที่บริเวณไหน เพราะอะไร แต่คณะสำรวจและปักปันก็ไม่ได้มีการปักหลักเขตที่สันปันน้ำในตอนนั้นในบริเวณเขาพระวิหาร เท่ากับเป็นการยืนยันว่าเขาเห็นว่าขอบหน้าผาที่เห็นได้ชัดจากตีนเขา ว่าเป็นสันปันน้ำ

 

ที่ไทยไม่ยอมรับนั้นเฉพาะระวางดงรักนะครับ ไม่มีการเซ็นรับรองแผนที่ดังกล่าว

 

ในขั้นตอนการปักหลักเขตแดน โดยม.บูรพา ก็กล่าวถึงการปักหลักเขตแดนบนสันปันน้ำ

แสดงว่าในตอนนั้นเขาปักไม่ได้ซิครับ ถ้าปักได้คงปักไปแล้ว แบบที่เห็นในรูปข้างบน

ที่เสนอขั้นตอนที่ 5 ขึ้นมาก็คงเห็นแล้วว่ามีปัญหา ต้องปักหลักเขตแดนแล้ว แม้จะเป็นขอบหน้าผาก็ตาม

ผมถามคุณไปแล้วว่าเขาพูดถึงบริเวณไหนคุณก็ไม่เห็นตอบแต่ก็ยังเอามาอ้างคำพูดเรื่อย ๆ

อ้างว่าไทยไม่เซ็นรับรองแผนที่แล้วไทยเซ็นรับรองคำพูดไหมล่ะครับ ถ้าไม่เซ็นรับรองมันก็ใช้ไม่ได้เหมือนกัน

อ้างหลักปักเขตแดนของ ม.บรูพา แล้ว ม.บรูพาใช้เทคโนโลยีสมัยไหนล่ะครับ สมัยนั้นคิดว่าปักกี่ปีถึงจะเสร็จหมดครับ ขนาดใช้เทคโนโลยีปัจจุบัน ของไทยกับลาวผ่านไปจะสิบกว่าปียังทำกันไม่เสร็จ

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

ผมก็ไม่ทราบเหมือนกัน คุณทราบไหมล่ะ แต่ที่แน่ๆ คือเขามองจากตีนเขา มีที่ไหนที่มองจากตีนเขาตงรักแล้วเห็นได้บ้างล่ะ

 

ในเมื่อเห็นพ้องต้องกัน ทำไมต้องรับรองกันอีกครับ ถ้าไม่เห็นด้วยคงต้องมีสนธิสัญญาแล้วครับ

แต่แผนที่ก็มีกล่าวไว้ในนี้ http://webboard.seri...e-3#entry569589

 

การที่เขาไม่ปักหลักเขตตามแผนที่ของเขา ที่มีที่พื้นที่มากพอที่จะทำได้ แล้วไม่ทำ แบบนี้ พอที่จะป็นการยืนยันคำพูดเขาได้ไหม

 

ของม.บูรพามีคนเขาเอามาครับ ตามนี้

http://webboard.seri...e-2#entry569421

เห็นพ้องต้องกันให้เห็นพ้องครับ ผมถึงได้ถามไงว่าฝ่ายไทยรับรองคำพูดรึยัง หรือจะอ้างว่าไทยไม่แย้งถือว่ายอมรับ งั้นก็สมควรได้โดนกฎหมายปิดปากแล้วล่ะครับ ไทยไม่แย้งแผนที่ที่ฝรั่งเศสส่งมาให้ก็แสดงว่าเห็นพ้องต้องกันเช่นกัน

ในเมื่อคุณอ้างว่าแผนที่ก็มีกล่าวไว้ก็แสดงมาสิครับ จนป่านนี้ยังไม่เห็นแผนที่ของคณะกรรมการร่วมเลย เห็นแต่แผนที่ที่คณะกรรมการฝรั่งเศสทำขึ้นฝ่ายเดียว

แล้วที่ไม่ปักหลักเขตบนสันปันน้ำเพราะมันเสียเวลามาก จึงเน้นไปปักในพื้นที่ราบที่ภูมิประเทศไม่ชัดเจนก่อน แล้วคุณคิดว่าสมัยนั้นเทคโนโลยีเอื้ออำนวยเลยรึครับ ขนาดเขตแดนไทยกับลาวที่ทำหลักเขตใหม่จนป่านนี้มันยังทำกันไม่เสร็จ ยังไม่นับเรื่องไข้ป่าในสมัยนั้นอีก อย่าว่าแต่ใช้สันปันน้ำเลย ขนาดหลักเขต 73 หลักมันยังมีบางช่วงที่ต้องใช้สันปันน้ำโดนไม่ปักหลักเขตเช่นกัน

 

ขณะที่ฝรั่งเศสทำแผนที่ เขาทำแต่ฝ่ายเดียวนะครับ แต่การสำรวจและป้กหลักเขตแดน ไม่ได้ทำกันฝ่ายเดียวนะครับ ถ้าไม่เห็นพ้องต้องกันจะทำกันจนเสร็จหรือครับ ไม่ลองไปดูในนี้ละครับ

http://webboard.seri...e-3#entry569589

ทำขึ้นฝ่ายเดียวถ้ามันไม่ถูกต้องทำไมไม่แย้งไปล่ะเงียบทำไมมิทราบ แถมดันเอาบางระวางที่อ้างว่าทำขึ้นลับหลังฝ่ายเดียวมาใช้หน้าตาเฉยอีก ดีนะครับที่มันเป็นเรื่องไทยกับเขมร เขมรมันเลยอ้างในส่วนของลาวไม่ได้ ไม่งั้นก็จบเห่ไปแล้ว


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#135 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 11:26

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน

Wasserscheide ภาษาเยอรมัน = ligne de partage des eaux ภาษาฝรั่งเศส

ใช่สันปันน้ำรึเปล่าคิดเอาเองนะครับ

แผนที่คณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสที่ทำขึ้นฝ่ายเดียวบอกไม่ยอมรับ แต่ดันไปยอมรับคำพูดบางประโยคของคณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสฝ่ายเดียวอีก ผมถามว่าคณะกรรมการฝ่ายไทยรับรองยังล่ะ หาได้รึยัง

อ้างว่าใช้สันปันน้ำขอบหน้าผาแต่จนป่านนี้ยังหาคำอธิบายไม่ได้ว่าทำไมมีส่วนที่สูงกว่าหน้าผา อธิบายไม่ได้ว่าน้ำจากขอบหน้าผาจะไหลขึ้นไปยังจุดที่สูงกว่าได้อย่างไร

อ้างขอบหน้าผาแต่พอหน้าผามีแนวลึกเข้ามาในฝั่งไทยก็ตัดทิ้งซะงั้นไม่ใช้หน้าผาแล้ว ถ้าอ้างว่าขอบหน้าผาเป็นแนวสันปันน้ำจริงเขตแดนก็ต้องมาใช้ตามแนวสีขาวสิครับ มาใช้เส้นแบ่งกลางซึ่งไม่ใช่หน้าผาทำไม หรือจะยอมรับว่าสันปันน้ำไม่ได้อยู่ที่หน้าผาเสมอไป

 

อ้างว่าเห็นได้ชัด แต่ดันไปอ้างคำพูดที่ใช้เทคโนโลยีเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ถ้ามันเหมือนปัจจุบันคงไม่มีปัญหาเกิดขึ้นตอนที่หาสันปันน้ำร่วมกันกับลาวหรอกครับ ตัวอย่างมีให้เห็นชัดเจน

 

attachicon.gifขั้นตอนที่ 5.GIF

 

คงต้องหาว่าที่เขาพูดขึ้นมา ที่บริเวณไหน เพราะอะไร แต่คณะสำรวจและปักปันก็ไม่ได้มีการปักหลักเขตที่สันปันน้ำในตอนนั้นในบริเวณเขาพระวิหาร เท่ากับเป็นการยืนยันว่าเขาเห็นว่าขอบหน้าผาที่เห็นได้ชัดจากตีนเขา ว่าเป็นสันปันน้ำ

 

ที่ไทยไม่ยอมรับนั้นเฉพาะระวางดงรักนะครับ ไม่มีการเซ็นรับรองแผนที่ดังกล่าว

 

ในขั้นตอนการปักหลักเขตแดน โดยม.บูรพา ก็กล่าวถึงการปักหลักเขตแดนบนสันปันน้ำ

แสดงว่าในตอนนั้นเขาปักไม่ได้ซิครับ ถ้าปักได้คงปักไปแล้ว แบบที่เห็นในรูปข้างบน

ที่เสนอขั้นตอนที่ 5 ขึ้นมาก็คงเห็นแล้วว่ามีปัญหา ต้องปักหลักเขตแดนแล้ว แม้จะเป็นขอบหน้าผาก็ตาม

ผมถามคุณไปแล้วว่าเขาพูดถึงบริเวณไหนคุณก็ไม่เห็นตอบแต่ก็ยังเอามาอ้างคำพูดเรื่อย ๆ

อ้างว่าไทยไม่เซ็นรับรองแผนที่แล้วไทยเซ็นรับรองคำพูดไหมล่ะครับ ถ้าไม่เซ็นรับรองมันก็ใช้ไม่ได้เหมือนกัน

อ้างหลักปักเขตแดนของ ม.บรูพา แล้ว ม.บรูพาใช้เทคโนโลยีสมัยไหนล่ะครับ สมัยนั้นคิดว่าปักกี่ปีถึงจะเสร็จหมดครับ ขนาดใช้เทคโนโลยีปัจจุบัน ของไทยกับลาวผ่านไปจะสิบกว่าปียังทำกันไม่เสร็จ

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

ผมก็ไม่ทราบเหมือนกัน คุณทราบไหมล่ะ แต่ที่แน่ๆ คือเขามองจากตีนเขา มีที่ไหนที่มองจากตีนเขาตงรักแล้วเห็นได้บ้างล่ะ

 

ในเมื่อเห็นพ้องต้องกัน ทำไมต้องรับรองกันอีกครับ ถ้าไม่เห็นด้วยคงต้องมีสนธิสัญญาแล้วครับ

แต่แผนที่ก็มีกล่าวไว้ในนี้ http://webboard.seri...e-3#entry569589

 

การที่เขาไม่ปักหลักเขตตามแผนที่ของเขา ที่มีที่พื้นที่มากพอที่จะทำได้ แล้วไม่ทำ แบบนี้ พอที่จะป็นการยืนยันคำพูดเขาได้ไหม

 

ของม.บูรพามีคนเขาเอามาครับ ตามนี้

http://webboard.seri...e-2#entry569421

เห็นพ้องต้องกันให้เห็นพ้องครับ ผมถึงได้ถามไงว่าฝ่ายไทยรับรองคำพูดรึยัง หรือจะอ้างว่าไทยไม่แย้งถือว่ายอมรับ งั้นก็สมควรได้โดนกฎหมายปิดปากแล้วล่ะครับ ไทยไม่แย้งแผนที่ที่ฝรั่งเศสส่งมาให้ก็แสดงว่าเห็นพ้องต้องกันเช่นกัน

ในเมื่อคุณอ้างว่าแผนที่ก็มีกล่าวไว้ก็แสดงมาสิครับ จนป่านนี้ยังไม่เห็นแผนที่ของคณะกรรมการร่วมเลย เห็นแต่แผนที่ที่คณะกรรมการฝรั่งเศสทำขึ้นฝ่ายเดียว

แล้วที่ไม่ปักหลักเขตบนสันปันน้ำเพราะมันเสียเวลามาก จึงเน้นไปปักในพื้นที่ราบที่ภูมิประเทศไม่ชัดเจนก่อน แล้วคุณคิดว่าสมัยนั้นเทคโนโลยีเอื้ออำนวยเลยรึครับ ขนาดเขตแดนไทยกับลาวที่ทำหลักเขตใหม่จนป่านนี้มันยังทำกันไม่เสร็จ ยังไม่นับเรื่องไข้ป่าในสมัยนั้นอีก อย่าว่าแต่ใช้สันปันน้ำเลย ขนาดหลักเขต 73 หลักมันยังมีบางช่วงที่ต้องใช้สันปันน้ำโดนไม่ปักหลักเขตเช่นกัน

 

ขณะที่ฝรั่งเศสทำแผนที่ เขาทำแต่ฝ่ายเดียวนะครับ แต่การสำรวจและป้กหลักเขตแดน ไม่ได้ทำกันฝ่ายเดียวนะครับ ถ้าไม่เห็นพ้องต้องกันจะทำกันจนเสร็จหรือครับ ไม่ลองไปดูในนี้ละครับ

http://webboard.seri...e-3#entry569589

ทำขึ้นฝ่ายเดียวถ้ามันไม่ถูกต้องทำไมไม่แย้งไปล่ะเงียบทำไมมิทราบ แถมดันเอาบางระวางที่อ้างว่าทำขึ้นลับหลังฝ่ายเดียวมาใช้หน้าตาเฉยอีก ดีนะครับที่มันเป็นเรื่องไทยกับเขมร เขมรมันเลยอ้างในส่วนของลาวไม่ได้ ไม่งั้นก็จบเห่ไปแล้ว

 

ก็เลยมี MOU 43 ไงครับ


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#136 พระฤๅษี

พระฤๅษี

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,127 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 11:35

ไอ้ตัวต้นเรื่อง ต้นปัญหา ที่มาล่าอาณานิคม ตอนที่เขา

โกยเอาไปจนพอใจแล้ว  เขาก็กลับบ้าน กลับเมือง..

ทิ้งปัญหาต่าง ๆ ไว้ให้เป็นมรดกระหว่างไทย-เขมร-

ต้องแก้กันอย่างหนัก  ( ถ้านายทุนไม่เข้ามาวุ่นวาย )

ผมว่าปัญหาชายแดนแก้ไม่ยาก. ตอนนี้ มันเต็มไปด้วย

ผลประโยชน์มหาศาล.เขาพระวิหาร  เทียบกับขุมทรัพย์

ใต้อ่าวไทยไม่ได้หรอก..เขาพระวิหารเป็นเพียง..ฉาก..

บังหน้า. ของคนโลภ  ทั้ง 2 ฝ่ายแหละ.ใคร ๆก็รู้ ..........



#137 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 11:51

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน

Wasserscheide ภาษาเยอรมัน = ligne de partage des eaux ภาษาฝรั่งเศส

ใช่สันปันน้ำรึเปล่าคิดเอาเองนะครับ

แผนที่คณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสที่ทำขึ้นฝ่ายเดียวบอกไม่ยอมรับ แต่ดันไปยอมรับคำพูดบางประโยคของคณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสฝ่ายเดียวอีก ผมถามว่าคณะกรรมการฝ่ายไทยรับรองยังล่ะ หาได้รึยัง

อ้างว่าใช้สันปันน้ำขอบหน้าผาแต่จนป่านนี้ยังหาคำอธิบายไม่ได้ว่าทำไมมีส่วนที่สูงกว่าหน้าผา อธิบายไม่ได้ว่าน้ำจากขอบหน้าผาจะไหลขึ้นไปยังจุดที่สูงกว่าได้อย่างไร

อ้างขอบหน้าผาแต่พอหน้าผามีแนวลึกเข้ามาในฝั่งไทยก็ตัดทิ้งซะงั้นไม่ใช้หน้าผาแล้ว ถ้าอ้างว่าขอบหน้าผาเป็นแนวสันปันน้ำจริงเขตแดนก็ต้องมาใช้ตามแนวสีขาวสิครับ มาใช้เส้นแบ่งกลางซึ่งไม่ใช่หน้าผาทำไม หรือจะยอมรับว่าสันปันน้ำไม่ได้อยู่ที่หน้าผาเสมอไป

 

อ้างว่าเห็นได้ชัด แต่ดันไปอ้างคำพูดที่ใช้เทคโนโลยีเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ถ้ามันเหมือนปัจจุบันคงไม่มีปัญหาเกิดขึ้นตอนที่หาสันปันน้ำร่วมกันกับลาวหรอกครับ ตัวอย่างมีให้เห็นชัดเจน

 

attachicon.gifขั้นตอนที่ 5.GIF

 

คงต้องหาว่าที่เขาพูดขึ้นมา ที่บริเวณไหน เพราะอะไร แต่คณะสำรวจและปักปันก็ไม่ได้มีการปักหลักเขตที่สันปันน้ำในตอนนั้นในบริเวณเขาพระวิหาร เท่ากับเป็นการยืนยันว่าเขาเห็นว่าขอบหน้าผาที่เห็นได้ชัดจากตีนเขา ว่าเป็นสันปันน้ำ

 

ที่ไทยไม่ยอมรับนั้นเฉพาะระวางดงรักนะครับ ไม่มีการเซ็นรับรองแผนที่ดังกล่าว

 

ในขั้นตอนการปักหลักเขตแดน โดยม.บูรพา ก็กล่าวถึงการปักหลักเขตแดนบนสันปันน้ำ

แสดงว่าในตอนนั้นเขาปักไม่ได้ซิครับ ถ้าปักได้คงปักไปแล้ว แบบที่เห็นในรูปข้างบน

ที่เสนอขั้นตอนที่ 5 ขึ้นมาก็คงเห็นแล้วว่ามีปัญหา ต้องปักหลักเขตแดนแล้ว แม้จะเป็นขอบหน้าผาก็ตาม

ผมถามคุณไปแล้วว่าเขาพูดถึงบริเวณไหนคุณก็ไม่เห็นตอบแต่ก็ยังเอามาอ้างคำพูดเรื่อย ๆ

อ้างว่าไทยไม่เซ็นรับรองแผนที่แล้วไทยเซ็นรับรองคำพูดไหมล่ะครับ ถ้าไม่เซ็นรับรองมันก็ใช้ไม่ได้เหมือนกัน

อ้างหลักปักเขตแดนของ ม.บรูพา แล้ว ม.บรูพาใช้เทคโนโลยีสมัยไหนล่ะครับ สมัยนั้นคิดว่าปักกี่ปีถึงจะเสร็จหมดครับ ขนาดใช้เทคโนโลยีปัจจุบัน ของไทยกับลาวผ่านไปจะสิบกว่าปียังทำกันไม่เสร็จ

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

ผมก็ไม่ทราบเหมือนกัน คุณทราบไหมล่ะ แต่ที่แน่ๆ คือเขามองจากตีนเขา มีที่ไหนที่มองจากตีนเขาตงรักแล้วเห็นได้บ้างล่ะ

 

ในเมื่อเห็นพ้องต้องกัน ทำไมต้องรับรองกันอีกครับ ถ้าไม่เห็นด้วยคงต้องมีสนธิสัญญาแล้วครับ

แต่แผนที่ก็มีกล่าวไว้ในนี้ http://webboard.seri...e-3#entry569589

 

การที่เขาไม่ปักหลักเขตตามแผนที่ของเขา ที่มีที่พื้นที่มากพอที่จะทำได้ แล้วไม่ทำ แบบนี้ พอที่จะป็นการยืนยันคำพูดเขาได้ไหม

 

ของม.บูรพามีคนเขาเอามาครับ ตามนี้

http://webboard.seri...e-2#entry569421

เห็นพ้องต้องกันให้เห็นพ้องครับ ผมถึงได้ถามไงว่าฝ่ายไทยรับรองคำพูดรึยัง หรือจะอ้างว่าไทยไม่แย้งถือว่ายอมรับ งั้นก็สมควรได้โดนกฎหมายปิดปากแล้วล่ะครับ ไทยไม่แย้งแผนที่ที่ฝรั่งเศสส่งมาให้ก็แสดงว่าเห็นพ้องต้องกันเช่นกัน

ในเมื่อคุณอ้างว่าแผนที่ก็มีกล่าวไว้ก็แสดงมาสิครับ จนป่านนี้ยังไม่เห็นแผนที่ของคณะกรรมการร่วมเลย เห็นแต่แผนที่ที่คณะกรรมการฝรั่งเศสทำขึ้นฝ่ายเดียว

แล้วที่ไม่ปักหลักเขตบนสันปันน้ำเพราะมันเสียเวลามาก จึงเน้นไปปักในพื้นที่ราบที่ภูมิประเทศไม่ชัดเจนก่อน แล้วคุณคิดว่าสมัยนั้นเทคโนโลยีเอื้ออำนวยเลยรึครับ ขนาดเขตแดนไทยกับลาวที่ทำหลักเขตใหม่จนป่านนี้มันยังทำกันไม่เสร็จ ยังไม่นับเรื่องไข้ป่าในสมัยนั้นอีก อย่าว่าแต่ใช้สันปันน้ำเลย ขนาดหลักเขต 73 หลักมันยังมีบางช่วงที่ต้องใช้สันปันน้ำโดนไม่ปักหลักเขตเช่นกัน

 

ขณะที่ฝรั่งเศสทำแผนที่ เขาทำแต่ฝ่ายเดียวนะครับ แต่การสำรวจและป้กหลักเขตแดน ไม่ได้ทำกันฝ่ายเดียวนะครับ ถ้าไม่เห็นพ้องต้องกันจะทำกันจนเสร็จหรือครับ ไม่ลองไปดูในนี้ละครับ

http://webboard.seri...e-3#entry569589

ทำขึ้นฝ่ายเดียวถ้ามันไม่ถูกต้องทำไมไม่แย้งไปล่ะเงียบทำไมมิทราบ แถมดันเอาบางระวางที่อ้างว่าทำขึ้นลับหลังฝ่ายเดียวมาใช้หน้าตาเฉยอีก ดีนะครับที่มันเป็นเรื่องไทยกับเขมร เขมรมันเลยอ้างในส่วนของลาวไม่ได้ ไม่งั้นก็จบเห่ไปแล้ว

 

ก็เลยมี MOU 43 ไงครับ

แล้วคนบางกลุ่มประท้วงให้ยกเลิกทำไมมิทราบ


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#138 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 11:54

 

ขอถามหน่อยครับว่า ในปี 1907  ถ้าฝรั่งเศสไม่ใช้ขอบหน้าผาที่เขาพระวิหารเป็นเขตแดน

บริเวณวิหารที่เป็นสถานที่สำคัญๆแบบนี้ เขาจะปักหลักเขตไหมครับ

 

ดูจากในคลิป เขาลากเส้นสีขาวในส่วนของที่เป็นสันปันน้ำขอบหน้าผา

และสีน้ำเงินในส่วนที่เป็นเสนแบ่งกลาง

แล้วเทียบกับเส้นสีแดงที่เป็นแผนที่ของไทย

ส่วนสีดำเป็นของฝรั่งเศสครับ

 

ในส่วนอื่น ที่จะปักหลักเขตกันใหม่คงมีปัญหาตามมาอย่างในคลิปบอกไว้เช่นกัน

แล้วปราสาทพระวิหารสำคัญต่อฝรั่งเศสอย่างไรมิทราบครับ คงไม่ต้องถึงฝรั่งเศสกระมังครับ ขนาดไทยเองเพิ่งมาเห็นความสำคัญตอนไหนล่ะ

หากใช้สันปันน้ำก็ไม่จำเป็นต้องทำหลักเขตเลยครับ แต่ถ้าทำหลักเขตแสดงว่ามีการตกลงเขตแดนเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่สันปันน้ำ

สนธิสัญญาไม่ได้ใช้เฉพาะส่วนเขมรแต่ใช้รวมถึงลาวด้วย ส่วนที่อยู่ในลาวมีตรงไหนที่ทำหลักเขตบ้างล่ะ มีแต่ใช้สันปันน้ำด้วยเช่นกันแถมยังก่อปัญหาที่อ้างจุดไม่ชัดเจนทำให้เกิดกรณีบ้านร่มเกล้าขึ้นอีก

 

ในคลิปใครเป็นคนรับรองครับว่าถูกต้อง แค่ขึ้นต้นสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เป็นสันเขาสูงสุดก็ผิดจากภาพที่ผมยกมาให้ดูแล้วครับ เพราะยังมีส่วนที่สูงกว่าขอบหน้าผาอีก

แล้วสันปันน้ำตามเส้นสีขาวใครรับรองครับ เส้นสีน้ำเงินจะมาแบ่งกลางทำไมมิทราบในเมื่อบอกเองว่าเส้นสีขาวเป็นสันปันน้ำ เขตแดนตามสันปันน้ำที่ในคลิปอ้างก็ต้องเว้าเข้ามาในเขตแดนไทยมากกว่าเดิมถ้าอ้างสันปันน้ำตามหน้าผา

 

แล้วมิทราบว่าเขาพระวิหารมาสำคัญตอนไหนมิทราบครับ

post-14906-0-95973400-1358128785.jpg

 

แล้วตรงนี้ใช่สันปันน้ำหรือเปล่า

 

ถ้าคณะปักปันเขตแดนไม่ใช้หลักเขต ก็แสดงว่าสิ่งที่เห็นชัดก็ต้องเป็นขอบหน้าผา จะเป็นอะไรอื่นที่เห็นชัดกว่านี้ได้

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

เส้นสีแดงเป็นแผนที่ของไทย สีขาวเป็นแนวสันปันน้ำขอบหน้าผาที่เห็นชัดเจนตามการวิเคราะห์ของอ.วีรพันธ์ สีน้ำเงินเป็นเส้นแบ่งกลาง

เมื่อนำมาเทียบกันแล้วใกล้เคียงกัน

Wasserscheide ภาษาเยอรมัน = ligne de partage des eaux ภาษาฝรั่งเศส

ใช่สันปันน้ำรึเปล่าคิดเอาเองนะครับ

แผนที่คณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสที่ทำขึ้นฝ่ายเดียวบอกไม่ยอมรับ แต่ดันไปยอมรับคำพูดบางประโยคของคณะกรรมการฝ่ายฝรั่งเศสฝ่ายเดียวอีก ผมถามว่าคณะกรรมการฝ่ายไทยรับรองยังล่ะ หาได้รึยัง

อ้างว่าใช้สันปันน้ำขอบหน้าผาแต่จนป่านนี้ยังหาคำอธิบายไม่ได้ว่าทำไมมีส่วนที่สูงกว่าหน้าผา อธิบายไม่ได้ว่าน้ำจากขอบหน้าผาจะไหลขึ้นไปยังจุดที่สูงกว่าได้อย่างไร

อ้างขอบหน้าผาแต่พอหน้าผามีแนวลึกเข้ามาในฝั่งไทยก็ตัดทิ้งซะงั้นไม่ใช้หน้าผาแล้ว ถ้าอ้างว่าขอบหน้าผาเป็นแนวสันปันน้ำจริงเขตแดนก็ต้องมาใช้ตามแนวสีขาวสิครับ มาใช้เส้นแบ่งกลางซึ่งไม่ใช่หน้าผาทำไม หรือจะยอมรับว่าสันปันน้ำไม่ได้อยู่ที่หน้าผาเสมอไป

 

อ้างว่าเห็นได้ชัด แต่ดันไปอ้างคำพูดที่ใช้เทคโนโลยีเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ถ้ามันเหมือนปัจจุบันคงไม่มีปัญหาเกิดขึ้นตอนที่หาสันปันน้ำร่วมกันกับลาวหรอกครับ ตัวอย่างมีให้เห็นชัดเจน

 

attachicon.gifขั้นตอนที่ 5.GIF

 

คงต้องหาว่าที่เขาพูดขึ้นมา ที่บริเวณไหน เพราะอะไร แต่คณะสำรวจและปักปันก็ไม่ได้มีการปักหลักเขตที่สันปันน้ำในตอนนั้นในบริเวณเขาพระวิหาร เท่ากับเป็นการยืนยันว่าเขาเห็นว่าขอบหน้าผาที่เห็นได้ชัดจากตีนเขา ว่าเป็นสันปันน้ำ

 

ที่ไทยไม่ยอมรับนั้นเฉพาะระวางดงรักนะครับ ไม่มีการเซ็นรับรองแผนที่ดังกล่าว

 

ในขั้นตอนการปักหลักเขตแดน โดยม.บูรพา ก็กล่าวถึงการปักหลักเขตแดนบนสันปันน้ำ

แสดงว่าในตอนนั้นเขาปักไม่ได้ซิครับ ถ้าปักได้คงปักไปแล้ว แบบที่เห็นในรูปข้างบน

ที่เสนอขั้นตอนที่ 5 ขึ้นมาก็คงเห็นแล้วว่ามีปัญหา ต้องปักหลักเขตแดนแล้ว แม้จะเป็นขอบหน้าผาก็ตาม

ผมถามคุณไปแล้วว่าเขาพูดถึงบริเวณไหนคุณก็ไม่เห็นตอบแต่ก็ยังเอามาอ้างคำพูดเรื่อย ๆ

อ้างว่าไทยไม่เซ็นรับรองแผนที่แล้วไทยเซ็นรับรองคำพูดไหมล่ะครับ ถ้าไม่เซ็นรับรองมันก็ใช้ไม่ได้เหมือนกัน

อ้างหลักปักเขตแดนของ ม.บรูพา แล้ว ม.บรูพาใช้เทคโนโลยีสมัยไหนล่ะครับ สมัยนั้นคิดว่าปักกี่ปีถึงจะเสร็จหมดครับ ขนาดใช้เทคโนโลยีปัจจุบัน ของไทยกับลาวผ่านไปจะสิบกว่าปียังทำกันไม่เสร็จ

 

“เส้นเขตแดนเดินไปตามเส้นสันปันน้ำ ซึ่งอยู่ที่หน้าผาเห็นได้จากตีนภูเขาดงรัก”
 

ผมก็ไม่ทราบเหมือนกัน คุณทราบไหมล่ะ แต่ที่แน่ๆ คือเขามองจากตีนเขา มีที่ไหนที่มองจากตีนเขาตงรักแล้วเห็นได้บ้างล่ะ

 

ในเมื่อเห็นพ้องต้องกัน ทำไมต้องรับรองกันอีกครับ ถ้าไม่เห็นด้วยคงต้องมีสนธิสัญญาแล้วครับ

แต่แผนที่ก็มีกล่าวไว้ในนี้ http://webboard.seri...e-3#entry569589

 

การที่เขาไม่ปักหลักเขตตามแผนที่ของเขา ที่มีที่พื้นที่มากพอที่จะทำได้ แล้วไม่ทำ แบบนี้ พอที่จะป็นการยืนยันคำพูดเขาได้ไหม

 

ของม.บูรพามีคนเขาเอามาครับ ตามนี้

http://webboard.seri...e-2#entry569421

เห็นพ้องต้องกันให้เห็นพ้องครับ ผมถึงได้ถามไงว่าฝ่ายไทยรับรองคำพูดรึยัง หรือจะอ้างว่าไทยไม่แย้งถือว่ายอมรับ งั้นก็สมควรได้โดนกฎหมายปิดปากแล้วล่ะครับ ไทยไม่แย้งแผนที่ที่ฝรั่งเศสส่งมาให้ก็แสดงว่าเห็นพ้องต้องกันเช่นกัน

ในเมื่อคุณอ้างว่าแผนที่ก็มีกล่าวไว้ก็แสดงมาสิครับ จนป่านนี้ยังไม่เห็นแผนที่ของคณะกรรมการร่วมเลย เห็นแต่แผนที่ที่คณะกรรมการฝรั่งเศสทำขึ้นฝ่ายเดียว

แล้วที่ไม่ปักหลักเขตบนสันปันน้ำเพราะมันเสียเวลามาก จึงเน้นไปปักในพื้นที่ราบที่ภูมิประเทศไม่ชัดเจนก่อน แล้วคุณคิดว่าสมัยนั้นเทคโนโลยีเอื้ออำนวยเลยรึครับ ขนาดเขตแดนไทยกับลาวที่ทำหลักเขตใหม่จนป่านนี้มันยังทำกันไม่เสร็จ ยังไม่นับเรื่องไข้ป่าในสมัยนั้นอีก อย่าว่าแต่ใช้สันปันน้ำเลย ขนาดหลักเขต 73 หลักมันยังมีบางช่วงที่ต้องใช้สันปันน้ำโดนไม่ปักหลักเขตเช่นกัน

 

ขณะที่ฝรั่งเศสทำแผนที่ เขาทำแต่ฝ่ายเดียวนะครับ แต่การสำรวจและป้กหลักเขตแดน ไม่ได้ทำกันฝ่ายเดียวนะครับ ถ้าไม่เห็นพ้องต้องกันจะทำกันจนเสร็จหรือครับ ไม่ลองไปดูในนี้ละครับ

http://webboard.seri...e-3#entry569589

ทำขึ้นฝ่ายเดียวถ้ามันไม่ถูกต้องทำไมไม่แย้งไปล่ะเงียบทำไมมิทราบ แถมดันเอาบางระวางที่อ้างว่าทำขึ้นลับหลังฝ่ายเดียวมาใช้หน้าตาเฉยอีก ดีนะครับที่มันเป็นเรื่องไทยกับเขมร เขมรมันเลยอ้างในส่วนของลาวไม่ได้ ไม่งั้นก็จบเห่ไปแล้ว

 

ก็เลยมี MOU 43 ไงครับ

แล้วคนบางกลุ่มประท้วงให้ยกเลิกทำไมมิทราบ

 

ขอนอกเรื่องหน่อยครับ ตอนนั้นคุณ Solidus บอกว่าน้องเกดถูกยิงกี่นัดครับ


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#139 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 11:59

ขอนอกเรื่องหน่อยครับ ตอนนั้นคุณ Solidus บอกว่าน้องเกดถูกยิงกี่นัดครับ

สะบักที่หลังคาที่หัว 1

สีข้างทะลุอก 1

ทะลุแขน 1

ทะลุขา 2

ส่วนที่พุงไม่ทราบว่าโดนยิงหรือไม่แต่มีเศษโลหะฝังอยู่เป็นแผลตื้น ๆ


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#140 redfrog53

redfrog53

    เกิดที่รัสเซีย มาโตที่ สรท.

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 25,221 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:03

แหม่!! กำลังมันส์ อย่าออกไปเรื่องอื่นสิ

 

ร้านคาเฟ่ที่อยู่ติดเส้นเขตแบ่งดินแดนระหว่างประเทศเนเธอร์แลนด์กับประเทศเบลเยี่ยม

1_display.jpg  
ไปกินกาแฟ เกิดช้อนหล่นไปอีกประเทศ เขาจะรบกันมั่ย????
 

Posted Image

#141 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:05

ขอนอกเรื่องหน่อยครับ ตอนนั้นคุณ Solidus บอกว่าน้องเกดถูกยิงกี่นัดครับค

สะบักที่หลังคาที่หัว 1

สีข้างทะลุอก 1

ทะลุแขน 1

ทะลุขา 2

ส่วนที่พุงไม่ทราบว่าโดนยิงหรือไม่แต่มีเศษโลหะฝังอยู่เป็นแผลตื้น ๆ

คูณนับผิดไปจากเดิมนะครับ แล้ว Time Zone คุณเป็นเวลา +/- เท่าไหร่ครับ


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#142 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:14

ขอนอกเรื่องหน่อยครับ ตอนนั้นคุณ Solidus บอกว่าน้องเกดถูกยิงกี่นัดครับค

สะบักที่หลังคาที่หัว 1

สีข้างทะลุอก 1

ทะลุแขน 1

ทะลุขา 2

ส่วนที่พุงไม่ทราบว่าโดนยิงหรือไม่แต่มีเศษโลหะฝังอยู่เป็นแผลตื้น ๆ

คูณนับผิดไปจากเดิมนะครับ แล้ว Time Zone คุณเป็นเวลา +/- เท่าไหร่ครับ

นัดผิดจากเดิม

http://webboard.seri...องเกด/?p=398517

แผลที่ 1 นี่ทำให้เสียชีวิต อันนี้ 1 นัด
แผลที่ 2-4 จะเป็นลักษณะถากสีข้างเหนือเอวเล็กน้อยไปทะลุหน้าอกด้านข้าง แต่ไม่เข้าช่องอก อันนี้อีก 1 นัด
แผลที่ 5-6 เป็นทางกระสุนเข้า 7-8 เป็นทางกระสุนออก โดนขาขวาบน อันนี้อีก 2 นัด
แผลที่ 9-10 โดนท่อนแขนขวาด้านในทะลุออกด้านนอก อันนี้อีก 1 นัด
ดู ๆ แล้วน้องเกดเหมือนจะโดนยิง 5 นัดในตอนนี้ และคนยิงน่าจะอยู่ในทิศทางด้านขวาเยื้องไปทางปลายเท้าของน้องเกด
และ แผลที่ 11 นี่น่าจะเป็นอีกนัดหนึ่งแต่ตำแหน่งดันเป็นด้านหน้าแถมติดแค่ผิวหนังไม่ทะลุ เข้าร่างกายนี่สิมันแปลก ๆ ถ้าน้องเกดนอนคว่ำหน้าด้วยก็อาจเป็นการยิงเกือบโดนพื้น มุมนี้แนวราบยังยิงยากเลยนะนั่น

รวม ๆ แล้วน้องเกดน่าโดนยิงไป 6 นัด

 

 

นัดที่ 6 ผมยังไม่ยืนยันเลย เพราะบาดแผลมันแปลก ๆ

แล้ว time zone +/- เท่าไหร่นี่มันแล้วแต่ภาพครับ


Edited by Jörmungandr, 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:25.

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#143 กรกช

กรกช

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,930 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:25

ก็เลยมี MOU 43 ไงครับ

แล้วคนบางกลุ่มประท้วงให้ยกเลิกทำไมมิทราบ

 

 

อันนี้ก็รู้ๆกันอยู่ว่า เหตุผลที่เขาประท้วงคือเขากล่าวหาว่าไปรับแผนที่ 1-200000 ซึ่งอาจทำให้เสียดินแดน

แต่ทาง ปชป.ก็ยืนยันว่า MOU43 ไม่ทำให้เสียดินแดน

 

ส่วนผมไม่มีความรู้ก็ได้แต่รอดูว่าใครพูดจริงใครพูดเท็จ

 

แต่ผมดูจากปฎิกิริยาของคนไทยกับเรื่องนี้แล้วก็ยังเชื่อลึกๆว่า ไทยคงไม่เสียดินแดนง่ายๆ

แต่ถ้าเรื่องนี้มันเงียบๆก็ไม่แน่ เพราะเจตนามันส่อทั้ง 2 พรรคใหญ่

 

ปล.น่าทึ่งกับความรู้และข้อมูลของ 2 ท่านที่ตอบโต้กัน



#144 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:27

ก็เลยมี MOU 43 ไงครับ

แล้วคนบางกลุ่มประท้วงให้ยกเลิกทำไมมิทราบ

 

 

อันนี้ก็รู้ๆกันอยู่ว่า เหตุผลที่เขาประท้วงคือเขากล่าวหาว่าไปรับแผนที่ 1-200000 ซึ่งอาจทำให้เสียดินแดน

แต่ทาง ปชป.ก็ยืนยันว่า MOU43 ไม่ทำให้เสียดินแดน

 

ส่วนผมไม่มีความรู้ก็ได้แต่รอดูว่าใครพูดจริงใครพูดเท็จ

 

แต่ผมดูจากปฎิกิริยาของคนไทยกับเรื่องนี้แล้วก็ยังเชื่อลึกๆว่า ไทยคงไม่เสียดินแดนง่ายๆ

แต่ถ้าเรื่องนี้มันเงียบๆก็ไม่แน่ เพราะเจตนามันส่อทั้ง 2 พรรคใหญ่

 

ปล.น่าทึ่งกับความรู้และข้อมูลของ 2 ท่านที่ตอบโต้กัน

ถ้าไม่รับก็ต้องไม่รับหมด ไม่ใช่รับเฉพาะฉบับที่ถูกใจ


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#145 กรกช

กรกช

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,930 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:30

ก็เลยมี MOU 43 ไงครับ

แล้วคนบางกลุ่มประท้วงให้ยกเลิกทำไมมิทราบ

 

 

อันนี้ก็รู้ๆกันอยู่ว่า เหตุผลที่เขาประท้วงคือเขากล่าวหาว่าไปรับแผนที่ 1-200000 ซึ่งอาจทำให้เสียดินแดน

แต่ทาง ปชป.ก็ยืนยันว่า MOU43 ไม่ทำให้เสียดินแดน

 

ส่วนผมไม่มีความรู้ก็ได้แต่รอดูว่าใครพูดจริงใครพูดเท็จ

 

แต่ผมดูจากปฎิกิริยาของคนไทยกับเรื่องนี้แล้วก็ยังเชื่อลึกๆว่า ไทยคงไม่เสียดินแดนง่ายๆ

แต่ถ้าเรื่องนี้มันเงียบๆก็ไม่แน่ เพราะเจตนามันส่อทั้ง 2 พรรคใหญ่

 

ปล.น่าทึ่งกับความรู้และข้อมูลของ 2 ท่านที่ตอบโต้กัน

ถ้าไม่รับก็ต้องไม่รับหมด ไม่ใช่รับเฉพาะฉบับที่ถูกใจ

 

หมายถึงแผนที่ ?



#146 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:35

 

ขนมสาคู กับ  5M  คนเดียวกันครับ และTime Zone คุณตอบครั้งเดียวโดยเทียบกับรูปอะไรครับ ขอโทษที่สงสัย แต่เรื่องนี้ไม่น่าลืม


 


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#147 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:36

ก็เลยมี MOU 43 ไงครับ

แล้วคนบางกลุ่มประท้วงให้ยกเลิกทำไมมิทราบ

 

 

อันนี้ก็รู้ๆกันอยู่ว่า เหตุผลที่เขาประท้วงคือเขากล่าวหาว่าไปรับแผนที่ 1-200000 ซึ่งอาจทำให้เสียดินแดน

แต่ทาง ปชป.ก็ยืนยันว่า MOU43 ไม่ทำให้เสียดินแดน

 

ส่วนผมไม่มีความรู้ก็ได้แต่รอดูว่าใครพูดจริงใครพูดเท็จ

 

แต่ผมดูจากปฎิกิริยาของคนไทยกับเรื่องนี้แล้วก็ยังเชื่อลึกๆว่า ไทยคงไม่เสียดินแดนง่ายๆ

แต่ถ้าเรื่องนี้มันเงียบๆก็ไม่แน่ เพราะเจตนามันส่อทั้ง 2 พรรคใหญ่

 

ปล.น่าทึ่งกับความรู้และข้อมูลของ 2 ท่านที่ตอบโต้กัน

ถ้าไม่รับก็ต้องไม่รับหมด ไม่ใช่รับเฉพาะฉบับที่ถูกใจ

 

หมายถึงแผนที่ ?

ก็กำลังพูดถึงแผนที่ปี 1908 อยู่ไม่ใช่รึ แผนที่ระวางดงรักบอกว่าไม่รับ แต่แผนที่ระวางอื่นดันรับ


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#148 กรกช

กรกช

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,930 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:39

ก็เลยมี MOU 43 ไงครับ

แล้วคนบางกลุ่มประท้วงให้ยกเลิกทำไมมิทราบ

 

 

อันนี้ก็รู้ๆกันอยู่ว่า เหตุผลที่เขาประท้วงคือเขากล่าวหาว่าไปรับแผนที่ 1-200000 ซึ่งอาจทำให้เสียดินแดน

แต่ทาง ปชป.ก็ยืนยันว่า MOU43 ไม่ทำให้เสียดินแดน

 

ส่วนผมไม่มีความรู้ก็ได้แต่รอดูว่าใครพูดจริงใครพูดเท็จ

 

แต่ผมดูจากปฎิกิริยาของคนไทยกับเรื่องนี้แล้วก็ยังเชื่อลึกๆว่า ไทยคงไม่เสียดินแดนง่ายๆ

แต่ถ้าเรื่องนี้มันเงียบๆก็ไม่แน่ เพราะเจตนามันส่อทั้ง 2 พรรคใหญ่

 

ปล.น่าทึ่งกับความรู้และข้อมูลของ 2 ท่านที่ตอบโต้กัน

ถ้าไม่รับก็ต้องไม่รับหมด ไม่ใช่รับเฉพาะฉบับที่ถูกใจ

 

หมายถึงแผนที่ ?

ก็กำลังพูดถึงแผนที่ปี 1908 อยู่ไม่ใช่รึ แผนที่ระวางดงรักบอกว่าไม่รับ แต่แผนที่ระวางอื่นดันรับ

 

 

ใน MOU43 ไม่มีรับแผนที่ไทย มีแต่แผนที่ 1-200000 ของเขมร ผมเข้าใจถูกป่าว ? 



#149 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:41

 

ขนมสาคู กับ  5M  คนเดียวกันครับ และTime Zone คุณตอบครั้งเดียวโดยเทียบกับรูปอะไรครับ ขอโทษที่สงสัย แต่เรื่องนี้ไม่น่าลืม


 

แล้วผมคนเดียวกันกับขนมสาคู กับ  5M  รึไงคุณถึงได้เอารูปที่ขนมสาคู กับ  5M ทำขึ้นมาถามผมครับ

เรื่องรูปคุณก็กลับไปอ่านกระทู้นั้นสิวครับ ถ้าขี้เกียจอ่านงั้นแปะให้

 

3-11-255514-37-56.jpg

5M มันถามว่าผมเร่งเวลาทำไมแต่มันดันลืมดูเรื่อง time zone


[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556


#150 Solidus

Solidus

    เลิกเล่น

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 14,367 posts

ตอบ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:43

ก็เลยมี MOU 43 ไงครับ

แล้วคนบางกลุ่มประท้วงให้ยกเลิกทำไมมิทราบ

 

 

อันนี้ก็รู้ๆกันอยู่ว่า เหตุผลที่เขาประท้วงคือเขากล่าวหาว่าไปรับแผนที่ 1-200000 ซึ่งอาจทำให้เสียดินแดน

แต่ทาง ปชป.ก็ยืนยันว่า MOU43 ไม่ทำให้เสียดินแดน

 

ส่วนผมไม่มีความรู้ก็ได้แต่รอดูว่าใครพูดจริงใครพูดเท็จ

 

แต่ผมดูจากปฎิกิริยาของคนไทยกับเรื่องนี้แล้วก็ยังเชื่อลึกๆว่า ไทยคงไม่เสียดินแดนง่ายๆ

แต่ถ้าเรื่องนี้มันเงียบๆก็ไม่แน่ เพราะเจตนามันส่อทั้ง 2 พรรคใหญ่

 

ปล.น่าทึ่งกับความรู้และข้อมูลของ 2 ท่านที่ตอบโต้กัน

ถ้าไม่รับก็ต้องไม่รับหมด ไม่ใช่รับเฉพาะฉบับที่ถูกใจ

 

หมายถึงแผนที่ ?

ก็กำลังพูดถึงแผนที่ปี 1908 อยู่ไม่ใช่รึ แผนที่ระวางดงรักบอกว่าไม่รับ แต่แผนที่ระวางอื่นดันรับ

 

 

ใน MOU43 ไม่มีรับแผนที่ไทย มีแต่แผนที่ 1-200000 ของเขมร ผมเข้าใจถูกป่าว ? 

MOU43 ข้อ 1 เขียนว่าไงล่ะ


Edited by Jörmungandr, 15 มกราคม พ.ศ. 2556 - 12:43.

[color=#ff0000;]สำหรับผมคงเลิกเล่นบอร์ดนี้ไว้เพียงเท่านี้ ถ้าไอดีนี้ยังมีบุคคลอื่นที่ใครบางคนคิดว่าเป็นตัวจริงอยู่จริง เขาก็เข้ามาใช้บอร์ดนี้ต่อเองแต่ไม่ใช่ผมแน่นอน[/color]

ลาก่อน สวัสดีครับ 17 มกราคม 2556





ผู้ใช้ 2 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 2 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน